Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ปรับปรุง

คู่มือกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ปรับปรุง

Published by bhak-rada, 2022-05-27 07:17:50

Description: คู่มือกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ปรับปรุง

Search

Read the Text Version

คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

คานา หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ได้ออกคาส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ท่ี ๑๙/๒๕๖๐ เรอื่ ง การปฏิรปู การศกึ ษาในภูมิภาคของกระทรวงศกึ ษาธิการ สั่ง ณ วันท่ี ๓ เมษายน ๒๕๖๐ โดยมีเจตนารมณ์สาคัญที่ต้องการแก้ไขปัญหาในการจัดการศึกษาของประเทศในส่วนภูมิภาค ทั้งด้าน โครงสร้างขององค์กร ด้านระบบบริหารจดั การและดา้ นบุคลากรท่เี กี่ยวข้อง ซ่ึงปัญหาเหล่าน้ีส่งผลต่อคุณภาพ การศกึ ษาและการพัฒนาเยาวชนซึ่งเป็นทรพั ยากรมนุษยแ์ ละกาลงั คนท่ีสาคญั ในการพฒั นาประเทศ โดยคาส่ัง หัวหนา้ คณะรักษาความสงบแห่งชาติ ขอ้ ๑๑ ใหม้ ีสานักงานศกึ ษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ เพื่อปฏบิ ัติภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการ เก่ียวกับการบริหารและการจัด การศึกษาตามที่กฎหมายกาหนด การปฏิบัติราชการตามอานาจหน้าท่ี นโยบาย และยุทธศาสตร์ของส่วน ราชการตา่ ง ๆ ทม่ี อบหมายและให้มีอานาจหน้าที่ในเขตจังหวัด ทั้งนี้ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้ มีประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การแบ่งหน่วยงานภายในสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกอบด้วย ๘ กลุ่ม ดังนี้ ๑) กลุ่มอานวยการ ๒) กลุ่ม บริหารงานบุคคล ๓) กลุ่มนโยบายและแผน ๔) กลุ่มพัฒนาการศึกษา ๕) กลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมนิ ผล ๖) กลมุ่ ส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน ๗) กลมุ่ ลกู เสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน และ ๘) หน่วย ตรวจสอบภายใน คู่มือการปฏิบัติงานของกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน เล่มนี้ได้จัดทาขึ้นเพ่ือให้ การปฏิบัติงานของกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร เป็นไป อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามเจตนารมณ์ของการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในส่วนภูมิภาค ประกอบดว้ ย บทท่ี ๑ บทนา บทที่ ๒ แนวทางการดาเนนิ งานและ บทที่ ๓ ขั้นตอนและมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน ขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องท่ีทาให้การดาเนินการจัดทาคู่มือการปฏิบัติงานในคร้ังนี้ เปน็ ไปดว้ ยความเรียบร้อย หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารเล่มน้ีจะทาให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีความรู้ ความเข้าใจใน บทบาทหน้าท่ี และร่วมมือร่วมใจ ส่งเสริม สนับสนุนการปฏิบัติงานเชิงบูรณาการเพ่ือพัฒนาการศึกษาซึ่งจะ เป็นฐานในการพัฒนาสังคมไทยใหม้ คี วามมน่ั คง มัง่ คัง่ ย่ังยนื ต่อไป ในอนาคต กลุ่มลกู เสอื ยวุ กาชาด และกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดสกลนคร คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

สารบญั คานา 1 ทาเนียบบุคลากร 1 บทที่ 1 บทนา 2 2 1. ความเปน็ มาและความสาคญั 2 2. วัตถปุ ระสงค์ 3 3. ขอบข่าย/ภารกิจ 3-5 4. ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั 6 บทที่ 2 แนวทางการดาเนนิ งาน 7 1. ศาสตรพ์ ระราชา 8 2. พระบรมราโชบายการศึกษา 4 ประการของในหลวงรชั กาลที่ 10 9 3. ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) 10 4. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่สิบสอง (พ.ศ.2560 – 2564) 11 5. แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2560 - 2579 17 6. นโยบายของรัฐบาล (พลเอกประยทุ ธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี) 18 7. จุดเน้นเชงิ นโยบาย รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ปีงบประมาณ พ.ศ.2565 บทที่ 3 ข้นั ตอนและมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน 28-31 1. ส่งเสรมิ สนับสนุน และดาเนินการและประสานเกย่ี วกับกจิ การลกู เสือ ยวุ กาชาดและ กิจการนกั เรียน 32-34 2.ส่งเสริม สนับสนนุ ศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ยั เพื่อการพัฒนานกั เรียน นกั ศึกษา โดยผา่ น กระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด 35-45 3. สง่ เสริม สนับสนุน การน้อมนาพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา พระราชปณิธาน พระราชกระแสดา้ นการศึกษา และโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริที่เกย่ี วกับ การศึกษา 4. สง่ เสรมิ สนบั สนุน การจัดการศกึ ษาเพ่อื เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบนั หลักของชาติ และความปรองดอง สมานฉันท์ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

ทาเนียบบุคลากรกลุ่มลกู เสอื ยุวกาชาดและกิจการนกั เรยี น สานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสกลนคร - ว่าง - ตาแหน่ง ผอู้ านวยการกลมุ่ นางสาวภัครดา การะยศ ตาแหนง่ นกั วิชาการศึกษาชานาญการ นางกานตช์ ดุ า สมสะอาด ตาแหนง่ นกั วชิ าการศึกษาปฏิบตั ิการ นางสาวสพุ ชิ ญาภัค บญุ เกิด ตาแหนง่ เจา้ พนักงานธุรการชานาญงาน คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

บทท่ี ๑ บทนา ๑. ความเป็นมาและความสาคัญ สืบเนื่องจาก ข้อเท็จจริงท่ีได้ปรากฏให้เห็นถึงสภาพปัญหาในการจัดการศึกษาของประเทศในส่วน ภูมิภาคท้งั ในด้านโครงสร้างองคก์ าร ด้านระบบบริหารจัดการและด้านบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ซึ่งปัญหาเหล่าน้ี ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาเยาวชนซ่ึงเป็นทรัพยากรมนุษย์และกาลังคนท่ีสาคัญในการพัฒนา ประเทศและเป็นอุปสรรคต่อการขับเคล่ือนและการพัฒนาด้านการศึกษาของประเทศให้มีประสิทธิภาพ ทัดเทียมนานาประเทศ ดังน้ัน หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ จึงได้ออกคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความ สงบแห่งชาติ ที่ ๑๙/๒๕๖๐ เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ส่ัง ณ วันที่ ๓ เมษายน ๒๕๖๐ โดยคาสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ข้อ ๑๑ ให้มีสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือปฏิบัติภารกิจของระทรวงศึกษาธิการ เกี่ยวกับการบริหารและการจัดการศึกษาตามที่กฎหมายกาหนด การปฏิบัติราชการตามอานาจหน้าที่ นโยบาย และยุทธศาสตร์ของส่วนราชการต่าง ๆ ท่ีมอบหมายและให้มีอานาจหน้าที่ในเขตจังหวัด ดังต่อไปน้ี ๑) รับผิดชอบงานธุรการของ กศจ. อกศจ. คณะอนุกรรมการบริหารราชการเชิงยุทธศาสตร์ คณะอนุกรรมการเกย่ี วกบั การพัฒนาการศึกษา คณะอนุกรรมการและคณะทางาน รวมท้ังปฏิบัติงานราชการ ที่เป็นไปตามอานาจและหน้าที่ของ กศจ. และตามท่ี กศจ. มอบหมาย ๒) จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาและ แผนปฏิบัติการ ๓) สั่งการ กากับ ดูแล เร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติงานของส่วนราชการ หรือ หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ๔) จดั ระบบ สง่ เสริม และประสานงานเครือข่ายขอ้ มลู สารสนเทศและเทคโนโลยดี ิจิทลั เพอื่ การศึกษา ๕) ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษาเพ่ือคนพิการ ผู้ด้อยโอกาส และผู้มีความสามารถพิเศษ ๖) ดาเนินงานเกี่ยวกับการ บริหารงานบุคคลของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๗) สง่ เสรมิ สนบั สนุน และดาเนินการเก่ียวกับ งานด้านวิชาการ การนิเทศ และแนะแนวการศึกษาทุกระดับและทุกประเภท รวมทั้งติดตามและประเมินผล ระบบบริหารและการจัดการศึกษา ๘) ดาเนินการเกี่ยวกับการตรวจสอบด้านการบริหาร การเงิน และการ บัญชีของส่วนราชการ หรือหน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ๙) ส่งเสริมและ ประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกีฬาเพ่ือการศึกษา ๑๐) ส่งเสริม สนับสนุน และ ดาเนินการเก่ียวกับการจัดการศึกษาเอกชน และ ๑๑) ปฏิบัติภารกิจตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ หรือตามที่ได้รับมอบหมาย รวมท้ังปฏิบัติภารกิจเก่ียวกับราชการประจาท่ัวไปของกระทรวงศึกษาธิการ และ ประสานงานตา่ ง ๆ ในจังหวัด ท้ังนี้ สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้มีประกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ เรื่อง การแบ่งหน่วยงานภายในสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สังกัดสานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้แบ่งหน่วยงานภายในสานักงานศึกษาธิการจังหวัด ประกอบด้วย ๘ กลุ่ม ดังนี้ ๑) กลุ่มอานวยการ ๒) กลุ่มบริหารงานบุคคล ๓) กลุ่มนโยบายและแผน ๔) กลุ่มพัฒนาการศึกษา ๕) กลุ่ม นิเทศ ติดตาม และประเมินผล ๖) กลุ่มส่งเสริมการศึกษาเอกชน ๗) กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการ นกั เรียน และ ๘) หน่วยตรวจสอบภายใน ดงั นน้ั เพื่อให้การปฏิบัติงานของกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สานักงานศึกษาธิการจังหวัด สกลนคร สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร เปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ มีการพัฒนาระบบ การปฏิบตั ิงาน และยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน จึงได้จัดทาคูม่ อื การปฏิบัตงิ านของกลุ่มลกู เสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรียนขน้ึ คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

2 ๒. วตั ถุประสงค์ ๒.๑ เพ่ือให้มีคู่มือการปฏิบัติงานของกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ท่ีชัดเจนเป็นลาย ลักษณ์อักษรที่แสดงถึงขั้นตอนการปฏิบัติงาน และส่ือให้เห็นกระบวนการปฎิบัติงานของกลุ่มลูกเสือ ยุว กาชาด และกิจการนกั เรยี น ตามมาตรฐานท่ีกาหนด ๒.๒ เพ่ือใช้เป็นแนวปฏิบัติสาหรับผู้ปฏิบัติงานในกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ให้ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องตามข้ันตอน และมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกันนโยบายและวิสัยทัศน์ของ สานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดสกลนคร สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒.๓ เพอื่ ใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการของสานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดสกลนคร สามารถติดตาม การปฏบิ ัตงิ านของกลุม่ ลูกเสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ชัดเจน และเป็นระบบ ๓. ขอบขา่ ย / ภารกิจ สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการได้มปี ระกาศสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เมอ่ื วันท่ี ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ เร่ือง การแบ่งหน่วยงานภายในสานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัด สังกัดสานักงานปลัดกระทรวง ศึกษาธิการ โดยได้กาหนดขอบขา่ ย/ภารกจิ ของกลมุ่ ลกู เสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น ดงั นี้ ๓.๑ ส่งเสริม สนบั สนุน และดาเนินการและประสานเกย่ี วกบั กิจการลกู เสือ ยุวกาชาด และกิจการ นักเรียน ๓.๒ ส่งเสริม สนับสนุน ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพ่ือการพัฒนานักเรียน นักศึกษา โดยผ่าน กระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด ๓.๓ ส่งเสริม สนับสนุน การน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา พระราชปณิธาน พระราช กระแส ด้านการศกึ ษา และโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริท่ีเก่ียวกับการศกึ ษา ๓.๔ ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศกึ ษาเพ่อื เสริมสร้างความม่ันคงของสถาบนั หลักของชาติ และความปรองดอง สมานฉนั ท์ ๓.๕ สร้างจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรมจริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ิในการดาเนินชวี ิต ๓.๖ สง่ เสรมิ การปอู งกนั แกไ้ ข และคมุ้ ครองความประพฤตนิ ักเรียน นกั ศึกษา ๓.๗ ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือท่ีได้รับ มอบหมาย ๔. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ ๔.๑ คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน ใช้เป็นเอกสารทางวิชาการ สาหรับอา้ งองิ การปฏิบตั ิงานได้ ๔.๒ ลดความผิดพลาดในการปฏบิ ัตงิ านของกลุม่ ลกู เสอื ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรียน ๔.๓ บคุ ลากรอื่นสามารถปฏบิ ัตงิ านกลุม่ ลูกเสอื ยุวกาชาด และกิจการนกั เรยี น แทนกันได้ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

บทที่ ๒ แนวทางการดาเนนิ งาน การดาเนินงานตามภารกิจ หรือขอบขา่ ยของกลุ่มลูกเสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรียนไดย้ ึดตาม แนวทางการดาเนนิ งาน ดงั ตอ่ ไปนี้ ๑. ศาสตรพ์ ระราชา ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ท่ีนอกจากจะทรงด้วยทศพิธราชธรรมแล้ว ทรงยังเป็น พระราชาที่เป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต และการทางานแก่พสกนิกรของพระองค์และนานาประเทศอีก ดว้ ย ผคู้ นต่างประจักษถ์ งึ พระอจั ฉริยภาพของพระองค์ และมีความสานกึ ในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้นอัน หาที่สุดมิได้ ซึ่งแนวคิดหรือหลักการทรงงานของในหลวงรัชกาลที่ ๙ มีความน่าสนใจท่ีสมควรนามา ประยุกต์ใช้ กับชีวิตการทางานเป็นอย่างย่ิง หากท่านใดต้องการปฏิบัติตามรอยเบื้องพระยุคลบาท ท่าน สามารถนาหลกั การทรงงานของพระองค์ไปปรบั ใช้ใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้ ดังน้ี ๑) จะทาอะไรตอ้ งศกึ ษาข้อมลู ใหเ้ ป็นระบบ ทรงศึกษาข้อมูลรายละเอียดอย่างเป็นระบบจากข้อมูลเบื้องต้น ท้ังเอกสาร แผนที่ สอบถามจาก เจา้ หน้าที่ นกั วิชาการ และราษฎรในพ้ืนที่ให้ได้รายละเอียดที่ถูกต้อง เพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ได้ จรงิ อยา่ งถูกตอ้ ง รวดเรว็ และตรงตามเปาู หมาย ๒) ระเบิดจากภายใน จะทาการใดๆ ต้องเรม่ิ จากคนทเ่ี ก่ยี วข้องเสียก่อน ต้องสรา้ งความเขม้ แข็งจากภายในให้เกิดความ เข้าใจและอยากทา ไม่ใช่การสั่งให้ทา คนไม่เข้าใจก็อาจจะไม่ทาก็เป็นได้ ในการทางานน้ันอาจจะต้องคุยหรือ ประชมุ กับลกู นอ้ ง เพอ่ื นร่วมงาน หรือคนในทมี เสยี ก่อน เพ่อื ใหท้ ราบถึงเปาู หมายและวิธีการตอ่ ไป ๓) แก้ปญั หาจากจดุ เลก็ ควรมองปัญหาภาพรวมกอ่ นเสมอ แตเ่ มอ่ื จะลงมอื แกป้ ญั หานน้ั ควรมองในสิง่ ทคี่ นมกั จะมองขา้ ม แล้วเร่ิมแก้ปัญหาจากจุดเล็กๆ เสียก่อน เม่ือสาเร็จแล้วจึงค่อยๆ ขยับขยายแก้ไปเร่ือยๆ ทีละจุด เราสามารถ เอามาประยกุ ต์ใชก้ บั การทางานได้ โดยมองไปทเ่ี ปูาหมายใหญข่ องงานแตล่ ะชนิ้ แล้วเร่ิมลงมือทาจากจุดเล็กๆ ก่อน ค่อยๆ ทา ค่อยๆ แก้ไปทลี ะจดุ งานแตล่ ะชิ้นก็จะลุลวงไปได้ตามเปูาหมายที่วางไว้ “ถ้าปวดหัวคิดอะไร ไม่ออก ก็ต้องแก้ไขการปวดหัวน้ีก่อน มันไม่ได้แก้อาการจริง แต่ต้องแก้ปัญหาท่ีทาให้เราปวดหัวให้ได้เสียก่อน เพื่อ จะให้อยใู่ นสภาพท่ีดีได้…” ๔) ทาตามลาดบั ขนั้ เริ่มต้นจากการลงมือทาในส่ิงที่จาเป็นก่อน เม่ือสาเร็จแล้วก็เร่ิมลงมือสิ่งที่จาเป็นลาดับต่อไป ดว้ ยความรอบคอบและระมัดระวงั ถ้าทาตามหลกั น้ไี ด้ งานทุกสิง่ ก็จะสาเรจ็ ไดโ้ ดยง่าย… ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ทรงเริ่มต้นจากส่ิงที่จาเป็นท่ีสุดของประชาชนเสียก่อน ได้แก่ สุขภาพสาธารณสุข จากนั้นจึงเป็นเร่ือง สาธารณปู โภคขน้ั พ้นื ฐาน และส่ิงจาเปน็ ในการประกอบอาชพี อาทิ ถนน แหลง่ นา้ เพื่อการเกษตร การอุปโภค บริโภค เน้นการปรับใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ราษฎรสามารถนาไปปฏิบัติได้ และเกิดประโยชน์สูงสุด “การ พัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับข้ัน ต้องสร้างพื้นฐาน คือความพอมี พอกิน พอใช้ของประชาชนส่วน ใหญ่เป็นเบ้ืองต้นก่อน ใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เม่ือได้พื้นฐานท่ีมั่นคงพร้อม พอสมควร สามารถปฏิบัติได้แล้วจึงค่อยสร้างเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงข้ึนโดยลาดับ ต่อไป…” พระบรมราโชวาทของในหลวงรัชกาลท่ี ๙ เมอ่ื วันท่ี ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗ คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

