การจดั การฟารม์ สัตว์ปีก (ปรับปรงุ 2560) 32 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย บทที่ 4 การเลยี้ งและการจัดการไกก่ ระทง ปจั จบุ นั ไกก่ ระทงไดร้ ับการพฒั นาสายพันธุ์ใหโ้ ตเร็ว ใหเ้ น้อื มากและสามารถเลี้ยงได้ในทุกพ้ืนที่ของโลก ดังนัน้ การเลย้ี งและการจัดการจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาและเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดเพื่อให้สอดคล้องกับ ศักยภาพและขดี ความสามารถในการเจรญิ เติบโตตามที่สายพันธ์ุได้พัฒนามา ซ่ึงไก่กระทงในปัจจุบันโตเร็วมาก เมื่อเทยี บกบั ในอดตี เพอื่ ให้ไก่กระทงที่เล้ียงแสดงขีดความสามารถได้ตามศักยภาพของสายพันธุ์ ผู้เล้ียงจึงต้อง มีการจัดการใหเ้ หมาะสมดังตอ่ ไปน้ี 1. จัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม ได้แก่ อุณหภูมิ การระบายอากาศ คุณภาพอากาศและพื้นท่ีการ เลีย้ ง 2. การสุขาภิบาล การป้องกนั โรคและการบาดเจบ็ ต่าง ๆ 3. การจัดการอาหารเพ่ือให้ไก่ได้รับโภชนะที่เหมาะสม ใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์คุณภาพดีและมีการ จัดการอุปกรณ์ให้อาหารอยา่ งเหมาะสม 4. การดแู ลสวสั ดภิ าพสัตว์ตลอดการเลย้ี ง ตงั้ แต่เรม่ิ กกจนกระทงั่ จับส่งโรงเชอื ด นอกจากนแี้ ลว้ ยงั มีปจั จัยอนื่ ท่ผี ลักดันใหผ้ ู้เลี้ยงไก่กระทงจาเป็นจะต้องพัฒนารูปแบบและวิธีการเล้ียง ไดแ้ ก่ 1. ผบู้ รโิ ภคตอ้ งการผลผลิตเนื้อไก่ท่มี ีคุณภาพและปลอดภัยตอ่ ร่างกาย 2. ต้องการฝูงไก่ทส่ี ามารถนานายและคาดคะเนผลผลิตทจ่ี ะไดแ้ ม่ยามากข้นึ 3. ต้องการให้มีความแปรปรวนของน้าหนักตัวและคุณภาพของไก่ภายในฝูงให้น้อยที่สุดเพื่อลดความ แปรปรวนของผลผลติ สุดทา้ ยให้มเี หลือน้อยทส่ี ุด 4. ผู้บริโภคมีความสนใจด้านสวสั ดิภาพสตั ว์และมนุษยธรรมมากขน้ึ 5. ตอ้ งการให้ไก่ไดแ้ สดงศกั ยภาพของสายพนั ธ์แุ ละพันธกุ รรมให้เต็มที่ 6. ต้องการดลหรอื ขจดั ปญั หาโรคตา่ ง ๆ ท่เี กดิ จากการจัดการ เชน่ โรคทอ้ งมาน (Ascites) และโรคขา อ่อน (Leg weakness) ให้หมดไป การเลี้ยงไก่กระทงนั้น เป็นส่วนหน่ึงในวงจรของการผลิตเนื้อไก่เท่านั้น ซึ่งในวงจรน้ีจะต้อง ประกอบดว้ ยฟารม์ ไก่พนั ธ์ุ โรงฟักไข่ ฟาร์มไกก่ ระทง โรงงานชาแหละและแปรรูป ร้านค้าปลีกและผูบ้ ริโภค
การจดั การฟารม์ สตั ว์ปีก (ปรบั ปรงุ 2560) 33 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ภาพท่ี 4.1 แสดงวงจรธรุ กจิ การผลติ เนอ้ื ไก่กระทงทีม่ คี ุณภาพ ที่มา : Arber Acres; Broiler Management Hand Book (2014) หนา้ 7 ภาพท่ี 4.2 แสดงปจั จยั ต่าง ๆ ท่มี ผี ลตอ่ การเจริญเตบิ โตและคุณภาพเนื้อของไก่กระทง ทีม่ า : Arber Acres; Broiler Management Hand Book (2014) หน้า 5
การจัดการฟารม์ สตั วป์ กี (ปรบั ปรงุ 2560) 34 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย โปรแกรมการเล้ียงไกก่ ระทง การเลี้ยงไก่กระทงควรใช้ระบบการเลี้ยงแบบเข้าออกพร้อมกันหมด (All in – all out) คือ ใน โรงเรือนเดียวกนั จะตอ้ งเลีย้ งไกอ่ ายุเท่ากันภายหลังจากท่ีจับไก่ออกหมดแล้วโรงเรือนจะมีเวลาว่างซ่ึงเป็นเวลา ที่ผู้เล้ียงจะทาความสะอาดโรงเรือนและอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้สะอาด ทาการฆ่าเช้ือโรคทั้งภายในและภายนอก โรงเรือน ฆ่าเช้ือโรคอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ใช้ เช่น อุปกรณ์ให้น้า ให้อาหาร ผ้าม่าน ฯลฯ หลังจากทาความสะอาด โรงเรอื นและอุปกรณเ์ รยี บร้อยแล้วจะมกี ารหยุดพักโรงเรอื น (Down time) อยา่ งนอ้ ย 14 วัน เพ่ือตัดวงจรการ ตดิ ตอ่ ของโรคบางชนดิ ระยะเวลาในการเล้ียงไก่กระทงจะข้นึ อย่กู ับขนาดของไก่ท่ีตลาดต้องการซ่ึงจะมีน้าหนัก ตั้งแต่ 1.3-2.8 กก. ไก่ที่มีน้าหนักตัวน้อยมักจะนาไปทาเป็นไก่ย่างหรือจาหน่ายเป็นไก่สดทั้งตัว ส่วนไก่ที่มี นา้ หนักตวั มากส่วนใหญ่จะนาไปขายเป็นไก่แยกชิน้ ส่วนหรือแปรรูปเป็นผลติ ภณั ฑ์ต่าง ๆ ระยะเวลาในการเลี้ยง จะอยรู่ ะหวา่ ง 28-60 วัน วัสดรุ องพนื้ (Litter) อุตสาหกรรมการเล้ียงไก่กระทงในปัจจุบันมักจะเลี้ยงบนพื้นคอนกรีต ดังนั้น ก่อนท่ีจะนาไก่เข้ามา เล้ียงจะต้องปูทับด้วยวัสดุรองพ้ืนเสียก่อน โดยปูวัสดุรองพื้นให้มีความหนาประมาณ 1-2 น้ิว (2.5-5 เซนติเมตร) อยา่ งไรกต็ าม วัสดรุ องพื้นแตล่ ะชนิดจะมรี ะดับความหนาท่ีเหมาะสม ซ่ึงในคู่มือการเลี้ยงไก่ Cobb Broiler Management Guide (2013) แนะนาความหนาทเ่ี หมาะสมดงั แสดงในตารางท่ี 4.2 ตารางที่ 4.2 ความหนาของวัสดุรองพื้นแตล่ ะชนิดที่เหมาะสมสาหรับการเลยี้ งไก่กระทง ชนิดวสั ดรุ องพืน้ ความหนาท่ีเหมาะสม ขี้กบ 2.5 ซม. (1 นิ้ว) ขีเ้ ล่อื ย 2.5 ซม. (1 น้ิว) ฟางสบั 1 กก./ตร.ม. เปลอื กข้าว/แกลบ 5 ซม. (2 นิ้ว) เปลอื กเมลด็ ทานตะวัน 5 ซม. (2 นิว้ ) ท่ีมา : Cobb; Broiler Management Guide (2013) หน้า 12 ประโยชนข์ องวัสดุรองพนื้ 1. ช่วยดดู ซับความชนื้ จากมูลและนา้ ท่หี กออกมาจากอุปกรณ์ใหน้ ้าช่วยให้พ้นื โรงเรือนแหง้ 2. ช่วยเจือจางมูลโดยมูลที่ไก่ที่ถูกขับถ่ายออกมาจะผสมกับวัสดุรองพ้ืนช่วยให้ไก่ไม่สัมผัสกับมูล โดยตรงมากนกั 3. ชว่ ยเป็นฉนวนกันความหนาวเย็นของพ้ืนคอนกรีตในชว่ งฤดหู นาวและช่วยเป็นส่ือนาความร้อนออก จากรา่ งกายในช่วงฤดรู ้อน วัสดุรองพื้นท่ีดีจะต้องมีน้าหนักเบา สามารถดูดซับความชื้นและน้าได้ดี ราคาไม่แพง หาได้ง่ายใน ท้องถ่ินและจะต้องไม่เป็นพิษต่อไก่ท่ีเลี้ยง มีวัสดุหลายชนิดสามารถนามาทาเป็นวัสดุรองพื้นสาหรับเล้ียงไก่ได้ วัสดแุ ตล่ ะชนดิ จะมขี ้อดขี ้อเสยี แตกต่างกันดงั แสดงในตารางที่ 4.1
การจดั การฟารม์ สตั ว์ปีก (ปรบั ปรุง 2560) 35 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ตารางที่ 4.1 คณุ สมบัตขิ องวัสดรุ องพนื้ แต่ละชนดิ ชนดิ วสั ดุ คุณสมบตั ิ ข้เี ล่ือยและข้กี บจากไมเ้ นอ้ื อ่อน ใช้งานได้ดี แต่มักจะมีปริมาณจากัดและมีใช้เฉพาะบางพื้นท่ี เท่านั้น ขี้เลือ่ ยและขก้ี บจากไมเ้ นือ้ แข็ง บางคร้ังอาจมีความช้ืนสูงและอาจเกิดเชื้อราได้ง่ายถ้ามีการ เก็บรักษาก่อนการใชง้ านไมด่ ี เศษไมเ้ น้อื อ่อนและไม้เน้ือแขง็ สบั ใช้งานได้ดี แต่อาจจะทาให้เกิดปญั หาถุงน้าใต้ผิวหนังหน้าอก (Breast blisters) ได้ถ้าหากปล่อยให้มีความช้ืนสูงและเล้ียง ไกเ่ ป็นเวลานาน เปลอื กขา้ ว (แกลบ) เป็นวัสดุที่ใช้ได้ดี ราคาไม่แพง แต่มีขนาดเล็กลูกไก่จึงจิกกิน ได้ แต่ก็มใิ ช่ปัญหาใหญท่ จ่ี ะทาใหเ้ กดิ ความเสียหาย ชานออ้ ย สามารถใช้ได้ดี แต่มักจะมีปัญหาจับตัวกันเป็นแผ่นแข็ง ภายในเวลาไม่กสี่ ัปดาห์ ซังขา้ วโพดบด มีเฉพาะบางพ้ืนที่ อาจจะทาให้เกิดปัญหาถุงน้าใต้ผิวหนัง หน้าอกไดง้ ่าย ฟางขา้ วสบั หรือหญา้ แห้ง ใช้ได้ดีแต่จะจับตัวกันเป็นแผ่นได้ง่ายและอาจจะเกิดปัญหา เช้อื รา กระดาษแปรสภาพ การนากระดาษที่ใช้แล้วมาแปรสภาพให้เป็นวัสดุรองพื้นเริ่ม เป็นท่ีนยิ มในปัจจบุ นั และมกี ารทดลองนากระดาษไปผสมกับ สว่ นผสมต่าง ๆ เพ่อื ให้ไดว้ ัสดุรองพนื้ ท่ีมคี ณุ สมบตั ดิ ที ่ีสุด ทราย ใช้กันมานานแล้วโดยเฉพาะในโรงเรือนที่เล้ียงแบบปล่อย ลาน ที่มา : Bell and Weaver (2002) หนา้ 831 การจดั การวสั ดุรองพ้นื การจัดการวัสดุรองพื้นส่วนใหญ่จะให้ความสาคัญไปที่การลดลดความช้ืนและปริมาณก๊าซแอมโมเนีย ซึ่งจะสัมพันธ์กับการจัดการน้าดื่ม การป้องกันน้าหกจากอุปกรณ์ให้น้าลงสู่พ้ืนและการลดค่า pH ของวัสดุรอง พ้ืนเพ่ือยับยั้งมิให้แบคทีเรียย่อยสลายไนโตรเจนจากมูลไปเป็นก๊าซแอมโมเนีย การลดค่า pH ของวัสดุรองพื้น ให้ต่ากว่า 7 พบว่าจะสามารถลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซแอมโนเนียลงได้มาก การควบคุมปริมาณการ ปลดปล่อยก๊าซแอมโนเนียโดยการใช้สารเคมี เช่น การใช้กรดฟอสฟอริก (Phosphoric acid) โซเดียมไบ ซัลเฟต (Sodium bisulfate) เฟอร์รัสซัลเฟต (Ferrous sulfate) แคลเซียมซัลเฟต (Calcium sulfate) และ อะลมู ินัมซลั เฟตหรอื สารส้ม (Aluminum sulfate) ผสมน้าแลว้ ฉดี พ่นหรือโรยลงบนวัสดุรองพ้ืนในอัตราส่วนท่ี เหมาะสม การตรวจสอบความชืน้ ของวสั ดุรองพ้นื ความชื้นในวัสดุรองพื้นไม่ควรเกิน 35% เน่ืองจากจะเป็นสาเหตุก่อให้เกิดอาการฝ่าเท้าอักเสบ (Foot pad dermatitis) ถุงน้าใต้ผิวหนังหน้าอก (Breast blister) และถ้าความชื้นสูงจะก่อให้เกิดก๊าซแอมโมเนีย การตรวจสอบความช้ืนของวัสดุรองพ้ืนทาได้ง่าย ๆ โดยการกาวัสดุรองพ้ืนไว้ในอุ้งมือแล้วบีบเบา ๆ ถ้ามี
