แนวทางการดำ�เ ินนงาน ๑.๒.๕ ค่าใช้จ่ายท่ีนักเรียนยากจนต้องการจ�ำเป็นในการด�ำรงชีวิตประจ�ำวัน นอกเหนอื จาก ๔ รายการขา้ งตน้ ๒. กรณีการด�ำเนินการจัดซ้ือจัดจ้างต้องด�ำเนินการตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและ การบริหารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. ๒๕๖๐ และกฎกระทรวงทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ๓. กรณนี กั เรยี นยากจนทไี่ ดร้ บั จดั สรรตามรายชอ่ื ในบญั ชจี ดั สรรนกั เรยี นยากจน มกี ารยา้ ย ลาออกและไม่สามารถรับเงินรายการปัจจัยพ้ืนฐานส�ำหรับนักเรียนยากจนได้ ให้สถานศึกษาส่งคืน เงินอุดหนนุ ของนกั เรยี นทไ่ี ด้รับจัดสรร ดงั นี้ ๓.๑ โรงเรียนปกติให้ส่งคืนเงินอุดหนุนรายการดังกล่าวให้กับส�ำนักงานเขตพื้นท่ี การศึกษาตน้ สังกัด ๓.๒ เพื่อส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาจะด�ำเนินการรวบรวมส่งงบประมาณกลับคืน ส่วนกลาง ๓.๓ โรงเรียนท่ีเป็นหน่วยเบิกจ่าย ให้ส่งคืนเงินอุดหนุนรายการดังกล่าวกลับคืน ส่วนกลาง ทง้ั น้ี ขอใหส้ ง่ หลกั ฐานการสง่ คนื เงนิ (ระบปุ ระเภทรายการและจ�ำนวนเงนิ แตล่ ะรายการ ทสี่ ่งคืน) พร้อมหนงั สือน�ำส่งแจ้งใหส้ �ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานทราบ จ. แนวทางการด�ำเนนิ งาน ๑. ระดับสถานศกึ ษา ๑.๑ ส�ำรวจข้อมูลนักเรียนยากจน และรายงานข้อมูลในระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียน รายบคุ คล (Data Management Center : DMC) ประเภทเด็กดอ้ ยโอกาส (เดก็ ยากจน) ๑.๒ รายงานขอ้ มลู ในระบบคดั กรองปจั จยั พนื้ ฐานนกั เรยี นยากจน (C๐nditional Cash Transfer : CCT) ตามแบบขอรบั ทนุ การศกึ ษานกั เรยี นยากจน (แบบ นร.๐๑) ในระยะเวลาทก่ี �ำหนด เพ่อื เสนอขอรับการสนบั สนุนงบประมาณ ๑.๓ จัดสรรงบประมาณให้นักเรียนตามรายชื่อที่ได้รับจัดสรรและติดตาม ควบคุม ก�ำกับ ใหน้ กั เรยี นใชจ้ า่ ยงบประมาณให้เป็นไปตามความตอ้ งการจ�ำเป็น ๑.๔ ส่งงบประมาณกลับคืนส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษากรณีนักเรียนไม่สามารถ มารับเงินได้ ๑.๕ รายงานผลการด�ำเนินงาน 42 ตามโครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ต้งั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๒. ระดับส�ำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา ๒.๑ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ ก�ำกับ ติดตาม ตรวจสอบและรายงานผลการด�ำเนินงาน ๒.๒ รวบรวมงบประมาณส่งกลบั คืนส่วนกลาง กรณีนกั เรยี นไมส่ ามารถมารับเงนิ ได้ ๒.๓ นอกจากน้ี ตามพระราชบัญญัติกองทุนเพ่ือความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๕ (๒) ส�ำนกั งานกองทุนเพอ่ื ความเสมอภาคทางการศกึ ษา (กสศ.) ไดร้ ่วมกับ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จดั ท�ำโครงการจดั สรรเงนิ อดุ หนนุ นกั เรยี นยากจนพเิ ศษ แบบมีเง่ือนไข (Conditional Cash Transfer : CCT) สนับสนุนเงินอุดหนุนแบบมีเง่ือนไข โดยน�ำข้อมูลเด็กกลุ่มระดับยากจนพิเศษ มาคัดกรองเป็นนักเรียนยากจนพิเศษแบบมีเง่ือนไข ต้ังแต่ระดับช้ัน อ.๑ - ม.๓ เพิ่มเติม คนละ ๓,๐๐๐ บาท/คน/ปี โดยเงินอุดหนุนดังกล่าว ส�ำนักงานกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เป็นผู้ด�ำเนินการจัดสรรและก�ำหนด แนวทางการบริหารงบประมาณ แนวทางการดำ�เ ินนงาน ตามโครงการสนบั สนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษา 43 ต้ังแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
โรงเรียน แบบขอรับเงนิ อุดหนุนนักเรียนยากจน ชั้น แบบ นร./กสศ.01 หน้า 1 1. ข้อมูลนกั เรยี น ช่ือนกั เรียน ฉบบั ปรบั ปรงุ 9 พฤศจิกายน 2563 สงั กัด เลขประจาตัวประชาชน นามสกุล รูปถ่าย สถานภาพครอบครวั พ่อแมอ่ ยดู่ ว้ ยกัน นกั เรียน นกั เรยี นอาศยั อยู่กบั พอ่ /แม่ ช่ือผู้ปกครองนักเรยี น พ่อแม่แยกกนั อยู่ พ่อแม่หย่าร้าง พ่อเสียชีวติ /สาบสูญ แมเ่ สียชีวติ /สาบสญู เสียชีวิตทั้งคู่/สาปสญู พอ่ /แม่ทอดท้งิ การศกึ ษาสงู สุด ญาติ อยลู่ าพัง ผ้อู ปุ การะ/นายจ้าง ครัวเรือนสถาบัน เลขประจาตัวประชาชน อาชพี นามสกลุ ความสัมพนั ธ์กับนกั เรียน เบอรโ์ ทรศพั ท์ผูป้ กครอง/สมาชกิ ครัวเรือนทตี่ ิดต่อได้ ไมม่ เี ลขประจาตัวประชาชน ได้สวสั ดกิ ารแห่งรฐั (ลงทะเบียนคนจน) 2. จานวนสมาชกิ ในครัวเรือน (รวมตัวนกั เรียน) รวม คน (หากอาศยั อยูใ่ นครัวเรอื นสถาบนั ใหข้ า้ มไปตอบขอ้ ที่ 4) รายไดเ้ ฉล่ียตอ่ เดอื นแยกตามประเภท (บาท) คน ชอื่ - นามสกุล ความ เลขบัตร อายุ มคี วามพกิ ารทาง คา่ จา้ ง อาชพี ธรุ กจิ สวัสดิการ รายไดจ้ าก รายไดร้ วม ที่ สัมพันธก์ บั ประชาชน/ รา่ งกาย/ เงินเดือน เกษตร ส่วนตวั จากรฐั แหล่งอื่นๆ เฉลย่ี ตอ่ เดอื น นักเรียน เลขบตั รที่ กรรม (หลงั หัก (บานาญ, ราชการออกให้ สติปัญญา/มโี รค (หลงั หัก ค่าใช้จา่ ย) เบ้ยี ผู้สูงอายุ, (เงินโอน เรอ้ื รัง (หากมีใส่ ค่าใชจ้ ่าย) เงนิ อดุ หนนุ ครอบครัว, เครอื่ งหมาย ) อืน่ ๆ จาก รฐั บาล) ค่าเชา่ และ อน่ื ๆ) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 รวมรายไดค้ รัวเรือน (รายการที่ 1 - 10) รายได้ครวั เรือนเฉลีย่ ต่อคน (รวมรายไดค้ รวั เรือน หารด้วยจานวนสมาชกิ ท้งั หมด จากข้อ 2) 3. ข้อมูลสถานะของครัวเรือน (ใสเ่ ครอ่ื งหมาย หนา้ ข้อทตี่ รงกบั ความเปน็ จริง เลือกไดม้ ากกวา่ 1 คาตอบ) 3.1 ครัวเรือนมีภาระพงึ่ พิง มคี นพกิ าร/เจ็บปว่ ยเรอื้ รงั ผสู้ งู อายเุ กินกว่า 60 ปี เป็นพอ่ /แม่เล้ยี งเดยี่ ว มีคนอายุ 15-65 ปที ่วี า่ งงาน (ทีไ่ มใ่ ช่นกั เรียน/นักศกึ ษา) ครวั เรอื นไม่มภี าระพงึ่ พิง 3.2 การอยูอ่ าศัย อยบู่ ้านตนเอง/เจา้ ของบา้ น อยูบ่ า้ นเชา่ (เสยี ค่าเช่า) เดือนละ ……………….. บาท 3.3 ลักษณะท่อี ยอู่ าศัย (บนั ทกึ สง่ิ ท่ีเหน็ ) อยกู่ ับผอู้ น่ื /อยู่ฟรี หอพัก แนวทางการดำ�เ ินนงาน วัสดทุ ใ่ี ช้ทาพืน้ บา้ น (ท่ไี มใ่ ช่ใต้ถนุ บา้ น) กระเบ้อื ง/เซรามคิ ปาเก้/ไม้ขัดเงา ซเี มนตเ์ ปลอื ย ไมก้ ระดาน วัสดุทีใ่ ชท้ าฝาบา้ น ดิน/ทราย อ่นื ๆ ไวนิล/กระเบอ้ื งยาง/เสอ่ื นา้ มัน ไม้ไผ่ สงั กะสี ไม้กระดาน ฉาบซเี มนต์ อิฐ/กอ้ นปนู /อิฐบล็อก ไมอ้ ดั สมาร์ทบอรด์ /ไฟเบอร์/ซีเมนต์บอร์ด ไม้ไผ่/ท่อนไม้/เศษไม้ ดิน ไวนิล และอ่นื ๆ วัสดุท่ีใชท้ าหลงั คา โลหะ (เชน่ สงั กะสี/เหลก็ /อะลมู ิเนียม) กระเบื้อง/เซรามิค ไม้กระดาน ใบไม้/วัสดธุ รรมชาติ ไวนลิ /กระดาษ/แผน่ พลาสตกิ อืน่ ๆ มหี อ้ งส้วมในท่อี ยอู่ าศัย/บรเิ วณบ้าน มี ไม่มี 44 ตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ตง้ั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แบบ นร./กสศ.01 หน้า 2 ฉบบั ปรบั ปรงุ 9 พฤศจกิ ายน 2563 3.4 ทีด่ ินทาการเกษตรได้ (รวมเชา่ ) ไม่ทาเกษตร ทาเกษตร [ มที ดี่ ินนอ้ ยกวา่ 1 ไร่ มีท่ีดิน 1 ถึง 5 ไร่ มที ่ีดินเกนิ 5 ไร่ ] 3.5 แหลง่ น้าดื่ม 3.6 แหลง่ ไฟฟ้า น้าดม่ื บรรจขุ วด/ต้หู ยอดน้า นา้ ประปา นา้ บอ่ /น้าบาดาล น้าฝน/นา้ ประปาภูเขา/ลาธาร 3.7 ยานพาหนะในครัวเรือน (ท่ใี ช้งานได)้ ไม่มีไฟฟ้า/ไม่มีเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟ้าชนิดอื่น ๆ มไี ฟฟ้า [ เครือ่ งปั่นไฟ/โซลาเซลล์ ไฟตอ่ พว่ ง/แบตเตอรี่ ไฟมเิ ตอร์ ] รถยนตน์ ั่งสว่ นบุคคล [ อายุเกิน 15 ปี ไม่เกนิ 15 ปี ] รถปกิ อัพ/รถบรรทุกเล็ก/รถตู้ [ อายุเกนิ 15 ปี ไมเ่ กนิ 15 ปี ] รถไถ/รถเกี่ยวข้าว/รถประเภทเดยี วกัน [ อายุเกนิ 15 ปี ไมเ่ กนิ 15 ปี ] รถมอเตอรไ์ ซต์/เรอื ประมงพน้ื บ้าน (ขนาดเลก็ ) ไม่มียานพาหนะในครวั เรือน 3.8 ของใช้ในครัวเรือน (ที่ใช้งานได)้ คอมพวิ เตอร์ แอร์ ทีวีจอแบน เคร่อื งซักผ้า ตู้เยน็ ไม่มีของใช้ดังกล่าว 4. ขอ้ มูลทั่วไปของสถาบนั ตอบสว่ นน้ีเฉพาะกรณนี กั เรียนอาศัยอยู่ในครวั เรอื นสถาบัน เบอรโ์ ทรศัพท์. . ชือ่ สถาบนั นักเรียนรายนีอ้ ยกู่ ับสถาบันตัง้ แต่เดือน ปี พ.ศ. พักอาศัยในสถาบันแบบ ประจาไมไ่ ปกลับ ไปกลบั บ้านเสาร์-อาทติ ย์/ชว่ งปิดภาคเรียน สถาบนั ใหค้ วามช่วยเหลอื แก่นกั เรียนรายนด้ี ว้ ยวธิ ี (ตอบไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ ) ให้เงินสด ให้สงิ่ ของ ใหท้ พี่ ักอาศยั ใหอ้ าหาร ใหก้ ารเดินทาง ดูแลด้านการศกึ ษา ดูแลดา้ นสขุ ภาพ ไมต่ อ้ งการ สถาบนั มรี ายจ่ายเฉลี่ยในการดแู ลนักเรียนรายน้ี บาท/คน/ปีการศกึ ษา สถาบันมนี กั เรยี นในความดแู ล ณ ปัจจุบัน จานวน คน สถาบนั มีรายรบั จากการสนับสนนุ /รับบรจิ าคในรูปเงินและสิง่ ของ คิดเป็นมูลคา่ รวมท้งั สนิ้ บาท/ปี สถาบนั มีที่ดิน ไร่ งาน อาคาร หลัง ยานพาหนะทีใ่ ชง้ านได้ คัน สถาบนั มคี วามประสงค์รับเงนิ อุดหนนุ จาก กสศ. และสามารถปฏบิ ตั ติ ามเง่อื นไขการรบั ทุนสาหรบั นกั เรียนรายน้หี รอื ไม่ ตอ้ งการ 5. การเดนิ ทางจากท่ีพกั อาศัยไปโรงเรียน ระยะทาง กโิ ลเมตร เมตร ใชเ้ วลา ช่ัวโมง นาที ค่าใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไป-กลบั บาท/เดือน รถส่วนตวั วิธเี ดินทางหลัก เดิน จักรยาน รถโรงเรยี น จักรยานยนต์สว่ นตวั เรือสว่ นตวั จกั รยานยนตร์ ับจ้าง รถโดยสารประจาทาง/รบั จ้าง เรือโดยสารประจาทาง/รบั จ้าง 6. ท่ตี ้ังทพี่ ักอาศยั นกั เรียน ในปจั จบุ ัน หมทู่ ี่ ตรอก/ซอย ถนน รหสั ไปรษณีย์ บ้านเลขที่ อาเภอ/เขต จังหวัด ตาบล/แขวง 7. ภาพถา่ ยท่พี ักอาศัยของนักเรยี นในปจั จบุ นั คณุ ครูลงเยีย่ มบ้านด้วยตนเอง ให้นักเรยี นถ่ายภาพมาให้ ภาพท่ีพกั อาศยั ของนกั เรยี นไดม้ ากจาก ภาพถา่ ยท่ีพกั อาศยั /หอพกั ของนักเรียน ภาพถ่ายครัวเรอื นสถาบัน ประเภทภาพถ่าย ภาพถ่ายนกั เรยี นคูก่ บั ปา้ ยโรงเรียน ที่พกั อาศยั อยู่ตา่ งประเทศ ไม่อนุญาตให้ถา่ ยภาพทพ่ี ักอาศัย ทพ่ี กั อาศัยอยตู่ ่างจังหวัด รปู ท่ี 1 ภาพถ่ายนอกที่พกั อาศัยนกั เรียน รูปท่ี 2 ภาพถ่ายภายในทพ่ี ักอาศยั นกั เรียน กรุณาถ่ายให้เห็น กรณุ าถา่ ยให้เห็น แนวทางการดำ�เ ินนงาน หลงั คาและฝาผนงั ของที่พักอาศยั ทั้งหลัง พ้ืนและบริเวณภายในของทพ่ี กั อาศยั หมายเหต:ุ กรณีทพี่ กั อาศัยอยตู่ า่ งจงั หวัด/ต่างประเทศ หรอื ไม่ได้รบั อนุญาตให้ถ่ายภาพ อนุโลมให้ถา่ ยภาพนกั เรียนคกู่ บั ปา้ ยสถานศึกษาแทน ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษา 45 ตง้ั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้นั พื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แบบ นร./กสศ.01 หนา้ 3 ฉบบั ปรบั ปรงุ 9 พฤศจกิ ายน 2563 8. การรบั รองขอ้ มูลและการให้ความยินยอมในการเกบ็ รวบรวม ใช้ หรอื เปดิ เผยขอ้ มูลสว่ นบคุ คล ข้าพเจ้าขอรับรองว่าข้อมูลดังกล่าวเป็นความจริง และยินยอมให้กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ.) เก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลน้ี เพอื่ วัตถปุ ระสงค์ในการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษา การชว่ ยเหลือ หรอื สนับสนนุ เงินและค่าใช้จา่ ยให้แก่ผขู้ าดแคลนทุนทรัพย์หรือด้อยโอกาส หรือเพอ่ื การศึกษา วิจัย และพฒั นาองค์ความรู้ เพ่อื ใช้ในการลดความเหล่ือมลา้ ทางการศกึ ษา รวมถงึ เพ่อื การดาเนินงานอ่ืน ๆ ใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์ตามมาตรา 5 แห่ง พ.ร.บ. กสศ. พ.ศ. 2561 และ ให้ กสศ. ใช้หรือเปดิ เผยขอ้ มลู นแ้ี ก่ภาคีร่วมดาเนนิ งานท้ังภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม ได้ดว้ ย ทงั้ นี้ เปน็ ไปตามนโยบายการค้มุ ครองข้อมลู สว่ นบุคคลของ กสศ. ลงชื่อ นักเรียน ลงชอ่ื ผู้ปกครอง () ( ) นกั เรยี นทมี่ ีอายเุ กิน 10 ปี ใหล้ งนามสว่ นนดี้ ้วย หากไมถ่ ึงให้ผูป้ กครองลงนามยนิ ยอมแทนได้ เจา้ หนา้ ท่ีของรฐั ) 9. การรบั รองขอ้ มูลโดยเจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐ ข้าพเจ้า เลขประจาตวั ประชาชน ตาแหน่ง ขอรบั รองวา่ นกั เรียนอาศัยอยใู่ นครัวเรือนท่ีขาดแคลนทุนทรพั ย์หรอื ดอ้ ยโอกาสจรงิ ไมข่ อรบั รอง เนอ่ื งจาก ลงช่ือ ( ขา้ พเจา้ ผอู้ านวยการโรงเรยี น ขอรบั รองว่าข้อมลู ข้างต้นเป็นข้อมลู ของนักเรียนจริง ผ้อู านวยการสถานศึกษา ลงช่ือ ) ( ครูผู้เยยี่ มบ้าน/สารวจขอ้ มลู ลงชือ่ () ตาแหน่ง ………………………………………………………………….. แนวทางการดำ�เ ินนงาน กสศ. เปน็ หน่วยงานของรัฐ จัดตง้ั ข้นึ ตาม พ.ร.บ. กองทุนเพือ่ ความเสมอภาคทางการศกึ ษา พ.ศ. 2561 ตั้งอยูเ่ ลขที่ 388 อาคาร เอส. พี. ช้นั 13 ถนนพหลโยธนิ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400 โทร 02-079-5475 กด 1 , Email: [email protected] 46 ตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษา ตัง้ แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการบริหารจัดการงบประมาณ แนวทางการดำ�เ ินนงาน รายการค่าจัดการเรียนการสอน (เงนิ อดุ หนนุ ค่าอาหารนักเรยี นประจ�ำพกั นอน) ก. หลกั การ เงินอุดหนุนค่าอาหารนักเรียนประจ�ำพักนอน หมายถึง เงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน คา่ จดั การเรยี นการสอน (ค่าอาหารนักเรยี นประจ�ำ พักนอน) ท่ีจัดสรรให้โรงเรียน เพ่ือใช้จ่ายเป็นค่าอาหารนักเรียนประจ�ำพักนอน ส�ำหรับโรงเรียน ที่ด�ำเนินการจัดท่ีพักให้แก่นักเรียนท่ีอยู่ในถิ่นทุรกันดาร ห่างไกล เดินทางไม่สะดวก ไม่สามารถ เดินทางไป-กลับได้ โดยโรงเรยี นได้ด�ำเนนิ การก�ำกบั ดูแล และจัดระบบแบบเตม็ เวลา ข. นยิ าม ๑. โรงเรียนที่จัดการศึกษาส�ำหรับนักเรียนประจ�ำพักนอน หมายถึง โรงเรียนปกติที่จัด การศึกษาให้แก่นักเรียนที่มีท่ีอยู่ในถิ่นทุรกันดาร ห่างไกล เดินทางไม่สะดวก ไม่สามารถเดินทาง ไป - กลับได้ และเป็นโรงเรียนที่ส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาอนุญาตและประกาศให้เป็นโรงเรียน ทมี่ ีนกั เรียนประจ�ำพักนอน ๒. ท่ีพักนอนในโรงเรียน หมายถึง ท่ีพักส�ำหรับนักเรียนประจ�ำพักนอนที่โรงเรียนจัดให้ ประกอบดว้ ย บ้านพกั ครู ทพ่ี กั นกั เรยี น และสิ่งปลูกสรา้ งอื่นท่ีโรงเรยี นสรา้ งขน้ึ โดยเงนิ งบประมาณ หรอื เงนิ บรจิ าค ส�ำหรบั ให้นักเรียนพกั นอนในพืน้ ที่โรงเรียน ๓. ถน่ิ ทุรกนั ดาร หา่ งไกล หมายถงึ พื้นทซี่ ่ึงอยู่หา่ งไกลชมุ ชน มีสภาพภูมปิ ระเทศกันดาร เปน็ ภเู ขา ทะเล เกาะ หรือแมน่ �้ำกน้ั การคมนาคมไมส่ ะดวก หรือระยะทางหา่ งไกลจากโรงเรยี น ๔. เขตพ้ืนที่บริการ หมายถึง เขตพื้นที่บริการของโรงเรียนตามประกาศการรับนักเรียน ของส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ๕. พื้นท่ีโรงเรียน หมายถึง ขนาดของที่ดินที่เป็นที่ต้ังของโรงเรียน ที่ดินท่ีโรงเรียนมีสิทธ์ิ ครอบครอง หรอื ใชป้ ระโยชน์ในการจัดการศกึ ษาจากท่ีดินน้นั ๖. นักเรียนประจ�ำพักนอน หมายถึง นักเรียนในเขตบริการตามประกาศเขตพ้ืนที่บริการ ของโรงเรียน ที่มีที่อยู่ห่างไกลท่ีไม่สามารถเดินทางไป - กลับได้ มาเรียนและพักนอนในท่ีพักนอน ที่โรงเรียนจัดใหเ้ ปน็ ประจ�ำ โดยโรงเรียนจัดให้แบบเต็มระบบเวลา ตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษา 47 ตัง้ แต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการดำ�เ ินนงาน ค. เกณฑ์การจัดสรร ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานมหี ลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาจดั สรรงบประมาณ งบเงนิ อดุ หนนุ ประเภทเงนิ อดุ หนนุ ทว่ั ไป เงนิ อดุ หนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน รายการ คา่ จดั การเรยี นการสอน (คา่ อาหารนกั เรยี นประจ�ำพกั นอน) ใหก้ บั นกั เรยี นในโรงเรยี นประจ�ำพกั นอน ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ที่ กค ๐๔๐๖.