4 ๕) ภมู ิสังคม ภมู ิศาสตร์ สังคมศาสตร์ การพัฒนาใดๆ ต้องคานึงถึงสภาพภูมิประเทศของบริเวณนั้นว่าเป็นอย่างไร และสังคมวิทยา เกยี่ วกับลกั ษณะนิสยั ใจคอคน ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณใี นแต่ละท้องถิ่นที่มีความแตกต่างกัน “การพัฒนา จะต้องเป็นไปตามภูมิประเทศทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ ในสังคมวิทยา คือนิสัยใจคอ ของคนเรา จะไปบังคับให้คนอ่ืนคิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เข้าไปดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็ อธิบายใหเ้ ขาเข้าใจหลักการของการพัฒนาน้ีก็จะเกิดประโยชนอ์ ยา่ งยงิ่ ” ๖) ทางานแบบองคร์ วม ใช้วิธีคิดเพ่ือการทางาน โดยวิธีคิดอย่างองค์รวม คือการมองส่ิงต่างๆ ที่เกิดอย่างเป็นระบบครบ วงจรทุกสง่ิ ทกุ อย่างมีมิตเิ ชอ่ื มตอ่ กัน มองส่ิงท่ีเกดิ ขนึ้ และแนวทางแก้ไขอยา่ งเชอื่ มโยง ๗) ไมต่ ดิ ตารา เมื่อเราจะทาการใดนั้น ควรทางานอย่างยืดหยุ่นกับสภาพและสถานการณ์นั้นๆ ไม่ใช่การยึดติด อยกู่ บั แค่ในตาราวชิ าการ เพราะบางท่ีความรูท้ ่วมหัว เอาตัวไม่รอด บางคร้ังเรายึดติดทฤษฎีมากจนเกินไปจน ทาอะไรไมไ่ ด้เลย ส่งิ ทีเ่ ราทาบางคร้ังตอ้ งโอบออ้ มต่อสภาพธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อม สงั คม และจิตวิทยาดว้ ย ๘) รู้จกั ประหยดั เรียบงา่ ย ได้ประโยชน์สงู สุด ในการพัฒนาและช่วยเหลือราษฎร ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงใช้หลักในการแก้ปัญหาด้วยความ เรียบง่ายและประหยัด ราษฎรสามารถทาได้เอง หาได้ในท้องถิ่นและประยุกต์ใช้ส่ิงท่ีมีอยู่ในภูมิภาคนั้นมา แก้ไข ปรับปรงุ โดยไมต่ อ้ งลงทนุ สูงหรอื ใชเ้ ทคโนโลยีท่ยี งุ่ ยากมากนัก ดงั พระราชดารัสตอนหน่ึงว่า “…ให้ปลูก ปุาโดยไมต่ ้องปลูกโดยปล่อยให้ข้ึนเองตามธรรมชาติจะได้ประหยดั งบประมาณ…” ๙) ทาให้ง่าย ทรงคิดค้น ดัดแปลง ปรับปรุงและแก้ไขงาน การพัฒนาประเทศตามแนวพระราชดาริไปได้ โดยงา่ ย ไม่ยุ่งยากซับซ้อนและที่สาคัญอย่างยิ่งคือ สอดคล้องกับสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนและระบบนิเวศ โดยรวม “ทาใหง้ า่ ย” ๑๐) การมสี ่วนรว่ ม ทรงเป็นนักประชาธิปไตย ทรงเปิดโอกาสให้สาธารณชน ประชาชนหรือเจ้าหน้าที่ทุกระดับได้ มาร่วมแสดงความคิดเห็น “สาคัญท่ีสุดจะต้องหัดทาใจให้กว้างขวาง หนักแน่น รู้จักรับฟังความคิดเห็น แม้กระทั่งความวิพากษ์วิจารณ์จากผู้อื่นอย่างฉลาดน้ัน แท้จริงคือ การระดมสติปัญญาละประสบการณ์อัน หลากหลาย มาอานวยการปฏบิ ตั ิบริหารงานให้ประสบผลสาเรจ็ ท่ีสมบูรณน์ ัน่ เอง” ๑๑) ต้องยดึ ประโยชนส์ ว่ นรวม ในหลวงรชั กาลท่ี ๙ ทรงระลึกถงึ ประโยชน์ของสว่ นรวมเป็นสาคัญ ดังพระราชดารัสตอนหน่ึงว่า “…ใครต่อใครบอกว่า ขอให้เสียสละส่วนตัวเพื่อส่วนรวม อันนี้ฟังจนเบื่อ อาจราคาญด้วยซ้าว่า ใครต่อใครมา กบ็ อกว่าขอให้คดิ ถึงประโยชนส์ ่วนรวม อาจมานกึ ในใจว่า ใหๆ้ อยู่เรอ่ื ยแล้วส่วนตัวจะได้อะไร ขอให้คดิ วา่ คน ทใี่ ห้เปน็ เพอื่ สว่ นรวมนั้น มไิ ดใ้ ห้ส่วนรวมแตอ่ ย่างเดยี ว เป็นการให้เพ่ือตวั เองสามารถทจ่ี ะมีส่วนรวมท่ีจะอาศัย ได…้ ” คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

5 ๑๒) บรกิ ารที่จดุ เดยี ว ทรงมีพระราชดาริมากว่า ๒๐ ปีแล้ว ให้บริหารศูนย์ศึกษาการพัฒนาหลายแห่งทั่วประเทศโดย ใช้หลักการ “การบริการรวมที่จุดเดียว : One Stop Service” โดยทรงเน้นเร่ืองรู้รักสามัคคีและการร่วมมือ รว่ มแรงรว่ มใจกนั ด้วยการปรบั ลดช่องว่างระหว่างหน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ ง ๑๓) ใช้ธรรมชาติชว่ ยธรรมชาติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ทรงเข้าใจถึงธรรมชาติและต้องการให้ประชาชน ใกล้ชิด กับทรัพยากรธรรมชาติ ทรงมองปัญหาธรรมชาติอย่างละเอียด โดยหากเราต้องการแก้ไขธรรมชาติ จะต้องใช้ธรรมชาตเิ ข้าช่วยเหลือเราด้วย ๑๔) ใช้อธรรมปราบอธรรม ทรงนาความจรงิ ในเรื่องธรรมชาติและกฎเกณฑ์ของธรรมชาติมาเป็นหลักการแนวทางปฏิบัติใน การแก้ไขปัญหาและปรับปรงุ สภาวะท่ีไมป่ กตเิ ข้าสู่ระบบที่ปกติ เช่น การบาบดั น้าเน่าเสียโดยให้ผักตบชวา ซึ่ง มีตามธรรมชาติใหด้ ดู ซมึ สงิ่ สกปรกปนเปอ้ื นในนา้ ๑๕) ปลกู ปุาในใจคน การจะทาการใดสาเร็จตอ้ งปลูกจิตสานกึ ของคนเสียก่อน ต้องให้เหน็ คุณค่า เหน็ ประโยชน์กับส่ิง ทีจ่ ะทา…. “เจ้าหน้าท่ีปุาไม้ควรจะปลูกต้นไม้ลงในใจคนเสียก่อน แล้วคนเหล่าน้ันก็จะพากันปลูกต้นไม้ลงบน แผน่ ดนิ และจะรกั ษาต้นไม้ดว้ ยตนเอง” ๑๖) ขาดทุนคือกาไร หลักการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ที่มีต่อพสกนิกรไทย “การให้” และ “การเสียสละ” เปน็ การกระทาอันมผี ลเป็นกาไร คอื ความอยดู่ ีมสี ขุ ของราษฎร ๑๗) การพง่ึ พาตนเอง การพัฒนาตามแนวพระราชดาริ เพือ่ การแกไ้ ขปัญหาในเบือ้ งตน้ ด้วยการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า เพ่ือให้มีความแข็งแรงพอท่ีจะดารงชีวิตได้ต่อไป แล้วขั้นต่อไปก็คือ การพัฒนาให้ประชาชนสามารถอยู่ใน สงั คมไดต้ ามสภาพแวดล้อมและสามารถ พง่ึ ตนเองได้ในท่สี ดุ ๑๘) พออยพู่ อกิน ให้ประชาชนสามารถอยู่อย่าง “พออยู่พอกิน” ให้ได้เสียก่อน แล้วจึงค่อยขยับขยายให้มีขีด สมรรถนะท่ีกา้ วหนา้ ตอ่ ไป ๑๙) เศรษฐกจิ พอเพียง เป็นปรัชญาท่ีในหลวงรัชกาลที่ ๙ พระราชทานพระราชดารัสช้ีแนะแนวทางการดาเนินชีวิต ให้ดาเนินไปบน “ทางสายกลาง” เพื่อให้รอดพ้นและสามารถดารงอยู่ได้อย่างม่ันคงและย่ังยืนภายใต้กระแส โลกาภิวัตน์และการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ซึ่งปรัชญานี้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ท้ังระดับบุคคล องค์กร และ ชุมชน ๒๐) ความซือ่ สัตยส์ จุ ริต จริงใจต่อกัน ผูท้ ่มี คี วามสจุ ริตและบรสิ ุทธ์ิใจ แมจ้ ะมคี วามรนู้ อ้ ย ก็ย่อมทาประโยชน์ให้แก่ส่วนรวมได้มากกว่า ผู้ทมี่ ีความรู้มาก แต่ไม่มีความสุจริต ไม่มีความบรสิ ทุ ธ์ิใจ คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

6 ๒๑) ทางานอย่างมีความสขุ ทางานตอ้ งมคี วามสขุ ดว้ ย ถ้าเราทาอยา่ งไมม่ ีความสุขเราจะแพ้ แต่ถ้าเรามคี วามสขุ เราจะชนะ สนุกกับการทางานเพียงเท่าน้ัน ถือว่าเราชนะแล้ว หรือจะทางานโดยคานึงถึงความสุขท่ีเกิดจากการได้ทา ประโยชน์ให้กับผู้อื่นก็สามารถทาได้ “…ทางานกับฉัน ฉันไม่มีอะไรจะให้ นอกจากการมีความสุขร่วมกัน ใน การทาประโยชนใ์ ห้กับผ้อู ่ืน…” ๒๒) ความเพยี ร การเริ่มต้นทางานหรือทาสิ่งใดน้ันอาจจะไม่ได้มีความพร้อม ต้องอาศัยความอดทนและความ มุง่ มัน่ ดงั เช่นพระราชนิพนธ์ “พระมหาชนก” กษตั ริย์ผู้เพียรพยายามแม้จะไม่เห็นฝ่ังก็จะว่ายน้าต่อไป เพราะ ถ้าไมเ่ พียรวา่ ยก็จะตกเป็นอาหารปู ปลาและไม่ได้พบกบั เทวดาทช่ี ่วยเหลอื มใิ ห้จมน้า ๒๓) รู้ รัก สามัคคี ๒๓.๑ รู้ คือ รู้ปญั หาและรูว้ ธิ ีแก้ปัญหาน้ัน ๒๓.๒ รัก คือ เมื่อเรารู้ถึงปัญหาและวิธีแก้แล้ว เราต้องมีความรัก ที่จะลงมือทา ลงมือแก้ไข ปญั หานั้น ๒๓.๓ สามคั คี คือ การแก้ไขปญั หาต่างๆ ไม่สามารถลงมือทาคนเดยี วได้ ต้องอาศยั ความร่วมมอื ร่วมใจกนั ๒. พระบรมราโชบายการศึกษา ๔ ประการของในหลวงรัชกาลท่ี ๑๐ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร น้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษา ของสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว- มหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร ในหลวงรัชการท่ี ๑๐ ใส่เกล้าฯ และยึดมั่นปฏิบัติเป็นหลักในการ พฒั นาการศึกษาของชาติให้เจริญก้าวหน้าอย่างเป็นรูปธรรม โดยการจัดการศึกษาต้องมุ่งสร้างพ้ืนฐานให้แก่ ผ้เู รียน ๔ ด้าน คอื ๒.๑ มที ัศนคติที่ถกู ต้องตอ่ บา้ นเมอื ง ๑) ความรู้ ความเข้าใจตอ่ ชาติบ้านเมอื ง ๒) ยึดมั่นในศาสนา ๓) มน่ั คงในสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ๔) มคี วามเออื้ อาทรตอ่ ครอบครัวและชุมชนของตนเอง ๒.๒ มีพ้ืนฐานชวี ติ ที่มัน่ คง – มคี ณุ ธรรม ๑) รู้จกั แยกแยะสิ่งทผ่ี ิด – ชอบ / ชั่ว – ดี ๒) ปฏบิ ตั ิแต่สง่ ทีช่ อบ สิ่งทีด่ ีงาม ๓) ปฏิเสธส่งิ ที่ผดิ ส่งิ ท่ชี ว่ั ๔) ช่วยกนั สรา้ งคนดีให้แก่บ้านเมอื ง ๒.๓ มีงานทา – มีอาชีพ ๑) การเลยี้ งดูลกู หลานในครอบครวั หรอื การฝึกฝนอบรมในสถานศกึ ษาตอ้ งมงุ่ ใหเ้ ด็กและ เยาวชนรกั งาน สูง้ าน ทาจนงานสาเร็จ ๒) การฝกึ ฝนอบรมท้ังในหลกั สูตรและนอกหลักสตู รตอ้ งมีจดุ มงุ่ หมายให้ผู้เรยี นทางานเปน็ และมีงานทาในทส่ี ดุ ๓) ตอ้ งสนับสนนุ ผูส้ าเรจ็ หลกั สตู รมอี าชีพ มงี านทา จนสามารถเลยี้ งตวั เองและครอบครัว คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

7 ๒.๔ เป็นพลเมอื งดี ๑) การเป็นพลเมืองดี เป็นหน้าท่ีของทุกคน ๒) ครอบครัว – สถานศึกษาและสถานประกอบการตอ้ งส่งเสรมิ ใหท้ ุกคนมโี อกาสทาหน้าที่ เป็นพลเมอื งดี ๓) การเป็นพลเมอื งดี คือ “เหน็ อะไรที่จะทาใหบ้ า้ นเมอื งไดก้ ต็ ้องทา” เช่น งานอาสาสมคั ร งานบาเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกศุ ลใหท้ าด้วยความมีนา้ ใจและความเอือ้ อาทร ๓. ยุทธศาสตรช์ าติ ระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ยุทธศาสตร์ชาติ : กรอบการพัฒนาระยะยาว เพ่ือให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ย่งั ยนื เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมี ความสุข และตอบสนองต่อการบรรลุ ซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการท่ีจะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ ระดับสูงเป็นประเทศพัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความมั่นคง เสมอภาคและเป็นธรรม ประเทศสามารถแข่งขันไดใ้ นระบบเศรษฐกิจ ยทุ ธศาสตรแ์ ละสาระสาคญั ท่เี กย่ี วขอ้ งกับภารกิจของกลมุ่ ลูกเสือ ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรียน มี ๓ ยุทธศาสตร์ จากทั้งหมด ๖ ยุทธศาสตร์ ดังน้ี ๑. ยทุ ธศาสตร์ด้านความมน่ั คง เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ สรา้ งจติ สานึกของคนในชาตใิ ห้มีความจงรักภักดี และธารงรักษาสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