การจดั การฟารม์ สตั วป์ ีก (ปรับปรงุ 2560) 36 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ความช้ืนเหมาะสมวัสดุรองพื้นจะจับตัวกันเป็นก้อนในอุ้งมือและเม่ือวางบนพ้ืนก็จะแตกออก แต่ถ้าหากวางลง บนพื้นแล้ววัสดุรองพื้นน้ันยังคงจับตัวกันเป็นก้อนอยู่แสดงว่ามีความช้ืนมากเกินไป แต่ถ้าวัสดุรองพื้นแห้ง เกินไปเมอื กาไวใ้ นองุ้ มือและเม่อื คลายมือออกวัสดุรองพ้ืนน้ันจะไม่จับตัวกันเป็นก้อน การประเมินคุณภาพวัสดุ รองพน้ื เพ่ือตรวจสอบมาตรฐานในการจดั การ อาจแบ่งเป็นระดับได้ ดังต่อไปนี้ โดยระดับที่ยอมรับได้คือ ระดับ 1-4 (มกษ. 6903(G)-2558) ระดับ 1 ร่วนแหง้ ใช้มอื กาแล้วปลอ่ ยพบว่า ไมต่ ิดกนั เปน็ ก้อนมีการกระจายตวั ดี ระดับ 2 เปียกบรเิ วณท่ีให้นา้ แตย่ ังมีลักษณะรว่ นซยุ ระดับ 3 เป็นแผน่ แข็งบรเิ วณท่ีให้นา้ ระดบั 4 เปน็ แผ่นแข็งแต่แห้ง ระดบั 5 เปน็ แผน่ แข็งแต่เปยี ก ระดับ 6 เปียกเป็นโคลน เครอื่ งกกลูกไก่ (Brooder) เน่ืองจากกลไกการควบคุมอุณหภูมิร่างกายของลูกไก่ยังไม่มีประสิทธิภาพเราจึงต้องให้ความอบอุ่นแก่ ลกู ไกจ่ นกกว่าลูกไกจ่ ะสามารถผลติ ความร้อนและสามารถควบคุมอุณหภูมิร่างกายได้ ดังนั้น ในระยะไก่เล็กเรา จงึ ต้องใชเ้ คร่อื งกกเพ่ือใหค้ วามอบอ่นุ เครื่องกกท่ีนิยมใช้อุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่กระทงสามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทตามแหล่งของพลังงานที่ใช้ ไดแ้ ก่ 1. เครื่องกกไฟฟ้า จะใชก้ ระแสไฟฟ้าเป็นแหลง่ พลังงาน ไดแ้ ก่ 1. ขดลวดไฟฟ้า 2. หลอดไฟชนิดเผาไส้ (Incandescent bulb) 3. หลอดสปอร์ตไลท์ (Incandescent halogen bulb) 2. เครื่องกกแกส๊ จะใช้แกส๊ เปน็ แหลง่ พลังงาน ไดแ้ ก่ 1. เครื่องกกแบบฝาชี (Canopy หรือ Hover brooder) มขี นาดใหญ่ กระจายความร้อนไดด้ ี 2. เครอ่ื งกกแบบโคม มขี นาดเล็ก นา้ หนกั เบา และเกบ็ รักษางา่ ย 3. เคร่อื งเปา่ ลมรอ้ น มีลกั ษณะเป็นตู้มีแหลง่ ผลิตความรอ้ นและมีพัดลมเป่าออกมา ใช้สาหรับ การกกลูกไกท่ ้ังโรงเรอื นหรอื พ้นื ทก่ี ว้างกว่าเคร่ืองกกทั้ง 2 แบบขา้ งต้น แผงกนั กก (Brooder fence) ใช้สาหรบั ป้องกันไม่ให้ลูกไก่หนีออกห่างเครื่องกก อุปกรณ์ให้น้าและอาหาร แผงกั้นกกนี้จะต้องขยาย ทุกวันตามการเจริญเติบโตของลูกไก่ แผงก้ันกกนี้อาจทาด้วยแผ่นโลหะ สังกะสีหรือตาข่ายก็ได้ ขึ้นกับความ เหมาะสมกับลักษณะของโรงเรือนและรูปแบบของการกก อย่างไรก็ตาม แผงกั้นกกควรมีความสูงไม่น้อยกว่า 30 เซนติเมตร ก็เพียงพอ สาหรบั โรงเรือนระบบปดิ นิยมใชต้ าขา่ ยก้ันกก เนื่องจากจะมกี ารระบายอากาศดีกว่า การจัดการพื้นท่กี ก การกกลูกไก่ในระบบอตุ สาหกรรมมีการกกลกู ไก่ 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ 1. การกกท้ังโรงเรือน (Whole house) การกกท้ังโรงเรือนจะทาได้ในกรณีท่ีมีการก่อสร้างโรงเรือน แบบผนังทึบและอยู่ในภูมิประเทศที่สามารถควบคุมสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมได้เท่านั้น ส่ิงสาคัญในการกก
การจัดการฟาร์มสตั ว์ปกี (ปรับปรุง 2560) 37 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ลูกไก่แบบนี้ ได้แก่ การควบคุมอุณหภูมิให้คงที่อยู่ตลอดเวลาและการควบคุมอุณหภูมิจะต้องแม่นยามาก เน่ืองจาก ถ้าหากการควบคุมอุณหภูมิผิดพลาดซึ่งอาจจะสูงหรือต่าเกินไป ลูกไก่จะไม่สามารถหลบหนีหรือ เลือกหาพน้ื ทท่ี ่ีมีอณุ หภูมิเหมาะสมสาหรบั ตัวเองไดเ้ หมือนกับการกกแบบเฉพาะที่ 2. การกกเพียงบางส่วนของโรงเรือน (Partial house) เป็นวิธีการกกที่นิยมใช้กันมาก เน่ืองจาก ประหยัดค่าใช้จ่ายเชื้อเพลิงและการควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสมทาได้ง่ายกว่า ตัวอย่างการจัดสรรพ้ืนที่เพ่ือ การกกลูกไก่ เชน่ อายุ 0-7 วัน ใชพ้ ื้นทป่ี ระมาณ 1/2 ของโรงเรือน อายุ 8-10 วัน ใชพ้ ้ืนทปี่ ระมาณ 1/2 ถงึ 3/4 ของโรงเรอื น อายุ 11-14 วัน ใช้พืน้ ทปี่ ระมาณ 3/4 ถงึ ท้ังโรงเรือน ความหนาแน่นในการกกลูกไก่ไม่ควรเกิน 50-60 ตัว/ตร.ม. ในฤดูหนาว และไม่ควรเกิน 40-50 ตัว/ ตร.ม. ในฤดรู อ้ น และจะต้องจดั หาอปุ กรณ์ให้น้าและอาหารให้เพียงพอสาหรับลูกไก่ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วง ฤดูรอ้ น การติดตัง้ อุปกรณ์ให้นา้ และอาหารส้าหรบั ลูกไก่ หลังจากทาความสะอาดโรงเรอื นเสรจ็ แลว้ นาอปุ กรณ์ท่ีจาเปน็ สาหรับการกกลูกไก่เข้ามาติดต้ังภายใน โรงเรือน ดังแสดงในภาพที่ 4.3 หรอื ภาพที่ 4.4 Mini drinker 6 อนั /ลกู ไก่ 1,000 ตวั Pan feeder 1 ถาด/ลกู ไก่ 500-100 ตวั เครอื่ งกก 1 หวั /ลกู ไก่ 700-1,000 ตวั ภาพที่ 4.3 แสดงการจัดวางอปุ กรณ์ภายใตเ้ คร่อื งกกแบบเฉพาะจุดและแบบบางส่วนของโรงเรอื น ทมี่ า : Arbor Acres; Broiler Management Guide (2009) หน้า 14
การจดั การฟารม์ สัตว์ปีก (ปรับปรุง 2560) 38 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย Mini drinker 6 อัน/ลูกไก่ 1,000 ตวั Pan feeder 1 ถาด/ลูกไก่ 500-100 ตวั ภาพท่ี 4.4 แสดงการจดั วางอุปกรณภ์ ายในโรงเรือนทก่ี กแบบทั้งโรงเรือน ทีม่ า : Arbor Acres; Broiler Management Guide (2009) หนา้ 15 การเตรียมตัวกอ่ นลูกไก่จะมาถึง ก่อนลูกไก่จะมาถึงจะต้องมีการตรวจสอบและเตรียมอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้พร้อมท่ีจะใช้งาน โดยการ ตรวจสอบตามข้นั ตอน ดังตอ่ ไปนี้ 1. การตรวจสอบความพรอ้ มของอปุ กรณ์ต่าง ๆ อุปกรณ์ให้น้าและอาหารจะต้องมีจานวนเพียงพอกับ จานวนลูกไก่จะมาถงึ เครื่องกกจะตอ้ งเพียงพอสาหรบั การกกและจะตอ้ งทางานได้เต็มประสิทธิภาพ ระบบการ ระบายอากาศและพดั ลมจะตอ้ งมกี ารทดสอบและปรับต้ังใหเ้ รียบร้อยกอ่ นท่ลี ูกไก่จะมาถงึ 2. ตรวจสอบการทางานของเคร่ืองกก จะต้องติดต้ังเคร่ืองกกในตาแหน่งและระดับความสูงที่ เหมาะสมและสามารถทางานไดเ้ ต็มประสิทธิภาพจะต้องตรวจสอบการทางานให้เรียบร้อยกอ่ นใชง้ าน 3. ติดต้ังเทอร์โมสตัท (Thermostat) โดยการติดตั้งเทอร์โมสตัทไว้บริเวณกึ่งกลางของกกในระดับ ความสูงเท่ากับตัวลูกไก่หรือท่ีระดับหลังไก่ ติดต้ังเคร่ืองวัดอุณหภูมิสูงสุด-ต่าสุด (Max-min thermometer) บรเิ วณเดยี วกับเทอร์โมสตัท บนั ทึกการเปลยี่ นแปลงอณุ หภูมิในรอบ 24 ชั่วโมงก่อนลูกไก่จะมาถึงโดยจะต้องมี คา่ อุณหภูมิสูงสดุ -ต่าสุดแตกต่างกนั ไม่เกิน 2 °ซ 4. ตรวจสอบอุณหภูมิบริเวณพ้ืนที่กก โดยการเปิดเคร่ืองกกให้ทางานหรือเป็นการอุ่นเครื่องกก (Pre- heat) ก่อนที่ลูกไก่จะมาถึงประมาณ 24 ชั่วโมงจนกระทั่งอุณหภูมิในบริเวณพ้ืนท่ีกกหรืออุณหภูมิภายใน โรงเรือนคงท่ี ซง่ึ ระยะเวลาในการอนุ่ เครือ่ งกกให้อณุ หภมู คิ งท่ีน้ันจะข้ึนกับฤดูกาล ฉนวนของโรงเรือน ลักษณะ ของโรงเรือนและขนาดของเคร่ืองกก ขณะท่ีเอาลูกไก่ลงกกอุณหภูมิภายในพื้นที่กกจะต้องไม่ต่ากว่า 30 °ซ