๔/๑๑๒๙๗ ลงวันที่ ๒๔ มีนาคม ๒๕๕๙ อนุมัติให้ เบิกจ่ายค่าอาหารนักเรียนประจ�ำพักนอนตามที่ขอท�ำความตกลงไว้ในอัตราท่ีเพิ่มข้ึนจากม้ือละ ๑๓ บาท/คน เปน็ มอ้ื ละ ๒๐ บาท/คน วนั ละ ๒ มอื้ จ�ำนวน ๒๐๐ วนั /ปกี ารศกึ ษา โดยจดั สรรให้ ดงั นี้ ๑. จดั สรรให้นกั เรยี นระดับประถมศึกษา (ระดบั ชั้น ป.๑ - ป.๖) คนละ ๘,๐๐๐ บาท/ปีการศกึ ษา (ภาคเรยี นละ ๔,๐๐๐ บาท/คน) ๒. จดั สรรให้นกั เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ระดับชัน้ ม.๑ - ม.๓) คนละ ๘,๐๐๐ บาท/ปีการศกึ ษา (ภาคเรยี นละ ๔,๐๐๐ บาท/คน) ยกเวน้ ๑. นักเรียนในโรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั โรงเรียนวทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวทิ ยาลยั โรงเรียนประชามงคลจังหวัดกาญจนบุรี โรงเรียนพระราชทานเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดน่าน และอสิ ลามวทิ ยาลยั แห่งประเทศไทย ๒. นักเรียนในโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ โรงเรยี นศึกษาสงเคราะห์ โรงเรียนการศกึ ษาพเิ ศษ และศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ ในสังกดั ส�ำนกั บริหารงานการศกึ ษาพเิ ศษ ๓. นกั เรยี นในโรงเรยี นทไี่ ดด้ �ำเนนิ การจดั ทพ่ี กั นอนในโรงเรยี นและไดเ้ รยี กเกบ็ เงนิ คา่ อาหาร นักเรยี นประจ�ำพกั นอนทุกคนแลว้ กรณีทไี่ ดเ้ รียกเก็บเงนิ ไม่ครบทุกคน สามารถจดั สรรใหไ้ ด้เฉพาะ จ�ำนวนนกั เรยี นส่วนท่ีเหลอื และต้องเป็นนักเรียนทเี่ ปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ่กี �ำหนด ๔. นักเรียนในโครงการต่างๆ เช่น โครงการห้องเรียนกีฬา โครงการสานฝันการกีฬา สู่ระบบการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้ โครงการโรงเรียนประชารัฐจังหวัดชายแดนภาคใต้ จ�ำนวน ๖๔ โรง ใน ๓๗ อ�ำเภอ ง. การใชจ้ า่ ยงบประมาณ โรงเรยี นมแี นวทางในการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ในการจดั หาอาหารใหแ้ กน่ กั เรยี นประจ�ำพกั นอน ดงั นี้ ๑. จดั ซ้ือวัตถดุ ิบประกอบอาหาร เช่น ข้าวสาร อาหารแห้ง อาหารสด เครอื่ งปรงุ ส�ำหรบั ประกอบอาหารเอง เป็นตน้ ๒. จ้างเหมาท�ำอาหาร 48 ตามโครงการสนบั สนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษา ตัง้ แต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๓. จ่ายเป็นเงินสดให้แก่นักเรียน โดยโรงเรียนแต่งต้ังคณะกรรมการอย่างน้อย ๓ คน แนวทางการดำ�เ ินนงาน จ่ายเงนิ สดให้นักเรยี น ท้งั น้ี ตอ้ งมีใบส�ำคัญรบั เงินเปน็ หลกั ฐาน ทั้งน้ี การด�ำเนินการตามข้อ ๑ - ๒ ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้าง และ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้าง และ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ (ตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวจ) ๐๔๐๕.๒/ว ๑๑๖ ลงวันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๒ เรื่องแนวทางปฏิบตั ิในการจดั ซ้ือวัตถดุ ิบเพ่ือใชใ้ นการประกอบอาหาร การจา้ งบคุ คลเพอ่ื ประกอบอาหารหรอื การจา้ งเหมาประกอบอาหาร (ปรุงส�ำเร็จ) และกฎกระทรวง ทเ่ี กย่ี วข้อง หมายเหตุ จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ได้ก�ำหนดแนวปฏิบัติการเบิกจ่ายเงิน คา่ อาหารนักเรียนประจ�ำพกั นอนหรือนกั เรียนประจ�ำ และนกั เรียนไป - กลบั สังกัดส�ำนกั บรหิ ารงาน การศึกษาพิเศษ ในชว่ งสถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) กรณีท่ีสถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนออนไลน์หรือสลับวันมาเรียน ท�ำให้สถานศึกษา ไม่สามารถจัดหาอาหารให้แก่นักเรียนได้ จึงจ�ำเป็นต้องจ่ายงบประมาณค่าอาหารให้แก่นักเรียน หรอื ผปู้ กครองเพือ่ น�ำไปจดั หาอาหารรบั ประทานทบี่ า้ น ดงั นี้ ตามโครงการสนับสนุนคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษา 49 ต้ังแตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการดำ�เ ินนงาน แนวทางการบริหารงบประมาณ งบเงินอดุ หนนุ คา่ อาหารนักเรยี นประจ�ำพกั นอน ของสถานศึกษา สงั กัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒ มิถุนายน ๒๕๖๓ รับทราบตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการ เสนอเรื่องการเตรียมความพรอ้ มการจัดการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานกอ่ นเปดิ ภาคเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในข้อ ๔.๕ การบรหิ ารจดั การส�ำหรบั นกั เรยี นพกิ ารและเดก็ ดอ้ ยโอกาสและเมอ่ื วนั ท่ี๓๐มถิ นุ ายน๒๕๖๓รบั ทราบ ตามท่ีกระทรวงศึกษาธิการเสนอ เร่ืองการเตรียมการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานก่อนเปิดภาคเรียน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ในข้อ ๔.๓ แนวทางการใช้จ่ายเงินอุดหนุนส�ำหรับโรงเรียนท่ีจัดสถานที่พักนอนให้กับนักเรียน ในพ้ืนที่ยากล�ำบาก ห่างไกล ไม่สามารถเดินทางไป - กลับได้ และข้อ ๔.๔ แนวทางการใช้จ่าย งบอุดหนุนส�ำหรับโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พนื้ ฐานจงึ ก�ำหนดแนวปฏบิ ตั กิ ารเบกิ จา่ ยเงนิ คา่ อาหารนกั เรยี นประจ�ำพกั นอน หรอื นกั เรยี นประจ�ำ และนักเรียนไป-กลับสังกัดส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) กรณีท่ีสถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอน ออนไลน์หรือสลับวันมาเรียน ท�ำให้สถานศึกษาไม่สามารถจัดหาอาหารให้แก่นักเรียนได้ จึงจ�ำเป็น ต้องจ่ายงบประมาณค่าอาหารให้แก่นักเรียนหรือผู้ปกครอง เพื่อน�ำไปจัดหาอาหารรับประทานที่บ้าน ดังนี้ ๑. กรณเี ปดิ ภาคเรยี นและนักเรยี นมาเรยี นตามปกติ ๑.๑ สถานศึกษาเป็นผู้จัดหาอาหารให้แก่นักเรียนประจ�ำพักนอนหรือนักเรียนประจ�ำ โดยให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. ๒๕๖๐ (ตามหนงั สอื กระทรวงการคลงั ดว่ นทส่ี ดุ ที่ กค (กวจ) ๐๔๐๕.๒/ว ๑๑๖ ลงวนั ท่ี ๑๒ มนี าคม ๒๕๖๒) ใน ๓ กรณี ดงั นี้ กรณีท่ี ๑ กรณีการจดั ซอื้ วตั ถดุ บิ เพ่อื ใชใ้ นการประกอบอาหาร กรณีที่ ๒ กรณีการจ้างบคุ คลเพือ่ ประกอบอาหาร กรณีที่ ๓ กรณีการจ้างเหมาประกอบอาหาร (ปรงุ ส�ำเร็จ) ๑.๒ สถานศึกษาจ่ายเป็นเงินสดให้แก่นักเรียนประจ�ำพักนอนหรือนักเรียนประจ�ำ ให้สถานศึกษาด�ำเนนิ การในลกั ษณะเดียวกนั กบั ขอ้ ๒ 50 ตามโครงการสนบั สนุนค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษา ตัง้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๒. กรณีการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ การสลับวันมาเรียน หรือการจัดการเรียน การสอนทบ่ี ้านแบบผสมผสานใน ๓ รปู แบบ คอื เรียนรู้หลกั ผา่ น TV ทกุ ระบบ (On-Air Education) เรยี นรเู้ สรมิ ผา่ นดจิ ทิ ลั (Online Education) และเรยี นรเู้ สรมิ แบบโตต้ อบ (Interactive Education) โดยให้สอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และตามบรบิ ทของสถานศกึ ษาทจี่ ดั การศกึ ษาประจ�ำพกั นอนหรอื นกั เรยี นประจ�ำ และนกั เรยี นไป-กลบั สงั กัดส�ำนักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ โดยให้ด�ำเนนิ การเบกิ จา่ ยงบประมาณตามแนวทาง ดังนี้ ๒.๑ สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย ๓ คน เพ่ือด�ำเนินการจ่ายเงินสด หรือโอนเข้าบัญชี หรือตามรูปแบบและวิธีการท่ีสถานศึกษาก�ำหนด ให้แก่นักเรียนหรือผู้ปกครอง ตามงบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือโอนเข้าบัญชี หรือตามรูปแบบและวิธีการท่ีสถานศึกษาก�ำหนด ให้แก่นักเรียนหรือผู้ปกครอง ตามงบประมาณ ท่ีได้รับจัดสรรจากส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยมีค�ำสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการ จ่ายเงิน (ตวั อย่างตามเอกสารหนา้ ท่ี ๕๒ ) ซึ่งนักเรยี นหรอื ผู้ปกครองลงลายมือชอ่ื ในแบบหลักฐาน การจ่ายเงิน (ตัวอย่างตามเอกสารหน้าที่ ๕๓) พร้อมท้ังแนบส�ำเนาบัตรประจ�ำตัวประชาชน ของนกั เรยี นหรอื ผปู้ กครอง กรณนี กั เรยี นไมส่ ามารถลงลายมอื ชอื่ รบั เงนิ ไดใ้ หผ้ ปู้ กครองลงลายมอื ชอื่ รับเงนิ แทน เพอื่ เก็บไว้เปน็ หลกั ฐานการจ่ายเงิน ๒.๒ ตรวจสอบความซ้ำ� ซ้อนของนักเรียน (ขอ้ ๑ และข้อ ๒) ๒.๓ จดั เกบ็ แบบหลกั ฐานการจา่ ยเงนิ และส�ำเนาบตั รประจ�ำตวั ประชาชนของนกั เรยี น หรอื ผูป้ กครอง (ผ้รู ับเงนิ ) เพื่อการตรวจสอบของหน่วยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งต่อไป แนวทางการดำ�เ ินนงาน ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษา 51 ต้งั แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ตวั อยา่ ง เอกสารหมายเลข ๑ แนวทางการดำ�เ ินนงาน ค�ำสัง่ โรงเรยี น…………………………………. ท.ี่ ................................/.................................. เร่อื ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการจ่ายเงนิ ค่าอาหารนกั เรียนประจ�ำพกั นอน ส�ำหรับสถานศกึ ษาทีจ่ ัดการศึกษา ประจ�ำพกั นอน หรอื นักเรียนประจ�ำ และนักเรยี นไป - กลบั สงั กัดส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ งบเงนิ อดุ หนุน ปีงบประมาณ พ.ศ. ............ ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) …………………………………………………………….. ตามหนังสือส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ด่วนท่สี ดุ ท่ี ศธ ๐๔๐๐๖/ว .............. ลงวันที่.................เร่ือง แนวทางการบริหารงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ค่าอาหารนักเรียนประจ�ำพักนอน ส�ำหรับสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) กรณกี ารจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ การสลบั วนั มาเรยี น หรือการจัดการเรียนการสอนที่บ้านแบบผสมผสานใน ๓ รูปแบบ คือ เรียนรู้หลักผ่าน TV ทุกระบบ (On-Air Education) เรยี นรเู้ สรมิ ผา่ นดจิ ทิ ลั (Online Education) และเรยี นรเู้ สรมิ แบบโตต้ อบ (Interactive Education) โดยใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) และตามบริบทของสถานศึกษาที่จัดการศึกษาประจ�ำพักนอนหรือนักเรียนประจ�ำ และนักเรียนไป-กลับ สังกัดส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ตามเดิมท่ีสถานศึกษาเคยจัดได้ จึงจ�ำเป็นต้องจ่ายงบประมาณ คา่ อาหารให้แก่นักเรยี นหรือผปู้ กครอง เพ่ือน�ำไปจัดหาอาหารให้นักเรียนรบั ประทานท่บี ้าน ดังนั้น เพ่ือให้เป็นไปตามแนวทางที่ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานก�ำหนด จึงขอแต่งต้งั บุคคลดงั ตอ่ ไปน้เี ป็นคณะกรรมการจา่ ยเงนิ ประกอบดว้ ย ๑. .............................................................. ๒. .............................................................. ๓. .............................................................. ฯลฯ ทั้งน้ี ให้ผู้ท่ีได้รับการแต่งตั้งปฏิบัติหน้าท่ีอย่างเต็มความสามารถ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อทางราชการ สัง่ ณ วันที.่ ............เดอื น..................................พ.ศ. .................. (...........................................................) ผูอ้ �ำนวยการโรงเรยี น ............................................................... 52 ตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ตัง้ แต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