8 ๒. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคน การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย เสริมสร้างศักยภาพและบทบาทหน้าท่ีของสถาบัน ครอบครัวในการบ่มเพาะวางรากฐานการพัฒนาจติ ใจให้เข้มแข็ง มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความซอื่ สตั ย์ สุจรติ จิตสานึกสาธารณะ ควบคู่ไปกับการสร้างค่านิยมหลักของคนไทย ให้สมาชิกในครอบครัว สร้างความอบอุ่น และมน่ั คงให้สมาชกิ ในครอบครัว ๓. ยุทธศาสตรด์ ้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกนั ทางสังคม การสรา้ งความเข้มแข็งของสถาบนั ทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแขง็ ของชุมชน โดยการฟ้นื ฟูบทบาทสถาบันศาสนา การธารงรกั ษาวฒั นธรรมและขนบธรรมเนยี มประเพณเี พือ่ เป็นรากฐาน ท่เี ข้มแขง็ ในสงั คมตลอดจนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนเพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองได้อย่าง ยั่งยนื ๔. แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่สี ิบสอง (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่สี ิบสอง (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ประกอบด้วย ยุทธศาสาตร์การพัฒนาประเทศ ๑๐ ยุทธศาสตร์ มีสาระสาคัญที่เก่ียวข้องกับภารกิจของกลุ่มลูกเสือ ยุว กาชาด และกจิ การนกั เรยี น คอื ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ดังน้ี ยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ การเสริมสรา้ งและพัฒนาศกั ยภาพทุนมนุษย์ แนวทางการพฒั นา ๑ ปรบั เปลีย่ นคา่ นิยมคนไทยใหม้ คี ณุ ธรรม จริยธรรม มีวินยั จติ สาธารณะ และ พฤติกรรมทีพ่ งึ ประสงค์ ๑.๑ ส่งเสรมิ การเลี้ยงดใู นครอบครัวที่เน้นการฝกึ เด็กให้ร้จู กั การพึงพาตนเอง มคี วามซอื่ สัตย์ มวี นิ ัย มีศลี ธรรม คุณธรรม จรยิ ธรรม มีความรับผิดชอบ ในรูปแบบของกิจกรรมท่ีเป็นกิจวัตร ประจาวัน และให้พอ่ แมห่ รือผ้ปู กครองเปน็ แบบอย่างที่ดีใหเ้ ด็กสามารถเรียนรแู้ ละยดึ ถือเปน็ ตน้ แบบในการ ดาเนินชวี ิต ๑.๒ ส่งเสริมให้มีกิจกรรมการเรียนการสอนทั้งในและนอกห้องเรียนท่ีสอดแทรก คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความมวี ินัย จิตสาธารณะ รวมทั้งเรง่ สรา้ งสภาพแวดลอ้ มภายในและโดยรอบสถานศึกษา ให้ปลอดจากอบายมุขอย่างจรงิ จัง ๑.๕ จดั สรรเวลาและพ้นื ทอี่ อกอากาศให้แก่ส่ือสร้างสรรค์ทีส่ ่งเสรมิ การปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรมและค่านยิ มอนั ดโี ดยเฉพาะในชว่ งเวลาทม่ี ผี ชู้ มมากที่สดุ และส่งเสรมิ การใชเ้ ครือข่ายสังคม ออนไลน์ สร้างความรู้ ความเข้าใจในบทบาท สทิ ธิ และหน้าท่ีการเปน็ พลเมอื งทดี่ ี ๑.๖ ผลักดันให้มีการนาวัฒนธรรมการทางานที่พึงประสงค์ไปใช้ปฏิบัติจนให้เป็น คุณลักษณะที่สาคัญของคนในสังคมไทย อาทิการตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบ ความมีระเบียบวินัย การ ทางานเป็นทมี การเคารพในความคดิ เห็นท่ีแตกตา่ ง การทางานอยา่ งกระตอื รอื ร้น คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

9 ๒ พัฒนาศักยภาพคนให้มีทักษะความรู้ และความสามารถในการดารงชีวิตอย่างมี คณุ คา่ พัฒนาเด็กวัยเรียนและวัยรุ่นให้มีทักษะให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดวิเคราะห์ อย่างเป็นระบบ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะการทางานและการใช้ชีวิตที่พร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงาน โดย สนับสนุนให้เด็กเข้าร่วมกิจกรรมท้ังในและนอกห้องเรียนท่ีเอื้อต่อการพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะการเรียนรู้ อย่างตอ่ เนื่อง อาทิ การอา่ น การบาเพญ็ ประโยชนท์ างสังคม การดูแลสุขภาพการทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม การ วางแผนชีวิต ๓ ผลักดนั ใหส้ ถาบันทางสังคมมีสว่ นร่วมพัฒนาประเทศอย่างเข้มแขง็ สร้างสภาพแวดล้อมทางสงั คมทเ่ี ออ้ื ต่อการสรา้ งความเข้มแข็งของครอบครวั ทง้ั การใช้สอ่ื เพือ่ เสริมสรา้ งคณุ ค่าต่อครอบครวั พัฒนานวัตกรรมเพื่อชว่ ยสื่อสารระหว่างสมาชิกในครอบครวั สรา้ งพน้ื ที่ให้ครอบครวั ได้ใช้เวลารว่ มกัน สร้างเครือข่ายความสัมพันธ์ ระหว่างบ้านและโรงเรียนผ่านกิจกรรม เช่ือมความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งเดก็ ครู ผ้ปู กครอง ตัวชี้วัด : ประชากรอายุ ๑๓ ปีขนึ้ ไป มกี ิจกรรมการปฏบิ ัติตนทสี่ ะทอ้ นการมคี ุณธรรมจริยธรรมเพิ่มขน้ึ ๕. แผนการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ มีวิสัยทัศน์และวัตถุประสงค์ในการจัดการศึกษา ดังน้ี วิสัยทศั น์ “คนไทยทกุ คนได้รับการศกึ ษาและเรียนร้ตู ลอดชีวิตอย่างมคี ณุ ภาพ ดารงชีวติ อยา่ งเปน็ สุข สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและการเปล่ยี นแปลงของโลกศตวรรษท่ี ๒๑” วัตถปุ ระสงค์ในการจัดการศึกษา ๔ ประการ คอื ๑) เพ่อื พฒั นาระบบและกระบวนการจัดการศกึ ษาทีม่ ีคณุ ภาพและมีประสทิ ธภิ าพ ๒) เพอ่ื พฒั นาคนไทยใหเ้ ปน็ พลเมอื งดี มคี ณุ ลักษณะทักษะ และสมรรถนะทสี่ อดคล้องกบั บทบัญญตั ิของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พระราชบัญญัติการศกึ ษาแห่งชาติ และยุทธศาสตร์ชาติ ๓) เพื่อพฒั นาสังคมไทย ใหเ้ ป็นสงั คมแหง่ การเรยี นรู้ และคณุ ธรรม จริยธรรมรู้รักสามคั คี และร่วมมอื มุง่ สู่การพฒั นาประเทศอย่างยั่งยนื ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔) เพ่ือนาประเทศไทยก้าวข้ามกับดักประเทศที่มีรายได้ปานกลาง และความเหลื่อมล้า ภายในประเทศลดลง แผนการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ มีสาระสาคญั ที่เก่ียวขอ้ งกบั ภารกจิ ของกล่มุ ลกู เสือ ยวุ กาชาด และกิจการนักเรียน คือ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ ดังน้ี ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การจัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมั่งคงของสังคมและประเทศชาติ แนวทางการพฒั นา ๑ พัฒนาการจดั การศกึ ษาเพือ่ เสริมสร้างความม่ังคงของสถาบันหลกั ของชาตแิ ละ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ์ทรงเปน็ ประมขุ ๑) สรา้ งจิตสานกึ ของคนไทยทกุ ชว่ งวยั และประชาชนต่างเชอ้ื ชาตทิ อี่ ยู่ในประเทศไทย ให้มีความจงรกั ภักดี และธารงรักษาสถาบันหลักของชาติ ได้แก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

10 ๒) ปลกู ฝังและเสรมิ สร้างวถิ ีประชาธิปไตย ความสามคั คี สมานฉันท์ สนั ติวิธี ต่อต้านทุจริตคอรร์ ปั ชัน่ และยดึ มน่ั ในการปกครองระบบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข ๓) เสรมิ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจทีถ่ กู ตอ้ งเกย่ี วกบั สถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ผ่านหลักสูตรท้ังในและนอกระบบการศึกษา รวมทั้งช่องทางส่ือสารต่าง ๆ เช่น ผ่านการ เรียนรู้ ประวตั ิศาสตร์ ๔) ส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีในสถานศึกษาให้มีคุณภาพและ มาตรฐาน ๕) จัดให้มีการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุ วัฒนธรรม ๖) พัฒนาหลกั สูตรและการจดั การเรียนการสอนด้วยความเป็นพลเมอื งในทุกระดับ การศึกษา ๒ พัฒนาการจัดการศึกษาเพื่อการจัดระบบการดูแลและป้องกันภัยคุกคามในรูปแบบ ใหมอ่ าทิ อาชญากรรมและความรุนแรงในรปู แบบต่าง ๆ เชน่ ยาเสพตดิ ภัยพิบัติจากธรรมชาติ ภยั จาก โรคอุบตั ิใหม่ ภยั จากไซเบอร์ เป็นต้น ๑) ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้และปลูกฝังแนวทางการจัดการความขัดแย้งโดย แนวทางสันติ เพ่ือให้มีความรู้ ความเข้าใจ ท่ีจะลดระดับความรุนแรงเม่ือเผชิญกับสถานการณ์และปัญหา ความมนั่ คงรูปแบบต่าง ๆ ๒) เสรมิ สร้างความรู้ ความเข้าใจ ที่ถกู ต้องเกย่ี วกบั ภยั คุกคามในรูปแบบใหม่ ๓) พฒั นาระบบ กลไก และมาตรการทีเ่ ข้มแขง็ ในการปูองกันและแก้ไขภัยคุกคาม ในรปู แบบใหม่ ๖. นโยบายของรัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตร)ี ตามที่นายกรัฐมนตรีได้แถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรีต่อสภานิติบัญญัติแห่งชาติ เม่ือวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๕๗ โดยได้กาหนดนโยบายไว้ ๑๑ ด้าน ระบุให้รัฐบาลมีหน้าท่ีในการบริหารราชการแผ่นดิน ดาเนินการใหม้ ีการปฏริ ูป ด้านต่างๆ และส่งเสริมความสามคั คีและความสมานฉนั ทข์ องประชาชนในชาติ ดงั นี้ นโยบายที่ ๑ การปกปอู งและเชดิ ชูสถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ นโยบายที่ ๒ การรกั ษาความม่นั คงของรัฐและการตา่ งประเทศ นโยบายที่ ๓ การลดความเหล่อื มลา้ ของสงั คม และการสรา้ งโอกาสการเข้าถึงบรกิ ารของรัฐ นโยบายที่ ๔ การศกึ ษาและเรียนรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม นโยบายท่ี ๔ การยกระดับคุณภาพบริการดา้ นสาธารณสขุ และสขุ ภาพของประชาชน นโยบายที่ ๖ การเพ่ิมศกั ยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ นโยบายท่ี ๗ การสง่ เสริมบทบาทและการใช้โอกาสในประชาคมอาเซียน นโยบายที่ ๘ การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและ พฒั นา และนวัตกรรม นโยบายที่ ๙ การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ ประโยชน์อยา่ งยัง่ ยนื นโยบายท่ี ๑๐ การสง่ เสริมการบริหารราชการแผ่นดนิ ทมี่ ธี รรมาภิบาล และการปอู งกัน ปราบปราม การทจุ รติ และประพฤติมิชอบในภาครัฐ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

11 นโยบายที่ ๑๑ การปรับปรุงกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร เป็นหน่วยงานที่มีพันธกิจในการส่งเสริมและสนับสนุน การ จัดการศึกษา เพื่อพัฒนาประชากรวัยเรียนและทุกช่วงวัย อันจะเป็นพ้ืนฐานในการนาพาประเทศไทยให้ ก้าวหน้าอย่างยั่งยืน สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ โดยมีบทบาทหลัก ดาเนนิ การตามนโยบายของรฐั บาลใน ข้อท่ี ๔ นโยบายการศึกษาและเรียนรู้ การทะนุบารุงศาสนา ศิลปะ และวฒั นธรรม ซึ่งสาระในนโยบายข้อที่ ๔ ท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน คือ รัฐบาลจะ นาการศึกษาศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ความภาคภูมิใจในประวัติและความเป็นไทยมาใช้สร้างสังคมให้เข้มแข็ง อยา่ งมีคุณภาพและคณุ ธรรมควบค่กู นั ดังนี้ ๑. จัดให้มีการปฏิรูปการศึกษาและการเรียนรู้ โดยให้ความสาคัญทั้งการศึกษาในระบบและ การศึกษาทางเลอื กไปพรอ้ มกัน เพ่ือสรา้ งคุณภาพของคนไทยให้สามารถเรียนรู้ พัฒนาตนได้เต็มตามศักยภาพ ประกอบอาชพี และดารงชีวิตได้โดยมีความใฝรุ ้แู ละทกั ษะท่ีเหมาะสม เป็นคนดี มีคุณธรรม สร้างเสริมคุณภาพ การเรียนรู้ โดยเน้นการเรียนรู้เพ่ือสร้างสัมมาชีพในพื้นที่ ลดความเหลื่อมล้า และพัฒนากาลังคนให้เป็นที่ต้องการ เหมาะสม กับพนื้ ที่ ทง้ั ในด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และธุรกิจบริการ ๒. พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพ่ือให้สามารถมีความรู้และทักษะใหม่ที่ สามารถ.ประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคต ปรับกระบวนการเรียนรู้และ หลักสูตรให้เช่ือมโยงกับภูมิสังคม โดยบูรณาการความรู้และคุณธรรมเข้าด้วยกันเพ่ือให้เอ้ือต่อการพัฒนา ผู้เรียนท้ังในด้านความรู้ ทักษะ การใฝ่เรียนรู้ การแก้ปัญหา การรับฟังความคิดเห็นผู้อ่ืน การมีคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดี โดยเนน้ ความร่วมมือระหว่างผเู้ กย่ี วขอ้ งท้งั ในและนอกโรงเรยี น ๓. สนับสนุนการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ วฒั นธรรมของประเทศเพื่อนบา้ นและวัฒนธรรมสากล การสรา้ งสรรคง์ านศิลปะและวฒั นธรรมทีเ่ ปน็ สากล เพื่อเตรยี มเข้าสเู่ สาหลกั วฒั นธรรมของประชาคมอาเซียน และเพื่อเป็นส่วนหนงึ่ ของประชาคมโลก ๔. ปลกู ฝังค่านยิ มและจติ สานึกทด่ี ี รวมทงั้ สนับสนนุ การผลติ ส่ือคณุ ภาพเพอื่ เปดิ พืน้ ทสี่ าธารณะ ให้เยาวชนและประชาชนได้มโี อกาสแสดงออกอยา่ งสร้างสรรค์ ๗. จุดเน้นเชงิ นโยบาย รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร การ ปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ด้วยกระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความสาคัญยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นการพฒั นา และเสริมสรา้ ง ศักยภาพทรพั ยากรมนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ ประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอด ช่วงชวี ิต การสร้างสภาพแวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแตช่ ว่ ง การตง้ั ครรภ์จนถึงปฐมวยั การพัฒนาชว่ งวัยเรยี น/วยั รนุ่ การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึง การส่งเสริมศักยภาพวัยผ้สู งู อายุ ประเดน็ การพฒั นาการเรียนร้ทู ตี่ อบสนองตอ่ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย และประเด็นอื่นท่เี ก่ียวข้อง อาศัยอานาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 รฐั มนตรวี า่ การ กระทรวงศกึ ษาธิการ จึงประกาศนโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังน้ี คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