การจดั การฟาร์มสัตว์ปกี (ปรบั ปรงุ 2560) 39 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย หรือ 86 °ฟ ความชื้นสัมพัทธ์ประมาณ 30-50% สาหรับการกกแบบท้ังโรงเรือนหรือใช้เคร่ืองกกแบบ Force air heating ถา้ เป็นเครื่องกกแบบเฉพาะจดุ ให้ปรบั ตง้ั อณุ หภูมิใต้เครื่องกกไวท้ ่ี 33 °ซ หรอื 91 °ฟ การกกหรือให้ความอบอุ่นแต่ลูกไก่สาคัญมากเนื่องจากลูกไก่แรกเกิดจนถึงอายุประมาณ 5 วัน จะไม่ สามารถควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้คงที่ได้และระบบควบคุมอุณหภูมิร่างกายจะค่อย ๆ พัฒนาข้ึนจนสมบูรณ์ เมื่ออายุประมาณ 14 วัน ดังนั้น อุณหภูมิร่างกายจะขึ้นกับอุณหภูมิภายใต้เครื่องกก ถ้าอุณหภูมิภายใต้เคร่ือง กกต่าจะทาให้ไก่นอนสุมรวมกันใต้เครื่องกกเพ่ือเพิ่มความอบอุ่นให้กับร่างกาย กินอาหารและน้าน้อยลง ส่งผล ทาให้การเจริญเติบโตลดลงและการสรา้ งภูมคิ ุม้ กันในรา่ งกายจะลดลงดว้ ย 5. ตรวจสอบระบบการระบายอากาศ โดยจะตอ้ งตรวจสอบส่ิงต่าง ๆ ดงั นี้ 1. ทดสอบการระบายอากาศต่าสุด โดยการเปิดพัดลมระบายอากาศทันทีท่ีเปิดเคร่ืองกกเพ่ือ ระบายก๊าซพิษและความช้ืนทเ่ี กดิ ขึ้นออกไป 2. ปิดรรู ว่ั หรือช่องวา่ งตา่ ง ๆ เพ่ือป้องกันลมโกรกเพือ่ ปอ้ งกันไม่ให้ลูกไก่หนีไปนอนสุมรวมกัน ทีใ่ ดท่หี นง่ึ ของโรงเรอื นในกรณที ีเ่ ป็นโรงเรือนแบบเปิดและเพื่อให้การระบายอากาศเต็มประสิทธิภาพในกรณีที่ เปน็ โรงเรือนแบบปิด 6. ตรวจสอบระบบการใหน้ า้ โดยจะต้องตรวจสอบส่ิงต่าง ๆ ดงั นี้ 1. จดั เตรยี มอุปกรณ์ให้น้าให้เพยี งพอกับจานวนไก่ทจ่ี ะเล้ยี งและจะต้องวางไว้ภายใต้พื้นท่ีกก 2. อปุ กรณ์ให้น้าจะต้องสะอาดปราศจากน้ายาฆ่าเช้อื โรคตกคา้ งจากการลา้ งโรงเรอื น 3. สาหรับนิปเปลิ ให้ปรบั ระดบั แรงดันภายในทอ่ นา้ ใหเ้ หมาะสมสาหรับลูกไก่ คือ จะต้องปรับ แรงดนั ให้พอมหี ยดนา้ เคลือบอยบู่ รเิ วณปลายนปิ เปิลแต่ไม่ถึงกับหยดลงมา 4. ตรวจสอบการรั่วซมึ ของนา้ จากระบบและอปุ กรณใ์ หน้ า้ 5. ปรับระดับนปิ เปิลให้อยใู่ นระดับเดียวกับตาลูกไก่ 6. จะต้องแนใ่ จว่านา้ ดื่มทเ่ี ตรียมไวส้ าหรับลกู ไก่นนั้ สะอาดปราศจากการปนเปื้อนใด ๆ 7. อุปกรณ์ให้น้าเสริมจะต้องจัดวางไว้ใกล้กับอุปกรณ์ให้น้าหลักเพื่อให้ลูกไก่ได้มองเห็นและ เรยี นรู้ที่จะดม่ื นา้ จากอุปกรณ์ใหน้ ้าหลักไดเ้ ร็วข้นึ 7. ตรวจสอบอปุ กรณ์ใหอ้ าหาร โดยจะต้องตรวจสอบสงิ่ ต่าง ๆ ดงั นี้ 1. อุปกรณ์ให้อาหารจะต้องแห้งสนิท ปราศจากการตกค้างของน้ายาฆ่าเชื้อโรคจากการล้าง โรงเรอื น 2. อุปกรณ์ให้อาหารเสริมซึ่งอาจจะใช้กระดาษหรือถาดอาหารสาหรับลูกไก่ก็ได้จะต้องใช้ ประมาณ 7-10 วันแรกของการกก ถาดอาหารสาหรับลกู ไก่ควรใช้ในอตั รา 1 ถาด/ลกู ไก่ 50-100 ตวั 3. อปุ กรณ์ใหอ้ าหารเสรมิ ควรวางไว้ตรงกลางระหว่างอปุ กรณใ์ ห้น้ากับอุปกรณ์ใหอ้ าหารหลัก การปฏบิ ตั ิเมื่อลกู ไกม่ าถงึ การเอาลกู ไกล่ งกกจะต้องปฏบิ ัติดงั นี้ 1. ภายในโรงเรือนเดียวกันควรเลี้ยงลูกไก่ท่ีมาจากพ่อแม่พันธ์ุฝูงเดียวกันหรือพ่อแม่พันธุ์ท่ีมีอายุ ใกลเ้ คยี งกนั หรืออาจจะแตกตา่ งกนั ได้แต่ไม่ควรเกนิ 5 สัปดาห์ 2. ระบบการเล้ียงควรเป็นแบบเขา้ ออกพร้อมกัน (All in-all out) 3. ถ้านาลูกไก่ลงกกช้าอาจทาให้ลูกไก่เกิดขาดน้า (Dehydration) ซึ่งจะส่งผลให้มีอัตราการตาย เพิ่มขน้ึ และสมรรถภาพการเจรญิ เติบโตไม่ดี
การจัดการฟารม์ สตั วป์ กี (ปรับปรุง 2560) 40 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย 4. ระหวา่ งการนาลกู ไก่ลงกก จะตอ้ งลดความเข้มแสงลงเพื่อให้ลูกไก่มีความเครยี ดน้อยที่สดุ 5. การนาลูกไก่ลงกกจะต้องปฏิบัติอย่างน่ิมนวลและวางลูกไก่ไว้ใกล้กับอุปกรณ์ให้น้าให้อาหารและ ควรกระจายให้ทั่วตลอดทงั้ พน้ื ทก่ี ก ถา้ ใชก้ ระดาษเปน็ ภาชนะให้อาหารเสรมิ กต็ ้องวางลูกไก่ลงบนกระดาษ 6. ควรสมุ่ ช่งั นา้ หนักลูกไกป่ ระมาณ 5% ของแต่ละกล่อง 7. ความเข้มของแสงภายใต้กกจะต้องสูงพอท่ีจะดึงดูดลูกไก่ให้เข้ามาอยู่ใต้เครื่องกกและช่วยให้ มองเหน็ น้าและอาหารได้ง่ายขึ้น 9. ปล่อยให้ลูกไก่ได้มีเวลาปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ประมาณ 2 ชั่วโมง จากน้ันทาการ ตรวจสอบการทางานของระบบให้น้าและอาหารอีกคร้ังและปรับต้ังอุปกรณ์ใหม่ให้เหมาะสมกับลูกไก่ในกรณีท่ี จาเป็น 10. สังเกตการกระจายตัวของลูกไก่และพฤติกรรมต่าง ๆ ที่ลูกไก่แสดงออกเพ่ือใช้เป็นตัวชี้วัดข้อ ผดิ ปกตติ า่ ง ๆ ของอปุ กรณ์ให้น้า ใหอ้ าหาร การระบายอากาศและการทางานของเคร่ืองกก คณุ ภาพของลกู ไก่ เมื่อลูกไก่มาถงึ จะตอ้ งมกี ารสุ่มชั่งน้าหนักตัวเพ่ือหาน้าหนักเฉลี่ย นอกจากน้ีจะต้องตรวจสอบคุณภาพ ของลกู ไก่โดยการสังเกตลักษณะภายนอก ซง่ึ ลูกไก่ทมี่ ีคุณภาพดจี ะตอ้ งมลี ักษณะดังน้ี 1. ขนแหง้ ฟู 2. นยั น์ตากลมสดใส 3. สดใสตน่ื ตวั ตลอดเวลา 4. สะดอื ปดิ สนทิ 5. ขาและแข้งสสี ดใสเป็นมันวาว 6. ขาและเขา่ ไม่มลี ักษณะแดงช้า 7. จะต้องไมม่ ีลักษณะผดิ ปกติ เช่น ขาโกง่ บดิ งอ คอบิดและจะงอยปากบิดไขว้ เปน็ ตน้ การตรวจสอบในขณะกกลกู ไก่ 1. การตรวจสอบอปุ กรณใ์ ห้นา้ เสริมหรอื กระปุกน้า (Mini drinker) 1. ใช้อุปกรณ์ใหน้ า้ เสรมิ ในอัตรา 6 อนั /ลกู ไก่ 1,000 ตวั 2. จะตอ้ งจดั ให้มนี ้าให้ไกด่ ม่ื ตลอดเวลา 3. จะต้องทาความสะอาดและเติมนา้ ใหม่เมือ่ จาเป็น 4. วันแรกของการกกจะต้องต้ังระดบั น้าในอุปกรณ์ให้น้าให้สูงที่สุดเท่าที่จะทาได้แต่จะต้องไม่ มีน้าล้นออกมา 5. อุปกรณ์ให้น้าเสริมสาหรับลูกไก่นี้จะใช้เพียง 2 วันเท่าน้ัน จากน้ันจะเอาออกเม่ือลูกไก่ สามารถดม่ื นา้ จากอุปกรณ์ให้นา้ หลักได้ 6. จะต้องวางอุปกรณ์ให้น้าสูงจากพ้ืนเล็กน้อยเพ่ือไม่ให้ลูกไก่คุ้ยเขี่ยวัสดุรองพื้นลงไป ปนเปอื้ นในน้าโดยการวางแทน่ รองให้สูงจากพนื้ ประมาณ 2 นิ้ว 2. การตรวจสอบอปุ กรณใ์ หน้ ้ารูประฆัง (Bell shape drinker) 1. ปรับตั้งระดับความสูงของขอบถังน้าโดยให้ขอบถังน้าอยู่ในระดับเดียวกับหลังของลูกไก่ และจะต้องปรบั ระดับความสงู ตามการเจรญิ เตบิ โตของลกู ไก่
การจัดการฟาร์มสตั วป์ กี (ปรบั ปรงุ 2560) 41 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย 2. จะต้องทาความสะอาดอุปกรณ์ให้น้าเป็นประจาทุกวันเพ่ือป้องกันการปนเปื้อนและ สกปรกโดยเฉพาะในช่วงหน้าร้อน ให้เทน้าเก่าออกอย่างน้อยวันละครั้งเพื่อให้มีน้าสะอาดและมีอุณหภูมิไม่สูง จนเกนิ ไปใหไ้ ก่กนิ 3. ในระยะแรกของการกกหรือเมื่อลูกไก่มาถึงใหม่ ๆ จะต้องปรับระดับน้าให้ต่ากว่าขอบถัง น้าไม่เกิน 0.5 เซนติเมตรหรือประมาณ 0.2 น้ิว จากน้ันจึงค่อย ๆ ลดระดับน้าลงให้มีความลึกประมาณ 1.25 เซนติเมตรหรือ 0.5 นิ้วทอี่ ายุ 7 วนั 4. ถังน้าอัตโนมัติรูประฆังทุกใบจะต้องติดตัวถ่วงน้าหนัก (Ballasted) และใส่น้าไว้ด้านใน เพื่อใหต้ ัวถงั มนี า้ หนักพอทจ่ี ะปอ้ งกนั การแกวง่ ไปมาในขณะท่ีไกด่ ่ืมน้าซึ่งจะป้องกนั ไมใ่ ห้น้าหกออกมาได้ 3. การตรวจสอบนิปเปิล (Nipple check) 1. จะต้องปรับระดบั ความสงู ของหวั นิปเปิลให้อยใู่ นระดับเดยี วกับตาของลกู ไก่ในช่วง 2-3 วัน แรก เม่อื ลูกไก่สามารถดม่ื นา้ จากนปิ เปิลได้แล้วจากนน้ั จึงปรับให้อยู่ในระดบั สงู กวา่ หัวไก่เล็กน้อย 2. ปรับระดับแรงดันน้าภายในท่อให้เหมาะสมสาหรับลูกไก่ คือ จะต้องปรับแรงดันให้พอมี หยดนา้ เคลือบอยู่บริเวณปลายนปิ เปิลแตไ่ ม่ถงึ กบั หยดลงมา 3. ความสูงของนปิ เปลิ ทเ่ี หมาะสมคอื ในขณะท่ีไกก่ าลังจิกหวั นปิ เปลิ เพ่อื ด่ืมน้าจะต้องไม่เขย่ง เท้าและจะตอ้ งไม่กม้ 4. อาจจะต้องมกี ารทาความสะอาดท่อสง่ น้าบา้ งเมอ่ื จาเป็น 4. การตรวจสอบอปุ กรณ์ให้อาหาร (Feeder check) 1. ในระยะแรกของการกกจะต้องโรยอาหารลงบนถาดอาหารหรือบนกระดาษรองเพ่ือให้ ลกู ไกฝ่ ึกกนิ อาหารให้เรว็ ทส่ี ุด 2. อุปกรณใ์ หอ้ าหารหลกั แบบจานอาหาร (Pan feeder) จะต้องปรับระดับอุปกรณ์ให้อาหาร ใหเ้ หมาะสมกับความสูงของตัวไก่โดยปรบั ระดบั ให้ขอบรางอาหารหรือขอบจานอาหารอยู่ในระดับเดียวกับหลัง ลูกไก่ 3. จะตอ้ งปรับระดับอาหารภายในรางหรือภายในจานอาหารให้เหมาะสมเพ่ือป้องกันอาหาร หกหล่นจากการคุ้ยเขี่ยและจะตอ้ งมอี าหารใหไ้ ก่กินตลอดเวลา การกกลกู ไก่ (Brooding) เน่ืองจากลูกไก่ในช่วง 1-2 สัปดาห์แรกจะไม่สามารถควบคุมอุณหภูมิร่างกายให้คงท่ีได้ ฉะน้ันเราจึง ต้องเพ่ิมความอบอุ่นให้กับลูกไก่เพื่อให้ลูกไก่มีการเจริญเติบโตเป็นปกติ การกกลูกไก่ที่ใช้เคร่ืองกกแบบเฉพาะ จุด เช่น เคร่ืองกกแบบฝาชี เคร่ืองกกแบบโคม ฯลฯ น้ันควรจะปรับอุณหภูมิในบริเวณพ้ืนที่กกให้อยู่ท่ี 90 °ฟ หรือ 32 °ซ ในช่วงสัปดาห์แรก จากน้ันจึงค่อย ๆ ลดอุณหภูมิลงประมาณสัปดาห์ละ 5 °ฟ หรือ 2.8 °ซ จนกระทัง่ อณุ หภูมิภายในโรงเรือนคงท่อี ยทู่ ่ีประมาณ 70 °ฟ หรือ 21 °ซ การใช้เคร่ืองกกแบบเฉพาะจุดน้ีความ ร้อนที่ตกบนพ้ืนจะไม่สม่าเสมอโดยอุณหภูมิภายใต้เคร่ืองกกจะสูงกว่าบริเวณท่ีอยู่ห่างออกไป ลูกไก่สามารถ เคลื่อนท่ีหรือหลบหนีไปยังบริเวณท่ีมีอุณหภูมิกกเหมาะสมได้ อุณหภูมิที่เหมาะสมในการกกลูกไก่แบบต่าง ๆ ดังแสดงในตารางท่ี 4.3 และ 4.4 ในช่วงสัปดาห์แรกของการกกจะต้องคอยสังเกตพฤติกรรมของลูกไก่อย่างใกล้ชิดและคอยฟังเสียงท่ี ผิดปกติโดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงกลางคืนซ่ึงมีอากาศเย็นและเงียบสามารถฟังเสียงผิดปกติได้สะดวกขึ้น พฤติกรรมของลกู ไกท่ ี่แสดงออกมาสามารถบ่งบอกถึงอุณหภูมิในการกกว่าเหมาะสมหรือไม่ เช่น ถ้าหากเราได้