เอกสารหมายเลข ๒ แบบหลกั ฐานการจา่ ยเงิน คา่ อาหารนักเรียนประจ�ำพกั นอน ส�ำหรับโรงเรยี นทีจ่ ดั การศึกษาประจ�ำพักนอน หรือนกั เรียนประจ�ำ และนักเรียนไป - กลับสังกัดส�ำนกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ งบเงินอดุ หนุน ปงี บประมาณ พ.ศ. ....... ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ระดบั ชนั้ อนบุ าลปีท่.ี .................. ประถมศกึ ษาปีที่................. มัธยมศึกษาปีที่................... จ�ำนวนนกั เรยี นทไ่ี ดร้ บั เงนิ ทงั้ สนิ้ ..................คน ระหวา่ งวนั ท.ี่ ..................................ถงึ .................................... ไดร้ บั เงนิ จากโรงเรยี น........................................................................................................................................ สงั กดั ............................................................................................................................ดังนี้ ที่ ชื่อ-สกลุ นกั เรยี น หมายเลขประจ�ำตัว จ�ำนวนเงิน วัน/เดอื น/ปี ลายมือชือ่ หมายเหตุ ประชาชน ๑๓ หลกั (บาท) ทรี่ ับเงนิ ผูป้ กครอง/ นกั เรียน รวมทงั้ ส้นิ รวมเปน็ เงินทง้ั ส้นิ (ตวั อักษร) (.....................................................................................................) ลงชอ่ื ..........................................ผู้จ่ายเงนิ ลงชอื่ ..........................................ผู้จา่ ยเงนิ (.......................................) (.........................................) ลงชื่อ..........................................ครูประจ�ำชั้น แนวทางการดำ�เ ินนงาน (........................................) ตรวจสอบแล้วถูกตอ้ ง ลงช่ือ............................................ผูอ้ �ำนวยการโรงเรยี น (...........................................) ตามโครงการสนับสนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา 53 ตงั้ แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แผนภูมแิ สดงขนั้ ตอนการด�ำเนนิ งาน โรงเรียน ๑. แตง่ ตัง้ ผูร้ ับผดิ ชอบ และคณะกรรมการดำ�เนนิ การ ๒. สำ�รวจ และจัดทำ�ขอ้ มลู นร.ประจำ�พกั นอน ตามหลักเกณฑ์ของ สพฐ. - ข้อมลู รายชือ่ นร.ประจำ�พักนอน - ขอ้ มลู สถานทพ่ี ักนอน - การบริหารจดั การ นร.ประจ�ำ พกั นอน ๓. เสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้นื ฐาน ๔. รายงาน สพท. เพ่ือขออนญุ าตเป็น ร.ร.ประจ�ำ พักนอนทุกปีการศกึ ษา ๕. เมือ่ ได้รับอนญุ าตและประกาศจาก สพท. แล้ว ให้ ร.ร.ตรวจสอบ คดั กรอง และรายงานขอ้ มูลจำ�นวนนกั เรียนพักนอนให้ สพท. ๖. ตรวจสอบและบริหารงบประมาณท่ไี ดร้ บั จัดสรรใหเ้ ปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ ในการใชจ้ ่ายเงนิ ๗. รายงานรายชื่อ นร.ประจำ�พักนอนท่ไี ด้รบั จัดสรรลงเวบ็ ไซต์ เมอ่ื ร.ร.ได้รับแจง้ โอนเงินประจ�ำ งวด ๘. กรณี นร.ประจ�ำ พักนอนเพ่มิ จากที่รายงาน ใหร้ ายงานรายช่อื เพิ่มในภาคเรียนถดั ไป ๙. กำ�กับ ตดิ ตาม ดูแลการด�ำ เนนิ งาน นร.ประจ�ำ พกั นอน แนวทางการดำ�เ ินนงาน ส�ำนกั งานเขต ๑. รวบรวม ตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มูลการขออนญุ าตเป็น ร.ร.ประจำ�พกั นอน พน้ื ทก่ี ารศกึ ษา ๒. แต่งต้ังคณะกรรมการพจิ ารณา ๓. อนญุ าตและจดั ท�ำ ประกาศเปน็ ร.ร.ประจำ�พกั นอนของ สพท. ส�ำนกั งาน คณะกรรมการ ๔. แจง้ ประกาศให้ ร.ร.ทราบ และบนั ทกึ ขอ้ มลู รายชอื่ นร.ประจ�ำ พกั นอน เพอื่ ขอรบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน การจัดสรรและจดั พิมพ์สรปุ จ�ำ นวน นร.รายคนของ ร.ร.จัดส่ง สพฐ. ๕. แจ้งจดั สรร และใหโ้ รงเรียนยืนยันขอ้ มูล นร.ทไ่ี ด้รับจดั สรรในเว็บไซต์ ๖. ตรวจสอบรายชื่อ นร.ท่ีไดร้ ับจัดสรร หากไม่เป็นไปตามท่ีจัดสรร สพฐ. จะด�ำ เนินการปรับเพม่ิ -ลด ในภาคเรยี นถัดไป ๗. ก�ำ กบั ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดำ�เนินงาน ๑. รวบรวมขอ้ มลู ประมวลผล และตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมลู นร.ประจำ� พกั นอนของเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา ๒. พิจารณาจดั สรรงบประมาณเงินอดุ หนุนค่าอาหาร นร.ประจำ�พักนอน ใหแ้ ก ่ เขตพื้นทกี่ ารศึกษาทีม่ โี รงเรียนทดี่ ำ�เนินการจัดท่พี กั ใหแ้ ก่นักเรยี น ๓. กำ�กบั ติดตาม ตรวจสอบผลการดำ�เนินงาน ๔. ส่งเสริม สนบั สนุนใหม้ งี านวิจยั เพอื่ นำ�ผลงานวิจัยมาใช้ประโยชน ์ 54 ตามโครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษา ตงั้ แต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการบริหารจัดการงบประมาณ งบเงนิ อุดหนนุ เงินอุดหนนุ ทว่ั ไป ส�ำหรบั โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์/โรงเรยี นการศึกษาพิเศษ/ศนู ยก์ ารศกึ ษาพิเศษ ก. หลักการ การสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ โรงเรียนการศกึ ษาสงเคราะห์ และโรงเรยี นการศกึ ษาพเิ ศษ ได้รับจัดสรรงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนท่ัวไป จากโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จ�ำนวน ๕ รายการ ประกอบดว้ ย รายการคา่ จดั การเรยี นการสอน ค่าหนงั สือเรยี น คา่ อปุ กรณก์ ารเรยี น ค่าเคร่ืองแบบนักเรยี น และคา่ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียน ส�ำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษได้รับจัดสรรงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนทั่วไป เงินอุดหนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จากโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการ จดั การศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน จ�ำนวน ๔ รายการ ประกอบดว้ ย รายการ คา่ หนังสอื เรยี น คา่ อุปกรณก์ ารเรียน ค่าเคร่ืองแบบนักเรยี น และคา่ กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน และจากผลผลติ เดก็ พกิ ารไดร้ บั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานและการพฒั นาสมรรถภาพ กจิ กรรมการพฒั นา สมรรถภาพเด็กพกิ ารโดยศนู ย์การศึกษาพิเศษ รายการคา่ อาหารนักเรียนประจ�ำ ค่าอาหารนักเรียน ไป - กลบั และปจั จยั พ้นื ฐานส�ำหรบั นักเรยี นประจ�ำ ข. แนวทางการใชง้ บประมาณงบเงินอดุ หนุน เงนิ อุดหนุนทวั่ ไป แนวทางการดำ�เ ินนงาน ๑. เมอ่ื สถานศกึ ษาไดร้ บั แจง้ บญั ชจี ดั สรรงบประมาณจากส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษา ข้ันพื้นฐาน โดยส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ให้โรงเรียนตรวจสอบบัญชีจัดสรร ตามที่ระบุไว้ ในบญั ชจี ดั สรรกับเกณฑก์ ารจดั สรรงบประมาณที่ส่งมาพร้อมบญั ชจี ดั สรร ๒. เม่ือสถานศึกษาได้รับแจ้งการตัดโอนเงินงบประมาณจากส�ำนักงานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน โดยส�ำนกั การคลงั และสนิ ทรพั ย์ ใหส้ ถานศกึ ษาจดั ท�ำแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ เพอ่ื สง่ ค�ำขอเบกิ เงนิ อดุ หนนุ เขา้ บญั ชเี งนิ ฝากธนาคารของโรงเรยี น พรอ้ มจดั ท�ำทะเบยี นคมุ เงนิ อดุ หนนุ แยกตามรายการทีไ่ ด้รับจดั สรร ๓. ให้สถานศึกษาจัดท�ำแผนปฏิบัติการประจ�ำปีของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับภารกิจ ของสถานศึกษาตามนโยบายและจุดเน้นของส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ และส�ำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ตามโครงการสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษา 55 ตั้งแต่ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการดำ�เ ินนงาน ๔. น�ำแผนปฏิบัติการประจ�ำปีของสถานศึกษา เพ่ือให้คณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพน้ื ฐานเหน็ ชอบ ๕. ให้สถานศึกษาใช้จ่ายงบประมาณตามหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนท่ีสุด ท่ี กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวันท่ี ๗ กันยายน ๒๕๔๘ เร่ือง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน (ใช้จ่ายเงินภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลืออยู่และยังไม่สิ้นสุดโครงการให้รีบด�ำเนินการ ให้เสรจ็ ส้ินอย่างชา้ ภายในปงี บประมาณถัดไป) ๖. สถานศึกษาใชจ้ ่ายเงนิ ไม่หมดตามระยะเวลาข้อ ๕ เงนิ ทีเ่ หลอื ตอ้ งส่งคืนคลังเป็นรายได้ แผน่ ดนิ ๗. ดอกเบย้ี ทีเ่ กดิ จากเงนิ ฝากธนาคารสถานศกึ ษาต้องน�ำสง่ คืนคลงั เปน็ รายได้แผน่ ดิน ๘. บันทึกการรบั - จา่ ยเงนิ ตามระบบควบคมุ การเบกิ จ่ายเงินเชือ่ มโยงกับการปฏิบัตงิ าน ในระบบ GFMIS ๙. การใช้จ่ายเงินต้องเกิดประโยชน์ต่อนักเรียนเป็นล�ำดับแรก และใช้จ่ายให้เป็นไป ตามหลักเกณฑท์ ีส่ �ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐานก�ำหนด ๑๐. หลักฐานการใชจ้ ่ายเงนิ สถานศกึ ษาเกบ็ ไว้เพ่ือให้ตรวจสอบได้ ๑๑. ส�ำหรับสถานศึกษาสังกัดส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษที่ไม่มีสถานะเป็นหน่วยเบิกจ่าย ให้ด�ำเนินการใช้จ่ายเงินและการจัดท�ำทะเบียนคุมเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ตามหนังสือ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ท่ี ศธ ๐๔๐๐๒/ว ๕๖๕๙ ลงวนั ท่ี ๒๓ ธนั วาคม ๒๕๖๓ ค. ลักษณะการใช้งบประมาณ ๑. งบประมาณเงินอุดหนนุ เงินอดุ หนุนท่ัวไป การสนับสนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษา ขัน้ พ้ืนฐาน ตามโครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษาตั้งแตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษา ขั้นพน้ื ฐาน ๑.๑ ค่าจัดการเรียนการสอน ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการที่เกี่ยวข้อง โดยใหใ้ ช้ในลักษณะ ๓ ประเภทงบรายจา่ ย ดังน้ี ๑.๑.๑ งบบุคลากร หมายถึง รายจ่ายท่ีจ่ายในลักษณะเงินเดือน เป็นค่าจ้าง ชว่ั คราว เช่น ค่าจ้างครอู ัตราจ้างรายเดือน พนกั งานขบั รถ นกั การภารโรง ฯลฯ ๑.๑.๒ งบด�ำเนนิ งาน หมายถงึ รายจา่ ยทกี่ �ำหนดใหจ้ า่ ยเพอ่ื การบรหิ ารงานประจ�ำ ได้แก่ รายจา่ ยทจี่ ่ายในลกั ษณะ - คา่ ตอบแทน เช่น ค่าตอบแทนวิทยากร คา่ ตอบแทนวทิ ยากรวิชาชพี - ท้องถ่นิ ฯลฯ 56 ตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษา ตัง้ แต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
- ค่าใช้สอย เชน่ ค่าเบ้ียเลีย้ ง คา่ เช่าที่พกั คา่ พาหนะ ค่าจ้างซ่อมแซม แนวทางการดำ�เ ินนงาน คา่ จ้างเหมาบรกิ าร ค่าพาหนะพานักเรียนไปทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ ฯลฯ - คา่ วสั ดุ เชน่ คา่ วสั ดกุ ารศกึ ษา คา่ เครอื่ งเขยี น แปรงลบกระดาน กระทะ คา่ วสั ดุเวชภัณฑ์ ค่าซอ่ มแซมบ�ำรุงรักษาทรัพยส์ นิ ฯลฯ - ค่าสาธารณูปโภค เชน่ ค่านำ�้ ค่าไฟฟา้ คา่ โทรศัพท์ ฯลฯ ๑.๑.๓ งบลงทนุ หมายถงึ รายจา่ ยทกี่ �ำหนดใหจ้ า่ ยเพอ่ื การลงทนุ ไดแ้ ก่ รายจา่ ย ทจ่ี า่ ยในลักษณะ - ค่าครุภัณฑ์ เชน่ เครื่องถา่ ยเอกสาร เครอ่ื งค�ำนวณ เครอ่ื งดูดฝุ่น ฯลฯ - ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รายจ่ายเพื่อดัดแปลง ต่อเติม หรือปรับปรุง สิ่งกอ่ สร้าง ซง่ึ ท�ำให้ที่ดิน ส่ิงกอ่ สรา้ ง มมี ูลค่าเพิ่มข้ึน ฯลฯ ทั้งนี้ กรณีงบลงทุนและงบด�ำเนินงาน สามารถด�ำเนินการได้เพ่ิมเติม ตามหนังสือส�ำนกั งบประมาณ ดังน้ี - หนงั สือ ด่วนท่สี ุด ที่ นร ๐๗๐๒/ว ๕๑ ลงวันท่ี ๒๐ มกราคม ๒๕๔๘ เรอ่ื ง หลักการจ�ำแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ - หนังสือ ท่ี นร ๐๗๐๔/ว ๓๓ ลงวันท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๕๓ เรือ่ ง การปรบั ปรุงการจ�ำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ - หนงั สือ ดว่ นทส่ี ดุ ท่ี นร ๐๗๐๔/ว ๖๘ ลงวันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๘ เรื่อง การปรบั ปรุงหลกั การจ�ำแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ - หนงั สอื ท่ี นร ๒๗๐๔/ว ๓๗ ลงวนั ที่ ๖ มกราคม ๒๕๕๙ เรอื่ ง แนวทาง การพจิ ารณาสงิ่ ของทจ่ี ดั เปน็ วสั ดแุ ละครภุ ณั ฑต์ ามหลกั การจ�ำแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณ - หลักการจ�ำแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ แก้ไขปรับปรุง ตามหนังสือส�ำนักงบประมาณ ท่ี นร ๐๗๐๔/ว ๓๓ หนังสือส�ำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๗๐๔/ว ๖๘ และหนังสือส�ำนักงบประมาณ ที่ นร ๐๗๐๔/ว ๓๗ ลงวันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๕๙ เร่ือง แนวทางการพิจารณาสิ่งของท่ีจัดเป็นวัสดุและครุภัณฑ์ตามหลักการจ�ำแนกประเภทรายจ่าย ตามงบประมาณ ท่ีมา : http://www.bb.go.th ๑.๒ ค่าหนังสือเรียน ค่าอุปกรณ์การเรียน ค่าเครื่องแบบนักเรียน และค่ากิจกรรม พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการท่ีเก่ียวข้องและปฏิบัติตามแนวทาง การด�ำเนนิ งานการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ตามโครงการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ย ในการจดั การศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ เลม่ น้ี ตามโครงการสนบั สนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษา 57 ต้งั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๒. งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ผลผลิตเด็กพิการได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานและ การพัฒนาสมรรถภาพ กจิ กรรมการพฒั นาสมรรถภาพเด็กพิการโดยศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ ๒.๑ เงินอุดหนนุ คา่ อาหารนักเรียนประจ�ำ ๒.๒ เงนิ อดุ หนนุ ค่าอาหารนกั เรียนไป - กลับ ๒.๓ เงนิ อดุ หนนุ ปัจจัยพนื้ ฐานส�ำหรับนกั เรียนประจ�ำ ทง้ั ขอ้ ๒.๑ ขอ้ ๒.๒ และขอ้ ๒.๓ ใหป้ ฏิบตั ิตามระเบียบของทางราชการทเ่ี กีย่ วข้อง และใช้ตามวัตถุประสงค์ของรายการท่ีได้รับการจัดสรรงบประมาณ (หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนทส่ี ุด ท่ี กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวนั ท่ี ๗ กันยายน ๒๕๔๘ เรอื่ ง การเบิกจา่ ยเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน และหนังสือหนังสือกรมบัญชีกลาง ท่ี กค ๐๔๐๒.๕/๐๓๓๒๗๓ ลงวันท่ี ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ เรอ่ื ง ขอหารอื เกย่ี วกบั การใชเ้ งนิ เหลอื จา่ ยงบเงนิ อดุ หนนุ ประเภทเงนิ อดุ หนนุ ทว่ั ไป) แนวทางการดำ�เ ินนงาน 58 ตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ตั้งแตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ท่ี กค ๐๔๐๒.๕/๐๓๓๒๗๓ กรมบัญชกี ลาง ถนนพระราม ๖ กทม. ๑๐๔๐๐ ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ เรือ่ ง ขอหารือเกยี่ วกับการใชเ้ งินเหลือจ่ายงบเงนิ อุดหนนุ ประเภทเงนิ อดุ หนนุ ทัว่ ไป เรียน เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน อ้างถึง ๑. หนงั สอื ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ท่ี ศธ ๐๔๐๐๗/๓๑๗๖ ลงวนั ที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๕๘ ๒. หนงั สอื ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน ที่ ศธ ๐๔๐๐๗/๑๖๔๓ ลงวนั ท่ี ๒๑ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๐ ตามหนังสือท่ีอ้างถึง ๑ และ ๒ แจ้งว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้รับจัดสรร งบประมาณงบเงนิ อดุ หนนุ ประเภทเงนิ อดุ หนนุ ทวั่ ไป รายการเงนิ อดุ หนนุ คา่ อาหารนกั เรยี นประจ�ำ นกั เรยี นไป - กลบั และเงินอุดหนุนปัจจัยพื้นฐานส�ำหรับนักเรียนประจ�ำ ให้กับศูนย์การศึกษาพิเศษและได้จัดท�ำแผนการใช้จ่าย งบประมาณเพอ่ื เบกิ จา่ ยเงนิ จากระบบ GFMIS เขา้ ฝากบญั ชเี งนิ อดุ หนนุ ประเภทออมทรพั ยข์ องศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ เมอื่ สนิ้ ปงี บประมาณ พบวา่ มเี งนิ คงเหลอื ในบญั ชดี งั กลา่ ว ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน จงึ ขอหารอื วา่ ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษสามารถน�ำเงินงบประมาณท่ีคงเหลอื ในบญั ชีดงั กล่าว ไปช�ำระหน้คี ่าสาธารณูปโภคไดห้ รอื ไม่ อย่างไร ความละเอียดแจง้ แลว้ น้ัน กรมบัญชกี ลางพิจารณาแล้ว ขอเรยี นดงั น้ี ๑. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๔๘ เร่ือง การเบิกจ่ายเงินงบประมาณงบเงนิ อดุ หนนุ กรณีเปน็ การเบิกจา่ ยให้สว่ นราชการเป็นผูด้ �ำเนินการ ข้อ ๒.