12 หลักการตามนโยบาย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กระทรวงศกึ ษาธิการมุ่งม่นั ดาเนนิ การภารกจิ หลกั ตามแผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ในฐานะหนว่ ยงานเจา้ ภาพขับเคลือ่ นทกุ แผนย่อยในประเดน็ 12 การพัฒนาการ เรยี นรู้ และแผนย่อยที่ 3 ในประเดน็ 11 ศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศ ดา้ น การศกึ ษา และนโยบายรัฐบาลทง้ั ในส่วนนโยบายหลกั ด้านการปฏิรปู กระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนา ศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวติ และนโยบายเร่งดว่ น เร่ืองการเตรยี มคนไทยสศู่ ตวรรษท่ี 21 นอกจากนี้ ยัง สนับสนุนการขบั เคล่ือนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเดน็ อ่ืน ๆ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นโยบายและแผนระดบั ชาติวา่ ดว้ ยความมั่นคงแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) รวมทงั้ นโยบายและแผนตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง โดยคาดหวงั วา่ การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอด ช่วงชวี ติ จะได้รับการพัฒนาการเรียนรู้ให้เป็นคนดี คนเกง่ มคี ณุ ภาพ และมีความพร้อมร่วมขบั เคลื่อนการ พัฒนาประเทศส่คู วามม่นั คง มั่งคั่ง และยง่ั ยืน ดังนนั้ ในการเร่งรดั การทางานภาพรวมกระทรวงให้เกิด ผลสมั ฤทธิเ์ พื่อสรา้ งความเชื่อมั่นใหก้ ับสงั คม และผลกั ดันใหก้ ารจัดการศึกษามคี ุณภาพและประสิทธิภาพ จึง กาหนดนโยบายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1. ปลดล็อก ปรับเปล่ียน และเปดิ กว้าง ระบบการบริหารจดั การและการพัฒนากาลงั คน โดยมงุ่ ปฏริ ูปองคก์ ารเพื่อหลอมรวมภารกิจและบุคลากร เช่น ด้านการประชาสมั พนั ธ์ ดา้ นการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ดา้ นกฎหมาย ฯลฯ เพอ่ื เพิ่มประสิทธภิ าพและความเปน็ เอกภาพ รวมทั้งการนา เทคโนโลยีดจิ ทิ ัลเข้ามาช่วยในการบริหารงานและการจดั การศกึ ษา 2. ปลดล็อก ปรบั เปลี่ยน และเปิดกว้าง ระบบการจัดการศึกษาและการเรยี นรู้ โดยมงุ่ ให้ครอบคลุม ถงึ การจัดการศึกษาเพ่ือคณุ วุฒิ และการเรียนรูต้ ลอดชวี ิตท่ีสามารถตอบสนองการเปลีย่ นแปลงใน ศตวรรษท่ี 21 3. ปลดลอ็ ก ปรับเปลี่ยน เปดิ กวา้ ง ทีเ่ ป็นเง่ือนไขตา่ ง ๆ เพ่ือใหบ้ รรลผุ ลตามนโยบายการศกึ ษายก กาลังสอง (Thailand Education Eco – System : TE2S) การศึกษาทเ่ี ขา้ ใจ Supply และตอบ โจทย์ Demand โดยใหท้ กุ หนว่ ยงานพิจารณาวิเคราะหข์ ้อมูลรว่ มกนั อยา่ งรอบด้าน ครบถว้ น รว่ มกัน พิจารณาหาแนวทาง ขน้ั ตอน และวธิ ีการดาเนนิ การร่วมกนั แบบบรู ณาการการทางานทุกภาคส่วน จดุ เนน้ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2565 การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 1. ICT (Information and Communication Technologies) เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สอ่ื สาร ประกอบดว้ ย 7 เร่อื งย่อย ไดแ้ ก่ (1) Data Center ศนู ย์ข้อมลู กลาง (2) Big Data ขอ้ มูล ขนาดใหญ่ (คลังข้อมูล การนาข้อมลู มารวมกนั ) (3) Platform (e-library e-learning และ Teaching Resource Platform) (4) e-book (5) e-office e-mail และ document (6) ระบบ บริหารจัดการหอ้ งเรยี น School และ Classroom Management และ (7) โครงสรา้ งพื้นฐาน Infrastructure (Internet) 2. การจดั การองค์ความรู้และยกระดบั ทักษะทจ่ี าเป็น เน้นพัฒนาความรแู้ ละสมรรถนะด้าน Digital Literacy สาหรบั ผเู้ รียนทม่ี ีความแตกตา่ งกันตามระดบั และประเภทของการจดั การศึกษา เชน่ STEM Coding เปน็ ต้น คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

13 3. การศึกษาเพ่ือทกั ษะอาชีพและการมงี านทา พฒั นา 3 ทักษะหลัก ได้แก่ โลกทัศน์อาชีพ การเสริม ทักษะใหม่ (Up Skill) และการเพิม่ ทักษะใหม่ท่จี าเป็น (Re-Skills) ใหแ้ ก่กลุม่ เปา้ หมาย ประกอบด้วย (1) ผอู้ ย่ใู นระบบการศึกษา (การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน และอาชีวศกึ ษา) (2) ผูอ้ ย่นู อก ระบบการศกึ ษา (3) วยั แรงงาน และ (4) ผสู้ งู อายุ เพอื่ ให้มีทักษะและสมรรถนะสอดคล้องกับการ เปล่ยี นแปลงท่ีเกิดจากเทคโนโลยีดิจทิ ลั และอาชีพทเี่ กิดขึ้นใหม่ (Digital Disruption) โดยเน้นเพ่มิ บทบาทของ กศน.ในการ Re-Skills ดา้ นอาชีวศึกษากับสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 4. การตา่ งประเทศ เนน้ ภารกจิ ท่ีต้องใชค้ วามร่วมมือระดับนานาชาตใิ นการจัดหาครชู าวตา่ งชาตใิ หแ้ ก่ สถานศึกษาทุกระดบั ทุกประเภทของกระทรวงศกึ ษาธิการเพ่อื จัดการศึกษาในสถานศึกษา 2 ดา้ น หลัก ๆ ได้แก่ (1) ดา้ นภาษาตา่ งประเทศ และ (2) ด้านวิชาการ โดยเฉพาะอาชีวศึกษา 5. กฎหมายและระเบยี บ เน้นแผนงาน 2 เรอ่ื ง ท่ีบรรจุอยใู่ นแผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นการศึกษา ประกอบด้วย เรือ่ งที่ 1 : การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรยี นรูโ้ ดยรวมของประเทศ โดย พระราชบัญญตั ิการศึกษาแหง่ ชาตฉิ บับใหม่และกฎหมายลาดับรอง มปี ระเดน็ ปฏิรูป 5 ประเด็น ไดแ้ ก่ – การมพี ระราชบัญญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. …. และมกี ารทบทวน จัดทา แกไ้ ข และ ปรบั ปรงุ กฎหมายที่เก่ยี วข้อง – การสรา้ งความร่วมมือระหว่างรฐั องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ เอกชน เพ่ือการจัดการศึกษา – การขับเคล่ือนการจัดการศึกษาเพ่ือการพัฒนาตนเองและการศกึ ษา เพื่อการเรยี นรตู้ ลอดชีวติ เพอ่ื รองรับการพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว่ งชีวติ – การทบทวนและ ปรบั ปรุงแผนการศึกษาแห่งชาติ – การจัดตง้ั สานกั งานคณะกรรมการนโยบายการศกึ ษา แห่งชาติ เร่ืองที่ 6 การปรับโครงสรา้ งของหน่วยงานในระบบการศึกษา ประกอบดว้ ยประเด็นปฏิรปู 3 ประเดน็ ไดแ้ ก่ 6. สถานศึกษามคี วามเปน็ อสิ ระในการบรหิ ารและจดั การศึกษา พ้ืนทนี่ วตั กรรมการศึกษา การปรับปรุง โครงสร้างของกระทรวงศึกษาธิการ 7. ระบบบริหารจดั การและการพฒั นาบุคลากร โดยรวบรวมหลักสูตรวชิ าการของแตล่ ะหนว่ ยงานใน สงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เพ่ือไม่ให้เกดิ ความซ้าซ้อนในการจดั ฝึกอบรมให้แต่ละกลมุ่ เปา้ หมาย และ ใช้ประโยชนจ์ ากสถาบันพัฒนาทีม่ ีอยู่แลว้ เชน่ สถาบนั พฒั นาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการ ศึกษา เพอื่ เป็นหน่วยงานกลางในการจัดฝกึ อบรมพฒั นาทักษะสมรรถนะให้แกบ่ ุคลากรของ กระทรวงศึกษาธิการ (ผู้บริหารหน่วยงานทกุ ระดับ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาทุกระดับ ทุกประเภท ครู อาจารย์ และบุคลากรอนื่ ๆ) รวมทงั้ พัฒนายกระดับใหเ้ ปน็ สถาบนั ฝึกอบรมระดบั นานาชาติ 8. การประชาสัมพนั ธ์ โดยจัดตัง้ ศูนย์ประชาสมั พนั ธข์ องกระทรวงศึกษาธิการ เป็นหนว่ ยงานสังกัด สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร ดาเนินการผลติ สอื่ และจดั ทาเน้ือหา (Content) เพื่อเผยแพร่ ผลงาน กิจกรรมและการเขา้ ร่วมงานต่าง ๆ ของทุกหน่วยงานในภาพรวมของ กระทรวงศึกษาธิการ 9. การพฒั นาเดก็ ปฐมวัย ดาเนินการขบั เคลื่อนนโยบายและแนวปฏบิ ตั ิในการจัดการศึกษาและการ เรยี นรู้สาหรับเดก็ ปฐมวยั 10.การพัฒนาโรงเรียนขนาดเลก็ โดยการสง่ เสรมิ โครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ 11.การรบั เรอ่ื งราวร้องทุกข์ท่เี ก่ียวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยการนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการ บริหารจดั การ เช่น การยกระดบั ตอบรับอัตโนมตั เิ พอ่ื แกไ้ ขปญั หาเบื้องตน้ (Call Center ดา้ น กฎหมาย) การวางระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการบริหารจดั การการรับเรื่องราวร้องทกุ ข์ใน ภาพรวมของกระทรวงศึกษาธิการ คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

14 12.การปฏริ ูปองคก์ ารและโครงสร้างกระทรวงศกึ ษาธิการ 13.การพัฒนาครู ในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ เพื่อให้มีมาตรฐานวิชาชีพที่สูงขึ้น 14.การศึกษายกกาลงั สอง โดย – พัฒนาครูทุกระดับใหม้ ที ักษะ ความรทู้ ่จี าเปน็ เพ่ือทาหน้าทีว่ ิทยากร มืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผา่ นศนู ยพ์ ฒั นาศักยภาพบุคคลเพอื่ ความ เป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) – จดั การเรียนรูต้ ลอดชวี ติ ผา่ น เว็บไซต์ http://www.deep.go.th โดยปลดลอ็ กและเปิดกวา้ งใหภ้ าคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนา เนือ้ หา เพ่ือให้ผเู้ รยี น ครู และผ้บู รหิ ารทางการศึกษามที างเลอื กในการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย และ ตลอดเวลาผ่านแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพ่ือความเปน็ เลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) – ให้ผ้เู รยี น ครู ผูบ้ ริหารทางการศึกษามแี ผนพัฒนารายบุคคลผา่ นแผนพัฒนา รายบุคคลสู่ความเป็นเลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) – จดั ทา “คูม่ อื มาตรฐานโรงเรียน” เพ่ือกาหนดให้ทกุ โรงเรยี นต้องมีพนื้ ฐานทจี่ าเปน็ การสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั  ม่งุ เนน้ การศึกษาเพอ่ื ทกั ษะอาชพี และการมงี านทาด้วยคุณภาพ โดยสร้างค่านิยมอาชีวศกึ ษา และ เติมเต็มช่องว่างระหว่างทักษะ (Full fill Skill Gaps) โดยขยายและยกระดับอาชีวศึกษาทวิภาคีสู่ คณุ ภาพมาตรฐาน เนน้ รว่ มมือกบั สถานประกอบการชัน้ นา (Tailor-made Curriculum) ขับเคลอื่ น ความร่วมมอื การจัดการอาชีวศกึ ษาระหวา่ งภาครัฐและภาคเอกชนสูม่ าตรฐานนานาชาติ  มุง่ เนน้ Re-Skills, Up Skill และ New Skill การฝึกอบรมวชิ าชพี ระยะสนั้ รวมทัง้ ผลิตกาลงั แรงงานทม่ี ีคณุ ภาพตามความเปน็ เลิศของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพืน้ ที่ เพื่อตอบโจทย์ การพฒั นาประเทศและสถานประกอบการ  มุง่ เนน้ พัฒนาศูนยป์ ระสานงานกลางการผลติ และพฒั นากาลงั คนอาชีวศึกษา (TVET Excellence Center) สมู่ าตรฐานสากล ผลิตอาชวี ะพนั ธุ์ใหม่ รวมถึงการนานวตั กรรม Digital เพื่อ มุ่งสู่การอาชีวศกึ ษาดิจทิ ัล (Digital College)  มุ่งเน้นพัฒนาศกั ยภาพผู้เรียนอาชวี ศึกษา ให้เปน็ ผปู้ ระกอบการ พัฒนาทักษะการเรยี นรผู้ เู้ รยี นเพื่อ การดารงชวี ิตใหม้ ีคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์และทักษะท่ีจาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 (Technical Vocational Education and Training : TVET, Student Skill Set) รวมทั้งให้ความร่วมมือในการ พฒั นาขดี ความสามารถของผู้เรยี นผา่ นการฝกึ ประสบการณ์วชิ าชีพในต่างประเทศและการแข่งขนั ใน เวทรี ะดบั นานาชาติ  มงุ่ เนน้ การเพมิ่ ปริมาณผู้เรยี นในหลักสูตรอาชีวศกึ ษา สร้างภาพลักษณ์สถานศึกษาอาชีวศึกษาเพ่ือ ดึงดดู ให้ผู้ท่ีสนใจเข้ามาเรียน  สนบั สนุนใหส้ ถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอยา่ งมีคุณภาพ และจดั การเรียนการสอนดว้ ย เครอ่ื งมอื ปฏิบตั ิท่ีทนั สมัย คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

15 การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา  ขับเคล่ือนพนื้ ทน่ี วัตกรรมการศึกษา ให้สอดคล้องกบั พระราชบญั ญตั ิพืน้ ท่ีนวตั กรรมการศึกษา พ.ศ. 2562  ส่งเสริมให้ผ้เู รียนท่ยี ุตกิ ารศึกษา ท้งั ก่อนและหลังสาเร็จการศึกษาภาคบงั คบั ใหไ้ ดร้ ับโอกาสทาง การศกึ ษาจนสาเรจ็ การศกึ ษาภาคบังคบั การจดั การศกึ ษาเพื่อสร้างเสรมิ คณุ ภาพชีวิตทีเ่ ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อม  เสริมสร้างการรับรู้ ความเขา้ ใจ ความตระหนัก และสง่ เสริมคณุ ลกั ษณะและพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์ ด้านส่งิ แวดล้อม รวมทัง้ การปรับตวั รองรบั การเปล่ยี นแปลงสภาพภมู อิ ากาศทจ่ี ะเกิดขึน้ ในอนาคต  สง่ เสริมการพัฒนาส่ิงประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมที่เปน็ มติ รกับส่งิ แวดลอ้ ม ใหส้ ามารถเปน็ อาชีพ และ สร้างรายได้ การพัฒนาการศึกษาเพ่ือความม่ันคง  เฝา้ ระวงั ภัยทุกรูปแบบทเ่ี กดิ ข้ึนกับผ้เู รียน ครู และสถานศกึ ษา การปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ  ปฏริ ูปองค์การเพ่ือเพ่ิมประสิทธภิ าพ ประสิทธผิ ล และความเปน็ เอกภาพของหน่วยงาน  ปรบั ปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คบั ประกาศตา่ ง ๆ ท่เี ป็นอปุ สรรคและข้อจากัดในการดาเนินงาน โดยคานึงถึงประโยชนข์ องผู้เรียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศึกษาธิการโดยรวม  ยกระดับการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของหน่วยงานในสงั กดั กระทรวงศึกษาธกิ าร  พฒั นาระบบฐานขอ้ มลู ดา้ นการศึกษา (Big Data) การขับเคล่อื นนโยบายและจุดเนน้ สู่การปฏบิ ัติ 1. ให้ส่วนราชการ หนว่ ยงานในสังกดั กระทรวงศึกษาธิการ นานโยบายและจุดเนน้ เปน็ กรอบแนวทาง ในการวางแผนและจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามท่ี รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ให้แนวทางในการบริหารงบประมาณไว้ 2. ใหม้ ีคณะกรรมการตดิ ตาม ประเมนิ ผล และรายงานการขับเคลือ่ นนโยบายและจุดเนน้ สู่การปฏบิ ัติ ระดบั พ้นื ท่ี โดยให้ผตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน สานักงานศึกษาธิการภาคและ สานกั ตรวจราชการและติดตามประเมนิ ผล สป. เปน็ ฝา่ ยเลขานกุ ารและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร ตามลาดบั โดยมบี ทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมนิ ผลในระดบั นโยบาย และจดั ทา รายงานเสนอต่อรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร และคณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ทราบตามลาดบั คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