การจัดการฟาร์มสตั วป์ กี (ปรบั ปรุง 2560) 42 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ยินเสียงไอ จาม หรือมีลกู ไกส่ ว่ นใหญ่มานอนสุมรวมกันใต้เคร่ืองกกแสดงว่าอุณหภูมิในการกกต่าเกินไปหรือถ้า หากลูกไก่ยืนกระจัดกระจายอยู่ห่าง ๆ อ้าปากหายใจหรือกางปีกออก แสดงว่าอุณหภูมิที่ใช้ในการกกนั้นสูง เกินไปหรือลูกไก่หนีไปนอนสุมรวมกันมุมใดมุมหน่ึงของพื้นท่ีกกอาจจะเกิดจากมีส่ิงรบกวนหรือลมโกรกหรือ อณุ หภมู ติ า่ เกนิ ไปต้องรีบตรวจสอบและทาการแกไ้ ขทนั ที อุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่กระทงในปัจจุบันมักจะใช้วิธีการกกท้ังโรงเรือนหรือใช้เคร่ืองกกแบบ Forced-air furnace brooder ซ่ึงจะทาให้อุณหภูมิภายในโรงเรือนใกล้เคียงกันท้ังหมด ฉะน้ันถ้าหากไก่มี ความรู้สึกว่าเย็นเกินไปหรือร้อนเกินไปก็ไม่สามารถหลบหนีไปอยู่ยังที่อ่ืนที่เหมาะสมกว่าได้ ดังนั้นการต้ัง อุณหภมู ใิ นช่วงแรกของการกกจะต้องตั้งให้ต่ากว่าอุณหภูมิของเคร่ืองกกแบบเฉพาะจุดเล็กน้อยประมาณ 1 °ซ คอื จะต้องต้งั อุณหภูมทิ ีร่ ะดับตัวไก่ไว้ท่ีประมาณ 88 °ฟ หรือ 31 °ซ ในช่วงสัปดาห์แรกของการกก นอกจากนี้ จากคู่มือแนะนาการเลี้ยงเล้ียงไก่กระทงสายพันธุ์ Cobb Broiler Management Guide (2013) แนะนา อณุ หภมู ิและความช้ืนสาหรบั การกกลกู ไก่ทม่ี าจากแม่พันธ์ุ 2 ช่วงอายุ ดังแสดงในตารางท่ี 4.3 ตารางที่ 4.3 ค่าความชน้ื สมั พทั ธแ์ ละอุณหภูมทิ แ่ี นะนาสาหรบั การเลยี้ งไก่กระทง อุณหภูมสิ ้าหรับลูกไก่ °ซ (°ฟ) อายุ (วัน) ความชืน้ สัมพทั ธ์ (%) ลูกไก่จากแมพ่ ันธอ์ุ ายุ ลูกไก่จากแม่พันธ์ุอายุ น้อยกวา่ 30 สัปดาห์ มากกวา่ 30 สปั ดาห์ 0 30-35 34 (93) 33 (91) 7 40-60 31 (88) 30 (86) 14 40-60 27 (81) 27 (81) 21 40-60 24 (75) 24 (75) 28 50-70 21 (70) 21 (70) 35 50-70 19 (66) 19 (66) 42 50-70 18 (64) 18 (64) ทีม่ า : Cobb Broiler Management Guide (2013) หน้า 21 หมายเหตุ : 1. ถา้ ความชน้ื สัมพัทธต์ ่ากว่าชว่ งท่แี นะนาให้เพ่มิ อณุ หภมู ขิ น้ึ อีกประมาณ 0.5-1.0 °ซ 2. ถ้าความช้ืนสัมพันธส์ ูงกวา่ ช่วงที่แนะนาให้ลดอณุ หภูมิลงประมาณ 0.5-1.0 °ซ 3. การสังเกตพฤติกรรมของลูกไก่ในระหว่างการกกจะให้ผลท่ีแม่นยาท่ีสุดว่าอุณหภูมิในขณะน้ัน เหมาะสมหรือไม่โดยสังเกตจากพฤติกรรมการกินอาหาร การกินน้า การพักผ่อน การเดิน การว่ิง การร้องและ การนอนสุมรวมกันหรอื ไม่ 4. แม่พันธ์ุที่อายุต่ากว่า 30 สัปดาห์ มักจะให้ฟองไข่ขนาดเล็กกว่าจึงทาให้ลูกไก่ที่ฟักออกมามีขนาด เล็กตามไปด้วย ลูกไก่ที่มีขนาดเล็กมักจะมีการผลิตความร้อนในร่างกายต่ากว่าลูกไก่ขนาดใหญ่ประมาณ 1 °ซ จึงตอ้ งเพมิ่ อณุ หภูมกิ กในช่วงสัปดาหแ์ รกขนึ้ ประมาณ 1 °ซ
การจดั การฟาร์มสัตวป์ ีก (ปรบั ปรงุ 2560) 43 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ตารางที่ 4.4 คา่ อณุ หภมู ทิ แี่ นะนาสาหรบั การใช้เคร่อื งกกแบบเฉพาะจดุ อุณหภูมิ °ซ (°ฟ) อายุ (วนั ) ใตเ้ ครือ่ งกก ขอบเครอ่ื งกก ห่างจากเคร่อื งกก ความช้นื สัมพทั ธ์ 2 เมตร 0 33 (91) 31 (88) 29 (84) 55-65 7 30 (86) 28 (82) 26 (79) 55-65 14 28 (82) 26 (79) 25 (77) 60-70 21 26 (79) 25 (77) 25 (77) 60-70 28 23 (73) 23 (73) 23 (73) 60-70 ท่มี า : Cobb Broiler Management Guide (2013) หนา้ 22 การกกลูกไก่ที่อุณหภูมิต่าจะทาให้ไก่กระทงมีอัตราการตายเน่ืองจากโรคท้องมาน (Ascites) สูงข้ึน เน่ืองจากเม่ืออุณหภูมิต่าจะกระตุ้นให้ไก่จะกินอาหารเพ่ิมข้ึนส่งผลให้ความต้องการก๊าซออกซิเจนเพิ่มข้ึนด้วย การเพ่ิมความต้องการก๊าซออกซิเจนและการเพ่ิมขบวนการเมตาบอลิซึมจากอาหารท่ีกินเข้าไปเพื่อรักษา อุณหภูมิร่างกายให้อบอุ่นส่งผลให้หัวใจและปอดทางานหนักข้ึนจึง มีโอกาสเกิดโรคท้องมานมากข้ึน ความสมั พันธ์ของอณุ หภูมิระหว่างการกกลูกไกก่ บั อัตราการตายและการเกิดโรคท้องมานแสดงในตารางที่ 4.5 และ 4.6 ตารางที่ 4.5 ผลของอณุ หภูมกิ กต่อน้าหนักตัวและอัตราการเปล่ียนอาหารในไกก่ ระทงเพศผู้อายุ 0-3 สัปดาห์ สัปดาห์ท่ี 1 อุณหภูมกิ ก °ฟ (°ซ) สัปดาหท์ ่ี 3 น้าหนักตวั (กรัม) FCR 802 a 1.35 a 95 (35.5) สัปดาห์ที่ 2 85 (29.4) 795 a 1.37 ab 90 (32.2) 80 26.7) 792 a 1.39 b 85 (29.4) 90 (32.2) 75 (23.9) 755 b 1.42 c 80 (26.7) 85 (29.4) 70 (21.1) 80 (26.7) 75 (23.9) ทีม่ า : Bell and Weaver (2002) หน้า 834 ตารางที่ 4.6 ผลของอุณหภูมกิ กต่ออตั ราการตายของไก่กระทงเนื่องมาจากโรคท้องมานเมื่ออายุ 6 สปั ดาห์ อุณหภูมิกก, °ฟ (°ซ) อัตราการตาย การตายเนอ่ื งจากโรค สปั ดาหท์ ี่ 1 สปั ดาห์ที่ 2 สัปดาห์ท่ี 3 (%) ท้องมาน (%) 2.29 a 0.83 a 95 (35.5) 90 (32.2) 85 (29.4) 3.12 a 0.83 ab 90 (32.2) 85 (29.4) 80 26.7) 1.69 a 0.62 b 85 (29.4) 80 (26.7) 75 (23.9) 4.79 b 2.50 c 80 (26.7) 75 (23.9) 70 (21.1) ที่มา : Bell and Weaver (2002) หน้า 835
การจดั การฟาร์มสัตว์ปกี (ปรบั ปรุง 2560) 44 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ระหว่างการกกเราสามารถแบ่งพื้นท่ีบางส่วนภายในโรงเรือนเพ่ือใช้สาหรับกกลูกไก่ได้ โดยการใช้ ผ้าม่าน ตาข่าย หรือแผงกันกกกั้นแบ่งเป็นห้องโดยใช้พื้นท่ีประมาณ 2 ใน 3 ของโรงเรือนเพ่ือกกลูกไก่ใน ชว่ งแรก จากนั้นจึงขยายพื้นที่กกให้ไก่กระจายไปท่ัวทั้งโรงเรือนเมื่อลูกไก่อายุได้ประมาณ 7-10 วัน ในช่วงฤดู ร้อนหรือประมาณ 10-14 วันในช่วงฤดูหนาว พื้นที่การกกลูกไก่ 50-60 ตัว/ตร.ม. ในช่วงฤดูหนาว และ ประมาณ 40-50 ตัว/ตร.ม. ในชว่ งฤดรู ้อน การระบายอากาศระหวา่ งการกกลกู ไก่ การระบายอากาศมีวัตถุประสงค์เพื่อกาจัดก๊าซพิษและความชื้นส่วนเกินออกจากโรงเรือนและจัดหา อากาศบริสุทธิ์ที่มีคุณภาพดีให้กับลูกไก่ที่อยู่ภายในโรงเรือนเพื่อให้มีปริมาณออกซิเจนเพียงพอและมีความชื้น เหมาะสม โดยจะต้องมีปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Co2) ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ก๊าซแอมโมเนีย และปริมาณฝุ่นต่าท่ีสุด Cobb Broiler Management Guide (2013) แนะนาคุณภาพของอากาศท่ีเหมาะสม สาหรับการเล้ียงไก่กระทงดังแสดงในตารางท่ี 4.7 และความเร็วลมจะต้องเป็นไปตามคาแนะนาในตารางท่ี 4.8 และ Arbor Acres Plus Aviagent (2009) แนะนาปริมาณความต้องการการระบายอากาศขั้นต่าสุดซึ่ง แสดงในตารางที่ 4.9 ตารางท่ี 4.7 คณุ ภาพของอากาศภายในโรงเรือนทีเ่ หมาะสมสาหรับการเลย้ี งไก่กระทง กา๊ ซ ปริมาณ ออกซิเจน ไม่นอ้ ยกว่า 19.6% คารบ์ อนไดออกไซด์ ไม่เกิน 0.3% หรือ 3,000 ppm ถ้าเกิน 3,500 ppm จะ ก่อใหเ้ กิดโรคท้องมานและถ้าสูงมาก ๆ จะทาให้ไกต่ ายได้ คารบ์ อนมอนอกไซด์ ไมเ่ กิน 10 ppm - มากกว่า 100 ppm ลดประสิทธิภาพการขนส่ง ออกซเิ จน แอมโมเนีย ไม่เกิน 10 ppm (สามารถรับรกู้ ลิน่ ไดท้ ่ี 20 ppm) - มากกวา่ 10 ppm จะทาลายผิวปอด - มากกว่า 20 ppm ทาให้ไวต่อการติดเช้ือในระบบ ทางเดินหายใจ - มากกว่า 50 ppm อตั ราการเจรญิ เติบโตลดลง ความชืน้ สัมพัทธ์ 45-65% (ผลของความชื้นสัมพัทธ์จะขึ้นกับอุณหภูมิ ถ้า อุณหภูมิสูงกว่า 29 °ซ (84 °ฟ) และความชื้นสัมพัทธ์เกิน 70% จะทาใหอ้ ตั ราการเจริญเติบโตลดลง) ฝุ่น ไม่เกิน 3.4 มิลลิกรัม/ลบ. เมตร (ทาลายระบบทางเดิน หายใจและไวต่อการตดิ เชื้อโรคในระบบทางเดินหายใจ) ที่มา : Cobb; Broiler Management Guide (2013) หน้า 9 และ Arbor Acres Plus Aviagent (2009) หน้า 32
การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก (ปรบั ปรงุ 2560) 45 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ระหว่างการกกลูกไก่นอกจากจะคานึงถึงอัตราการระบายอากาศและอุณหภูมิที่เหมาะสมแล้วยังต้อง คานงึ ถึงความเร็วอีกด้วย เนื่องจากลูกไก่จะไวต่อความเร็วลมมากและอาจจะเกิดภาวะ Wind-chill effect ได้ โดยเฉพาะในลกู ไก่เลก็ ดงั น้นั ความเร็วลมจะตอ้ งไม่มากจนเกินไป ตารางที่ 4.8 คา่ ความเร็วลมสงู สดุ ท่พี ดั ผ่านตวั ไก่ (ไมค่ วรเกนิ ) อายุ (วัน) เมตร/วินาที ฟตุ /นาที 0-14 0.3 60 15-21 0.5 100 22-28 0.875 175 มากกว่า 28 1.75-3.0 350-600 ทีม่ า : Cobb; Broiler Management Guide (2013) หน้า 17 ตารางที่ 4.9 ปริมาณความต้องการการระบายอากาศต่าสุด (Minimum ventilation) ที่แนะนาสาหรับไก่ กระทง อายุ (วัน) ลม. เมตร/ชั่วโมง/ตัว ลบ. ฟุต/นาที/ตวั 0-7 0.16 0.10 8-14 0.42 0.25 15-21 0.59 0.35 22-28 0.84 0.50 29-35 0.93 0.55 36-42 1.18 0.70 43-49 1.35 0.80 50-56 1.52 0.90 ทม่ี า : Arbor Acres Plus Aviagent (2009) หนา้ 34 อุปกรณ์ให้อาหาร (Feeder) การให้อาหารลูกไก่ในระยะกกนิยมให้อาหารในถาดอาหารสาหรับลูกไก่และจะให้ทีละน้อยแต่จะให้ บ่อยคร้ังเพ่ือเป็นการกระตุ้นให้ลูกไก่กินอาหารได้มากขึ้น เมื่อไก่โตข้ึนก็จะเปลี่ยนมาใช้วิธีการให้อาหารโดย ระบบอัตโนมัติ ซ่ึงมักจะใช้ระบบจาน (Pan feeder) หรืออาจจะใช้แบบราง (Trough feeder) ปัจจุบันใน อุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่กระทงมักจะนิยมใช้อุปกรณ์ให้อาหารแบบจาน (Pan feeder) มากกว่า เนื่องจากไก่ สามารถเคลื่อนท่ีได้อิสระกว่าและสามารถเพ่ิมพ้ืนท่ีการกินอาหารได้มากกว่าการให้อาหารแบบราง จานวนไก่ ต่อจานอาหารจะขึ้นอยูก่ บั รปู แบบและขนาดของจาน เช่น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 12 นิ้ว จะใช้ในอัตราส่วน 1 จาน/ไก่กระทง 50-75 ตัว แต่ถ้าหากเป็นการเล้ียงไก่เพื่อจับขายเป็นไก่ใหญ่ท่ีมีน้าหนักตัวมากกว่า 3.7 กก.ก็ อาจจะใชส้ ัดสว่ นทีน่ ้อยกว่าน้ี การปรับระดับความสงู ของอปุ กรณ์ให้อาหารให้เหมาะสมกับขนาดและอายุไก่ที่เล้ียงเป็นส่ิงสาคัญมาก ถ้าหากผู้เล้ียงปรับระดับไม่เหมาะสมจะทาให้ไก่กินอาหารไม่สะดวกและมีอาหารหกหล่นมาก ในการเลี้ยงไก่ กระทงจึงควรปรับระดับของอุปกรณ์ให้อาหารให้อยู่ในระดับเดียว กันกับหลังของไก่จะเหมาะสมที่สุด ซึ่งเป็น ระดบั ทไี่ กส่ ามารถยนื กินอาหารได้สะดวกท่สี ดุ และมกี ารคุ้ยเขีย่ อาหารนอ้ ยท่ีสดุ
การจดั การฟารม์ สัตว์ปีก (ปรบั ปรุง 2560) 46 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ภาพที่ 4.5 การปรบั ระดับความสงู ของจานอาหาร (Pan feeder) โดยให้อยใู่ นระดับเดยี วกบั หลงั ไก่ ทีม่ า : Arbor Acres; Broiler Management Guide (2009) หนา้ 23 จานวนแถวของการติดต้ังถาดอาหารจะตอ้ งสมั พนั ธก์ บั ความกว้างของโรงเรือน ดงั น้ี ความกวา้ งของโรงเรือน จา้ นวนแถวถาดอาหาร ไมเ่ กิน 13 เมตร 2 แถว 13-15 เมตร 3 แถว 16-20 เมตร 4 แถว 21-25 เมตร 5 แถว พ้นื ที่การให้อาหารไก่กระทงท่ีเหมาะสมในแต่ละช่วงอายุของไก่ควรกาหนดให้ไม่น้อยกว่าค่าที่แนะนา ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. อายุ 1-14 วัน พน้ื ทใี่ หอ้ าหาร (ความยาว) ไม่นอ้ ยกว่า 1 น้ิว 2. อายุ 14-42 วัน พื้นท่ใี ห้อาหาร (ความยาว) ไมน่ อ้ ยกวา่ 1.75 น้วิ 3. อายุ 42 วนั ขึ้นไป พื้นที่ให้อาหาร (ความยาว) ไมน่ ้อยกว่า 3 นว้ิ การใหอ้ าหาร รูปแบบของอาหาร (Feed form) สาหรับไก่กระทงน้ันนิยมให้อาหารแบบอัดเม็ด (Pellet) แต่ในช่วง ท่ีไก่ยังเล็กอยู่หรือในช่วง 2 สัปดาห์แรกมักจะให้อาหารแบบเม็ดบี้แตกหรืออาหารเกล็ด (Crumble) เพื่อให้ ลูกไก่สามารถจิกกินอาหารได้สะดวกข้ึน เม่ือไก่อายุมากขึ้นก็สามารถใช้อาหารอัดเม็ดขนาดใหญ่ข้ึนได้ อาหาร อัดเม็ดสาหรับไก่กระทงระยะไก่รุ่นท่ีเหมาะสมควรจะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.0-3.5 มิลลิเมตร อาหารไกใ่ หญแ่ ละอาหารก่อนส่งตลาดควรจะมีขนาดเส้นผ่าศนู ย์กลางประมาณ 3.5 มลิ ลิเมตร การอัดเม็ดอาหารจะทาให้ไก่กินอาหารได้มากขึ้น อัตราการไหลผ่านของอาหารในระบบทางเดิน อาหารช้าลง นอกจากนี้ ในกระบวนการผลติ อาหารอัดเมด็ นั้นจะเกิดความร้อนข้ึนทาให้สามารถฆ่าเชื้อโรคบาง ชนิดที่อาจจะก่อโรคไดโ้ ดยเฉพาะเชอ้ื Salmonella spp. นอกจากนี้ ความร้อนจากการอดั เมด็ ยังทาให้วัตถุดิบ บางชนิดสกุ ทาให้สัตว์สามารถย่อยและดูดซมึ ไดด้ ขี นึ้
การจดั การฟารม์ สัตวป์ กี (ปรับปรงุ 2560) 47 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย วิธกี ารใหอ้ าหารไกก่ ระทง การใหอ้ าหารไก่กระทงจะแบง่ อาหารตามระยะการเจริญเติบโตของไก่ ซ่ึงโดยทั่วไปจะแบ่งออกเป็น 3 ระยะ คือ ไก่เลก็ (Starter) ไก่รนุ่ (Grower) และไกใ่ หญ่ (Finisher) โปรแกรมการเปล่ียนสูตรอาหารตามระยะ การเจริญเติบโตของไก่นั้นจะแตกต่างกันข้ึนกับอายุท่ีจะจับส่งโรงงานชาแหละ ถ้าหากจับไก่ส่งตลาดหรือส่ง โรงงานชาแหละเม่ืออายยุ งั น้อยมกั จะใช้สูตรอาหารเพียง 4 สูตร (ระยะ) แต่ถ้าเลี้ยงเพื่อขายเป็นไก่ใหญ่ก็จะใช้ ระยะเวลาในการเลยี้ งนานกว่าก็มกั จะใช้สูตรอาหาร 5 สูตร การแบง่ สตู รอาหารและช่วงอายุท่ีใช้ในการเล้ียงไก่ ของอาหารแต่ละสูตรดังแสดงในตารางท่ี 4.10 โดยแต่ละช่วงจะจัดเตรียมอาหารไว้ให้ไก่ในปริมาณที่แตกต่าง กนั ได้แก่ 1. ระยะแรก (Starter) ใชอ้ าหารอาหารไกเ่ ล็ก (Starter diet) ประมาณ 12% 2. ระยะไกร่ นุ่ (Grower) ใช้อาหารไกร่ นุ่ (Grower diet) ประมาณ 33% 3. อาหารไกร่ ะยะสุดท้าย (Finisher diet) ใชอ้ าหารประมาณ 25% และ 4. อาหารก่อนสง่ ตลาด (Withdrawal diet) ใชป้ ระมาณ 30% ของปริมาณอาหารท้ังหมด ตารางที่ 4.10 การแบ่งสูตรอาหารและชว่ งอายทุ ี่ใช้เลีย้ งไก่กระทง สูตรอาหาร อายทุ ใ่ี ช้เล้ียงไก่ (วนั ) โปรแกรมให้อาหาร 4 สูตร โปรแกรมให้อาหาร 5 สตู ร อาหารไก่เลก็ (Starter) 1-18 1-18 อาหารไก่รุ่น (Grower) 19-30 19-30 อาหารไกใ่ หญ่ (Finisher) 31- 31-35 อาหารก่อนสง่ ตลาด#1 - 36- (Withdrawal diet#1) อาหารก่อนส่งตลาด#2 5 วนั สุดท้าย 5 วนั สุดท้าย (Withdrawal diet#2) ทมี่ า : Bell and Weaver (2002) หนา้ 244 อาหารสา้ หรับไก่กระทงกอ่ นส่งตลาดหรอื กอ่ นส่งโรงงานชา้ แหละ (Withdrawal period) เพือ่ ป้องกันไมใ่ หม้ ยี าปฏิชีวนะและสารเสริมเพื่อเร่งการเจริญเติบโตตกค้างอยู่ในเน้ือไก่และผลิตภัณฑ์ จากเนื้อไก่ซึ่งอาจจะส่งผลเสียต่อผู้บริโภคได้ ดังน้ัน อาหารท่ีจะใช้เล้ียงไก่กระทงในระยะสุดท้ายของการเลี้ยง จึงจาเปน็ ต้องใช้อาหารสตู รท่ีไม่มกี ารผสมยาปฏชิ วี นะและสารเสริมเพื่อเร่งการเจริญเติบโตใด ๆ ทั้งสิ้น ซึ่งโดย ปกติแล้วยาปฏิชีวนะและสารเสริมเพื่อเร่งการเจริญเติบโตท่ีใช้ในสูตรอาหารมักจะถูกขับออกจากร่างกายได้ หมดภายในเวลา 3-5 วนั ดงั นนั้ กอ่ นท่ีจะจับไก่กระทงส่งตลาดหรือส่งโรงงานชาแหละจึงจาเป็นต้องให้อาหาร ท่ไี มม่ ีการผสมยาปฏิชีวนะและสารเสริมต่าง ๆ อย่างน้อย 5 วัน อาหารท่ีไม่มีสารเสริมนี้เรียกว่า Withdrawal diet การใช้ไขมนั ในอาหารไก่กระทง การสะสมไขมันในซากในสัดส่วนท่ีเหมาะสมจะทาให้ซากไก่มีคุณภาพดีข้ึนและเป็นท่ีต้องการของ ผู้บริโภค แต่ถ้ามีไขมันสะสมในซากมากเกินไปก็จะทาให้เกิดผลเสียได้ ไตรกลีเซอไรด์ (Triglyceride) เป็น
การจดั การฟารม์ สัตวป์ ีก (ปรบั ปรุง 2560) 48 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ไขมันชนิดหลักที่สะสมอยู่ในกล้ามเนื้อของไก่กระทง ในจานวนนี้ประมาณ 95% ของไตรกลีเซอไรด์จะมาจาก อาหารท่ีไก่กินเข้าไปและอีกประมาณ 5% ได้มาจากการสังเคราะห์ข้ึนในร่างกาย ไขมันท่ีได้รับจากอาหารจะ ถกู ส่งไปสะสมอย่ตู ามเนอื้ เย่อื สว่ นตา่ ง ๆ ของรา่ งกายในรปู ของไลโปโปรตีน (Lipoprotein) ค่าพลังงานรวมที่ได้จากไขมันมีค่ามากกว่าที่ได้จากคาร์โบไฮเดรตและโปรตีนประมาณ 2.25 เท่า ดังนน้ั การเพ่ิมปริมาณพลังงานในอาหารจึงมักจะใช้วิธีการเพิ่มไขมันลงไปเพื่อให้อาหารมีระดับพลังงานตามท่ี ต้องการ อย่างไรก็ตาม ไขมันในอาหารจะมีผลทาให้อัตราการไหลผ่านของอาหารในระบบทางเดินอาหาร (Transit time) ช้าลงส่งผลให้ไก่มีเวลาในการย่อยอาหารนานขึ้นจึงทาให้ประสิทธิภาพในการย่อยอาหารดีข้ึน โดยท่ัวไปแล้วในอาหารไก่กระทงสามารถเติมไขมันลงได้ประมาณ 2-4% ถ้าเติมไขมันลงไปในอาหารมากกว่าน้ี จะมีปัญหาเก่ยี วกบั การอัดเมด็ แตถ่ ้าหากมกี ารเตมิ ไขมันในอาหารโดยวิธีการสเปรย์ลงในอาหารในขณะที่กาลัง อดั เม็ดจะทาให้สามารถเพม่ิ ไขมนั ในอาหารได้ถึง 8% ช่วงท่ีอากาศร้อนจะทาให้ไก่กินอาหารได้ลดลงเม่ือเทียบกับช่วงท่ีมีอากาศเย็นจึงส่งผลให้ไก่ได้รับ ปรมิ าณโปรตีนและโภชนะอ่ืนไมเ่ พยี งพอกบั ความต้องการของไก่ตามที่คานวณไว้ในสูตรอาหาร เนื่องจากไขมัน เป็นโภชนะที่ย่อยได้ง่ายและใช้พลังงานเพื่อการย่อยต่า (มีค่า