๖ ก�ำหนดให้ การจ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการด�ำเนินการท่ีเบิกไปแล้วให้จ่ายภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลืออยู่ และยงั ไมส่ น้ิ สดุ โครงการใหร้ บี ด�ำเนนิ การใหเ้ สรจ็ สนิ้ อยา่ งชา้ ภายในปงี บประมาณถดั ไป กรณสี นิ้ สดุ หรอื ยบุ เลกิ โครงการแลว้ ปรากฏวา่ มเี งนิ คงเหลอื อยใู่ นบัญชเี งินฝากธนาคารให้น�ำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดนิ ๒. กรณีตามข้อหารือ เมื่อส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยศูนย์การศึกษาพิเศษ ได้ด�ำเนินการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน ประเภทเงินอุดหนุนท่ัวไป รายการเงินอุดหนุนค่าอาหาร นกั เรยี นประจ�ำ นกั เรยี นไป-กลบั และเงนิ อดุ หนนุ ปจั จยั พน้ื ฐานส�ำหรบั นกั เรยี นประจ�ำ จนเสรจ็ สน้ิ บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคแ์ ลว้ หากมีเงินเหลือจ่ายจะต้องน�ำเงินที่เหลือส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ตามหลักเกณฑ์ในหนังสือกระทรวงการคลัง ขอ้ ๑ ไม่สามารถน�ำเงนิ ที่เหลือจา่ ยไปช�ำระหนค้ี า่ สาธารณปู โภคได้ จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดทราบ ขอแสดงความนับถือ แนวทางการดำ�เ ินนงาน (นางสาวอรนุช ไวนสุ ทิ ธิ์) ท่ีปรึกษาดา้ นพัฒนาระบบการเงนิ การคลงั ปฏบิ ตั ิราชการแทน อธิบดกี รมบัญชกี ลาง ตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษา 59 ตงั้ แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการดำ�เ ินนงาน ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/ว ๕๖๕๙ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กทม. ๑๐๓๐๐ ๒๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ เรอ่ื ง การใชจ้ า่ ยเงนิ และการจดั ท�ำทะเบยี นคมุ เงนิ งบประมาณ งบเงนิ อดุ หนนุ รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ เรียน ผู้อ�ำนวยการส�ำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษา ทกุ เขต ผู้อ�ำนวยการโรงเรยี นที่เป็นหนว่ ยเบกิ ทุกโรงเรียน ผู้อ�ำนวยการศูนยก์ ารศึกษาพิเศษทีเ่ ป็นหน่วยเบกิ ทุกศูนย์ สิ่งที่ส่งมาด้วย รายงานขอ้ เสนอแนะของส�ำนกั งานการตรวจเงนิ แผน่ ดิน ด้วย ส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน แจ้งว่า จากการสุ่มตรวจสอบรายงานการเงิน ส�ำหรับ ปีสิน้ สดุ วันท่ี ๓ กันยายน ๒๕๖๒ มขี ้อสงั เกตทเ่ี กย่ี วกบั เงนิ อดุ หนุนเรียนฟรี ๑๕ ปี ดังน้ี ข้อสังเกต ข้อ ๗.๑ โรงเรียนไม่จัดท�ำทะเบียนคุมเงินอุดหนุนเรียนฟรี ๕ ปี แยกตามรายการ ที่ได้รับเงิน หรือโรงเรียนไม่มีการบันทึกรับเงินในทะเบียนคุม (บันทึกเฉพาะการจ่ายเท่านั้น) หรือโรงเรียน ค�ำนวณตวั เลขในทะเบยี นคมุ ไมถ่ กู ตอ้ ง (แสดงยอดยกไป ณ สน้ิ เดอื นปจั จบุ นั และยอดยกมา ณ ตน้ เดอื นถดั ไป ไม่ตรงกนั ) ท�ำให้ไม่สามารถตรวจสอบความถกู ต้องของการเบิกจ่ายเงินได้ ในการนี้ ส�ำนกั งานการตรวจเงนิ แผ่นดนิ ให้ขอ้ เสนอแนะ โดยใหด้ �ำเนนิ การตรวจสอบความถูกตอ้ ง ของการใชจ้ า่ ยเงินอุดหนุนเรียนฟรี ๑๕ ปี ตามรายการที่ได้รบั เงนิ ทง้ั ๕ รายการ หากมเี งนิ เหลือจ่ายใหน้ �ำสง่ เป็นรายได้แผ่นดิน พร้อมทั้งให้แจ้งก�ำชับโรงเรียนในสังกัดจัดท�ำทะเบียนคุมเงินอุดหนุนเรียนฟรี ๑๕ ปี แยกตามรายการที่ได้รับเงินทั้ง ๕ รายการ และให้ถือปฏิบัติเป็นไปในแนวทางเดียวกัน รายละเอียด ตามสิง่ ท่สี ง่ มาด้วย ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พิจารณาแล้ว เพ่ือให้การใช้จ่ายเงินและการจัดท�ำ ทะเบียนคุมเงินประมาณ งบเงินอุดหนุน รายการค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประกอบด้วย ค่าจัดการเรียนการสอน (คา่ ใช้จา่ ยรายหวั ค่าปจั จัยพน้ื ฐานส�ำหรับนักเรยี นยากจน ค่าอาหารนกั เรียนประจ�ำ พักนอน) คา่ หนงั สอื เรยี น คา่ อุปกรณก์ ารเรียน คา่ เครือ่ งแบบนกั เรยี น และค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน เปน็ ไปเพอื่ การพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของนักเรียน ตามระเบียบของทางราชการและแนวทางท่สี �ำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานก�ำหนด รวมทง้ั ใหเ้ ปน็ ไปในแนวทางเดยี วกนั จงึ ขอใหส้ �ำนกั งานเขตพน้ื ที่ การศึกษาโรงเรยี นท่เี ป็นหน่วยเบิก และศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษที่เป็นหนว่ ยเบกิ ด�ำเนินการดังน้ี ๑. ตรวจสอบและควบคุมให้โรงเรียนในสังกัดด�ำเนินการการใช้จ่ายเงินค่าใช้จ่ายในการจัด การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ให้เป็นไปเพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของนักเรียนเป็นส�ำคัญตามวัตถุประสงค์ ของเงนิ และแนวทางทสี่ �ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานก�ำหนดอยา่ งเครง่ ครดั รวมทงั้ ใชจ้ า่ ยใหเ้ สรจ็ สน้ิ 60 ตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ตั้งแตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ภายในระยะเวลาทกี่ ระทรวงการคลงั ก�ำหนด ตามหนงั สอื กระทรวงการคลงั ดว่ นทสี่ ดุ ที่ กค ๐๔๐๙ ๖/ว ๑๒๖ ลงวันท่ี ๗ กันยายน ๒๕๖๓ ซึ่งกระทรวงการคลังก�ำหนดว่า การใช้จ่ายเงินงบเงินอุดหนุนที่เบิกจาก กรมบัญชีกลาง หรือส�ำนักงานคลังจังหวัดไปแล้ว ให้จ่ายภายในปีงบประมาณ กรณีมีเงินเหลือจ่ายอยู่และ ยังไม่ส้ินสุดโครงการให้รีบด�ำเนินการให้เสร็จส้ินอย่างช้าภายในปีงประมาณถัดไป กรณีสิ้นสุดหรือยุบเลิก โครงการแล้ว ปรากฏว่ามีเงินคงเหลืออยู่ในบัญชีเงินฝากธนาคารให้น�ำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ฉะนั้น หากตรวจสอบแล้ว พบว่าการใช้จ่ายเงินดังกล่าวของโรงเรียนไม่เป็นไปตามระเบียบของทางราชการและ แนวทางทส่ี �ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานก�ำหนด หรอื มเี งนิ คงเหลอื เกนิ ระยะเวลาทกี่ ระทรวง การคลงั ก�ำหนด ใหน้ �ำเงนิ สง่ คลังเป็นรายได้แผ่นดนิ ตอ่ ไป อน่ึง รายการค่าใช้จ่ายท่ีส�ำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ให้ข้อเสนอแนะว่าไม่สามารถเบิกจ่ายได้ ตามระเบยี บของทางราชการ ไดแ้ ก่ คา่ ประกนั ภยั รถยนตภ์ าคสมคั รใจ คา่ ใชจ้ า่ ยเกยี่ วกบั งานเกษยี ณอายหุ รอื งานมุทิตาจิต ค่าเครื่องแบบผู้ก�ำกับนักศึกษาวิชาทหาร ค่าปฏิทินตั้งโต๊ะ ค่าใช้จ่ายที่ไม่สะท้อนให้เห็นถึง การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา เป็นต้น ๒. ตรวจสอบและควบคุมให้โรงเรียนในสังกัดจัดท�ำทะเบียนคุมเงินงบประมาณ งบเงินอุดหนุน รายการคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน ตามแบบทก่ี รมบญั ชกี ลางก�ำหนดโดยจดั ท�ำทะเบยี นคมุ เงนิ แยกแตล่ ะรายการที่ได้รบั เงนิ ให้ถกู ต้อง ครบถ้วน และเป็นปจั จุบัน จึงเรยี นมาเพอ่ื ทราบและพจิ ารณาด�ำเนนิ การโดยเครง่ ครดั ขอแสดงความนบั ถอื (ว่าที่ ร.ต. ธนุ วงษ์จินดา) รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปฏบิ ตั ริ าชการแทน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน แนวทางการดำ�เ ินนงาน ตามโครงการสนับสนุนคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษา 61 ต้ังแตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ที่ ศธ ๐๔๐๐๒/ว ๒๙๘๓ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร กทม. ๑๐๓๐๐ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕ เรือ่ ง หลกั เกณฑก์ ารเบกิ จ่ายคา่ ใช้จ่ายในการจดั กจิ กรรมเพอื่ เสริมสร้างความร้ใู ห้กบั นักเรยี น เรียน ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา ผอู้ �ำนวยการส�ำนกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ผ้อู �ำนวยการศนู ย์การศึกษาพเิ ศษที่เป็นหนว่ ยเบิก และผูอ้ �ำนวยการโรงเรียนทีเ่ ป็นหนว่ ยเบกิ อ้างถึง ๑. หนังสอื กระทรวงการคลงั ดว่ นทสี่ ดุ ที่ กค ๐๔๐๙.๖/ว ๑๒๖ ลงวันท่ี ๗ กันยายน ๒๕๔๘ ๒. หนังสอื ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน ที่ ศธ ๐๔๐๐๖/๒๒๗๙ ลงวันท่ี ๑๖ ธันวาคม ๒๕๔๘ สงิ่ ท่สี ่งมาด้วย หลักเกณฑก์ ารเบิกจา่ ยค่าใช้จ่ายในการจดั กจิ กรรมเพ่อื เสรมิ สร้างความรูใ้ หก้ ับนักเรียน ดว้ ยงบเงนิ อุดหนุนส�ำหรับหนว่ ยงานในสังกดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน ตามหนังสือที่อ้างถึง ๑ ข้อ ๒.๑ กระทรวงการคลังก�ำหนดให้หัวหน้าส่วนราชการเจ้าของงบประมาณ ก�ำหนดระเบียบภายในควบคุมการใช้จ่ายเงินงบประมาณงบเงินอุดหนุน เพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ขอต้ัง งบประมาณ และตามหนังสือท่ีอ้างถึง ๒ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานได้แจ้งหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติการใช้จ่ายงบประมาณงบเงินอุดหนุน เพ่ือให้หน่วยงานในสังกัดถือปฏิบัติให้เป็นแนวทางเดียวกัน ความละเอยี ดแจง้ แลว้ น้นั ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาแล้ว เน่ืองจากปัจจุบันโรงเรียนได้ก�ำหนดแผน ในการจัดกิจกรรมเพ่ือเสรมิ สรา้ งความรเู้ พ่มิ เตมิ ให้กบั นักเรยี น เช่น การจดั กิจกรรมเข้าค่ายทางวชิ าการ กิจกรรม เขา้ คา่ ยคณุ ธรรม/ลกู เสอื /เนตรนาร/ี ยวุ กาชาด การพานกั เรยี นไปทศั นศกึ ษาตามแหลง่ เรยี นรู้ ทง้ั ในและนอกโรงเรยี น รวมทั้งการพานักเรียนไปร่วมกิจกรรมหรือร่วมแข่งขันทางการศึกษากับโรงเรียนอ่ืน/หน่วยงานอื่น โดยใช้จ่าย จากงบเงนิ อดุ หนนุ ทโ่ี รงเรยี นไดร้ บั ซง่ึ ในการเบกิ คา่ ใชจ้ า่ ยตา่ งๆ โรงเรยี นบางแหง่ ยงั ไมช่ ดั เจนวา่ รายการใด สามารถ เบกิ จ่ายไดแ้ ละรายการใดไม่สมควรเบกิ จา่ ย ดังนน้ั เพื่อใหก้ ารใช้จ่ายงบเงนิ อดุ หนนุ ตามหนงั สอื ที่อา้ งถงึ ๒ และ แนวทางการด�ำเนินงานตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษา ขั้นพ้ืนฐานของโรงเรียนส�ำหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมต่างๆ ให้กับนักเรียนเป็นไปในแนวทางเดียวกัน จงึ ก�ำหนดหลกั เกณฑก์ ารเบกิ จา่ ยคา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั กจิ กรรม เพอื่ เสรมิ สรา้ งความรใู้ หก้ บั นกั เรยี นดว้ ยงบเงนิ อดุ หนนุ รายละเอียดตามส่ิงที่สง่ มาดว้ ย ทงั้ นี้ การพิจารณาเบิกจา่ ยคา่ ใช้จ่ายใหค้ �ำนึงถึงความจ�ำเป็น เหมาะสม ประหยดั ภายในวงเงนิ ทอ่ี ยใู่ นความรับผิดชอบ และต้องไม่เป็นเหตใุ นการเรยี กเกบ็ เงินจากผปู้ กครองเพิม่ เตมิ ดว้ ย จงึ เรียนม าเพื่อทราบและพิจารณาแจง้ ใหเ้ จา้ หนา้ ทท่ี เี่ กยี่ วขอ้ งรวมท้ังโรงเรียนในสงั กดั ทราบ เพื่อถือปฏบิ ัติตอ่ ไป ขอแสดงความนบั ถือ แนวทางการดำ�เ ินนงาน (นายชินภทั ร ภูมริ ตั น) เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน ส�ำนกั การคลงั และสนิ ทรพั ย์ โทร. ๐-๒๒๘๐-๒๘๖๐, ๐-๒๒๘๘-๕๖๓๒, ๐-๒๒๘๘-๕๖๓๓ โทรสาร ๐-๒๒๖๒-๘๕๑๑-๒, ๐-๒๖๒๘-๘๙๘๘ 62 ตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
หลกั เกณฑก์ ารเบกิ จ่ายค่าใชจ้ า่ ยในการจัดกิจกรรมเพ่อื เสรมิ สรา้ ง แนวทางการดำ�เ ินนงาน ความรใู้ หก้ บั นักเรียน ด้วยงบเงนิ อดุ หนนุ ส�ำหรับหนว่ ยงาน ในสงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน เพ่ือให้การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความรู้ให้กับนักเรียน ได้แก่ การพานักเรียนไปร่วมกิจกรรมวิชาการ กิจกรรมคุณธรรม/ลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด หรือทัศนศึกษาตามแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกโรงเรียน ตามนโยบายสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด การศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน โดยใชจ้ า่ ยจากงบเงนิ อดุ หนนุ ทโี่ รงเรยี นไดร้ บั ให้เป็นไปในแนวทางเดียวกัน ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงก�ำหนดหลักเกณฑ์ การเบกิ จ่ายคา่ ใช้จ่ายในการจดั กิจกรรมเพ่อื เสริมสร้างความรูใ้ หก้ ับนักเรยี น ดังน้ี ๑. การวางแผนกจิ กรรมตา่ งๆ ตอ้ งใหภ้ าคี ๔ ฝา่ ย (ผแู้ ทนครู ผแู้ ทนผปู้ กครอง ผแู้ ทนชมุ ชน และผูแ้ ทนนกั เรยี น) และคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานมีสว่ นรว่ มและพจิ ารณา ๒. การพจิ ารณาสถานทส่ี �ำหรบั การจดั กจิ กรรม รวมทงั้ การพกั แรมใหเ้ ลอื กใชบ้ รกิ ารสถานที่ ของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรอื หนว่ ยงานอน่ื ของรฐั เป็นล�ำดับแรก กรณจี �ำเป็นตอ้ งจดั กจิ กรรม ในสถานทข่ี องเอกชนให้อยใู่ นดลุ พนิ จิ ของผูอ้ �ำนวยการโรงเรียน โดยค�ำนงึ ถึงความจ�ำเป็น เหมาะสม ประหยัด และวงเงนิ ทอ่ี ยู่ในความรบั ผดิ ชอบ ส�ำหรบั ค่าใชจ้ ่ายในการจัดกิจกรรม/การแข่งขนั แบง่ เปน็ ๒ กรณี กรณีที่ ๑ โรงเรียนเป็นหน่วยงานผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขันให้เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายได้เท่าท่ี จ่ายจริง ดังนี้ ๑. ค่าใชจ้ า่ ยเกีย่ วกบั การใชแ้ ละตกแตง่ สถานทจี่ ัดกจิ กรรม ๒. ค่าวสั ดตุ า่ งๆ ส�ำหรบั การจัดกจิ กรรม ๓. คา่ ถา่ ยเอกสาร ค่าพมิ พเ์ อกสารและสงิ่ พิมพ์ ๔. ค่าหนังสือส�ำหรบั การจดั กจิ กรรม ๕. คา่ เชา่ อุปกรณ์ส�ำหรับการจดั กิจกรรม ๖. คา่ อาหารว่างและเครือ่ งดม่ื ไม่เกนิ มือ้ ละ ๕๐ บาทตอ่ คน ๗. คา่ เข้าชมสถานที่แหล่งเรียนรู้ ๘. คา่ สาธารณูปโภค ตามโครงการสนับสนนุ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดการศกึ ษา 63 ตั้งแต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการดำ�เ ินนงาน ๙. ค่าสมนาคณุ วิทยากร ๙.๑ หลักเกณฑก์ ารจ่ายค่าสมนาคุณวทิ ยากร ๑) กรณีเป็นการบรรยายให้ความรู้กับนักเรียน ให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากร ไดไ้ ม่เกนิ ๑ คน ๒) กรณีเป็นการแบ่งกลุ่มท�ำกิจกรรม ซึ่งได้ก�ำหนดไว้ในโครงการหรือหลักสูตร การจัดกิจกรรมและจ�ำเป็นต้องมีวิทยากรประจ�ำกลุ่ม ให้จ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกิน กลุ่มละ ๒ คน ๓) การนบั ชวั่ โมงการบรรยายหรอื ท�ำกจิ กรรมใหน้ บั ตามเวลาทก่ี �ำหนดในตาราง การจัดกิจกรรม โดยแต่ละชั่วโมงต้องก�ำหนดเวลาไม่น้อยกว่าสิบห้านาที กรณีก�ำหนดเวลาไม่เกิน ๕๐ นาที แต่ไมน่ ้อยกวา่ ๒๕ นาที ใหจ้ า่ ยคา่ สมนาคุณวิทยากรไดก้ ่ึงหนงึ่ ๙.