16 3. กรณมี ปี ญั หาในเชิงพน้ื ทห่ี รอื ข้อขัดข้องในการปฏบิ ัตงิ าน ให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมลู และดาเนินการ แก้ไขปญั หาในระดับพืน้ ทีก่ ่อน โดยใชภ้ าคเี ครือข่ายในการแก้ไขข้อขดั ข้อง พร้อมทัง้ รายงานตอ่ คณะกรรมการตดิ ตามฯ ข้างต้น ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตามลาดบั อน่ึง สาหรบั ภารกิจของส่วนราชการหลักและหนว่ ยงานทีป่ ฏบิ ัติในลักษณะงานในเชงิ หนา้ ที่ (Function) งานในเชงิ ยทุ ธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพนื้ ท่ี (Area) ซึ่งได้ดาเนนิ การอยู่ก่อน เมอื่ รัฐบาลหรือกระทรวงศกึ ษาธกิ ารมีนโยบายสาคญั เพ่ิมเติมในปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 นอกเหนือจากที่ กาหนดหากมีความสอดคลอ้ งกบั หลกั การนโยบายและจดุ เนน้ ขา้ งตน้ ให้ถือเป็นหนา้ ที่ของสว่ นราชการหลัก และหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้องตอ้ งเร่งรดั กากบั ตดิ ตาม ตรวจสอบให้การดาเนินการเกดิ ผลสาเร็จ และมี ประสิทธภิ าพอย่างเปน็ รปู ธรรมด้วยเช่นกัน ท้งั นี้ ต้ังแต่บัดนีเ้ ป็นต้นไป ประกาศ ณ วันท่ี 6 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2563 นายณฏั ฐพล ทีปสวุ รรณ รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

บทท่ี ๓ ขน้ั ตอนและมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน รับผิดชอบการปฏิบัติงานตามขอบข่าย/ภารกิจ ท่ีสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศเมื่อวันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๐ เรื่อง การแบ่งหน่วยงาน ภายในสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั สังกดั สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ดงั น้ี ๑. ส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการและประสานเกี่ยวกับกิจการลูกเสือ ยุวกาชาด และ กิจการนกั เรียน ๒. ส่งเสริม สนับสนุน ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อการพัฒนานักเรียน นักศึกษา โดยผ่าน กระบวนการลูกเสือและยวุ กาชาด ๓. ส่งเสริม สนับสนุน การน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา พระราชปณิธาน พระ ราชกระแสด้านการศกึ ษา และโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดารทิ ่ีเก่ยี วกบั การศึกษา ๔. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาเพ่อื เสรมิ สร้างความมน่ั คงของสถาบนั หลกั ของชาติ และความปรองดอง สมานฉนั ท์ ๕. สร้างจติ สานกึ รกั ษส์ ่งิ แวดล้อม มีคณุ ธรรมจริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงส่กู ารปฏิบัติในการดาเนนิ ชีวิต ๖. สง่ เสริมการปอู งกัน แก้ไข และคมุ้ ครองความประพฤตินกั เรยี น นักศกึ ษา ๗. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้องหรือท่ีได้รับ มอบหมาย ในการดาเนินงานตามขอบข่าย/ภารกิจ ของกลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนักเรียน สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ มีข้ันตอน และมาตรฐานการปฏบิ ตั งิ านตามภารกิจ ดังต่อไปนี้ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

18 1. สง่ เสรมิ สนบั สนุน และดาเนนิ การและประสานเกยี่ วกบั กิจการลกู เสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรียน 1.๑ ชื่องาน งานส่งเสริม สนับสนุน และดาเนินการและประสานงานเก่ียวกับกิจการลูกเสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรียน 1.2 วตั ถุประสงค์ ๑) เพ่อื สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหก้ ารดาเนนิ การพฒั นาและประสานงานเก่ียวกับกิจการลูกเสอื ยุวกาชาดในจงั หวดั ให้เปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธกิ าร ๒) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนานักเรียน นักศึกษาผ่านกระบวนการลูกเสือ และ กระบวนการยุวกาชาด ๓) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และการฝึกอบรมเจ้าหน้าท่ีและ ผ้บู งั คับบัญชายุวกาชาด ๔) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมชุมนุมลูกเสือ และยุวกาชาด ตามกิจกรรมของนักเรียน นักศึกษาในทุกระดับช้ันท้ังในระดับโรงเรียน กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ระดับจังหวัด ระดับภาค ระดบั ชาติ และระดบั โลก ๕) เพือ่ ส่งเสรมิ สนับสนนุ กิจกรรมเสรมิ เพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ ของนกั เรียน นกั ศึกษา ในการสง่ เสรมิ ภาวะผู้นา ทกั ษะป้องกนั ตัว การช่วยเหลอื สังคม และการบาเพญ็ ประโยชน์ 1.๓ ขอบเขตของงาน ๑) ส่งเสริม สนับสนุนให้การดาเนินการพัฒนาและประสานงานเกี่ยวกับกิจการลูกเสือ ยุวกาชาดในจังหวดั ใหเ้ ป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒) ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนานักเรียน นักศึกษา ผ่านกระบวนการลูกเสือ และ กระบวนการยวุ กาชาด ๓) ส่งเสริม สนับสนุน การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่และ ผูบ้ ังคับบัญชายวุ กาชาด ๔) ส่งเสรมิ สนบั สนนุ กิจกรรมชมุ นมุ ลูกเสอื และยวุ กาชาด ตามกิจกรรมของนกั เรยี น นกั ศึกษา ในทุกระดบั ช้นั ท้งั ในระดับโรงเรียน กลุ่มเครอื ขา่ ยโรงเรียน ระดับเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษา ระดบั จงั หวัด ระดบั ภาค ระดับชาตแิ ละระดับโลก ๕) ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมเสริมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน นักศึกษา ในการ สง่ เสรมิ ภาวะผ้นู าทักษะป้องกนั ตัว การช่วยเหลือสังคม และการบาเพ็ญประโยชน์ 1.๔ คาจากดั ความ ๑) ลกู เสอื หมายถึง เดก็ และเยาวชนทั้งชายและหญิงทสี่ มคั รเขา้ เป็นลูกเสือท้ังในสถานศึกษา และนอกสถานศึกษา สว่ นลกู เสือที่เปน็ หญิงเรยี กว่า เนตรนารี ๒) บุคลากรทางลูกเสอื หมายถงึ ผ้บู งั คบั บญั ชาลกู เสือ ผ้ตู รวจการลกู เสอื กรรมการลกู เสือ อาสาสมัครลกู เสือ และเจา้ หนา้ ท่ลี กู เสอื ๓) ลกู เสือมี ๔ ประเภท (๑) ลกู เสือสารอง (๒) ลูกเสือสามญั คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

19 (๓) ลูกเสือสามัญร่นุ ใหญ่ (๔) ลกู เสือวิสามัญ ๔) ยุวกาชาด หมายถึง เยาวชน ชาย หญิง อายุ 7-๒๕ ปี ทั้งในสถานศึกษาและนอก สถานศึกษา สังกัดตา่ ง ๆ รวมถงึ เยาวชนกลมุ่ พเิ ศษในความรบั ผดิ ชอบของหนว่ ยงานต่าง ๆ 1.๕ ขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน ๑) สง่ เสริม สนับสนนุ ให้การดาเนินการพฒั นาและประสานงานเก่ยี วกบั กจิ การลกู เสือ ยุวกาชาด ในจงั หวัดใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ (1) สารวจข้อมูล กาหนดนโยบาย และแนวทางการพัฒนาการดาเนินงานเกยี่ วกับกิจการ ลกู เสือ ยุวกาชาดใหห้ น่วยงานทเ่ี ก่ยี วข้องภายในจงั หวดั ทราบ เพ่ือการปฏิบตั อิ ย่างชดั เจน (2) กาหนดแผนงาน โครงการกิจกรรม ตลอดปงี บประมาณ (3) แต่งต้ังคณะทางาน และมอบภารกจิ ในทกุ สว่ นตามแผนงาน โครงการ/กจิ กรรม (4) ดาเนนิ งานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม (5) ติดตาม ประเมนิ ผลแผนงาน โครงการ/กจิ กรรม ในหน่วยงาน ทกุ ระดบั (6) สรุป และรายงานผลการดาเนินงาน ตามระยะเวลาทก่ี าหนดในแผนงานโครงการ ๒) ส่งเสรมิ สนับสนุนและพัฒนานกั เรียน นักศกึ ษาผา่ นกระบวนการลูกเสือ และกระบวนการยวุ กาชาด (๑) กาหนดนโยบาย แผนงาน โครงการกจิ กรรม ท่เี ก่ยี วขอ้ ง (๒) แตง่ ตั้งคณะทางาน (๓) ดาเนินงานตามแผนงาน โครงการ กจิ กรรม (๔) ตดิ ตาม ประเมนิ ผลแผนงาน โครงการ/กิจกรรม (๕) สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งาน ๓) ส่งเสริม สนับสนุน การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และการฝึกอบรมเจ้าหน้าท่ีและ ผู้บงั คบั บญั ชายวุ กาชาด (๑) สารวจข้อมูล / วเิ คราะห์ฐานข้อมูล (๒) กาหนดแผนงาน โครงการ / กจิ กรรม (๓) แต่งตั้งคณะทางาน และมอบภารกจิ ในทุกส่วนตามแผนงาน โครงการ/กิจกรรม (๔) ดาเนนิ งานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม (๕) ตดิ ตาม แผนงาน โครงการ/กิจกรรม (๖) สรุป และรายงานผลการดาเนินงาน ตามระยะเวลาทีก่ าหนดในแผนงานโครงการ ๔) ส่งเสรมิ สนับสนุนกิจกรรมชมุ นุมลูกเสือ และยุวกาชาด ตามกิจกรรมของนักเรียน นกั ศึกษา ในทกุ ระดับชั้นท้งั ในระดับโรงเรยี น กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา ระดับจังหวัด ระดับภาค ระดับชาติและระดับโลก (๑) กาหนดแผนงาน โครงการ / กจิ กรรม (๒) ประสานหน่วยงาน องค์กรที่เก่ยี วขอ้ งในการดาเนนิ งาน และขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณ (๓) แต่งต้งั คณะทางาน และมอบภารกจิ ในทกุ ส่วนตามแผนงาน โครงการ/กจิ กรรม (๔) ดาเนนิ งานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม ทก่ี าหนด (๕) กากบั ตดิ ตาม แผนงาน โครงการ/กจิ กรรม และประเมินผลการดาเนนิ งาน (๖) สรุป และรายงานผลการดาเนนิ งาน ตามระยะเวลาที่กาหนดในแผนงานโครงการ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

20 ๕) สง่ เสรมิ สนับสนุนกจิ กรรมเสริมเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพชวี ิตของผเู้ รียนในการสง่ เสริมภาวะผ้นู า ทักษะปอ้ งกนั ตวั และการชว่ ยเหลือสงั คม (๑) กาหนดนโยบายและแนวทางในการส่งเสริมอยา่ งเปน็ ระบบ (๒) แต่งต้ังคณะทางาน เพื่อกาหนดแนวทางการส่งเสริมในกิจกรรมต่างๆ ในทุกระดับให้มี ความครอบคลมุ ทัว่ ถงึ (๓) ประสานหน่วยงาน และแจง้ สถานศึกษาทเ่ี กยี่ วขอ้ งเพ่อื ให้ทราบและเขา้ ร่วมกิจกรรม (๔) ดาเนินงานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม ทก่ี าหนด (๕) ตดิ ตาม แผนงาน โครงการ/กจิ กรรม และประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน (๖) สรปุ และรายงานผลการดาเนินงาน ๒.๖ Flow Chart การปฏิบัตงิ าน ๑) ส่งเสรมิ สนับสนนุ ให้การดาเนนิ การพฒั นาและประสานงานเก่ยี วกบั กิจการลูกเสือ ยุวกาชาด ในจังหวดั ให้เป็นไปตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร สารวจข้อมลู กาหนดนโยบาย และแนวทางการพฒั นาการ ดาเนนิ งานเกีย่ วกบั กจิ การลูกเสือ ยวุ กาชาดให้หน่วยงานท่ีเกย่ี วข้อง ภายในจงั หวัดทราบ เพ่อื การปฏิบตั ิอย่างชดั เจน กาหนดแผนงาน โครงการกจิ กรรมตลอด ปงี บประมาณ แต่งตั้งคณะทางาน และมอบภารกจิ ในทุกส่วนตามแผนงานโครงการ/ กิจกรรม ดาเนนิ งานตามแผนงานโครงการ กิจกรรม ติดตาม ประเมนิ ผลแผนงาน โครงการ/กิจกรรมในหนว่ ยงาน ทกุ ระดบั สรุป และรายงานผลการดาเนินงาน ตามระยะเวลาทกี่ าหนดในแผนงานโครงการ คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

21 ๒) สง่ เสรมิ สนับสนุนและพฒั นานกั เรยี น นกั ศึกษา ผา่ นกระบวนการลูกเสอื และกระบวนการ ยวุ กาชาด กาหนดนโยบาย แผนงาน โครงการกิจกรรม ท่เี กย่ี วขอ้ ง แต่งตง้ั คณะทางาน ดาเนินงานตามแผนงาน โครงการ กจิ กรรม ตดิ ตาม ประเมนิ ผลแผนงาน โครงการ/ กิจกรรม สรุป และรายงานผลการดาเนินงาน ๓) ส่งเสริม สนับสนุน การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่และบังคับ บัญชายวุ กาชาด สารวจข้อมลู / วเิ คราะห์งานข้อมลู กาหนดแผนงาน โครงการ / กิจกรรม แต่งตงั้ คณะทางาน และมอบภารกจิ ในทกุ สว่ นตามแผนงาน โครงการ/กจิ กรรม ดาเนนิ งานตามแผนงาน โครงการ กจิ กรรม ติดตาม แผนงาน โครงการ/กิจกรรม สรปุ และรายงานผลการดาเนินงาน ตามระยะเวลาทีก่ าหนดในแผนงานโครงการ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

22 ๔) ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมชุมนุมลูกเสือ และยุวกาชาด ตามกิจกรรมของนักเรียน นักศึกษาในทุกระดับชั้นท้ังในระดับโรงเรียน กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับ จงั หวดั ระดับภาค ระดับชาติ และระดบั โลก กาหนดแผนงาน โครงการ / กิจกรรม ประสานหนว่ ยงาน องค์กรท่ีเกี่ยวขอ้ งในการดาเนนิ งานและขอรับการสนับสนุนงบประมาณ แต่งตัง้ คณะทางาน และมอบภารกิจในทกุ สว่ นตามแผนงาน โครงการ/กิจกรรม ดาเนนิ งานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรม ท่ีกาหนด กากับ ติดตาม แผนงาน โครงการ/กิจกรรม และประเมนิ ผลการ ดาเนนิ งาน สรุป และรายงานผลการดาเนินงาน ตามระยะเวลาท่กี าหนดในแผนงานโครงการ ๕) ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมเสริมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน นักศึกษาในการ ส่งเสริมภาวะผู้นาทักษะปอ้ งกันตวั และการช่วยเหลอื สงั คม กาหนดนโยบายและแนวทางในการส่งเสรมิ อย่าง เป็นระบบ แต่งต้งั คณะทางาน เพือ่ กาหนดแนวทางการสง่ เสรมิ ในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ในทกุ ระดับให้มีความครอบคลุมทัว่ ถึง ประสานหนว่ ยงาน และแจ้งสถานศกึ ษาทีเ่ กย่ี วข้องเพ่ือให้ทราบและเข้าร่วมกิจกรรม ดาเนนิ งานตามแผนงาน โครงการ กจิ กรรม ทกี่ าหนด ตดิ ตาม แผนงาน โครงการ/กิจกรรม และประเมนิ ผลการดาเนินงาน สรุป และรายงานผลการดาเนินงาน คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