Heat increment ต่า) ดังนั้น ในช่วงฤดูร้อนจึง ควรใชไ้ ขมันเป็นแหลง่ วัตถุดิบพลังงานสาหรับไก่กระทงแทนการใช้พลังงานจากเมล็ดธัญพืช เช่น ข้าวโพดหรือ ปลายข้าว โปรตนี ในอาหารไกก่ ระทง (Protein in broiler diet) ความต้องการโปรตีนสาหรับไก่กระทงนั้นมิได้ต้องการเพียงเฉพาะโปรตีนรวมเท่านั้น แต่จะเป็นความ ต้องการกรดอะมิโนชนิดต่าง ๆ ให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายในแต่ละวัน ข้อมูลที่แนะนาโดย NRC (1994) ระบุไว้ว่า ไก่กระทงจะต้องได้รับโปรตีนในปริมาณท่ีเพียงพอท่ีจะใช้ในการสังเคราะห์กรดอะมิโนท่ีไม่ จาเป็นด้วย นอกเหนือจากกรดอะมิโนท่ีจาเป็นท่ีจะต้องได้รับจากอาหาร ซ่ึงปัจจัยท่ีมีผลต่อความต้องการ โปรตนี ไดแ้ ก่ อายุ เพศ และระดบั พลังงานในอาหาร เป็นตน้ การระบคุ วามตอ้ งการพลังงานตามอัตราสว่ นพลงั งานตอ่ โปรตีน การระบคุ า่ ความต้องการโภชนะแบบน้ีจะเป็นการระบคุ วามสัมพันธ์ระหว่างระดับพลังงานและโปรตีน ซ่งึ สามารถคานวณไดจ้ ากสตู ร 1. หน่วยเป็นปอนด์ คานวณได้จากค่า kcal MEn/lb อาหารหารด้วยระดับโปรตีน (%) เช่น อาหารมีคา่ พลังงานเทา่ กับ 1,400 kcal/lb มีค่าโปรตีนเท่ากับ 22% อาหารน้ีจะมีค่าสัดส่วนพลังงาน : โปรตีน จะเท่ากับ 63.0 2. หน่วยเป็นกิโลกรัม คานวณได้จากค่า kcal MEn/kg ในอาหารหารด้วยระดับโปรตีน (%) เช่น ในอาหารมีพลังงานเท่ากับ 3,080 kcal/kg และมีโปรตีนเท่ากับ 22% อาหารน้ีจะมีสัดส่วนพลังงาน : โปรตนี เทา่ กบั 140.0 สัดส่วนของพลังงาน : โปรตีนในอาหารจะต้องเพ่ิมขึ้นเม่ือไก่อายุมากขึ้น เนื่องจากไก่อายุมากจะมี ความตอ้ งการพลังงานมากข้ึน ในขณะทีค่ วามต้องการโปรตีนกลบั ลดลง ถา้ หากมีการเปลย่ี นแปลงระดับโปรตีน หรือระดับพลังงานอย่างใดอย่างหน่ึงในสูตรอาหารก็ควรจะมีการปรับระดับโภชนะอ่ืนตามไปด้วยเพื่อให้ สัดส่วนของพลังงาน : โปรตีนยังคงเดิม ถ้าไม่มีการปรับระดับโภชนะอื่นตามไปด้วยก็อาจจะทาให้ไก่กระทง ไดร้ ับโภชนะบางอยา่ งมากเกนิ ไปในขณะท่ีปรมิ าณโภชนะบางอยา่ งท่ีไดร้ บั อาจจะขาดก็ได้
การจดั การฟารม์ สตั ว์ปกี (ปรบั ปรุง 2560) 49 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ปจั จบุ นั นักโภชนะศาสตร์บางส่วนเร่ิมคานงึ ถึงเร่ืองของสัดส่วนของพลังงาน : โปรตีนในอาหารน้อยลง แต่จะให้ความสนใจเก่ียวกับสัดส่วนของกรดอะมิโน : พลังงานมากกว่า โดยจะมีการคานวณออกมากเป็นค่า ปริมาณกรดอะมิโน (มิลลิกรัม) : พลังงาน (Mcal) หรือเปอร์เซ็นต์กรดอะมิโน : พลังงาน แต่ยังไม่แพร่หลาย มากนัก ความตอ้ งการโภชนะในอาหารไก่กระทง ปัจจุบันนักโภชนศาสตร์มีความรู้เกี่ยวกับการประกอบสูตรอาหารไก่กระทงให้มีปริมาณโภชนะแต่ละ ชนิดในระดบั ทส่ี ่งผลให้มกี ารเจรญิ เติบโตทีด่ ที ส่ี ดุ มีประสทิ ธภิ าพการใช้อาหารดีที่สุด ความต้องการโภชนะของ ไก่กระทงนั้น NRC (1994) ได้แนะนาไว้ดังแสดงในตารางที่ 4.11 นอกจากน้ี บริษัทผู้ผลิตสายพันธ์ุไก่กระทง เพื่อการค้าก็ได้แนะนาปริมาณความต้องการโภชนะของไก่กระทงท่ีตนเองพัฒนาและผลิตออกจาหน่ายด้วย เช่นกัน ซ่ึงค่าความต้องการโภชนะนี้ใช้เป็นค่าอ้างอิงเท่าน้ัน ดังแสดงในตารางที่ 4.12 – 4.13 อย่างไรก็ตาม การจะประมาณค่าความต้องการโภชนะท่ีถูกต้องน้ันจะต้องมีการปรับอย่างละเอียดอีกคร้ังเพื่อให้เหมาะสมกับ ไกท่ ่เี ล้ียงในแตล่ ะสภาพพ้ืนที่ ตารางที่ 4.11 คา่ ความตอ้ งการโภชนะสาหรบั ไก่กระทง (ในอาหารมีคา่ วัตถแุ ห้ง 90%) โภชนะ อายุ 0-3 สัปดาห์ อายุ 3-5 สปั ดาห์ อายุ 6-8 สัปดาห์ 3,200 พลังงาน, MEn kcal/kg 3,200 3,200 18.00 Protein and amino acids 1.0 0.97 Crude protein, % 23.00 20.00 0.27 0.62 Arginine, % 1.25 1.1 0.93 0.83 Glycine+serine, % 1.25 1.14 0.32 0.60 Histidine, % 0.35 0.32 0.56 1.94 Isoleucine, % 0.80 0.73 0.46 0.68 Leucine, % 1.20 1.09 0.16 0.70 Lysine, % 1.10 1.00 1.00 Methionine, % 0.50 0.38 0.80 Methionine+cysteine, % 0.90 0.72 Phenylalanine, % 0.72 0.65 Phenylalanine+tyrosine, % 1.34 1.22 Proline, % 0.60 0.55 Threonine, % 0.80 0.74 Tryptophan, % 0.20 0.18 Valine, % 0.90 0.82 Fat Linoleic acid, % 1.00 1.00 Macrominerals Calcium, % 1.00 0.90
การจดั การฟารม์ สตั ว์ปีก (ปรบั ปรงุ 2560) 50 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย โภชนะ อายุ 0-3 สปั ดาห์ อายุ 3-5 สัปดาห์ อายุ 6-8 สปั ดาห์ Chlorine, % 0.20 0.15 0.12 Magnesium, mg 600 600 600 Nonphytate phosphorus, % 0.45 0.35 0.30 Potassium, % 0.30 0.30 0.30 Sodium, % 0.20 0.15 0.12 Trace minerals Copper, mg 88 8 Iodine, mg 0.35 0.35 0.35 Iron, mg 80 80 80 Manganese, mg 60 60 60 Selenium, mg 0.15 0.15 0.15 Zinc, mg 40 40 40 Fat soluble vitamins A, IU 1,500 1,500 1,500 D3, ICU 200 200 200 E, IU 10 10 10 K, mg 0.50 0.50 0.50 Water soluble vitamins B12, mg 0.01 0.01 0.007 Biotin, mg Choline, mg 0.15 0.15 0.15 Folic acid, mg Niacin, mg 1,300 1,000 750 Pantothenic acid, mg Pyridoxine, mg 0.55 0.55 0.50 Riboflavin, mg Thiamin, mg 35 30 25 ทม่ี า : NRC (1994) หนา้ 27 10 10 10 3.5 3.5 3.0 3.6 3.6 3.0 1.8 1.8 1.8
การจัดการฟาร์มสตั ว์ปีก (ปรบั ปรงุ 2560) 51 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ตารางท่ี 4.12 แสดงปรมิ าณโภชนะบางชนิดที่แนะนาสาหรับไกก่ ระทงสายพนั ธุ์ Cobb-500 โภชนะ Starter Grower Finisher 1 Finisher 2 0-10 วัน 11-22 วัน 23-42 วนั 43- จบั ขาย พลงั งาน, kcal ME/kg 3,035 3,108 3,180 3,203 17-18 Protein, % 21-22 19-20 18-19 1.00 0.41 Lysine, % 1.32 1.19 1.05 0.78 0.68 Methionine, % 0.50 0.48 0.43 0.77 1.08 Methionine+cysteine, % 0.98 0.89 0.82 Threonine, % 0.86 0.78 0.71 Valine, % 1.00 0.91 0.81 Arginine, % 1.38 1.25 1.13 ทม่ี า : Cobb (2012) ตารางท่ี 4.13 ปริมาณโภชนะทแี่ นะนาสาหรับไกก่ ระทงสายพันธ์ุ Aber Acres ขนงอกเร็วเลยี้ งแบบคละเพศ โภชนะ Starter Grower Finisher 1 Finisher 2 0-10 วนั 11-24 วนั 25-39 วนั 40-จบั ขาย พลงั งงาน, kcal ME/kg 3,000 3,100 3,200 3,200 Protein, % 23.0 21.5 19.5 18.3 Lysine, % 1.44 1.29 1.15 1.08 Methionine, % 0.56 0.51 0.47 0.44 Methionine+cysteine, % 1.08 0.99 0.90 0.85 Threonine, % 0.97 0.89 0.78 0.73 Valine, % 1.10 1.00 0.89 0.84 Arginine, % 1.52 1.37 1.21 1.14 ท่ีมา : Arber Acres plus (2014) อย่างไรก็ตาม ผู้ผลิตสายพันธ์ุไก่กระทง เช่น Cobb และ Aber Acres ได้แนะนาระดับโภชนะที่ เหมาะสมสาหรับไกส่ ายพันธุข์ องตนเองสงู กว่าทแี นะนาโดย NRC (1994) เพือ่ ให้ไก่กระทงมีการเจริญเติบโตท่ีดี ท่สี ดุ และมีปริมาณเนอ้ื ท่ีสามารถบรโิ ภคได้สงู ทีส่ ดุ สัดส่วนกรดอะมโิ นในอดุ มคติส้าหรับไกก่ ระทง การนากรดอะมิโนแต่ละชนิดไปใช้ประโยชน์สูงสุดนั้นในอาหารจะต้องมีกรดอะมิโนแต่ละชนิดใน สดั ส่วนท่ีเหมาะสม เน่ืองจากกรดอะมิโนบางชนิดถ้ามีมากเกินไปจะไปขัดขวางหรือยับย้ังการใช้ประโยชน์ของ กรดอะมิโนอีกชนิดหนึ่งได้ เรียกว่า Amino acid antagonism ดังน้ัน Emmert and Baker (1997) ได้เสนอ แนวคิดสดั สว่ นของกรดอะมโิ นในอุดมคติ (Ideal amino acid profile) สาหรบั ไกก่ ระทงในแต่ละช่วงอายุไว้ดัง แสดงในตารางท่ี 4.14 และบริษทั ผผู้ ลิตไกก่ ระทงสายพนั ธุ์ Cobb ก็เสนอค่าแนะนาสาหรับสัดส่วนกรดอะมิโน ด้วย ดังแสดงในตารางท่ี 4.15