๒ อตั ราค่าสมนาคณุ วทิ ยากร ๑) วิทยากรเป็นบุคลากรของรัฐ ให้ได้รับค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกิน ช่วั โมงละ ๖๐๐ บาท ๒) วิทยากรท่ีมิใช่บุคลากรของรัฐ ให้ได้รับค่าสมนาคุณวิทยากรได้ไม่เกิน ช่ัวโมงละ ๑,๒๐๐ บาท ท้ังน้ี ให้ใช้แบบใบส�ำคัญรับเงินส�ำหรับวิทยากร เอกสารหมายเลข ๑ (หนา้ ๖๗) ๑๐. คา่ อาหารส�ำหรบั การจดั กจิ กรรมมอ้ื ละไมเ่ กนิ ๘๐ บาท หรอื กรณจี �ำเปน็ ตอ้ งจดั กจิ กรรม ในสถานที่ของเอกชน ให้เบกิ จ่ายไดเ้ ทา่ ที่จา่ ยจริงแต่ไม่เกินม้อื ละ ๑๕๐ บาท ๑๑. กรณีท่ีไม่สามารถจัดอาหารให้กับผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้ทุกมื้อ หรือจัดอาหารให้เพียง บางมอื้ ให้เบิกคา่ ใชจ้ า่ ย ดังน้ี ๑๑.๑ ส�ำหรบั ครใู หเ้ บกิ จ่ายค่าเบี้ยเลีย้ งเหมาจา่ ย ๑๑.๑.๑ โดยค�ำนวณเวลาตงั้ แตเ่ วลาทเี่ ดนิ ทางออกจากสถานทอี่ ยหู่ รอื สถานที่ ปฏบิ ัติราชการ ตามปกตจิ นกลับถงึ สถานท่ีอยหู่ รอื สถานทปี่ ฏบิ ัตริ าชการปกตแิ ลว้ แต่กรณี (นบั เวลา ๒๔ ช่ัวโมง = ๑ วัน สว่ นท่ีเกิน ๒๔ ช่ัวโมง หากนบั ไดเ้ กนิ ๑๒ ชวั่ โมง ใหน้ บั เพ่ิมอกี ๑ วัน) ๑๑.๑.๒ น�ำจ�ำนวนวันทั้งหมด (ตามขอ้ ๑) คณู กับอัตราค่าเบีย้ เลีย้ งเหมาจ่าย ตามสิทธิ ๑๑.๑.๓ นับจ�ำนวนมอื้ อาหารทจี่ ดั ใหต้ ลอดการจัดกิจกรรม ๑๑.๑.๔ ค�ำนวณค่าอาหารทั้งหมดโดยให้คิดค่าอาหารมื้อละ ๑ ใน ๓ ของ อัตราค่าเบ้ยี เลี้ยงเหมาจา่ ยทไ่ี ดร้ บั ๑๑.๑.๕ น�ำจ�ำนวนเงินค่าเบ้ียเล้ียงเหมาจ่ายท่ีค�ำนวณได้ตาม (ข้อ ๑๑.๑.๑) หกั ด้วยจ�ำนวนเงินค่าอาหารทค่ี �ำนวณได้ตาม (ขอ้ ๑๑.๑.๔) ส่วนท่ีเหลอื เป็นคา่ เบย้ี เลย้ี งทจ่ี ะได้รบั 64 ตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษา ตง้ั แต่ระดบั อนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๑๑.๒ ส�ำหรบั นกั เรียนใหเ้ บิกจา่ ยเปน็ ค่าอาหารในลักษณะเหมาจ่ายในอตั ราดังน้ี ที่ การจัดอาหารตอ่ วนั เบิกค่าอาหารในลกั ษณะเหมาจา่ ย ๑ จัดอาหาร ๒ มื้อ คนละไม่เกิน ๘๐ บาทต่อวนั ๒ จัดอาหาร ๑ มอื้ คนละไมเ่ กนิ ๑๖๐ บาทตอ่ วัน ๓ ไม่จัดอาหารทัง้ ๓ มอ้ื คนละไมเ่ กิน ๒๔๐ บาทตอ่ วัน โดยใช้แบบใบส�ำคัญรบั เงินคา่ ใช้จา่ ยในการจดั กจิ กรรมส�ำหรบั นักเรียน เอกสารหมายเลข ๒ แนวทางการดำ�เ ินนงาน (หน้า ๖๘) เป็นหลกั ฐานการจา่ ย ๑๒. ค่าเช่าที่พักตามที่หน่วยงานให้บริการท่ีพักเรียกเก็บหรือกรณีจ�ำเป็นต้องพักในสถานท่ี ของเอกชน ใหเ้ บกิ จ่ายได้เท่าที่จา่ ยจริงแตไ่ มเ่ กนิ อัตราท่ีก�ำหนด ดงั นี้ คา่ เช่าหอ้ งพักคู่ ไมเ่ กนิ คนละ ๖๐๐ บาทตอ่ วนั ค่าเชา่ ห้องพักพกั เดยี่ ว ไมเ่ กินคนละ ๑,๒๐๐ บาทต่อวัน ๑๓. ค่าจ้างเหมาพาหนะรับ - ส่งครูและนักเรียนไปร่วมกิจกรรม/ขนส่งอุปกรณ์ที่ใช้ในการ จัดกจิ กรรม ๑๔. คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั การใชบ้ รกิ ารสขุ าใหเ้ บกิ ไดต้ ามอตั ราทห่ี นว่ ยงานทใ่ี หบ้ รกิ ารเรยี กเกบ็ ๑๕. คา่ ใชจ้ า่ ยเกย่ี วกบั การใชบ้ รกิ ารพยาบาลใหเ้ บกิ ไดต้ ามอตั ราทห่ี นว่ ยงานทใ่ี หบ้ รกิ ารเรยี กเกบ็ ๑๖. คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดประกวดหรือแข่งขัน ๑๖.๑ คา่ ตอบแทนกรรมการตดั สนิ ๑๖.๑.๑ กรรมการที่เปน็ บุคลากรของรฐั เบกิ จ่ายได้ในอตั รา ไมเ่ กนิ คนละ ๖๐๐ บาทต่อวัน ๑๖.๑.๒ กรรมการทม่ี ิได้เปน็ บุคลากรของรัฐเบิกจา่ ยได้ในอัตรา ไม่เกินคนละ ๑,๒๐๐ บาทต่อวัน ๑๖.๑.๓ ค่าโล่หรือถ้วยรางวัลหรือของรางวัลท่ีมอบให้ผู้ชนะการประกวด หรือแขง่ ขนั เพอ่ื เป็นการประกาศเกยี รตคิ ุณชน้ิ ละไม่เกิน ๑,๕๐๐ บาท ๑๗. คา่ ใชจ้ า่ ยอ่ืนทจ่ี �ำเป็นส�ำหรับการจัดกิจกรรม ตามโครงการสนับสนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษา 65 ตง้ั แตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการดำ�เ ินนงาน กรณที ่ี ๒ โรงเรยี นพานกั เรยี นไปรว่ มกจิ กรรม/รว่ มการแขง่ ขนั กบั โรงเรยี นอนื่ หรอื หนว่ ยงานอนื่ ซงึ่ เป็นผู้จดั กิจกรรม/การแขง่ ขนั ใหเ้ บกิ จ่ายค่าใชจ้ ่ายได้ ดังนี้ ๑. ส�ำหรบั ครู ๑.๑ กรณโี รงเรยี นอน่ื หรอื หนว่ ยงานอนื่ ซง่ึ เปน็ ผจู้ ดั กจิ กรรม/การแขง่ ขนั มกี ารจดั อาหาร ที่พกั และพาหนะให้แล้ว ใหง้ ดเบกิ ค่าใชจ้ ่ายดังกลา่ ว ๑.๒ กรณีโรงเรียนอ่ืนหรือหน่วยงานอื่นซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขัน ไม่จัดอาหาร ที่พกั พาหนะทั้งหมดหรือจัดให้บางสว่ นให้เบกิ คา่ ใช้จ่ายท้ังหมดหรอื ส่วนท่ีขาดส�ำหรบั ครูตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารทีก่ �ำหนดไวใ้ นพระราชกฤษฎีกาคา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทางไปราชการ ยกเวน้ ๑) ค่าเช่าท่ีพักให้เบิกได้เท่าท่ีจ่ายจริง ไม่เกินคนละ ๖๐๐ บาทต่อวัน ส�ำหรับ ค่าเช่าหอ้ งพกั คู่ และไม่เกินคนละ ๑,๒๐๐ บาทตอ่ วนั ส�ำหรบั ค่าเชา่ ห้องพักเด่ียว ๒) คา่ เบย้ี เลยี้ งเดนิ ทางให้ค�ำนวณเช่นเดียวกันกับกรณีที่ ๑ ขอ้ ๑๑.๑ ๒. ส�ำหรับนกั เรยี น ๒.๑ กรณีโรงเรียนอ่ืนหรือหน่วยงานอ่ืนซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขัน มีการจัดอาหาร ที่พัก และพาหนะให้แลว้ ใหง้ ดเบกิ ค่าใชจ้ า่ ยดังกล่าว ๒.๒ กรณีโรงเรียนอื่นหรือหน่วยงานอื่นซ่ึงเป็นผู้จัดกิจกรรม/การแข่งขัน ไม่จัดอาหาร ทีพ่ ัก พาหนะทัง้ หมดหรือจดั ใหบ้ างสว่ น ให้เบิกค่าใช้จ่ายทงั้ หมดหรอื ส่วนทข่ี าดใหก้ บั นักเรยี น ดังน้ี ๑) ค่าอาหารในลกั ษณะเหมาจ่าย ตามข้อ ๑๑.๒ (สว่ นของนักเรียน) ๒) คา่ เช่าทีพ่ ักเหมาจ่ายไมเ่ กนิ คนละ ๕๐๐ บาทตอ่ วัน ๓) คา่ พาหนะใหเ้ บกิ จา่ ยไดต้ ามสทิ ธขิ องขา้ ราชการต�ำแหนง่ ประเภททวั่ ไประดบั ปฏบิ ตั ิงาน (เทียบเท่าระดบั ๑ - ๔) ๔) ใช้แบบใบส�ำคัญรับเงินค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมส�ำหรับนักเรียน เอกสาร หมายเลข ๒ (หน้า ๖๘) เปน็ หลกั ฐานการจ่าย ๓. คา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื ทีจ่ �ำเปน็ ส�ำหรับการพานกั เรียนไปร่วมกิจกรรม/ร่วมการแขง่ ขัน หมายเหตุ การพิจารณาเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายดังกล่าวให้ค�ำนึงถึงความจ�ำเป็น เหมาะสม ประหยัด ภายในวงเงินท่ีอยู่ในความรับผิดชอบเท่าน้ัน และต้องไม่เป็นเหตุในการเรียกเก็บเงิน จากผปู้ กครองเพิ่มเติมด้วย 66 ตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษา ต้งั แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แบบใบส�ำคัญรบั เงนิ ส�ำหรบั วทิ ยากร เอกสารหมายเลข ๑ ช่อื ส่วนราชการผจู้ ัดกิจกรรม.............................................................................................................. โครงการ/หลกั สตู ร/กิจกรรม............................................................................................................. วนั ท.ี่ ......เดอื น.......................พ.ศ. ............. ข้าพเจ้า....................................................................อยู่บ้านเลขที่...................................... ต�ำบล/แขวง...................................อ�ำเภอ/เขต....................................จงั หวดั .................................... ได้รบั เงินจาก..................................................................................ดงั รายการต่อไปน้ี รายการ จ�ำนวนเงิน จ�ำนวนเงิน (.........................................................................................................) (ตัวอกั ษร) แนวทางการดำ�เ ินนงาน ลงชือ่ ..............................................................ผู้รบั เงิน (.............................................................) ลงชอ่ื ..............................................................ผูจ้ า่ ยเงนิ (.............................................................) ตามโครงการสนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษา 67 ต้ังแตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
เอกสารหมายเลข ๒ แบบใบส�ำคัญรบั เงนิ คา่ ใชจ้ ่ายในการจัดกจิ กรรมส�ำหรับนกั เรียน ชือ่ สว่ นราชการผ้จู ัดกจิ กรรม......................................โครงการ/หลักสตู ร/กิจกรรม......................... วนั ท.ี่ .........เดอื น...........................พ.ศ. .............ถงึ วนั ท.่ี ..........เดอื น..........................พ.ศ. ................ จ�ำนวนผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมทง้ั สน้ิ ..................คน ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมไดร้ บั เงนิ จากโรงเรยี น..................... สงั กดั สพป. ............................................./สพม. ......................................ปรากฏรายละเอยี ดดงั นี้ ล�ำดบั ชื่อ-สกุล ทอ่ี ยู่ ค่า ค่าเชา่ ค่า รวมเปน็ วัน ที่ อาหาร ท่พี ัก พาหนะ เงนิ เดือน ปี ลายมอื ชอ่ื (บาท) (บาท) (บาท) (บาท) ท่ีรับเงิน แนวทางการดำ�เ ินนงาน รวมเปน็ เงนิ ทั้งสิน้ ลงชื่อ.................................................................ผู้จา่ ยเงิน (.............................................................) ต�ำแหนง่ .............................................................. 68 ตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษา ตั้งแต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางด�ำเนินการเลือกซ้อื หนงั สอื เสริมประสบการณส์ �ำหรบั เดก็ ปฐมวัย ตามกิจกรรมการสนับสนุนการจัดการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศกึ ษาตั้งแตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ หลกั การ รัฐบาลก�ำหนดนโยบายด้านการศึกษาให้ทุกคนมีโอกาสได้รับโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจดั การศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน โดยจดั งบประมาณส�ำหรบั หนงั สอื เสริมประสบการณ์ อุปกรณ์การเรียน เครื่องแบบนักเรียนและกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ซง่ึ ในแต่ละรายการมรี ายละเอยี ดที่เกยี่ วกับการศกึ ษาระดับก่อนประถมศึกษา ประจ�ำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ดงั นี้ หนงั สอื เสรมิ ประสบการณส์ �ำหรบั เด็กปฐมวัย ๒๐๐ บาท/ปี อปุ กรณ์การเรยี น ๑๐๐ บาท/ภาคเรียน (เช่น สเี ทยี น ดนิ น�้ำมนั ไร้สารพิษ กรรไกร ฯลฯ) เครอ่ื งแบบนักเรยี น (๒ ชดุ /ป)ี ๓๐๐ บาท/ปี กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น ๒๑๕ บาท/ภาคเรียน (กิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการ/กิจกรรมคุณธรรม/การบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสอื่ สาร ICT) หนังสือเสรมิ ประสบการณส์ �ำหรบั เด็กปฐมวัย หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ก�ำหนดหลักการจัดประสบการณ์ส�ำหรับ เดก็ ปฐมวัยอายุ ๓ - ๕ ปี เพ่ือพฒั นาเดก็ โดยองค์รวมอยา่ งตอ่ เนื่องในรปู แบบบูรณาการ ไมส่ อนเป็น รายวิชา ยึดหลักการบรู ณาการท่ีว่า หนง่ึ แนวคดิ เดก็ สามารถเรยี นรู้ได้หลายกิจกรรม หนงึ่ กิจกรรม เดก็ สามารถเรียนร้ไู ดห้ ลายทักษะ หลายประสบการณส์ �ำคญั การท่ีเดก็ มีโอกาสได้เลือกอ่านหนงั สอื บ่อยๆ จะท�ำให้เด็กคุ้นเคยกับการใช้หนังสือและคุ้นเคยกับตัวหนังสือ สิ่งส�ำคัญที่ควรตระหนักคือ หากเด็กมีประสบการณ์ท่ีดีและมีความสุขในการใช้หนังสือ จะเป็นส่วนส�ำคัญท่ีช่วยปลูกฝังให้เด็ก มีนิสัยรกั การอ่านไดอ้ ยา่ งดีย่ิงในอนาคต หนังสือเสริมประสบการณส์ �ำหรับเด็กอนบุ าลมจี ดุ ม่งุ หมาย เพอื่ สนองความต้องการของเดก็ เสรมิ สร้างความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาการเรยี นรดู้ า้ นภาษา ปลกู ฝัง คุณธรรม จริยธรรม และเจตคตใิ ห้เดก็ เกิดนสิ ัยรกั การอา่ น แนวทางการดำ�เ ินนงาน ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษา 69 ต้งั แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการดำ�เ ินนงาน คณุ สมบัติหนงั สอื เสรมิ ประสบการณ์ส�ำหรบั เด็กปฐมวัยส่งิ ท่คี วรค�ำนึงถงึ ๑. ความสอดคลอ้ งกับหลกั สูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ ๑.๑ สอดคล้องกบั จุดหมายของการพัฒนาเด็กปฐมวัย ๑.๒ สอดคล้องกบั หลกั การจัดประสบการณ์การศกึ ษาปฐมวยั ๑.๓ เหมาะสมกบั วยั ความสนใจ ความสามารถและพฒั นาการของเด็กอนบุ าล ๑.๔ เหมาะสมกับสภาพแวดลอ้ ม บรบิ ทสังคมและวฒั นธรรมของทอ้ งถน่ิ อายุ ๓ - ๔ ปี เดก็ วยั นม้ี คี วามอยากรอู้ ยากเหน็ ในสงิ่ ตา่ งๆ รอบตวั พดู ไดม้ ากขน้ึ สนใจในความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งบคุ คล รถู้ งึ ความแตกตา่ งระหวา่ งเพศหญงิ และเพศชาย ควรตอบสนองความอยากรอู้ ยากเหน็ ของเด็ก เด็กสามารถเล่าเร่ืองที่ตนประสบมาให้ผู้อื่นฟังเข้าใจ ถามอะไร ท่ีไหน และเด็กสามารถ วาดวงกลมไดต้ ามแบบ อายุ ๔ - ๕ ปี เด็กวัยน้ีเป็นวัยท่ีอยากรู้อยากเห็น ต้องการที่จะรู้ว่าสิ่งนั้นส่ิงน้ีมาจากไหนท�ำไมจึงเป็น เช่นนี้ท�ำไมจึงเป็นอย่างน้ันอย่างน้ี ส่ิงน้ีความเป็นมาอย่างไร วัยนี้เร่ิมจะเข้าใจข้อแตกต่างระหว่าง ความจริงและเรื่องสมมติ นิทานที่เหมาะส�ำหรับเด็กวัยน้ีควรจะเป็นเรื่องส้ันเข้าใจง่าย มีตัวละคร ตวั เอกเพยี งตวั เดยี ว และตวั ละครรว่ มอกี ๒ - ๓ ตวั เรอื่ งทสี่ ง่ เสรมิ จนิ ตนาการและองิ ความจรงิ อยบู่ า้ ง เด็กสามารถเลา่ เรื่องนทิ าน และออกเสียงไดถ้ กู ต้อง อายุ ๕ - ๖ ปี เด็กวัยนีเ้ ริ่มสนใจโลกของความเปน็ จริง รู้จักสิ่งแวดลอ้ มท่หี ่างตัวมากขึน้ เริม่ เข้าใจวา่ ตวั เอง เป็นส่วนหนึ่งของส่ิงแวดล้อม ไม่ใช่เป็นศูนย์กลางของทุกส่ิงทุกอย่างเช่นแต่ก่อน เนื้อหาของเรื่อง ควรส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญาด้วยจะเป็นเรื่องจริงในปัจจุบันหรือเป็นเรื่องประเภทวีรบุรุษ ทั้งหลายก็ได้ ๒. คณุ ลักษณะของหนงั สือ ๒.๑ รูปเล่ม ๑) ปกมีความสวยงามน่าสนใจ ๒) ขนาดรูปเลม่ เหมาะสมกับวัยของเดก็ ๓) ขนาดของตัวอักษรเหมาะสมกบั วัยของเดก็ ๔) จ�ำนวนหนา้ และจ�ำนวนค�ำศัพท์เหมาะสมกบั วยั ของเดก็ 70 ตามโครงการสนบั สนุนคา่ ใชจ้ ่ายในการจดั การศึกษา ตั้งแตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๒.๒ สสี บายตาและไมใ่ ชส้ ีสะทอ้ นแสง ๒.๓ ภาพประกอบ - มีภาพชัดเจนเหมาะสมกับวัยเด็ก ออกแบบรูปภาพน่าสนใจให้เร่ืองราว ตอ่ เนอ่ื ง และตอ้ งไมเ่ ปน็ ภาพทท่ี �ำใหเ้ ดก็ เกดิ ความหวาดกลวั และมชี อ่ งวา่ งพกั สายตา ขนาดเหมาะสม กบั วัยของเดก็ ๒.๔ กระดาษ - ควรเปน็ กระดาษชนิดดี เช่น กระดาษปอนด์ กระดาษอาร์ต ฯลฯ ๒.๕ ภาษา - ภาษาทใี่ ชค้ วรมคี วามถกู ตอ้ ง สละสลวย ชว่ ยใหเ้ กดิ จนิ ตนาการและเหมาะสม กับวยั ของเด็ก ๒.