๒.๗ แบบฟอรม์ ท่ใี ช้ 23 ๑) หนังสือบันทกึ ขอ้ ความ รหัสเอกสาร ๒) หนงั สือราชการภายนอก ๓) แบบประเมนิ ตามหัวข้องานทเี่ ก่ียวขอ้ ง ๒.๘ เอกสาร / หลักฐานอ้างอิง ๑) พระราชบญั ญตั ลิ กู เสอื แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒) ข้อบงั คบั สภากาชาดไทย แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบบั ท่ี ๖๘) พุทธศักราช ๒๕๕๐ หมวด ๙ วา่ ดว้ ยยวุ กาชาด ๒.๙ มาตรฐานงานของสานักงานศึกษาธิการจงั หวัดสกลนคร ชอื่ งาน งานสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และ เนนิ การและประสานเกี่ยวกบั กจิ การ สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั สกลนคร ลกู เสือ ยวุ กาชาด และกจิ การ กล่มุ ลูกเสือ ยวุ กาชาด และกิจการนักเรยี น นกั เรียน วัตถุประสงค์ ๑) เพือ่ ส่งเสริม สนบั สนุนให้การดาเนนิ การพัฒนาและประสานงานเกี่ยวกบั กิจการลกู เสอื ยุวกาชาด ในจงั หวัดใหเ้ ปน็ ไปตามนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ที่ ผงั ข้ันตอนการดาเนินงาน รายละเอียดงาน เวลา มาตรฐาน ผู้รบั ผิดชอบ หมาย ดาเนินการ คณุ ภาพงาน เหตุ ๑ สารวจขอ้ มลู กาหนดนโยบาย สารวจข้อมลู กาหนด พฤศจิกายน นโยบาย นักวชิ าการศึกษา และแนวทางการพฒั นาฯ นโยบาย และแนวทาง เกีย่ วกบั ในกลมุ่ ลกู เสอื ฯ การพัฒนาการ กจิ การลูกเสือ ดาเนนิ งานเกย่ี วกบั ยุวกาชาด กิจการลกู เสอื ยวุ กาชาด ของกระทรวง ให้หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง ศกึ ษาธิการ ภายในจังหวัดทราบ เพ่อื การปฏิบัติอยา่ งชดั เจน ๒ กาหนดแผนงาน โครงการ กาหนดแผนงาน ธันวาคม นักวิชาการศึกษา กิจกรรม โครงการกิจกรรม ในกลุ่มลกู เสอื ฯ ตลอดปงี บประมาณ ๓ แต่งตัง้ คณะทางาน แต่งตงั้ คณะทางาน และ มกราคม นกั วิชาการศึกษา มอบภารกิจในทกุ ส่วนตาม ในกลุ่มลูกเสือฯ แผนงาน โครงการ/ กิจกรรม ๔ ดาเนนิ งานตามแผนงาน ดาเนินงานตามแผนงาน พฤษภาคม- นกั วิชาการศกึ ษา โครงการ กจิ กรรม โครงการ กจิ กรรม กรกฎาคม ในกลมุ่ ลูกเสือฯ ตามทีไ่ ดก้ าหนดไว้ ๕ ติดตามประเมินผลแผนงาน ตดิ ตามประเมินผล สิงหาคม นักวิชาการศกึ ษา โครงการ/กจิ กรรม แผนงาน โครงการ/ ในกลุ่มลกู เสือฯ กจิ กรรม ในหนว่ ยงานทกุ ระดบั ๖ สรุป และรายงานผลการ สรุป และรายงานผลการ กนั ยายน รปู แบบ นกั วชิ าการศกึ ษา ดาเนินงาน ดาเนนิ งาน ตาม การรายงาน ในกลุ่มลกู เสอื ฯ ระยะเวลาท่ีกาหนดใน ผลการ แผนงานโครงการ ดาเนนิ งาน คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

24 ช่อื งาน งานส่งเสริม สนับสนนุ และ สานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดสกลนคร รหสั เอกสาร เนนิ การและประสานเกี่ยวกบั กจิ การ กลุ่มลูกเสือ ยวุ กาชาด และกิจการนกั เรยี น ลูกเสอื ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรยี น วตั ถปุ ระสงค์ ๒) เพื่อสง่ เสรมิ สนับสนุนและพัฒนานกั เรียน นักศึกษา ผา่ นกระบวนการลกู เสือ และกระบวนการยวุ กาชาด ท่ี ผังขน้ั ตอนการดาเนินงาน รายละเอยี ดงาน เวลา มาตรฐาน ผู้รับผดิ ชอบ หมาย ดาเนินการ คณุ ภาพงาน เหตุ ๑ กาหนดนโยบาย แผนงาน กาหนดนโยบาย ตุลาคม- นโยบาย นักวิชาการศึกษา โครงการ แผนงาน โครงการ พฤศจกิ ายน ของ ในกลุม่ ลกู เสือฯ กิจกรรม ที่เกีย่ วขอ้ ง กระทรวง ศึกษาธกิ าร เก่ยี วกับ กิจการ ลูกเสอื ยวุ กาชาด ๒ แต่งตัง้ คณะทางาน แตง่ ตั้งคณะทางาน และ ธันวาคม นักวชิ าการศึกษา มอบภารกจิ ในทุกส่วน ในกลุ่มลกู เสอื ฯ ตามแผนงาน โครงการ/ กจิ กรรม ๓ ดาเนนิ งานตามแผนงาน ดาเนินงานตามแผนงาน พฤษภาคม- นกั วิชาการศกึ ษา โครงการ กจิ กรรม โครงการ กิจกรรม กรกฎาคม ในกลุ่มลูกเสือฯ ตามทีไ่ ดก้ าหนดไว้ ๔ ติดตามประเมนิ ผลแผนงาน ติดตามประเมนิ ผล สงิ หาคม นกั วชิ าการศึกษา โครงการ/กจิ กรรม แผนงาน โครงการ/ ในกลมุ่ ลูกเสอื ฯ กิจกรรม ในหน่วยงานทุก ระดับ ๕ สรุป และรายงานผลการ สรปุ และรายงานผลการ กนั ยายน รปู แบบ นักวชิ าการศกึ ษา ดาเนินงาน ดาเนินงาน ตาม การรายงาน ในกล่มุ ลกู เสือฯ ระยะเวลาทก่ี าหนดใน ผลการ แผนงานโครงการ ดาเนินงาน คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

25 ชอื่ งาน งานส่งเสริม สนับสนุน และ สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดสกลนคร รหสั เอกสาร เนินการและประสานเกย่ี วกับกจิ การ กลมุ่ ลูกเสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น ลูกเสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรียน วัตถุประสงค์ ๓) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่และผู้บังคับบัญชา ยุวกาชาด ท่ี ผังขน้ั ตอนการดาเนินงาน รายละเอียดงาน เวลา มาตรฐาน ผูร้ บั ผิดชอบ หมาย ดาเนินการ คณุ ภาพงาน เหตุ ๑ สารวจขอ้ มลู กาหนดนโยบาย สารวจขอ้ มลู / พฤศจิกายน นโยบาย นักวิชาการศกึ ษา และแนวทางการพฒั นาฯ วเิ คราะหฐ์ านขอ้ มลู เกย่ี วกับกิจการ ในกลุ่มลูกเสอื ฯ ลูกเสือ ยวุ กาชาด ของกระทรวง ศึกษาธกิ าร ๒ กาหนดแผนงาน โครงการ ก า ห น ด แ ผ น ง า น ธันวาคม นักวิชาการศึกษา ในกลุ่มลกู เสือฯ กจิ กรรม โครงการ / กจิ กรรม ๓ แตง่ ตั้งคณะทางาน แต่งตั้งคณะทางาน มกราคม นักวชิ าการศึกษา และมอบภารกิจใน ในกลมุ่ ลกู เสือฯ ทุกส่วนตามแผนงาน โครงการ/กจิ กรรม ๔ ด า เ นิ น ง า น ต า ม แ ผ น ง า น ด า เ นิ น ง า น ต า ม พฤษภาคม- นกั วิชาการศกึ ษา ในกลุม่ ลูกเสือฯ โครงการ กิจกรรม แผนงาน โครงการ กรกฎาคม กิจกรรม ๕ ติดตามประเมินผลแผนงาน ติ ด ต า ม แ ผ น ง า น สิงหาคม นกั วิชาการศกึ ษา ในกลุ่มลูกเสือฯ โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม ๖ สรุป และรายงานผลการ สรปุ และรายงานผล กนั ยายน รปู แบบ นกั วชิ าการศกึ ษา ดาเนนิ งาน การดาเนินงาน ตาม การรายงานผลการ ในกลุ่มลูกเสือฯ ระยะเวลาท่ีกาหนด ดาเนินงาน ในแผนงานโครงการ คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

26 ชอ่ื งาน งานส่งเสรมิ สนับสนุน และ สานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั สกลนคร รหสั เอกสาร เนินการและประสานเก่ียวกบั กจิ การ กลุ่มลกู เสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรยี น ลูกเสือยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น วตั ถปุ ระสงค์ ๔) เพ่ือส่งเสรมิ สนับสนนุ กิจกรรมชมุ นมุ ลกู เสอื และยวุ กาชาด ตามกจิ กรรมของนักเรียน นกั ศกึ ษาในทุกระดับชัน้ ทง้ั ในระดับโรงเรยี น กลุ่มเครือข่ายโรงเรียน ระดับเขตพื้นท่กี ารศึกษา ระดบั จงั หวัด ระดับภาค ระดับชาติ และระดับโลก ท่ี ผงั ขน้ั ตอนการดาเนินงาน รายละเอยี ดงาน เวลา มาตรฐาน ผู้รบั ผดิ ชอบ หมาย ดาเนินการ คณุ ภาพงาน เหตุ ๑ กาหนดแผนงาน โครงการ / กาหนดแผนงาน พฤศจกิ ายน นโยบาย นกั วิชาการศึกษา กจิ กรรม โครงการ / กจิ กรรม เกย่ี วกบั กจิ การ ในกลุ่มลูกเสือฯ ลกู เสอื ยวุ กาชาด ของกระทรวง ศกึ ษาธิการ ๒ ประสานหนว่ ยงาน องคก์ รที่ ประสานหนว่ ยงาน ธันวาคม นกั วชิ าการศกึ ษา เกยี่ วขอ้ ง องค์กรทีเ่ ก่ียวขอ้ งใน ในกลุ่มลกู เสอื ฯ การดาเนินงาน และ ขอรับการสนับสนุน งบประมาณ ๓ แต่งตง้ั คณะทางาน แต่งต้ังคณะทางาน มกราคม นกั วิชาการศกึ ษา และมอบภารกิจในทุก ในกลมุ่ ลูกเสือฯ ส่วนตามแผนงาน โครงการ/กิจกรรม ๔ ดาเนินงานตามแผนงาน ดาเนินงานตาม พฤษภาคม- นักวชิ าการศึกษา โครงการ กจิ กรรม แผนงาน โครงการ กรกฎาคม ในกล่มุ ลกู เสอื ฯ กิจกรรม ท่ีกาหนด ๕ กากับ ติดตาม แผนงาน กากับ ตดิ ตาม แผนงาน สิงหาคม นักวชิ าการศึกษา โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม และ ในกลุ่มลูกเสือฯ และประเมนิ ผลฯ ประเมนิ ผลการ ดาเนินงาน ๖ สรุป และรายงานผลฯ สรุป และรายงานผล กนั ยายน รูปแบบ นกั วิชาการศึกษา การดาเนินงาน ตาม ระยะเวลาท่ีกาหนดใน การรายงานผล ในกลุ่มลกู เสือฯ แผนงานโครงการ การดาเนินงาน คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

27 ช่อื งาน งานส่งเสรมิ สนบั สนุน และ สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร รหัสเอกสาร เนินการและประสานเกยี่ วกับกจิ การ กลมุ่ ลกู เสอื ยวุ กาชาด และกจิ การนักเรยี น ลูกเสือ ยุวกาชาด และกจิ การนักเรยี น วตั ถุประสงค์ ๕) ส่งเสริม สนบั สนนุ กิจกรรมเสริมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของนักเรียน นักศึกษาในการส่งเสริมภาวะผู้นาทักษะ ป้องกันตวั และการช่วยเหลอื สงั คม ท่ี ผังขั้นตอนการดาเนินงาน รายละเอียดงาน เวลา มาตรฐาน ผู้รับผิดชอบ หมาย ๑ กาหนดนโยบาย ดาเนินการ คณุ ภาพงาน นกั วชิ าการศกึ ษา เหตุ กาหนดนโยบายและ นโยบาย ในกลมุ่ ลกู เสอื ฯ ๒ แต่งต้งั คณะทางาน แนวทางในการ พฤศจกิ ายน เกย่ี วกบั ส่งเสริมอย่างเป็น กิจการลูกเสอื นกั วชิ าการศกึ ษา ๓ ประสานหน่วยงาน ระบบ ยวุ กาชาด ในกลมุ่ ลกู เสอื ฯ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง ของกระทรวง แต่งตงั้ คณะทางาน ธันวาคม ศึกษาธกิ าร นกั วิชาการศึกษา ๔ ดาเนนิ งานตามแผนงาน ในกลุ่มลูกเสือฯ โครงการ กจิ กรรม เพ่อื กาหนดแนว รูปแบบ การรายงานผล นักวิชาการศึกษา ๕ ติดตาม แผนงาน โครงการ/ ทางการส่งเสริมใน การดาเนินงาน ในกลุม่ ลูกเสือฯ กิจกรรม และประเมินผลฯ นักวชิ าการศึกษา กจิ กรรมตา่ ง ๆ ในทกุ ในกล่มุ ลูกเสือฯ ๖ สรปุ และรายงานผลฯ ระดบั ใหม้ ีความ นักวชิ าการศึกษา ในกลุ่มลกู เสือฯ ครอบคลมุ ทั่วถึง ประสานหน่วยงาน มกราคม และแจง้ สถานศึกษาท่ี เก่ยี วขอ้ งเพือ่ ให้ทราบ และเขา้ รว่ มกจิ กรรม ดาเนนิ งานตาม พฤษภาคม- แผนงาน โครงการ กรกฎาคม กจิ กรรม ท่ีกาหนด ตดิ ตาม แผนงาน สงิ หาคม โครงการ/กจิ กรรม และ ประเมนิ ผลการ ดาเนนิ งาน สรุป และรายงานผล กนั ยายน การดาเนนิ งานตาม โครงการ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

28 2. ส่งเสริม สนับสนุน ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อการพัฒนานักเรียน นักศึกษา โดยผ่านกระบวนการ ลูกเสอื และยุวกาชาด 2.๑ ช่ืองาน ส่งเสริม สนับสนุน ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อการพัฒนานักเรียน นักศึกษา โดยผ่าน กระบวนการลูกเสอื และยุวกาชาด 2.๒ วัตถปุ ระสงค์ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพ่ือการพัฒนานักเรียน นักศึกษา โดยผ่าน กระบวนการลกู เสือและยวุ กาชาด 2.๓ ขอบเขตของงาน ๑) ส่งเสรมิ สนบั สนุนการศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ยั เพ่ือมงุ่ เน้นนาผลการวจิ ยั มาใชก้ าหนดเป้าหมายและ ความตอ้ งการในการพฒั นานกั เรยี น นักศกึ ษา โดยผ่านกระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด ๒) ส่งเสริม สนับสนุนการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อผลักดันให้มีการพัฒนาการสอนและ กระบวนการเรียนรขู้ องผ้เู รียน โดยผา่ นกระบวนการลกู เสอื และยวุ กาชาดใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยิง่ ขนึ้ 2.๔ คาจากดั ความ ๑) กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน (Learning Process) หมายถึง กระบวนการที่ผู้เรียนใช้ใน การแสวงหาความรู้ สร้างความเข้าใจ สร้างองค์ความรู้ และพัฒนาตนเอง ให้มีความรู้ความสามารถ และมี ศักยภาพตามที่มุ่งหวังในหลกั สตู ร ๒) วิจัยปฏิบัติการ (Action Research) หมายถึง กระบวนการที่ผูปฏิบัติงานศึกษาการ ปฏิบัติงาน ของตนเอง โดยใชระเบียบวิธีวิทยาศาสตรเพ่ือคนพบ ความจริงเกี่ยวกับสิ่งท่ีปฏิบัติ หรือเปนการ แกปญหาเชนการสรางและพัฒนาทักษะใหมๆ หรือวิธีการใหมขึ้น เพ่ือพัฒนาและแกปญหางานที่ปฏิบัติอยู โดยดาเนนิ การวจิ ัยในท่ีปฏบิ ตั งิ านน่ันเอง 2.๕ ข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน (๑) ศึกษา วิเคราะห์ เอกสาร แนวคิด ทฤษฎี ทิศทาง แนวปฏิบัติ นโยบาย แผนงาน ยุทธศาสตร์ ที่เกย่ี วขอ้ ง (๒) ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้ข้าราชการครูบุคลากรทางการศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ยั เพื่อพฒั นา การสอน กระบวนการเรียนรู้ และการบรหิ ารจดั การในกิจกรรมพัฒนาผเู้ รยี นโดยผ่านกระบวนการลูกเสอื ยวุ กาชาด เพอื่ พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น (๓) สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ครูทาวจิ ยั ปฏิบัตกิ าร (Action Research) เพอ่ื พฒั นาการจดั การ เรียนรขู้ องครแู ละสง่ เสริมกระบวนการเรียนร้ขู องผเู้ รียนโดยผ่านกระบวนการลูกเสือ ยุวกาชาด (๔) กากบั ตดิ ตาม ให้ความชว่ ยเหลอื แนะนา ขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา เพื่อให้เกิดการวิจัยเพื่อการบริหารจัดการกระบวนการเรียนรู้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยผ่านกระบวนการ ลูกเสือ ยุวกาชาด มีคณุ ภาพ (๕) นาผลการวิจยั มาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นในระดบั สถานศึกษา เขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษา และระดบั จงั หวัด (6) สง่ เสริมสนบั สนุน การเผยแพร่ความรู้และจดั เวทีแลกเปลี่ยนเรยี นรู้เกยี่ วกบั การวิจัยและ พัฒนาการจัดการเรียนรูแ้ ละกระบวนการเรยี นรู้ของผู้เรยี น คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