การจดั การฟารม์ สัตวป์ ีก (ปรับปรงุ 2560) 52 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ตารางท่ี 4.14 แสดง University of Illinois ideal ratios สาหรบั กรดอะมโิ นในอาหารไกก่ ระทง 3 ระยะ กรดอะมโิ น 0-21 วัน 21-42 วนั 42-56 วนั ------------------------------------% ของไลซนี -------------------------------------- Lysine 100 100 100 Methionine+cysteine 72 75 75 - Methionine 36 37 37 - Cysteine 36 38 38 Threonine 67 70 70 Valine 77 80 80 Arginine 105 108 108 ทม่ี า : Emmert and Baker (1997) ตารางท่ี 4.15 สัดส่วนกรดอะมโิ นท่ีจาเปน็ ในอุดมคติท่แี นะนาสาหรบั ไกก่ ระทงสายพันธ์ุ Cobb 500 กรดอะมิโน Starter Grower Finisher 1 Finisher 2 0-10 วัน 11-22 วัน 23-42 วัน 43- จบั ขาย Lysine 100 100 100 100 Methionine 38 40 41 41 Methionine+cysteine 74 76 78 78 Tryptophan 16 16 18 18 Threonine 65 66 68 68 Arginine 105 105 108 108 Valine 75 76 77 77 ทีม่ า : Cobb (2012) อุปกรณ์ใหน้ ้าไก่กระทง (Waterer) ผู้เล้ียงจะต้องจัดเตรียมน้าให้ไว้ให้ไก่ได้ด่ืมกินอย่างเพียงพอท้ังปริมาณน้า พื้นท่ีการให้น้าและจานวน อปุ กรณใ์ ห้น้า การติดตามและบันทึกปริมาณนา้ ทไ่ี ก่ด่ืมในแต่ละวันของไก่กระทงที่เรากาลังเล้ียงอยู่น้ันสามารถ ใช้เป็นข้อมูลเปรียบเทียบกับไก่กระทงในฝูงท่ีผ่านมาหรือเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานของสายพันธ์ุไก่ท่ีเรา กาลังเล้ยี งและสามารถใช้เปน็ ดัชนตี ดิ ตามสุขภาพของไก่หรือใช้เป็นตัวบ่งช้ีถึงปัญหาท่ีอาจจะเกิดขึ้นกับไก่ท่ีเรา กาลังเลยี้ งอยู่ได้ โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงปญั หาเกยี่ วกบั การจดั การ การเล้ียงไก่กระทงจะต้องมีน้าท่ีสะอาดและเย็นให้ไก่ได้กินตลอดเวลา ถ้าไก่ได้รับน้าไม่เพียงพอจะ ส่งผลให้การกินอาหารลดลงและจะส่งเสียต่อไปยังการเจริญเติบโตจะลดลงตามมา อุปกรณ์ให้น้าสาหรับไก่ กระทงท่ีนิยมใช้ได้แก่ 1. ถังน้าอัตโนมัติรูประฆัง (Automatic bell shape drinker) ถังน้าอัตโนมัติแบบน้ีมีต้นทุนใน การติดตั้งค่อนข้างต่า แต่มักจะมีปัญหาวัสดุรองพื้นเปียกและการป้องกันน้าสกปรกจากการปนเป้ือนอาหาร และวัสดุรองพ้ืนทาได้ยาก จึงจาเป็นจะต้องมีการทาความสะอาดทุกวันอย่างน้อยวันละครั้งและจะต้องเทน้าท่ี ค้างอยู่ในถงั ออกหลงั จากทาความสะอาดจงึ ทาใหส้ นิ้ เปลืองท้ังแรงงานและสิ้นเปลอื งนา้
การจดั การฟารม์ สตั ว์ปกี (ปรบั ปรุง 2560) 53 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย การตดิ ตง้ั การใช้ถังน้าอัตโนมัติรูประฆังจะมีพื้นที่การกินน้าอย่างน้อย 0.6 เซนติเมตรหรือ 0.24 นิ้ว/ตัว และ จะต้องติดตัวถ่วงน้าหนัก (Ballasted) ไวด้ ้านในเพ่อื เปน็ ตวั ถว่ งน้าหนักไมใ่ ห้ถงั น้าแกวง่ ในขณะท่ีไก่กาลงั ด่มื นา้ การจดั การ การปรบั ระดับความสูงของถงั น้าจะตอ้ งใหเ้ หมาะสมกบั การเจริญเติบโตของไก่กระทง โดยจะต้องปรับ ให้ขอบถังอยู่ในระดับเดียวกับหลังไก่ ปรับระดับน้าให้ต่ากว่าขอบถังไม่เกิน 0.5 เซนติเมตรหรือ 0.2 น้ิวในไก่ อายุ 1 วัน และจากนั้นจะค่อย ๆ ลดระดับความลึกของน้าลงให้เหลือประมาณ 1.25 เซนติเมตรหรือ 0.5 นิ้ว เม่ือไก่อายุได้ประมาณ 7 วัน คุณภาพของวัสดุรองพ้ืนใต้ถังน้าจะเป็นตัวบ่งช้ีความถูกต้องของการจัดการ เช่น ถ้าวัสดุรองพื้นใต้ถังน้าเปียกแสดงว่าเกิดความผิดปกติข้ึนซึ่งอาจจะเกิดจากสาเหตุต่าง ๆ ได้แก่ แรงดันน้า ภายในท่อสูงเกินไปหรือแขวนถังน้าต่าเกินไปหรือน้าหนักตัวถ่วงน้าหนักของถังไม่เพียงพอ เป็นต้น แต่ถ้าวัสดุ รองพื้นใต้ถังน้าแห้งสนิทแสดงว่าแรงดันน้าภายในท่อน้าอาจจะต่าเกินไปจนทาให้น้าไหลออกมาน้อยจ นทาให้ ไกม่ นี า้ ดม่ื ไม่เพยี งพอ 2. นปิ เปิล (Nipple) นปิ เปิลทีน่ ิยมใช้ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไกก่ ระทงจะมีอยู่ 2 แบบ ไดแ้ ก่ 2.1 นิปเปิลที่มีอัตราการไหลของน้าสูง (High flow rate nipple) นิปเปิลแบบนี้จะมี อัตราการไหลของน้าประมาณ 80-90 มิลลิลิตร/นาที นิปเปิลแบบนี้จาเป็นจะต้องมีถ้วยรองใต้หัวนิปเปิลเพื่อ รองรบั น้าทไี่ หลออกจากหวั นปิ เปลิ อตั ราการใช้นิปเปลิ แบบน้จี ะอยูท่ ีป่ ระมาณ 12 ตวั /นปิ เปลิ 2.2 นิปเปิลที่มีอัตราการไหลของน้าต้่า (Low flow rate nipple) นิปเปิลแบบน้ีจะมี อัตราการไหลของน้าประมาณ 50-60 มิลลิลิตร/นาที นิปเปิลแบบนี้ไม่จาเป็นจะต้องมีถ้วยรองรับน้าใต้หัวนิป เปิล อัตราการใช้ประมาณ 10 ตัว/นปิ เปิล การติดตั้ง หัวนิปเปลิ แตล่ ะหัวไม่ควรตดิ ต้ังให้หา่ งกนั เกนิ 35 เซนติเมตรหรือ 14 นิ้ว และจะต้องปรับระดับความ สูงของนิปเปิลให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของไก่กระทงด้วย โดยจะต้องปรับระดับให้ไก่ได้ยืดตัวขึ้น เลก็ นอ้ ยเพอื่ จิกหัวนปิ เปิลในขณะที่ยืนบนพ้นื แบบฝา่ เทา้ เต็มหรอื ไมเ่ ขยง่ เทา้ และต้องระวังอย่าให้ไก่ก้มหัวลงจิก กินน้าจากนิปเปิลเป็นอันขาดเพราะจะทาให้ไก่ด่ืมน้าได้ลาบาก แรงดันของน้าภายในท่อจะต้องเหมาะสมตาม คาแนะนาของบริษัทผู้ผลิตนิปเปิล สาหรับนิปเปิลท่ีมีถ้วยรองจะต้องสังเกตน้าในถ้วยรอง ถ้ามีน้าในถ้วยรอง และไก่มกั จะจิกกนิ นา้ ในถว้ ยรองนั้นแสดงว่าแรงดนั น้าในท่อสงู เกินไป การเล้ียงไก่กระทงเป็นอุตสาหกรรมในปัจจุบันนี้อุปกรณ์ให้น้าแบบนิปเปิลจะมีความเหมาะสมท่ีสุด เนอ่ื งจากสามารถลดการปนเปอื้ นของน้าได้มากและลดการสูญเสียน้าจากการล้างทาความสะอาด แต่จะต้องมี การตรวจสอบแรงดนั ของนา้ ภายในทอ่ และอัตราการไหลของน้าผ่านหัวนิปเปิลอยา่ งสมา่ เสมอ
การจดั การฟาร์มสัตว์ปกี (ปรับปรงุ 2560) 54 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ภาพที่ 4.6 การปรบั ระดบั ความสงู ท่เี หมาะสมสาหรบั นปิ เปลิ และถงั น้าอตั โนมัติรูประฆัง ทม่ี า : Arbor Acres Broiler Management Guide (2009) หน้า 23 การวัดปริมาตรนา้ ดม่ื การตรวจสอบปริมาณน้าที่ไก่กินหรือปริมาณน้าท่ีใช้ในแต่ละวันจาเป็นมากและจะต้องบันทึกในเวลา เดียวกันของวันเสมอ อัตราการกินน้าของไก่ในแต่ละวันจะเป็นตัวบ่งชี้ถึงความถูกต้องและข้อผิดพลาดในการ จัดการ ถ้ามีปริมาณที่ผิดปกติให้รีบตรวจสอบหาสาเหตุทันที จากคู่มือการเลี้ยงไก่ของ Cobb Broiler Management Guide (2013) กลา่ วไว้วา่ ท่ีอุณหภูมปิ กติไก่จะกนิ นา้ ประมาณ 1.6-2 เท่าของปริมาณอาหารที่ กินโดยน้าหนัก แต่ท้ังนี้ข้ึนกับอุณหภูมิส่ิงแวดล้อม คุณภาพของอาหารและสุขภาพของไก่ พร้อมกันน้ีได้ ประมาณค่าความต้องการปริมาณนา้ ท่ีไก่จะต้องดืม่ ไวด้ ังนี้ - ช่วงอุณหภูมิระหว่าง 20-32 °ซ การดื่มน้าจะเพ่ิมข้ึนประมาณ 6% ต่ออุณหภูมิที่เพิ่มข้ึน ทกุ ๆ 1 °ซ - ช่วงอุณหภูมิระหว่าง 32-38 °ซ การดื่มน้าจะเพ่ิมข้ึนประมาณ 5% ต่ออุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น ทุก ๆ 1 °ซ - เมือ่ อุณหภูมิเพิ่มขน้ึ 1 °ซ จาก 20 °ซ ปริมาณการกินอาหารจะลดลงประมาณ 1.23% อยา่ งไรก็ตาม Pesti et al (1985 ; อ้างตาม Bell and Weaver, 2002) ได้เสนอสูตรการกะประมาณ ปริมาณน้าที่ไกก่ ระทงจะตอ้ งดื่มในแตล่ ะวันโดยใช้อายุไก่ (วัน) คูณด้วย 5.9 ก็จะได้ค่าประมาณการปริมาณน้า ที่ไก่จะต้องดื่มในวันน้ัน ๆ เช่น ไก่กระทงอายุ 10 วัน จะต้องด่ืมน้าตัวละ 59 มิลลิลิตร (10 x 5.9) การทราบ หรือการคาดคะเนปรมิ าณน้าทไ่ี กจ่ ะต้องด่ืมในแต่ละวันนั้นจาเป็นอย่างยิ่งในกรณีที่จะต้องให้วัคซีนแบบละลาย น้าด่ืม การให้ยาปฏิชีวนะ การให้วิตามินหรือสารอิเล็คโตรไลท์ในน้าด่ืม เพื่อให้มั่นใจได้ว่าไก่ทุกตัวจะได้รับ วคั ซนี ยา วิตามินหรือสารอิเล็คโตรไลท์ครบถว้ นเพียงพอตามที่กาหนดไว้
การจดั การฟาร์มสัตว์ปีก (ปรบั ปรุง 2560) 55 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ตารางท่ี 4.16 สดั ส่วนของปริมาณนา้ ต่ออาหารที่กินท่สี ภาพอุณหภูมิสิ่งแวดล้อมตา่ งกนั อุณหภมู ิ °ซ (°ฟ) สัดสว่ นน้า : อาหาร 4 (39) 1.7 : 1 20 (68) 2 :1 26 (79) 2.5 : 1 37 (99) 5:1 ทีม่ า : Singeton (2004 อา้ งตามใน Cobb Broiler Management Guide, 2013) หน้า 6 คุณภาพน้าสา้ หรับการเล้ียงสัตวป์ ีก คุณภาพน้าสาหรับการเลี้ยงสัตว์ปีกก็มีส่วนสาคัญอย่างมากที่จะทาให้การเลี้ยงสัตว์ปีกประสบ ผลสาเร็จหรือไม่ น้าสาหรับให้สัตว์ดื่มนั้นจะต้องเป็นน้าสะอาดปราศจากการปนเปื้อนสารอินทรีย์และสาร แขวนลอย จึงจาเป็นจะต้องมีการตรวจสอบคุณภาพน้าและการปนเปื้อนเช้ือโรคเป็นประจา น้าที่ใช้ด่ืมจะต้อง ปราศจากเชือ้ โรคในกล่มุ Pseudomonas spp. และ E. coli ซึ่งเมอื่ นาตวั อยา่ งน้าไปตรวจสอบแล้วจะต้องพบ ไม่เกิน 1 coliform/ml. คุณภาพน้าสาหรับใช้เล้ียงสัตว์ปีกน้ันดังแสดงในตารางท่ี 4.17 ถ้าหากใช้น้าจากอ่าง เก็บน้าหรือน้าผิวดินมักจะมีการปนเป้ือนสารไนเตรท (Nitrate) สูงและมักพบเช้ือแบคทีเรียปนเป้ือนสูงมาก เนื่องจากเป็นที่รวบรวมน้าผิวดินและอาจมีการชะล้างปุ๋ยสาหรับพืชลงไปรวมกันในอ่างเก็บน้า