๖ เนอ้ื หา - เนื้อเร่ืองไมย่ ากเกนิ ไป ไมส่ ลับซบั ซ้อน ไม่ขัดแย้งกบั ค่านยิ มคณุ ธรรม ๓. ประเภทของหนงั สือเสรมิ ประสบการณ์ ประเภทของหนงั สอื เสรมิ ประสบการณท์ เ่ี หมาะสมกบั เดก็ ปฐมวยั ควรมคี วามหลากหลาย ท้งั เนอ้ื หา รปู แบบ และผู้แต่ง ตอบสนองความตอ้ งการของเด็ก สนุกสนาน เพลดิ เพลิน ชว่ ยสง่ เสรมิ จนิ ตนาการ และความคดิ สรา้ งสรรค์ มเี หตกุ ารณท์ ค่ี าดเดาได้ อาจมลี กั ษณะเปน็ ค�ำคลอ้ งจอง ค�ำหรอื ข้อความทเ่ี ปน็ จังหวะ มีรปู แบบซำ�้ และภาพสวยงาม เช่น ๓.๑ หนังสือนิทาน เช่น นิทานพน้ื บ้าน นิทานชาดก เทพนิยาย นิทานอีสปท้งั ท่เี ปน็ ร้อยแกว้ และร้อยกรอง ๓.๒ หนงั สอื ภาพ เชน่ หนงั สอื ภาพประกอบ/หนงั สือภาพสามมติ ิ ๓.๓ สารานกุ รมภาพส�ำหรบั เด็กปฐมวยั ๓.๔ หนังสอื ทแี่ สดงวิธกี ารท�ำหรือประดิษฐส์ ิ่งต่างๆ ๓.๕ นิตยสารส�ำหรบั เดก็ ๓.๖ หนงั สือเสรมิ ประสบการณก์ ารเรียนรูส้ �ำหรับเด็กปฐมวยั ๓.๗ หนังสือทมี่ เี สียงประกอบ หนังสือพลาสติก หนังสอื ผา้ หนงั สอื ที่ผลิตจากวสั ดุอื่น ทีไ่ ม่เปน็ อนั ตราย หนังสอื รูปทรงขนาดผวิ สมั ผสั ที่แตกต่างกัน ท�ำให้เกิดการเปรยี บเทยี บจัดหมวดหมู่ ฯลฯ แนวทางการดำ�เ ินนงาน ตามโครงการสนับสนุนค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษา 71 ต้งั แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการเลอื กหนังสือเสรมิ ประสบการณส์ �ำหรับเด็กปฐมวัย การคัดเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย สถานศึกษาด�ำเนินการ ตามข้ันตอน คือ ครูผู้สอนเป็นผู้เลือกหนังสือเสริมประสบการณ์ส�ำหรับเด็กปฐมวัย เสนอให้ คณะกรรมการวิชาการ คณะกรรมการภาคี ๔ ฝ่าย และคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน (ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนชุมชน และผู้แทนกรรมการนักเรียน) ร่วมกันพิจารณาคัดเลือก หนงั สอื เสริมประสบการณ์ส�ำหรบั เด็กปฐมวยั ดังน้ี ๑. คัดเลือกจากประเภทหนังสือเสริมประสบการณ์ส�ำหรับเด็กปฐมวัยที่มีคุณสมบัติ ส่งเสริมและพัฒนาเด็กตามมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช ๒๕๖๐ และคุณสมบัติหนังสือเสริมประสบการณ์ส�ำหรับเด็กปฐมวัยที่เสนอแนะ ขา้ งตน้ และ/หรือ ๒. เลือกจากตัวอย่างรายชื่อหนังสือเสริมประสบการณ์ส�ำหรับเด็กปฐมวัยท่ีผ่านการ ประกวด/การคัดเลอื กจากหนว่ ยงานภาครัฐและเอกชน หมายเหตุ รายละเอยี ดสามารถ Download จากเวบ็ ไซตข์ องส�ำนักวชิ าการและมาตรฐาน การศึกษา ที่ (http://academic.obec.go.th) และเวบ็ ไซตฐ์ านขอ้ มูลบัญชีก�ำหนดสื่อการเรียนรู้ฯ (http://academic.obec.go.th/textbook/web) ขอ้ เสนอแนะ ๑. ควรเลือกหนังสือเสริมประสบการณ์ที่หลากหลายในด้านประเภทผู้แต่ง ผู้วาดภาพ ประกอบและเนื้อหาการเรียนรู้ เพราะจะช่วยให้เด็กมีโอกาสอ่านหนังสือเสริมประสบการณ์ ทีห่ ลากหลายและเกดิ การเรยี นรู้ได้มากท่ีสดุ ๒. จ�ำนวนหนงั สอื เสรมิ ประสบการณค์ วรเพียงพอกบั จ�ำนวนเดก็ แนวทางการดำ�เ ินนงาน 72 ตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษา ต้ังแตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ข้นั ตอนการจดั ซ้อื หนังสอื เรียน ศึกษาแนวทางการดำ�เนินงาน โครงการสนบั สนนุ คา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ตงั้ แตร่ ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน แต่งตัง้ ๑. คณะกรรมการวิชาการ ๒. คณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย ๓. คณะกรรมการสถานศกึ ษา ครูผูส้ อนคดั เลือกรายการหนงั สือรายวิชาพน้ื ฐานจากเวบ็ ไซต์ http://academic.obec.go.th/textbook/web โดยเลอื กจากบัญชี ๑.๑ และ ๑.๒ ซื้อให้ครบทุกช้นั ทุกกลุม่ สาระการเรยี นรู้ และครบทุกคน เสนอรายชือ่ หนังสือผา่ นความเหน็ ชอบคณะกรรมการวชิ าการ คณะกรรมการสถานศกึ ษา คณะกรรมการภาคี ๔ ฝา่ ย ฝา่ ยพสั ดุพิจารณาวธิ กี ารจัดซือ้ โดยพิจารณา จากงบประมาณการจัดซ้ือ วิธีเฉพาะเจาะจง มาตรา ๕๖ (๒) (ข) วิธคี ัดเลือก มาตรา ๕๖ (๑) (ง) ๑. คณะกรรมการ วงเงินไม่เกิน ๕๐๐,๐๐๐ บาท วงเงินเกนิ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ซือ้ โดยวธิ คี ัดเลือก ๒. คณะกรรมการ ขอใบเสนอราคาจากผขู้ ายโดยตรง รายงานขอซอื้ พร้อมแต่งตัง้ ตรวจรบั คณะกรรมการ ๒ ชุด ประมาณ ๓ วนั ทำ�การ ประมาณ ๒ วนั ทำ�การ แนวทางการดำ�เ ินนงาน รายงานขอซอ้ื พรอ้ มแต่งต้งั คณะกรรมการตรวจรับพสั ดุ คณะกรรมการจดั ซื้อโดยวธิ คี ดั เลอื ก จดั ท�ำ หนงั สือเชญิ ผู้ขายอย่างนอ้ ย ๓ ราย และจดั ท�ำ ใบสงั่ ซอื้ โดยมีคณุ สมบัตติ รงตามเงอ่ื นไขท่ีหนว่ ยงานก�ำ หนด ประมาณ ๒ วันทำ�การ ประมาณ ๓ - ๕ วันทำ�การ ผู้ขายจัดสง่ หนงั สอื เรียน คณะกรรมการจดั ซ้อื โดยวิธีคดั เลือก พจิ ารณาคดั เลอื กผเู้ สนอราคาเฉพาะราย ท่คี ณะกรรมการฯ ไดม้ ีหนงั สอื เชญิ ชวนเทา่ น้ัน จากผขู้ ายท่เี สนอราคา (โดยตรวจสอบคณุ สมบัติผู้ขาย) ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา 73 ตง้ั แต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ขน้ั ตอนการจดั ซ้อื หนังสอื เรียน (ต่อ) คณะกรรมการจัดซอื้ โดยวธิ ีคัดเลือก พิจารณาคดั เลือกผเู้ สนอราคาเฉพาะราย ที่คณะกรรมการฯ ไดม้ หี นงั สอื เชิญชวนเท่าน้ัน ประมาณ ๑ - ๒ วนั ท�ำ การ ท�ำ รายงานการจดั ซ้ือหนังสอื จากผขู้ ายท่ีพิจารณาคัดเลอื กได้ ประมาณ ๑ - ๒ วนั ทำ�การ ท�ำ หนังสือเชญิ ผขู้ ายมาลงนาม ในสัญญาซื้อขาย (ผ้ขู ายเตรยี มหลกั ประกนั สัญญา ๕% มาด้วย) ประมาณ ๗ วนั ทำ�การ ผขู้ ายจัดส่งหนงั สือ แนวทางการดำ�เ ินนงาน กรณีสง่ หนังสอื ตรงตามก�ำ หนด กรณีทส่ี ่งหนงั สือเรยี นเกนิ ก�ำ หนด คณะกรรมการตรวจรบั พัสดุ โรงเรียนแจง้ สงวนสทิ ธิการปรบั ด�ำ เนินการตรวจรบั หนงั สอื เรยี น ใหผ้ ขู้ ายทราบ (แจง้ อัตราการปรบั ) โรงเรยี นเบกิ จ่ายเงนิ วนั ทีผ่ ้ขู ายสง่ หนังสือครบ คำ�นวณคา่ ปรบั คณะกรรมการตรวจรบั พสั ดุ และแจ้งจำ�นวน ด�ำ เนินการตรวจรบั หนงั สือเรยี น ค่าปรับใหผ้ ูข้ าย โรงเรียนเบิกจ่ายเงนิ โดยหกั ค่าปรับ ทราบ 74 ตามโครงการสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษา ต้ังแต่ระดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ตารางแสดงการลดค่าใชจ้ า่ ยของผูป้ กครอง/นกั เรยี น ก. รายการพ้ืนฐาน ๕ รายการ ส�ำหรับโรงเรยี นปกติ ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๓ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๖๔ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ชั้น ๑. ๒. ๓. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. รวม คา่ จัด คา่ อปุ กรณ์ ค่ากิจกรรม คา่ จดั คา่ หนังสือ คา่ อปุ กรณ์ ค่าเคร่อื งแบบ ค่ากจิ กรรม รวม ๒ ภาคเรยี น การเรียน การเรยี น พัฒนา รวม การเรยี น เรียน การเรียน นกั เรยี น พฒั นา การสอน คณุ ภาพผู้เรยี น การสอน คณุ ภาพผเู้ รียน กอ่ นประถมศกึ ษา อ.๑ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๘๕๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐ ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา อ.๒ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๘๕๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐ ต้งั แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ อ.๓ ๘๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑,๑๖๕ ๘๕๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑,๖๖๕ ๒,๘๓๐ ประถมศกึ ษา ป.๑ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๖๕๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๔๐๑ ๓,๗๘๖ ป.๒ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๖๕๐ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๓๙๕ ๓,๗๘๐ ป.๓ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๖๕๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๓๙๘ ๓,๗๘๓ ป.๔ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๗๐๗ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๔๕๒ ๓,๘๓๗ ป.๕ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๘๔๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๕๙๑ ๓,๙๗๖ ป.๖ ๙๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑,๓๘๕ ๙๕๐ ๘๕๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๒,๖๐๔ ๓,๙๘๙ 75 แน วท างก ารด �ำ เน ินงาน
76 แนวทางการดำ�เนนิ งาน ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ก. รายการพนื้ ฐาน ๕ รายการ ส�ำหรบั โรงเรียนปกติ (ตอ่ ) ตั้งแต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ภาคเรียนท่ี ๒/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๔ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ชน้ั ๑. ๒. ๓. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. รวม ค่าจัด คา่ อุปกรณ์ คา่ กจิ กรรม คา่ จัด คา่ หนังสือ ค่าอปุ กรณ์ คา่ เครอื่ งแบบ ค่ากิจกรรม รวม ๒ ภาคเรยี น การเรียน การเรยี น พัฒนา รวม การเรียน เรียน การเรยี น นกั เรียน พฒั นา การสอน การสอน คณุ ภาพผ้เู รยี น คุณภาพผเู้ รยี น ๑,๗๕๐ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ๑,๗๕๐ ๑,๗๕๐ ม.๑ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ๘๐๘ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๓,๖๕๘ ๖,๐๕๘ ๑,๙๐๐ ๙๒๑ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๓,๗๗๑ ๖,๑๗๑ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ ๑,๙๐๐ ๙๙๖ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๓,๘๔๖ ๖,๒๔๖ ๑,๙๐๐ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๒,๔๐๐ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ม.๔ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕ ๑,๓๘๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๔,๔๘๙ ๗,๐๙๔ ๑,๓๒๖ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๔,๔๓๑ ๗,๐๓๖ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕ ๑,๑๖๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๔,๒๖๙ ๖,๘๗๔ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๒,๖๐๕
ข. จัดการศึกษาข้นั พืน้ ฐานโดยครอบครวั /สถานประกอบการ ๑. จัดโดยครอบครวั ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๓ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๖๔ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ช้ัน ๑. ๒. ๓. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. รวม ค่าจัด ค่าอุปกรณ์ ค่ากิจกรรม คา่ จดั คา่ หนงั สือ ค่าอปุ กรณ์ ค่าเครือ่ งแบบ ค่ากจิ กรรม รวม ๒ ภาคเรียน การเรียน การเรียน พัฒนา รวม การเรยี น การเรียน นักเรยี น เรยี น พัฒนา การสอน คณุ ภาพผู้เรยี น การสอน คุณภาพผเู้ รยี น อ.๑ - อ.๓ ๓,๕๙๖ ๑๐๐ ๒๑๕ ๓,๙๑๑ ๓,๕๙๖ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๔,๔๑๑ ๘,๓๒๒ ๕,๑๓๒ ๙,๒๔๘ ป.๑ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๖๕๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๑๒๖ ๙,๒๔๒ ๕,๑๒๙ ๙,๒๔๕ ป.๒ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๖๕๐ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๑๘๓ ๙,๒๙๙ ๕,๓๒๒ ๙,๔๓๘ ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ป.๓ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๖๕๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๕,๓๓๕ ๙,๔๕๑ ต้งั แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๗,๐๔๖ ๑๒,๘๓๔ ป.๔ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๗๐๗ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๗,๑๕๙ ๑๒,๙๔๗ ๗,๒๓๔ ๑๓,๐๒๒ ป.๕ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๘๔๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๗,๘๙๒ ๑๓,๙๐๐ ๗,๘๓๔ ๑๓,๘๔๒ ป.๖ ๓,๖๘๑ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๑๑๖ ๓,๖๘๑ ๘๕๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๗,๖๗๒ ๑๓,๖๘๐ ม.๑ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ ๘๐๘ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ม.๒ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ ๙๒๑ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ม.๓ ๕,๑๓๘ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๘๘ ๕,๑๓๘ ๙๙๖ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ม.๔ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ ๑,๓๘๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ม.๕ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ ๑,๓๒๖ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ม.๖ ๕,๓๐๓ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๐๐๘ ๕,๓๐๓ ๑,๑๖๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ 77 แน วท างก ารด �ำ เน นิ งาน
78 แนวทางการด�ำ เนนิ งาน ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ๒. จัดโดยสถานประกอบการ ตั้งแต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๔ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ชน้ั ๑. ๒. ๓. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. รวม คา่ จดั คา่ อุปกรณ์ ค่ากจิ กรรม คา่ จัด คา่ หนังสอื คา่ อุปกรณ์ ค่าเคร่ืองแบบ ค่ากจิ กรรม รวม ๒ ภาคเรียน การเรยี น การเรียน พัฒนา รวม การเรยี น เรยี น การเรียน นักเรยี น พฒั นา การสอน การสอน คณุ ภาพผู้เรยี น ๕,๘๖๘ คุณภาพผู้เรียน ๕,๘๖๘ ปวช.๑ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๕,๘๖๘ ๒,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖ ปวช.๒ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๒,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖ ปวช.๓ ๕,๘๖๘ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๕๗๓ ๒,๐๐๐ ๒๓๐ ๙๐๐ ๔๗๕ ๙,๔๗๓ ๑๖,๐๔๖