29 2.๖ Flow Chart การปฏิบัติงาน ศึกษา วิเคราะห์ เอกสาร แนวคดิ ทฤษฎี ทิศทาง แนวปฏิบตั ิ นโยบายแผนงาน ยทุ ธศาสตร์ ส่งเสรมิ สนับสนนุ การศกึ ษา วิเคราะห์ วิจัย เพ่ือพฒั นาการสอนและกระบวนการเรยี นรู้และการบรหิ ารจดั การ กระบวนการเรียนรู้ ส่งเสริม สนับสนนุ ใหค้ รูทาวิจยั ปฏบิ ัติการ(Action Research) กากับ ติดตาม ให้ความชว่ ยเหลอื แนะนา นาผลการวจิ ัยมาใช้เปน็ ขอ้ มูลในการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพ ผูเ้ รยี น ส่งเสริมสนับสนนุ การเผยแพร่ความรู้และจัดเวทแี ลกเปลย่ี นเรียนรู้เกยี่ วกบั การวจิ ยั 2.๗ แบบฟอรม์ ทใ่ี ช้ ๑) หนงั สอื บนั ทึกข้อความ ๒) หนงั สือราชการภายนอก ๓) แบบรายงานผลการวิจยั 2.๘ เอกสาร / หลกั ฐานอ้างอิง ๑) พระราชบญั ญตั ลิ ูกเสือแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๒) ข้อบงั คับสภากาชาดไทย แก้ไขเพ่มิ เติม (ฉบบั ที่ ๖๘) พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ หมวด ๙ วา่ ดว้ ยยุวกาชาด คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

30 2.๙ มาตรฐานงานของสานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั สกลนคร ช่อื งาน สง่ เสริม สนบั สนุนการศกึ ษา วเิ คราะห์ วจิ ยั เพอื่ การพฒั นานกั เรยี น สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร รหสั เอกสาร นกั ศกึ ษา โดยผา่ นกระบวนการลกู เสอื กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาด และกิจการนกั เรยี น และยวุ กาชาด วัตถุประสงค์ เพ่ือส่งเสริม สนับสนุนการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพ่ือการพัฒนานักเรียน นักศึกษา โดยผ่านกระบวนการลูกเสือ และยุวกาชาด ที่ ผงั ขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน รายละเอียดงาน เวลา มาตรฐาน ผรู้ ับผดิ ชอบ หมาย ดาเนินการ คุณภาพงาน เหตุ ๑ ศกึ ษา วิเคราะห์ เอกสาร ศึกษา วเิ คราะห์ ตลอดปี รูปแบบ นกั วิชาการศกึ ษา แนวคดิ ทฤษฎี ทศิ ทาง แนว เอกสาร แนวคิด รายงานการ ในกลุม่ ลูกเสอื ฯ ปฏบิ ัติ นโยบาย แผนงาน ทฤษฎี ทศิ ทาง แนว วจิ ยั ยทุ ธศาสตร์ ปฏิบตั ิ นโยบาย แผนงาน ยทุ ธศาสตร์ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ๒ สง่ เสริม สนบั สนนุ การศกึ ษา สง่ เสรมิ สนับสนุน ให้ ตลอดปี รูปแบบ นักวชิ าการศึกษา วิเคราะห์ วิจยั เพือ่ การบรหิ าร ขา้ ราชการครบู คุ ลากร รายงานการ ในกลมุ่ ลูกเสอื ฯ จัดการกระบวนการเรียนรู้ ทางการศึกษา วจิ ยั วเิ คราะห์ วจิ ยั เพ่อื พัฒนาการสอนและ กระบวนการเรยี นรู้ และการบรหิ าร จดั การกระบวนการ เรยี นร้ใู นกิจกรรม พัฒนาผเู้ รยี นโดยผ่าน กระบวนการลูกเสือ ยุวกาชาดเพ่อื พฒั นา คุณภาพผเู้ รยี น ๓ สง่ เสริม สนับสนุนให้ครู ส่งเสริม สนบั สนนุ ให้ ตลอดปี รปู แบบ นักวิชาการศึกษา ทาวิจยั ปฏบิ ัตกิ าร ครทู าวิจัยปฏบิ ตั ิการ รายงานการ ในกลุม่ ลูกเสอื ฯ (Action Research) (Action Research) วจิ ยั เพอ่ื พฒั นาการจัด การเรยี นรู้ของครูและ ส่งเสริมกระบวนการ เรยี นรูข้ องผเู้ รยี นโดย ผา่ นกระบวนการ ลูกเสอื ยุวกาชาด คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

๔ กากบั ติดตาม ให้ความ กากับ ติดตาม ใหค้ วาม ตลอดปี 31 ชว่ ยเหลอื แนะนา ชว่ ยเหลือแนะนา นกั วิชาการศกึ ษา ในกลุม่ ลกู เสือฯ ข้าราชการ ครแู ละ นกั วชิ าการศึกษา บคุ ลากรทางการศกึ ษา ในกล่มุ ลกู เสือฯ เพื่อให้เกิดการวจิ ยั เพ่ือ นักวิชาการศึกษา ในกล่มุ ลกู เสือฯ การบริหารจดั การ กระบวนการเรียนรู้ใน กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน โดยผ่านกระบวนการ ลกู เสือ ยวุ กาชาด มี คุณภาพ ๕ นาผลการวิจยั มาใช้เป็นขอ้ มูลใน นาผลการวจิ ยั มาใช้ ตลอดปี การวางแผนพฒั นาคณุ ภาพ เป็นข้อมูลในการ ผู้เรยี น วางแผนพัฒนา คณุ ภาพผ้เู รยี นใน ระดับสถานศกึ ษา สถานศึกษา เขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา และระดับจงั หวดั ๖ ส่งเสริมสนับสนนุ ส่งเสริมสนบั สนุน ตลอดปี การเผยแพร่ความร้แู ละจัดเวที การเผยแพรค่ วามรู้ แลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ กยี่ วกบั การ และ วิจัย จัดเวทีแลกเปลยี่ น เรียนรเู้ ก่ยี วกับการ วิจยั และ พฒั นาการจดั การ เรยี นรู้และ กระบวนการเรยี นรู้ ของผเู้ รยี น คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

32 3. ส่งเสริม สนบั สนนุ การน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษา พระราชปณธิ าน พระราชกระแส ดา้ นการศกึ ษา และโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริทเี่ ก่ยี วกบั การศึกษา 3.๑ ชอ่ื งาน สง่ เสรมิ สนับสนนุ การนอ้ มนาพระบรมราโชบายด้านการศกึ ษา พระราชปณิธาน พระราชกระแสด้านการศกึ ษา และโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริทเ่ี กยี่ วกับการศึกษา 3.๒ วัตถปุ ระสงค์ ๑) เพอื่ ส่งเสริม สนบั สนนุ การน้อมนาพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษา พระราชปณิธาน พระราชกระแส ด้านการศกึ ษา และโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริทเี่ กยี่ วกบั การศกึ ษา 3.๓ ขอบเขตของงาน ๑) สง่ เสรมิ สนบั สนุน สนับสนุน การน้อมนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา พระราชปณิธาน พระราชกระแส ดา้ นการศึกษา และโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดารทิ เี่ กีย่ วกบั การศึกษา (๑) มหี นว่ ยงาน องค์กร รับผิดชอบโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดารใิ นทุกระดบั (๒) มีแผนงาน / โครงการ ทงั้ ในระดับโรงเรียน ระดบั เขตพนื้ ท่กี ารศึกษา และระดบั จงั หวดั (๓) มีระบบข้อมูลสาระสนเทศเก่ียวกับโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริของกระทรวง ศึกษาทุกระดับ (๔) มีระบบการติดตาม รายงานและประเมินผล เพ่ือเผยแพร่โครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริอย่างแพรห่ ลายและท่ัวถงึ (๕) มเี ครอื ข่ายการนาไปใช้ตามโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดารทิ ั้งในระดับจังหวัด ระดบั เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา และสถานศกึ ษามผี ลผลติ ท่ีมคี ณุ ภาพทุกระดับ 3.๔ คาจากดั ความ ๑) โครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดาริ หมายถึง โครงการทดี่ าเนินการตามระเบยี บสานกั นายกรัฐมนตรีว่าด้วยโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ พ.ศ. ๒๕๓๔ ดังนี้ โครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ หมายถึงโครงการ แผนงาน หรือกิจกรรมใด ๆ ทส่ี ว่ นราชการ รัฐวสิ าหกจิ เปน็ ผู้ดาเนนิ งานเพ่อื สนองพระราชดาริ ทั้งนี้ เปน็ โครงการทส่ี นองพระราชดารขิ องในหลวงรชั กาลที่ ๙ รัชกาลที่ ๑๐ สมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชนิ นี าถ สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี และสมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอ เจา้ ฟ้าจฬุ าภรณว์ ลัยลกั ษณ์ อัครราชกุมารี 3.๕ ขัน้ ตอนการปฏิบัตงิ าน ๑) สง่ เสริม สนับสนนุ การนอ้ มนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา พระราชปณิธานพระราช กระแส ดา้ นการศึกษา และโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริทเี่ ก่ยี วกับการศึกษา (๑) ประชมุ จดั ทาโครงการ (๒) แจง้ หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง (๓) จดั ทาเอกสารประกอบการดาเนินงาน (๔) ดาเนนิ การตามแผนงาน / โครงการ (๕) รายงานผลการดาเนนิ งาน (๖) ประชาสมั พนั ธเ์ ผยแพร่ผลการดาเนนิ งาน คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

33 3.๖ Flow Chart การปฏบิ ตั ิงาน ๑) ส่งเสริม สนับสนุน การน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา พระราชปณิธาน พระราช กระแส ดา้ นการศึกษา และโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริทีเ่ กีย่ วกบั การศกึ ษา ประชมุ จัดทาโครงการ แจ้งหน่วยงานทเี่ ก่ียวข้อง จัดทาเอกสาร ประกอบการดาเนนิ งาน ดาเนนิ งานกิจกรรม รายงานผลการดาเนนิ งาน ประชาสัมพนั ธ์เผยแพร่ผลการดาเนนิ งาน คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

34 3.7 มาตรฐานงานของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สกลนคร ช่อื งาน สง่ เสรมิ สนบั สนุนการนอ้ มนา สานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดสกลนคร รหสั เอกสาร พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษา พระ กลมุ่ ลูกเสอื ยวุ กาชาด และกิจการนักเรยี น ราชปณิธาน พระราชกระแส ดา้ น การศกึ ษา และโครงการอันเนือ่ งมาจาก พระราชดาริทเี่ กี่ยวกบั การศึกษา วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การน้อมนาพระบรมราโชบายด้านการศึกษา พระราชปณิธาน พระราชกระแส ด้านการศึกษา และโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริทเี่ กยี่ วกับการศึกษา ที่ ผงั ข้ันตอนการดาเนนิ งาน รายละเอยี ดงาน เวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผิดชอบ หมาย คณุ ภาพงาน เหตุ ดาเนินการ นักวิชาการ ศึกษา ในกลุม่ ๑ ประชุมจัดทาโครงการ ประชมุ จัดทา ตลุ าคม- ลูกเสอื ฯ นักวชิ าการ โครงการ พฤศจกิ ายน ศึกษา ในกลุม่ ลกู เสือฯ ๒ แจ้งหน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง แจ้งหนว่ ยงานท่ี ธันวาคม นกั วชิ าการ เก่ยี วขอ้ ง ศกึ ษา ในกลุ่ม ลูกเสือฯ ๓ จัดทาเอกสาร จัดทาเอกสาร ธนั วาคม นักวิชาการ ประกอบการดาเนินงาน ประกอบ ศึกษา ในกลมุ่ การดาเนนิ งาน มกราคม- ลกู เสอื ฯ ๔ ดาเนินการตามแผนงาน / สงิ หาคม นกั วชิ าการ โครงการ ดาเนนิ การตาม ศกึ ษา ในกลุ่ม แผนงาน / สงิ หาคม- ลกู เสอื ฯ ๕ รายงานผลการดาเนนิ งาน โครงการ กันยายน นักวิชาการ ศึกษา ในกลมุ่ รายงานผลการ ลูกเสอื ฯ ดาเนนิ งาน ๖ ประชาสมั พันธ์เผยแพร่ผลการ ประชาสมั พันธ์ กนั ยายน ดาเนินงาน เผยแพรผ่ ลการ ดาเนนิ งานให้ หนว่ ยงานที่ เกย่ี วข้องทราบ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

35 4. ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ และความ ปรองดอง สมานฉันท์ 4.๑ ชอื่ งาน สง่ เสรมิ สนบั สนุน การจัดการศกึ ษาเพอื่ เสริมสรา้ งความมัน่ คงของสถาบันหลักของชาติ และความปรองดอง สมานฉนั ท์ 4.๒ วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ สง่ เสรมิ สนบั สนุน การจัดการศึกษาเพอื่ เสริมสร้างความมนั่ คงของสถาบันหลักของชาติ และความปรองดอง สมานฉันท์ 4.๓ ขอบเขตของงาน ๑) ส่งเสริม สนับสนุน การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เก่ียวกับบทบาทและ ความสาคญั ของสถาบันหลักของชาติ ใหก้ ับนักเรยี น นกั ศึกษา ในทกุ ระดับ ๒) ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้นักเรยี น นักศกึ ษา เกิดความตระหนักในคณุ คา่ และภาคภูมิใจ ในเอกลักษณ์ความเป็นชาติไทยซึ่งมีความหลากหลายทางอัตลักษณ์ ชาติพันธ์ุ ศาสนา และวัฒนธรรม ประเพณที ส่ี ามารถอยรู่ ว่ มกันไดอ้ ยา่ งสนั ติ ภายใตก้ ารปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ ทรงเปน็ ประมขุ ๓) มเี ครือข่ายความรว่ มมือในการเสรมิ สรา้ งความมัน่ คงของสถาบนั หลกั ของชาติ และความปรองดอง สมานฉนั ท์ ทั้งในระดบั สถานศกึ ษา ระดับเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา และระดบั จังหวัด 4.๔ คาจากัดความ4 ๑) สถาบันหลักของชาติ ประกอบด้วย สถาบัน ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ๒) ความปรองดอง สมานฉนั ท์ หมายถึง กระบวนการแกไ้ ขปัญหาข้อขัดแย้ง เพ่ือสร้างความรัก ความสามคั คี ซงึ่ จะนาไปสูก่ ารยอมรบั ประนีประนอม และสนั ติภาพ 4.๕ ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน ๑) ประชมุ ปรกึ ษาหารือร่วมกับหน่วยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง ๒) จดั ทาแผนงาน / โครงการ ๓) ดาเนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ ๔) สรุปรายงานผลการดาเนินงาน ๕) ประชาสัมพนั ธ์ผลการดาเนนิ งานใหผ้ ู้เกย่ี วขอ้ งทราบ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

36 4.๖ Flow Chart การปฏิบัตงิ าน ประชมุ ปรกึ ษาหารอื จัดทาแผนงาน /โครงการ ดาเนินงานตามแผนงาน / โครงการ รายงานผล การดาเนนิ งาน ประชาสมั พันธ์เผยแพรผ่ ลการดาเนนิ งาน 4.๗ แบบฟอร์มท่ใี ช้ ๑) หนงั สือบันทกึ ขอ้ ความ ๒) หนังสอื ราชการภายนอก ๓) แบบรายงานผลการดาเนนิ งาน 4.๘ เอกสาร / หลกั ฐานอา้ งองิ แนวทางการรกั ษาความม่นั คงสถาบนั หลักของชาตภิ ายใตก้ ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมุข คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