ค. เงนิ ปัจจัยพน้ื ฐานนกั เรยี นยากจน ส�ำ หรับโรงเรยี นปกติ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๓ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๔ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ช้ัน ๑. ๒. ๓. ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. รวม ค่าจดั ค่าอุปกรณ์ ค่ากิจกรรม คา่ จดั ค่าหนังสือ ค่าอุปกรณ์ ค่าเครอ่ื งแบบ ค่ากจิ กรรม รวม ๒ ภาคเรียน การเรียน การเรียน พัฒนา รวม การเรียน เรียน การเรยี น นักเรียน พฒั นา การสอน คณุ ภาพผ้เู รยี น การสอน คุณภาพผ้เู รียน ระดับประถมศึกษา จดั ให้กบั นกั เรียนท่ีผา่ นเกณฑก์ ารคดั กรอง (รายไดเ้ ฉลย่ี ครวั เรอื นไมเ่ กนิ ๓,๐๐๐ บาท และเกณฑ์สถานะครัวเรอื น) คนละ ๑,๐๐๐ บาท/คน/ปี ป.๑ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ป.๒ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ต้งั แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ป.๓ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ป.๔ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ป.๕ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ป.๖ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๕๐๐ ๑,๐๐๐ ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ จัดใหก้ ับนกั เรียนทีผ่ ่านเกณฑ์การคดั กรอง (รายได้เฉลย่ี ครวั เรือนไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท และเกณฑ์สถานะครัวเรอื น) คนละ ๓,๐๐๐ บาท/คน/ปี ม.๑ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๓,๐๐๐ ม.๒ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๓,๐๐๐ ม.๓ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๑,๕๐๐ ๓,๐๐๐ 79 แนวทางการด�ำ เนนิ งาน
80 แนวทางการด�ำ เนนิ งาน ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ง. โรงเรียนศกึ ษาสงเคราะห์ ตั้งแต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑) นักเรยี นประจ�ำ ภาคเรยี นที่ ๒/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๔ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ช้นั พ้นื ฐาน สมทบ อุปกรณ์ กิจกรรม พ้นื ฐาน สมทบ หนังสือ อปุ กรณ์ เคร่ืองแบบ กิจกรรม รวม (ประจ�ำ) การเรยี น พฒั นา (ประจ�ำ) เรยี น การเรยี น นักเรยี น พัฒนา ๒ ภาคเรียน คุณภาพ รวม (รวม/ชุด) คณุ ภาพ รวม ผเู้ รยี น ผ้เู รียน อ.๑ - อ.๓ ๘๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑๕,๖๑๕ ๘๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑๖,๑๑๕ ๓๑,๗๓๐ ป.๑ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๖๕๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๖,๘๕๑ ๓๒,๖๘๖ ป.๒ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๖๕๐ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๖,๘๔๕ ๓๒,๖๘๐ ป.๓ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๖๕๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๖,๘๔๘ ๓๒,๖๘๓ ป.๔ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๗๐๗ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๖,๙๐๒ ๓๒,๗๓๗ ป.๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๘๔๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๔๑ ๓๒,๘๗๖ ป.๖ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๕,๘๓๕ ๙๕๐ ๑๔,๔๕๐ ๘๕๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๕๔ ๓๒,๘๘๙ ม.๑ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๗๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๘๐๘ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๐๐๘ ๓๔,๗๕๘ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๗๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๙๒๑ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๑๒๑ ๓๔,๘๗๑ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๗๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๓๕๐ ๙๙๖ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๑๙๖ ๓๔,๙๔๖ ม.๔ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๓๘๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๘๓๙ ๓๕,๗๙๔ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๓๒๖ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๗๘๑ ๓๕,๗๓๖ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๑๖๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๖๑๙ ๓๕,๕๗๔
๒) นักเรียนไป - กลบั ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๔ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ชน้ั พ้นื ฐาน สมทบ อปุ กรณ์ กจิ กรรม พนื้ ฐาน สมทบ หนงั สอื อปุ กรณ์ เครอื่ งแบบ กจิ กรรม รวม (ประจ�ำ) การเรียน พฒั นา (ประจ�ำ) เรยี น การเรยี น นักเรยี น พัฒนา ๒ ภาคเรียน คณุ ภาพ รวม (รวม/ชุด) คณุ ภาพ รวม ๑๐,๐๕๐ ผ้เู รยี น ๔,๗๗๕ ๘๕๐ ๓,๖๑๐ ผเู้ รยี น ๕,๒๗๕ ๒๑๕ อ.๑ - อ.๓ ๘๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๐๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ป.๑ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๕๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๐๑๑ ๑๑,๐๐๖ ต้งั แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ป.๒ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๕๐ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๐๐๕ ๑๑,๐๐๐ ป.๓ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๕๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๐๐๘ ๑๑,๐๐๓ ป.๔ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๗๐๗ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๐๖๒ ๑๑,๐๕๗ ป.๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๘๔๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๒๐๑ ๑๑,๑๙๖ ป.๖ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๘๕๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๒๑๔ ๑๑,๒๐๙ ม.๑ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๘๐๘ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๖,๙๕๘ ๑๒,๖๕๘ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๙๒๑ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๐๗๑ ๑๒,๗๗๑ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๗๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๓๐๐ ๙๙๖ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๑๔๖ ๑๒,๘๔๖ ม.๔ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๕,๙๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๑,๓๘๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๗๘๙ ๑๓,๖๙๔ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๕,๙๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๑,๓๒๖ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๗๓๑ ๑๓,๖๓๖ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๕,๙๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๓๐๐ ๑,๑๖๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๕๖๙ ๑๓,๔๗๔ 81 แนวทางการดำ�เนินงาน
82 แนวทางการดำ�เนนิ งาน ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา จ. โรงเรียนการศึกษาพิเศษ ตั้งแต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๑) นกั เรียนประจ�ำ ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๓ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ภาคเรียนท่ี ๑/๒๕๖๔ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ช้ัน พ้นื ฐาน สมทบ อปุ กรณ์ กจิ กรรม พนื้ ฐาน สมทบ หนังสือ อุปกรณ์ เครื่องแบบ กจิ กรรม รวม (ประจ�ำ) การเรยี น พัฒนา (ประจ�ำ) เรียน การเรยี น นกั เรียน พฒั นา ๒ ภาคเรียน คณุ ภาพ รวม (รวม/ชุด) คุณภาพ รวม ผู้เรียน ผเู้ รยี น อ.๑ - อ.๓ ๘๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑๕,๘๒๕ ๘๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑๖,๓๒๕ ๓๒,๑๕๐ ป.๑ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๖๕๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๖๑ ๓๓,๑๐๖ ป.๒ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๖๕๐ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๕๕ ๓๓,๑๐๐ ป.๓ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๖๕๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๐๕๘ ๓๓,๑๐๓ ป.๔ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๗๐๗ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๑๑๒ ๓๓,๑๕๗ ป.๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๘๔๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๒๕๑ ๓๓,๒๙๖ ป.๖ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๑๖,๐๔๕ ๙๕๐ ๑๔,๖๖๐ ๘๕๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๑๗,๒๖๔ ๓๓,๓๐๙ ม.๑ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๙๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๘๐๘ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๒๐๘ ๓๕,๑๕๘ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๙๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๙๒๑ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๓๒๑ ๓๕,๒๗๑ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๑๖,๙๕๐ ๑,๗๕๐ ๑๔,๕๕๐ ๙๙๖ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๑๘,๓๙๖ ๓๕,๓๔๖ ม.๔ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๓๘๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๘๓๙ ๓๕,๗๙๔ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๓๒๖ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๗๘๑ ๓๕,๗๓๖ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๑๖,๙๕๕ ๑,๙๐๐ ๑๔,๓๕๐ ๑,๑๖๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๑๘,๖๑๙ ๓๕,๕๗๔
๒) นกั เรยี นไป - กลบั ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ชนั้ พ้นื ฐาน สมทบ อุปกรณ์ กจิ กรรม พื้นฐาน สมทบ หนังสอื อุปกรณ์ เครื่องแบบ กจิ กรรม รวม (ไป-กลบั ) การเรียน พฒั นา (ไป-กลบั ) เรียน การเรียน นกั เรยี น พัฒนา ๒ ภาคเรียน คุณภาพ รวม (รวม/ชดุ ) คุณภาพ รวม ๑๐,๐๕๐ ผเู้ รยี น ๔,๗๗๕ ผู้เรยี น ๕,๒๗๕ ๒๑๕ อ.๑ - อ.๓ ๘๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๐๐ ๘๕๐ ๓,๖๑๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา ป.๑ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๕๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๐๑๑ ๑๑,๐๐๖ ต้งั แตร่ ะดบั อนุบาลจนจบการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ป.๒ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๕๐ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๐๐๕ ๑๑,๐๐๐ ป.๓ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๖๕๓ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๐๐๘ ๑๑,๐๐๓ ป.๔ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๗๐๗ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๐๖๒ ๑๑,๐๕๗ ป.๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๘๔๖ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๒๐๑ ๑๑,๑๙๖ ป.๖ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๑๙๕ ๒๔๐ ๔,๙๙๕ ๙๕๐ ๓,๖๑๐ ๘๕๙ ๑๙๕ ๓๖๐ ๒๔๐ ๖,๒๑๔ ๑๑,๒๐๙ ม.๑ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๙๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๘๐๘ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๑๕๘ ๑๓,๐๕๘ ม.๒ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๙๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๙๒๑ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๒๗๑ ๑๓,๑๗๑ ม.๓ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๒๑๐ ๔๔๐ ๕,๙๐๐ ๑,๗๕๐ ๓,๕๐๐ ๙๙๖ ๒๑๐ ๔๕๐ ๔๔๐ ๗,๓๔๖ ๑๓,๒๔๖ ม.๔ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๑๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๑,๓๘๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๙๘๙ ๑๔,๐๙๔ ม.๕ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๑๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๑,๓๒๖ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๙๓๑ ๑๔,๐๓๖ ม.๖ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๒๓๐ ๔๗๕ ๖,๑๐๕ ๑,๙๐๐ ๓,๕๐๐ ๑,๑๖๔ ๒๓๐ ๕๐๐ ๔๗๕ ๗,๗๖๙ ๑๓,๘๗๔ 83 แนวทางการดำ�เนินงาน
84 แนวทางการดำ�เนินงาน ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จา่ ยในการจดั การศึกษา ฉ. ศูนย์การศกึ ษาพิเศษ ตั้งแต่ระดับอนบุ าลจนจบการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๓ (ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ภาคเรยี นที่ ๑/๒๕๖๔ (ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔) ชั้น ค่า ปัจจัย อุปกรณ์ กจิ กรรม คา่ ปัจจยั หนงั สือ อปุ กรณ์ เครือ่ งแบบ กิจกรรม รวม อาหาร พ้ืนฐาน การเรียน พัฒนา อาหาร พื้นฐาน เรียน การเรยี น นกั เรยี น พัฒนา ๒ ภาคเรียน นักเรียน คณุ ภาพ รวม นกั เรียน (รวม/ชุด) คณุ ภาพ รวม ประจ�ำ ผ้เู รยี น ประจ�ำ ผเู้ รียน ประจ�ำ ๑๓,๕๐๐ ๕๐๐ ๑๐๐ ๒๑๕ ๑๔,๓๑๕ ๑๓,๕๐๐ ๕๐๐ ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๑๔,๘๑๕ ๒๙,๑๓๐ ไป - กลับ ๓,๖๓๐ - ๑๐๐ ๒๑๕ ๓,๙๔๕ ๒,๙๗๐ - ๒๐๐ ๑๐๐ ๓๐๐ ๒๑๕ ๓,๗๘๕ ๗,๗๓๐ ส�ำหรบั ศนู ยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ ไดร้ บั เงนิ อดุ หนนุ โครงการสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาตงั้ แตร่ ะดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จ�ำนวน ๔ รายการ ไดแ้ ก่ คา่ หนงั สอื เรียน ค่าอุปกรณก์ ารเรยี น คา่ เครื่องแบบนกั เรยี น และค่ากิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี น ในส่วนเงินอดุ หนนุ คา่ อาหาร และปจั จยั พน้ื ฐานนกั เรยี นประจ�ำ ซงึ่ ไดร้ บั จดั สรรในผลผลติ เดก็ พกิ ารไดร้ บั การศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานและการพฒั นาสมรรถภาพ โดยใหบ้ รหิ ารงบประมาณใหเ้ ปน็ ไปตามรายการค่าจดั การเรยี นการสอน (เงนิ อุดหนนุ รายหวั )
ด่วนท่สี ดุ ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ กทม. ๑๐๓๐๐ ท่ี ศธ ๐๔๐๐๖/พิเศษ ๒๒ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ เร่อื ง การเก็บเงินบ�ำรุงการศกึ ษาและการระดมทรพั ยากร เรยี น ผอู้ �ำนวยการส�ำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาทกุ เขต ส่ิงท่สี ง่ มาดว้ ย ๑. ส�ำเนาประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื ง การเก็บเงนิ บ�ำรุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน จ�ำนวน ๑ ชุด ๒. หลักเกณฑ์เงินบ�ำรุงการศึกษาของสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พ้ืนฐาน จ�ำนวน ๑ ชดุ ๓. ส�ำเนาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัด ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน จ�ำนวน ๑ ชดุ ๔. แนวปฏิบตั กิ ารระดมทรพั ยากรของสถานศกึ ษาสงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษา ข้ันพื้นฐาน จ�ำนวน ๑ ชุด ดว้ ยรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดอ้ อกประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง การเกบ็ เงนิ บ�ำรงุ การศึกษาของสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและประกาศกระทรวง ศึกษาธิการ เร่อื งการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัดส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน ในการนี้ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจึงขอให้ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษา แจง้ สถานศึกษาในสังกดั ทราบและถือปฏิบัตติ าม ๑. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องการเก็บเงินบ�ำรุงการศึกษาสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๒. หลักเกณฑ์การเก็บเงินบ�ำรุงการศึกษาสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พื้นฐาน ๓. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเร่ืองการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัดส�ำนักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ๔. แนวปฏิบตั ิการระดมทรัพยากรของสถานศึกษาสังกดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ดงั สิ่งท่ีสง่ มาดว้ ย จึงเรยี นมาเพือ่ ทราบและพิจารณาด�ำเนินการต่อไป ขอแสดงความนบั ถือ แนวทางการดำ�เ ินนงาน (นายชนิ ภัทร ภมู ิรัตน) เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน ส�ำนกั นโยบายและแผนการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ตามโครงการสนบั สนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจัดการศกึ ษา 85 โทร. ๐-๒๒๘๘-๕๘๕๖ โทรสาร ๐-๒๒๘๘-๕๘๕๖ ตง้ั แต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
แนวทางการดำ�เ ินนงาน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง การเกบ็ เงินบำ� รงุ การศกึ ษาของสถานศึกษา สงั กดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ด้วยกระทรวงศึกษาธิการเหน็ สมควรปรบั ปรงุ ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง การเก็บ เงินบ�ำรุงการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานประกาศ ณ วันที่ ๒๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๓ จึงยกเลกิ ประกาศดังกล่าวและใหใ้ ช้ประกาศฉบบั นแ้ี ทน เพื่อให้ทุกภาคส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน สอดคลอ้ งกบั พระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพมิ่ เติม (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓ หนังสือส�ำนกั งานคณะกรรมการ กฤษฎีกา ด่วนที่สุด ที่ นร ๐๙๐๑/๐๖๘๗ ลงวันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๕๑ เรื่อง การเก็บค่าใช้จ่าย เพื่อจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน กระทรวง ศึกษาธิการจึงก�ำหนดให้สถานศึกษาในสังกัดส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เก็บเงินบ�ำรุงการศึกษาเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนการสอนนอกหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน ซึ่งมุ่งเน้นหลักสูตรที่มีเน้ือหาสาระมากกว่าปกติ การสอนด้วยบุคลากรพิเศษ การสอนดว้ ยรปู แบบหรอื วธิ กี ารทแี่ ตกตา่ งจากการเรยี นการสอนปกติ หรอื การสอนทใี่ ชส้ อื่ นวตั กรรม และเทคโนโลยีที่จัดหาให้เป็นพิเศษตามอัตราที่เหมาะสมกับสภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น โดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และเป็นไปด้วยความสมัครใจ ของผู้ปกครองและนกั เรียน ภายใต้หลักเกณฑ์ทีส่ �ำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานก�ำหนด ท้ังนี้ ตง้ั แตบ่ ดั น้ีเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ (นายวรวจั น์ เออื้ อภิญญกลุ ) รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร 86 ตามโครงการสนับสนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
หลักเกณฑก์ ารเก็บเงนิ บำ� รงุ การศกึ ษาของสถานศกึ ษา แนวทางการดำ�เ ินนงาน สังกัดสำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ด้วยปัจจุบันสถานศึกษาได้รับเงินสนับสนุนจากรัฐบาล เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการจัด การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ คา่ จดั การเรยี นการสอน คา่ หนงั สอื เรยี น คา่ เครอ่ื งแบบนกั เรยี น คา่ อปุ กรณ์ การเรยี น และคา่ กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน เปน็ ตน้ แต่ในการจัดการศกึ ษาส�ำหรับสถานศกึ ษา ที่มีความพร้อม และมีศักยภาพเป็นสถานศึกษาท่ีมีช่ือเสียงต้องการจะเพิ่มพูนประสิทธิภาพและ คุณภาพการศึกษาของผู้เรียนด้วยรูปแบบ วิธีการ ส่ืออุปกรณ์ และบุคลากรท่ีท�ำการสอนเพิ่มเติม จากเกณฑม์ าตรฐานทว่ั ไปของหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานเปน็ กรณพี เิ ศษ โดยมคี า่ ใชจ้ า่ ย นอกเหนือจากค่าใช้จ่ายท่ีรัฐจัดสรรให้ กอปรกับการตอบข้อหารือของส�ำนักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา เห็นว่า ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานสามารถประกาศให้สถานศึกษา ของรัฐในสังกัดเกบ็ ค่าใชจ้ า่ ย เพ่ือจัดการศกึ ษานอกหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐานได้ ในการจัดการศึกษาที่ผ่านมาสถานศึกษาจ�ำนวนมากได้จัดการศึกษาโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย ตามมาตรา ๔๙ แหง่ รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ แลว้ แตย่ งั มสี ถานศกึ ษา บางแห่ง เก็บค่าใช้จ่ายเพื่อจัดการศึกษาเพิ่มเติมจากเกณฑ์มาตรฐานท่ัวไปของหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน เปน็ กรณพี เิ ศษ ดงั นนั้ เพอื่ ใหก้ ารขอรบั การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยเปน็ ไปในแนวทาง เดียวกันและการมีส่วนร่วมสนับสนุนให้สถานศึกษามีความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา รวมท้ังเป็นการคมุ้ ครอง ผูป้ กครองมใิ หเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ ภาระค่าใชจ้ ่ายในการจดั การศกึ ษาของนกั เรยี น ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน จงึ ก�ำหนดหลกั เกณฑ์ให้สถานศึกษาถอื ปฏบิ ตั ดิ งั นี้ ก. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานไม่สามารถ เรยี กเกบ็ เงนิ สนบั สนนุ จากนกั เรยี นหรอื ผปู้ กครองได้ เนอื่ งจากรฐั บาลไดจ้ า่ ยเงนิ งบประมาณ เพอื่ อดุ หนนุ ให้แล้ว ดังนี้ ๑. คา่ เล่าเรียน ๒. คา่ หนงั สือเรยี น ๓. ค่าอปุ กรณก์ ารเรยี น ๔. ค่าเคร่อื งแบบนักเรียน ๕. ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดกจิ กรรมวิชาการ ปลี ะ ๑ ครง้ั ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษา 87 ต้ังแตร่ ะดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๖. ค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรมคุณธรรม/ชุมนุมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาด ปลี ะ ๑ ครงั้ ๗. คา่ ใช้จา่ ยในการไปทัศนศกึ ษา ปีละ ๑ ครง้ั ๘. ค่าใช้จ่ายในการให้บริการอินเทอร์เน็ตตามหลักสูตร และที่เพ่ิมเติมจากหลักสูตร ปีละ ๔๐ ช่วั โมง ๙. คา่ วัสดุฝึก สอน สอบพ้นื ฐาน ๑๐. ค่าสมุดรายงานประจ�ำตัวนกั เรยี น ๑๑. ค่าบรกิ ารหอ้ งสมดุ ขั้นพน้ื ฐาน ๑๒. ค่าบริการห้องพยาบาล ๑๓. ค่าวัสดสุ �ำนกั งาน ๑๔. คา่ วสั ดเุ ชื้อเพลงิ และหล่อลน่ื ๑๕. คา่ วัสดงุ านบ้านงานครัว ๑๖. ค่าอุปกรณก์ ีฬา ๑๗. คา่ ซอ่ มแซมครุภัณฑแ์ ละอุปกรณ์การเรียนการสอน ๑๘. ค่าใชจ้ ่ายในการดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น ๑๙. คา่ คู่มือนักเรียน ๒๐. ค่าบตั รประจ�ำตวั นักเรียน ๒๑. ค่าปฐมนิเทศนักเรยี น ๒๒. ค่าวารสารโรงเรยี น ส�ำหรับรายการท่ี ๑๙, ๒๐, ๒๑ และ ๒๒ หากโรงเรียนได้จัดท�ำเป็นลักษณะพิเศษ อย่างมีคุณภาพ สามารถขอรับการสนับสนุนได้โดยประหยัดตามความจ�ำเป็นเหมาะสมกับสภาพ เศรษฐกิจของท้องถนิ่ แนวทางการดำ�เ ินนงาน 88 ตามโครงการสนับสนนุ ค่าใช้จ่ายในการจดั การศกึ ษา ต้งั แต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ข. สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพอื่ สง่ เสรมิ และพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาใหน้ กั เรยี นเกนิ มาตรฐานทร่ี ฐั จดั ให้ สามารถขอรบั การสนบั สนนุ ค่าใช้จา่ ยไดต้ ามความสมคั รใจของผูป้ กครองและนกั เรียน ดังนี้ ท่ี รายการ อัตราการเกบ็ /คน/ภาคเรียน ๑ ห้องเรยี นพเิ ศษ EP (English Program) - ระดับกอ่ นประถมศึกษาถึงมัธยมศึกษาตอนตน้ ไมเ่ กิน ๓๕,๐๐๐ บาท - ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ไมเ่ กนิ ๔๐,๐๐๐ บาท ๒ ห้องเรียนพเิ ศษ MEP (Mini English Program) - ระดบั กอ่ นประถมศกึ ษาถงึ มธั ยมศึกษาตอนต้น ไมเ่ กนิ ๑๗,๕๐๐ บาท - ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ไมเ่ กนิ ๒๐,๐๐๐ บาท ๓ หอ้ งเรยี นพเิ ศษดา้ นภาษาตา่ งประเทศดา้ นวชิ าการ เท่าที่จ่ายจริง ตามความจ�ำเป็นและ และด้านอ่นื ๆ (เชน่ ห้องเรียนพิเศษวทิ ยาศาสตร์ เหมาะสมกับสภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ห้องเรยี นพิเศษคณิตศาสตร์ เปน็ ต้น) ของท้องถ่ิน ยกเว้นค่าใช้จ่ายห้องเรียน พิเศษ ด้านภาษาอังกฤษ ให้เก็บได้ ไม่เกินครงึ่ หนง่ึ ของหอ้ งเรียน MEP การเปิดห้องเรียนพิเศษต้องได้รับอนุมัติจากส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หรือส�ำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษา แลว้ แตก่ รณี แนวทางการดำ�เ ินนงาน ตามโครงการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษา 89 ตั้งแต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ค. สถานศกึ ษาทจ่ี ดั การเรยี นการสอนเพอ่ื เพมิ่ ศกั ยภาพและความสามารถของนกั เรยี น ท่ีนอกเหนือหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายได้ ตามความสมัครใจ ของผู้ปกครองและนกั เรียน โดยไม่รอนสิทธิ์นกั เรียนที่ดอ้ ยโอกาส ดังน้ี ที่ รายการ อตั ราการเก็บ/คน/ภาคเรียน ๑ โครงการพฒั นาทักษะตามความถนดั เท่าที่จ่ายจริง ตามความจ�ำเป็นและ เหมาะสมกบั สภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของนกั เรยี นนอกเวลาเรยี น ของท้องถิ่นทุกรายการรวมกันไม่เกิน ๒ ค่าจ้างครชู าวต่างประเทศ ๑,๒๕๐ บาทต่อภาคเรียน ๓ คา่ ตอบแทนวทิ ยากรภายนอก ๔ ค่าเรยี นปรับพ้ืนฐานความรู้ ง. สถานศกึ ษาทจี่ ดั การเรยี นการสอนเสรมิ เพม่ิ เตมิ ใหก้ บั นกั เรยี นนอกเหนอื จากเกณฑ์ มาตรฐานทว่ั ไป ทไ่ี ดง้ บประมาณจากรฐั อาจขอรบั การสนบั สนนุ คา่ ใชจ้ า่ ยไดเ้ ทา่ ทจี่ า่ ยจรงิ โดยประหยัดตามความจ�ำเป็นและเหมาะสมกับสภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น ตามความสมัครใจของผปู้ กครองและนักเรยี น ดังน้ี ๑. ค่าจา้ งครูท่มี ีความเช่ยี วชาญในสาขาเฉพาะ ๒. ค่าสาธารณูปโภคส�ำหรับห้องเรียนปรบั อากาศ ๓. ค่าสอนคอมพิวเตอร์ กรณีโรงเรียนจัดคอมพิวเตอร์ให้นักเรียนเกินมาตรฐานที่รัฐจัดให้ (๑ เครื่อง : นักเรยี น ๒๐ คน) ๔. ค่าใช้จ่ายในการจัดร่วมโครงการ โครงงาน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเกินมาตรฐาน ที่รฐั จดั ให้ ๕. ค่าใช้จา่ ยในการไปทัศนศึกษาตามแหลง่ เรียนร้ขู องนกั เรียนเกินมาตรฐานท่ีรัฐจัดให้ แนวทางการดำ�เ ินนงาน 90 ตามโครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศกึ ษา ตง้ั แต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
จ. สถานศึกษาท่ีจัดให้มีการดูแลด้านสวัสดิการ และสวัสดิภาพนักเรียน อาจขอรับ แนวทางการดำ�เ ินนงาน การสนับสนุนค่าใช้จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงโดยประหยัดตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม กับสภาพฐานะทางเศรษฐกิจของท้องถิ่น ตามความสมัครใจของผู้ปกครองและนักเรียน ดังนี้ ๑. ค่าประกันชวี ิตนกั เรียน/ค่าประกนั อบุ ตั ิเหตนุ กั เรียน ๒. ค่าจา้ งบคุ ลากรทปี่ ฏบิ ตั งิ านในสถานศึกษา ๓. คา่ ตรวจสขุ ภาพนกั เรยี นเปน็ กรณพี เิ ศษ นอกเหนอื จากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ๔. ค่าอาหารนกั เรียน ๕. คา่ หอพกั ๖. ค่าซกั รีด ส�ำหรับสถานศึกษาท่ีจัดให้นักเรียนอยู่ประจ�ำ สามารถขอรับการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ตามข้อ ๑, ๒, ๓, ๔, ๕ และ ๖ ได้เท่าท่ีจ่ายจริงโดยประหยัดตามความจ�ำเป็นและเหมาะสม กับสภาพฐานะทางเศรษฐกจิ ของทอ้ งถน่ิ ฉ. สถานศึกษาต้องพิจารณาให้การดูแลช่วยเหลือนักเรียนด้อยโอกาสให้ได้เรียน โดยไมร่ อนสิทธ์ทิ จ่ี ะไดร้ บั ดงั น้ี ๑. การเรียนกับครชู าวตา่ งประเทศ หากสถานศึกษามีการจดั ให้นักเรียนทุกคน ควรจดั ให้ นักเรยี นด้อยโอกาสไดเ้ รียนสปั ดาหล์ ะไม่นอ้ ยกวา่ ๒ ชว่ั โมง ๒. การเรยี นการสอนโดยครูทสี่ ถานศึกษาจา้ งหรอื โดยวิทยากรภายนอก ๓. ค่าสาธารณูปโภคส�ำหรบั ห้องเรียนปรับอากาศ ๔. คา่ ตรวจสขุ ภาพนกั เรยี นเปน็ กรณพี เิ ศษ นอกเหนอื จากการใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ของรฐั ๕. ค่าเรยี นปรับพืน้ ฐานความรู้ ๖. คา่ อาหารนักเรยี น ๗. การเข้าร่วมกิจกรรมวิชาการ/คุณธรรม/ชุมนุมลูกเสือ/เนตรนารี/ยุวกาชาดและ การไปทศั นศึกษา ๘. การเรยี น การฝึกใชค้ อมพิวเตอร์ และการใช้บริการอินเทอร์เน็ตปีละ ๔๐ ชว่ั โมง อน่งึ การเกบ็ เงินบ�ำรุงการศกึ ษาของสถานศกึ ษา สงั กดั ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา ขั้นพ้ืนฐาน ตามข้อ ข, ค, ง, จ และ ฉ ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน และได้รับอนุมัติจากส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาก่อน จึงจะด�ำเนินการขอรับ การสนับสนุนได้โดยใหม้ กี ารประกาศประชาสมั พนั ธใ์ ห้กบั ผปู้ กครองและนักเรียนทราบลว่ งหนา้ ตามโครงการสนับสนุนคา่ ใช้จ่ายในการจดั การศึกษา 91 ตั้งแต่ระดบั อนบุ าลจนจบการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116