37 4.๙ มาตรฐานงานของสานกั งานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร ช่ืองาน ส่งเสรมิ สนบั สนุน การจดั การ ศกึ ษาเพ่อื เสรมิ สร้างความมัน่ คงของ สานักงานศึกษาธิการจงั หวัดสกลนคร รหัสเอกสาร สถาบันหลัก ของชาติ และความ กลมุ่ ลูกเสอื ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรียน ปรองดอง สมานฉันท์ วัตถุประสงค์ เพ่ือส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักของชาติ และความปรองดอง สมานฉนั ท์ ที่ ผังขน้ั ตอนการดาเนนิ งาน รายละเอียดงาน เวลา มาตรฐาน ผรู้ บั ผิดชอบ หมาย ๑ ประชมุ จัดทาโครงการ ดาเนินการ คุณภาพงาน เหตุ ประชมุ จดั ทา ตุลาคม- นกั วิชาการศกึ ษา ๒ จัดทาแผนงาน / โครงการ พฤศจกิ ายน แบบรายงาน ในกลุ่มลกู เสือฯ โครงการ จดั ทาเอกสาร ธันวาคม ผลการ นักวิชาการศึกษา ประกอบ ดาเนินงาน ในกลุ่มลูกเสือฯ ๓ ดาเนินการตามแผนงาน / การดาเนนิ งาน มกราคม- โครงการ ดาเนินการตาม สิงหาคม นักวชิ าการศกึ ษา แผนงาน / โครงการ สงิ หาคม- ในกล่มุ ลูกเสอื ฯ ๔ รายงานผลการดาเนนิ งาน รายงานผลการ กนั ยายน นักวิชาการศึกษา ดาเนนิ งาน ในกลุ่มลกู เสอื ฯ ๕ ประชาสมั พันธ์เผยแพรผ่ ลการ กันยายน ดาเนินงาน ประชาสมั พนั ธ์ นักวชิ าการศึกษา เผยแพรผ่ ลการ ในกล่มุ ลกู เสอื ฯ ดาเนินงานให้ หน่วยงานที่ เกี่ยวขอ้ งทราบ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

38 5. สรา้ งจติ สานึกรกั ษ์สงิ่ แวดลอ้ ม มคี ณุ ธรรมจริยธรรม และนาแนวคิดตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ัตใิ นการดาเนินชวี ิต 5.๑ ช่ืองาน การสร้างจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรมจริยธรรม และนาแนวคิดตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบตั ใิ นการดาเนินชวี ติ 5.๒ วัตถปุ ระสงค์ เพื่อสรา้ งจติ สานกึ ใหน้ ักเรียน นักศกึ ษา รักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม มีคุณธรรมจริยธรรม และนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่กู ารปฏบิ ตั ใิ นการดาเนินชีวติ 5.๓ ขอบเขตของงาน ๑) ดาเนินการสรา้ งจติ สานกึ ใหน้ กั เรียน นักศึกษา รักษ์สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรมจริยธรรม และนา แนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ัติในการดาเนนิ ชีวติ ๒) สง่ เสริม สนบั สนุนใหส้ ถานศกึ ษาทกุ แห่งสรา้ งจิตสานกึ ให้นกั เรียน นักศกึ ษา รักษ์สงิ่ แวดล้อม มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ใิ นการดาเนนิ ชีวิต ๓) สรา้ งเครือขา่ ยความรว่ มมือในการสรา้ งจติ สานึกใหน้ ักเรียน นักศึกษา รกั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม มคี ุณธรรมจริยธรรม และนาแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ัติในการดาเนินชวี ิต 5.๔ คาจากดั ความ ๑) การสร้างจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม หมายถึง การสร้างความตระหนัก ในการรักษา สิ่งแวดลอ้ ม ๒) คณุ ธรรมจริยธรรม หมายถึง แนวทางของการประพฤติปฏิบัติจนให้เป็นคนดีเพ่ือประโยชน์ สุขของตนเองและส่วนรวม ๓) หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หมายถึง ปรัชญาทพี่ ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา- ภูมิพลอดุลยเดช มีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๑๗ เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนใน วนั ท่ี ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๐ เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขวิกฤตการณ์ ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. ๒๕๔๐ ให้ สามารถดารงอย่ไู ดอ้ ย่างมั่นคงและยั่งยนื ในกระแสโลกาภวิ ัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ซึง่ ประกอบดว้ ย ความ \"พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภูมิค้มุ กัน\" บนเงอื่ นไข \"ความรู้\" และ \"คุณธรรม\" คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

40 5.๕ ข้ันตอนการปฏิบตั ิงาน ๑) ประชมุ ปรกึ ษาหารือรว่ มกบั หนว่ ยงานท่ีเกี่ยวข้อง ๒) จดั ทาแผนงาน / โครงการ ๓) ดาเนนิ งานตามแผนงาน / โครงการ ๔) สรุปรายงานผลการดาเนินงาน ๕) ประชาสัมพันธ์ผลการดาเนินงานใหผ้ ู้เกย่ี วขอ้ งทราบ 5.๖ Flow Chart การปฏบิ ัติงาน ประชมุ ปรกึ ษาหารือ จดั ทาแผนงาน /โครงการ ดาเนินงานตามแผนงาน / โครงการ รายงานผลการดาเนนิ งาน ประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรผ่ ลการดาเนินงาน คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

41 ๖.๗ แบบฟอร์มทใ่ี ช้ ๑) หนงั สอื บนั ทึกข้อความ ๒) หนังสอื ราชการภายนอก ๓) แบบรายงานผลการดาเนนิ งาน ๖.๘ เอกสาร / หลักฐานอ้างองิ น โ ย บ า ย ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง สู่ ส ถ า น ศึ ก ษ า ข อ ง กระทรวงศกึ ษาธิการ ๖.๙ มาตรฐานงานของสานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั สกลนคร ชื่องาน การสรา้ งจิตสานึกรกั ษ์ สิง่ แวดลอ้ ม มคี ุณธรรมจริยธรรม และ สานกั งานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร รหัสเอกสาร นาแนวคิดตามหลกั ปรัชญาของ กลุม่ ลกู เสือ ยวุ กาชาด และกจิ การนกั เรียน เศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารปฏบิ ตั ใิ นการ ดาเนินชวี ิต วัตถปุ ระสงค์ เพ่อื สรา้ งจิตสานกึ ให้นักเรยี น นักศึกษา รกั ษ์ส่งิ แวดล้อม มีคุณธรรมจริยธรรม และนาแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติในการดาเนนิ ชวี ติ ท่ี ผงั ขนั้ ตอนการดาเนินงาน รายละเอยี ดงาน เวลา มาตรฐาน ผรู้ ับผดิ ชอบ หมาย ดาเนินการ คุณภาพงาน เหตุ ๑ ประชุมจัดทาโครงการ ประชุมจดั ทาโครงการ ตลุ าคม- นักวิชาการศึกษา พฤศจกิ ายน ในกลมุ่ ลกู เสือฯ ๒ จดั ทาแผนงาน / จัดทาเอกสาร ธนั วาคม นักวชิ าการศกึ ษา โครงการ ประกอบ ในกลุม่ ลกู เสอื ฯ การดาเนินงาน ๓ ด า เ นิ น ก า ร ต า ม แ ผ น ง า น / ด า เ นิ น ก า ร ต า ม มกราคม- นกั วิชาการศึกษา ในกล่มุ ลกู เสือฯ โครงการ แผนงาน / โครงการ สงิ หาคม ๔ รายงานผลการดาเนินงาน ร า ย ง า น ผ ล ก า ร สิงหาคม- แบบรายงาน นกั วชิ าการศึกษา ดาเนนิ งาน กนั ยายน ผลการ ในกลมุ่ ลกู เสอื ฯ ดาเนินงาน ๕ ประชาสัมพันธเ์ ผยแพร่ ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ กนั ยายน นักวิชาการศึกษา ผลการดาเนินงาน เ ผ ย แ พ ร่ ผ ล ก า ร ในกลุ่มลกู เสือฯ ด า เ นิ น ง า น ใ ห้ หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ทราบ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

42 ๗. ส่งเสริมการปอ้ งกัน แก้ไข และคมุ้ ครองความประพฤตินกั เรียนและนักศึกษา ๗.๑ ชอื่ งาน ส่งเสริมการปอ้ งกัน แกไ้ ข และคุ้มครองความประพฤตินักเรยี นและนักศกึ ษา ๗.๒ วัตถุประสงค์ เพอื่ สง่ เสริมการปอ้ งกนั แก้ไข และคุ้มครองความประพฤตนิ ักเรยี นและนักศึกษา ๗.๓ ขอบเขตของงาน ๑) จดั ตัง้ ศูนยส์ ง่ เสริมความประพฤตินักเรยี นและนักศกึ ษาระดบั จงั หวัด ๒) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องในการส่งเสริมความประพฤตินักเรียน และนกั ศกึ ษาในระดับจังหวัด ๓) ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหาความประพฤตินกั เรียนและนักศึกษาในเขตพ้ืนท่กี ารศึกษา ๗.๔ คาจากดั ความ ๑) ศูนย์ส่งเสริมความประพฤตินกั เรียนและนักศึกษา หมายถึง ศูนย์ประสานงานในการส่งเสริม ความประพฤตินักเรียนและนักศกึ ษา ๒) พนักงานเจ้าหน้าทส่ี ่งเสรมิ ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา หมายถงึ พนกั งานเจ้าหน้าท่ี ตามพระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด ๗ ๗.๕ ขัน้ ตอนการปฏบิ ัตงิ าน ๑) จดั ต้งั ศูนยส์ ง่ เสริมความประพฤตนิ ักเรียนและนกั ศึกษาระดับจงั หวัด ๒) จดั ทาคมู่ อื การปฏิบัตงิ านใหห้ น่วยงาน/สถานศึกษา เพ่อื ดาเนนิ งานส่งเสริมความประพฤติ นักเรียนและนักศึกษา ๓) อบรม ข้ึนทะเบียนและแต่งต้ังพนักงานเจ้าหน้าท่ีส่งเสริมความประพฤตินักเรียนและ นักศึกษา ๔) สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องในการส่งเสริมความประพฤตินักเรียน และนกั ศึกษาในระดบั จังหวัด ๕) จดั ทาระบบเฝ้าระวังการปอ้ งกนั ปัญหาพฤตกิ รรมทไ่ี ม่เหมาะสมของนักเรียนและนักศึกษา ร่วมกบั หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เชน่ ตารวจ พัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด เป็นตน้ ๖) รว่ มกบั หน่วยงานอื่นๆ ท่ีเก่ียวข้องในการออกตรวจร่วมกนั เพือ่ จัดระเบยี บสงั คมในจังหวดั ๗) สรปุ รายงานผลการดาเนินงาน ๘) ประชาสัมพันธผ์ ลการดาเนินงานใหผ้ เู้ กย่ี วข้องทราบ คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

43 ๗.๖ Flow Chart การปฏิบตั งิ าน จดั ตัง้ ศูนย์ส่งเสริมความประพฤติ นกั เรยี นและนักศึกษา จดั ทาคู่มือการปฏบิ ัติงาน จดั อบรม พสน. สรา้ งเครือข่าย ติดตามดูแล ความประพฤตินักเรยี นและนักศกึ ษา จัดทาระบบเฝา้ ระวัง รว่ มกับหน่วยงานอนื่ ๆ ออกตรวจร่วม รายงานผลการดาเนนิ งาน ประชาสัมพนั ธ์เผยแพรผ่ ลการดาเนินงาน ๗.๗ แบบฟอร์มทใ่ี ช้ ๑) หนงั สือบนั ทกึ ขอ้ ความ ๒) หนังสือราชการภายนอก ๓) แบบรายงานผลการดาเนินงาน ๗.๘ เอกสาร / หลักฐานอา้ งอิง ๑) พระราชบญั ญตั คิ ้มุ ครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖ หมวด ๗ ๒) ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการส่งเสริมความประพฤตินักเรียนนักศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร

44 ๗.๙ มาตรฐานงานของสานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั สกลนคร ชอ่ื งาน ส่งเสริมการป้องกนั แก้ไข สานักงานศึกษาธิการจังหวดั สกลนคร รหสั เอกสาร และค้มุ ครองความประพฤตนิ กั เรยี น กลมุ่ ลกู เสอื ยวุ กาชาด และกิจการนักเรยี น และนักศกึ ษา วตั ถุประสงค์ เพอื่ ส่งเสรมิ การป้องกนั แกไ้ ข และคุม้ ครองความประพฤตนิ กั เรยี นและนกั ศกึ ษา ที่ ผงั ข้ันตอนการดาเนินงาน รายละเอียดงาน เวลา มาตรฐาน ผู้รบั ผิดชอบ หมาย ๑ จดั ตงั้ ศนู ยส์ ง่ เสริมความ ดาเนินการ คุณภาพงาน นักวิชาการ เหตุ จัดตัง้ ศูนยส์ ง่ เสรมิ ความ ศกึ ษาในกลุ่ม ประพฤติ นักเรยี น นักศกึ ษา ประพฤตินกั เรยี นและ ชว่ งเปิดภาค นโยบาย ลกู เสอื ฯ ๒ จดั คมู่ ือการปฏบิ ตั ิงาน นกั ศกึ ษาระดับจังหวัด เรยี นท่ี ๑ กระทรวง นกั วิชาการ จดั ทาคมู่ ือการ และ 2 ศึกษาธกิ าร ศึกษาในกลุ่ม ๓ จัดอบรม พสน. ปฏิบัตงิ านให้หนว่ ยงาน/ มกราคม- ลูกเสอื ฯ สถานศึกษา เพอื่ ธันวาคม ระเบียบระทรวง ๔ สร้างเครือขา่ ย ตดิ ตามดูแล ดาเนินงานสง่ เสรมิ ความ ศึกษาธิการวา่ นกั วชิ าการ ความประพฤตินักเรียน ประพฤติ มกราคม- ด้วยการสง่ เสรมิ ศกึ ษาในกล่มุ นักศกึ ษา นักเรยี น นักศึกษา ธนั วาคม ความประพฤติ ลกู เสือฯ นักเรียนและ ๕ จดั ทาระบบเฝ้าระวงั อบรม ขึน้ ทะเบียนและ มกราคม- นักศึกษา พ.ศ. นักวิชาการ แต่งตัง้ พนักงาน ธนั วาคม ๒๕๔๘ ศึกษาในกล่มุ ๖ รว่ มกับหนว่ ยงานอื่น ๆ เจ้าหนา้ ทสี่ ่งเสรมิ ความ ลกู เสอื ฯ ออกตรวจรว่ ม ประพฤตินักเรียน วฒุ ิบัตรการผา่ น นักศึกษา การฝึกอบรม นั ก วิ ช า ก า ร สร้างเครอื ข่ายความ ศึ ก ษ า ใ น ก ลุ่ ม ร่วมมอื กบั หน่วยงานที่ ลูกเสือฯ เกย่ี วข้องในการสง่ เสริม ความประพฤตินกั เรยี น นั ก วิ ช า ก า ร และนักศกึ ษาในระดบั ศึ ก ษ า ใ น ก ลุ่ ม จังหวดั ลูกเสือฯ จัดทาระบบเฝ้าระวังการ ปอ้ งกนั ปัญหาพฤตกิ รรม ทไี่ มเ่ หมาะสมของ นักเรยี น นักศกึ ษา ร่วมกบั หนว่ ยงานต่าง ๆ ที่เกย่ี วข้อง เชน่ ตารวจ พฒั นาสังคมและความ ม่นั คงของมนุษย์จังหวดั เปน็ ตน้ ร่วมกบั หนว่ ยงานอื่นๆ ท่ี เก่ยี วข้องในการออก ตรวจรว่ มกนั เพือ่ จดั ระเบยี บสังคม ในจังหวดั คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

45 ๗ รายงานผลการดาเนินงาน รายงานผลการ มกราคม- แบบรายงาน นั ก วิ ช า ก า ร ดาเนนิ งานส่งเสรมิ ธันวาคม ผลการ ศึ ก ษ า ใ น ก ลุ่ ม ๘ ประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ การป้องกนั แก้ไข และ ดาเนนิ งาน ลกู เสอื ฯ ผลการดาเนินงาน คุ้มครองความประพฤติ มกราคม- นักเรียน นกั ศึกษา ธันวาคม นั ก วิ ช า ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ก ลุ่ ม ประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ ลกู เสอื ฯ ผลการดาเนินงานให้ หนว่ ยงานท่เี กีย่ วข้อง ทราบ คู่มอื การปฏิบัติงาน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรยี น สานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดสกลนคร

บรรณานุกรม วรัท พฤกษากลุ นันท์. บทบาท ภารกิจและโครงสร้างการบรหิ ารงาน สานกั การลกู เสอื ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรยี น สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ. ยทุ ธศาสตรช์ าต.ิ เอกสารประกอบการประชุมปฏบิ ัตกิ ารเพื่อขับเคลอื่ นงานดา้ นการ ศาสตรพ์ ระราชา. สง่ เสริม ความประพฤตินักเรยี นและนักศึกษาของสานักการลูกเสือ ยุวกาชาด และกจิ การนกั เรียน วันท่ี ๑-๓ กันยายน ๒๕๖๐. อดั สาเนา. สืบค้นเมอื วนั ที่ สบื คน้ เมื่อ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๐ http://www.komchadluek.net/news/politic/222584 สืบค้นเมอ่ื วนั ท่ี ๑๑ ธนั วาคม ๒๕๖๐ จาก https://th.jobsdb.com, http://www.crma.ac.th, http://umongcity.go.th. คู่มอื การปฏิบัตงิ าน กลุ่มลูกเสือ ยุวกาชาดและกจิ การนักเรยี น สานักงานศึกษาธิการจังหวัดสกลนคร