ดังน้ัน หากมี การนาน้าผิวดินมาใช้สาหรับการเล้ียงสัตว์ปีกจึงจาเป็นจะต้องผ่านระบบการบาบัดเสียก่อนซึ่งอาจจะ ประกอบด้วยการทาให้ตกตะกอน การกรอง การฆ่าเชื้อโรค ฯลฯ ก่อนที่จะนาไปใช้เล้ียงสัตว์ ซ่ึงมักเรียกว่า ระบบการทาน้าประปา การฆ่าเช้ือโรคในน้ามักนิยมใช้สารในกลุ่มคลอรีนที่ระดับความเข้มข้น 3-5 ppm ก็ เพียงพอท่ีจะกาจัดเช้ือแบคทีเรียในน้าและไม่มีกลิ่นฉุนในน้าหลงเหลืออยู่ในอุปกรณ์ให้ น้าเน่ืองจากคลอรีนจะ ระเหยไปเกือบหมด อย่างไรก็ตามจะขึ้นอยู่กับชนิดของคลอรีนที่ใช้ ค่า pH ของน้าด้วย โดยค่า pH ของน้าท่ี เหมาะสมจะอยู่ท่ีประมาณ 5-7 การหาค่า Oxidative reduction potential (ORP) ของน้าเป็นอีกวิธีหน่ึง สาหรบั การตรวจสอบคุณภาพน้าและความสะอาดของน้าได้ คา่ ORP เปน็ การหาค่าปริมาณออกซิเจนที่ละลาย อยใู่ นนา้ กส็ ามารถบง่ บอกถึงความสะอาดของนา้ ได้ ถ้าหากน้ามีการปนเป้ือนสารอินทรีย์จะทาให้ค่าออกซิเจน ที่ละลายได้ในน้าลดลง เนื่องจากออกซิเจนมีฤทธ์ิในการไป Oxidized สารอินทรีย์ต่าง ๆ น้าท่ีสะอาดจะมีค่า ORP อยูร่ ะหว่าง 700-800 mV การใช้แสงอัลตราไวโอเล็ต (Ultraviolet) ฆ่าเช้ือโรคในน้าก่อนท่ีน้านั้นจะเข้าสู่โรงเรือนก็เป็นอีก วิธีการหนึ่งท่ีนิยมใช้กันในปัจจุบันเน่ืองจากสะดวก น้ากระด้าง (Hard water) หรือน้าที่มีธาตุเหล็กสูง (มากกว่า 3 ppm) จะทาให้วาล์วของอุปกรณ์ให้น้าอุดตันได้ง่ายและจะทาให้เกิดการสะสมของแบคทีเรีย ดังนั้นจึงควรมีการกรองด้วยฟิลเตอร์พิเศษขนาด 40-50 ไมครอน (m) ก่อนนาน้ามาใช้ การตรวจสอบ คณุ ภาพนา้ และการปนเปอื้ นสารเคมตี ่าง ๆ น้ันควรกระทาอย่างนอ้ ยปลี ะครัง้ แต่ถา้ ให้ดคี วรมีการสุ่มตัวอย่างน้า ไปตรวจสอบหลังจากทาความสะอาดและเตรียมโรงเรือนเสร็จแลว้ ก่อนทจี่ ะรับลูกไกใ่ นรุน่ ต่อไปมาเลย้ี ง
การจดั การฟาร์มสตั ว์ปีก (ปรับปรงุ 2560) 56 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ตารางที่ 4.17 คณุ ภาพน้าและผลของปริมาณสารประกอบท่อี ยใู่ นนา้ สาหรบั สตั วป์ ีก รายการ ความเขม้ ข้น (ppm) รายละเอยี ด Total dissolved - 0-1,000 - คุณภาพดี Solid (TDS) - 1,000-3,000 - คุณภาพดี แต่อาจจะส่งผลให้ไกข่ ับถา่ ยมลู เหลวที่ระดับสงู - 3,000-5,000 - คณุ ภาพตา่ ไก่ขับถ่ายมลู เหลว ลดการดมื่ นา้ การ เจรญิ เตบิ โตลดลง และอตั ราการตายเพิ่มขน้ึ - > 5,000 - ไม่เหมาะสม ไม่ควรใช้ Hardness - < 100 soft - คณุ ภาพดี ไมม่ ปี ญั หา - > 100 hard - คุณภาพดี ไมม่ ปี ญั หาสาหรับสัตว์ปกี แตอ่ าจจะมฤี ทธิ์ไป ขัดขวางทาใหป้ ระสิทธภิ าพการเกิดสบู่ ประสทิ ธิภาพการ ออกฤทธข์ิ องยาฆ่าเชือ้ โรคและประสิทธิภาพการออกฤทธิ์ ของยาที่ให้โดยการละลายน้าลดลง pH - < 6 - คุณภาพตา่ สมรรถภาพการเจริญเตบิ โตลดลง มีฤทธิ์กดั กร่อนอุปกรณ์ใหน้ า้ - 6.0-6.4 - คุณภาพตา่ อาจจะเกดิ ปัญหาด้านสมรรถภาพการ เจริญเตบิ โตได้ - 6.5-8.5 - เหมาะสมสาหรับใชใ้ นการเลี้ยงสตั ว์ปกี - > 8.6 - ไม่เหมาะสม ไม่ควรใช้ Sulfates - 50-200 - คุณภาพดี แต่อาจจะทาให้ท้องเสียถ้าหากมี Na หรือ Mg มากกว่า 50 ppm - 200-250 - อาจจะทาใหไ้ ก่ทอ้ งเสีย - 500-1,000 - คุณภาพตา่ ทาให้ไก่ท้องเสีย อาจจะมีฤทธิไ์ ปขัดขวางการ ดูดซมึ Copper และอาจมมีฤทธิ์ให้ไก่ท้องเสียอยา่ งรนุ แรง เมือ่ มี Chlorides - > 1,000 - ไม่เหมาะสม อตั ราการด่ืมน้าเพิ่มขนึ้ ขับถ่ายมูลเหลว มี ปญั หาดา้ นสุขภาพในไกอ่ ายนุ ้อย Chloride - 250 - เหมาะสม เป็นระดับสงู สดุ ที่มใี นนา้ ได้ ถ้ามรี ะดบั ต่าที่ 14 ppm อาจจะเกิดปัญหาไดถ้ ้ามีระดบั Sodium สูงกว่า 50 ppm - 500 - เปน็ ระดบั สงู สุดทมี่ ใี นน้าได้ - > 500 - ไมเ่ หมาะสม ไก่ทอ้ งเสยี ขับถา่ ยมลู เหลว การกนิ อาหาร ลดลง การด่มื นา้ เพม่ิ ข้นึ Potassium - < 300 - คุณภาพดี เหมาะสม - > 300 - สามารถใช้ได้ ขึน้ กบั ความเปน็ ดา่ ง (Alkalinity) และค่า pH Magnesium - 50-125 - เหมาะสม ถ้ามธี าตุ Sulfate เกิน 50 ppm จะรวมตัวกนั เปน็ Magnesium sulfate ซึ่งจะทาให้ไก่ท้องเสยี
การจัดการฟาร์มสัตวป์ ีก (ปรับปรงุ 2560) 57 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย รายการ ความเขม้ ข้น (ppm) รายละเอยี ด - > 125 - มฤี ทธ์ทิ าให้ไกท่ ้องเสียและเกิดการระคายเคืองในระบบ ทางเดนิ อาหาร - 350 - เป็นระดบั สูงสุด Nitrate nitrogen - 10 - เป็นระดับสงู สุด ที่ระดับ 3 ppm ก็มีผลกระทบตอ่ สมรรถภาพการเจริญเติบโต - เลก็ นอ้ ย (Trace) - เหมาะสม Nitrates - > เล็กน้อย (Trace) - ไมเ่ หมาะสม มีผลเสียต่อสขุ ภาพ มกั พบมีสารอนิ ทรยี ์ ปนเปื้อนในมูลสงู - < 0.3 - เหมาะสม Iron > 0.3 - ไม่เหมาะสม ทาใหจ้ ลุ ินทรยี ์ทชี่ อบธาตุเหล็กเจริญเติบโต ทอ่ นา้ อดุ ตนั และมกี ลน่ิ เหม็น Fluoride -2 - เปน็ ระดับสงู สุด > 40 - ไม่เหมาะสม ทาให้เกดิ ภาวะกระดูกอ่อน Bacterial - 0 cfu/ml - เปน็ ระดบั ทีต่ ้องการ คือ ไม่มกี ารปนเปื้อนเลย ถ้าพบมกี าร coliforms พบกลมุ่ แบคทีเรียในน้าแสดงว่าน้าอาจจะมีการปนเปื้อน มลู Calcium - 600 - เป็นระดับสูงสดุ Sodium - 50-300 - เหมาะสม แต่ถ้าในน้ามรี ะดับของ Sulfates มากกวา่ 50 ppm หรือ Chloride มากกวา่ 14 ppm จะทาให้ขับถา่ ย มูลเหลว หมายเหตุ 1 ppm เท่ากับ 1 mg ท่มี า : Arbor Acres; Broiler Management Handbook (2014) หนา้ 69 การประเมนิ ประสิทธภิ าพการเล้ียงไก่กระทง อัตราการเปลี่ยนอาหาร (Feed conversion ratio) ค่าอาหารเป็นต้นทุนส่วนใหญ่ในการเลี้ยงไก่กระทงคือ ประมาณ 80% ของค่าใช้จ่ายในการเลี้ยงไก่ กระทงแต่ละรุ่นจะเป็นค่าอาหาร การเพ่ิมน้าหนักตัวของไก่กระทงจะสัมพันธ์กับปริมาณอาหารท่ีกินมากท่ีสุด ดังนนั้ การวัดประสิทธิภาพการเลีย้ งและค่าตอบแทนทางเศรษฐกิจจึงมักจะมีการวัดค่าออกมาเป็นค่าอัตราการ เปล่ียนอาหาร (Feed conversion ratio; FCR) ซ่ึงคานวณได้โดยใช้ค่าของน้าหนักอาหารที่ไก่กินเข้าไปในแต่ ละช่วงอายุหารด้วยน้าหนักตัวไก่ที่เพิ่มข้ึนในช่วงอายุนั้น ๆ ค่าอัตราการเปลี่ยนอาหารหรือ FCR ที่ได้นี้ยิ่งมีค่า น้อยย่ิงดี คือ ใช้อาหารในปริมาณน้อยก็สามารถเปล่ียนเป็นน้าหนักตัวไก่ได้มากหรือกล่าวอีกนัยหน่ึงก็คือ ใช้ อาหารท่มี รี าคาต่าในปรมิ าณนอ้ ยเปลยี่ นไปเป็นเนื้อไก่ท่ีมีราคาสูงได้มากนน่ั เอง Feed conversion ratio (FCR) = น้าหนักอาหารท่กี ิน น้าหนักตัวท่ีเพิ่มข้นึ
การจดั การฟารม์ สัตวป์ กี (ปรบั ปรุง 2560) 58 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย คา่ อตั ราการเปลีย่ นอาหารจะเปน็ ดัชนีบ่งบอกถึงประสิทธิภาพการเล้ียงและการจัดการไก่กระทงในแต่ ละฝูงได้ ใช้ในการเปรียบเทียบความแตกต่างของสูตรอาหาร สภาพแวดล้อมภายในโรงเรือน รูปแบบของ โรงเรือนและประสิทธภิ าพของการจดั การดา้ นตา่ ง ๆ ได้ นอกจากอัตราการเปลี่ยนอาหารแล้วยังมีวิธีคานวณประสิทธิการให้ผลผลิตอีกวิธีหนึ่งคือ European Efficiency Factor (EPEF) หรือ ประสิทธิภาพการให้ผลผลิต (Production Efficiency Factor, PEF) คานวณไดจ้ ากสูตร อัตราการเล้ยี งรอด x น้าหนกั ตัว (กก.) x 100 อายุ (วนั ) x FCR ตัวอย่างเช่น ไก่กระทงอายุ 46 วัน มีน้าหนักตัวเฉลี่ยเท่ากับ 3.006 กก. อัตราการเลี้ยงรอดเท่ากับ 96.9% มี คา่ FCR เทา่ กับ 1.83 ไก่กระทงฝูงน้มี คี ่าประสิทธิภาพการให้ผลผลิต (PER) เท่ากบั 96.9 x 3.006 x 100 = 346 46 x 1.83 ค่าประสิทธิภาพการให้ผลผลิตน้ีถ้ามีค่ามากแสดงว่าประสิทธิภาพในการเล้ียงดี มีอัตราการเปลี่ยน อาหารดีและมีอัตราการเลี้ยงรอดสูง ดงั น้ัน ถ้าต้องการเปรียบเทียบประสิทธิภาพการให้ผลผลิตระหว่างรุ่นหรือ ระหว่างสภาพแวดลอ้ มทแี่ ตกต่างกันจะตอ้ งคานวณที่อายุเดยี วกันเสมอ ความแตกตา่ งของน้าหนักตัว เนื่องจากการเจรญิ เติบโตของไกเ่ ป็นการทางานของระบบสรีระในรา่ งกายและเป็นความแตกต่างที่มีมา แตก่ าเนดิ ความแตกต่างที่เกดิ ขน้ึ มาจากหลายปัจจัย เช่น เพศ น้าหนักของไข่ฟัก ระบบสรีระในร่างกายของไก่ แตล่ ะตวั ความบกพร่องของการจัดการ โรคและพยาธิ เปน็ ต้น อยา่ งไรก็ตาม ผู้เล้ียงไก่กระทงสามารถลดความ แตกต่างของน้าหนักตัวน้ีให้ลดลงได้เพื่อให้อิทธิพลของความผันแปรของน้าหนักตัวไก่ส่งผลกระทบต่อน้าหนัก ตัวเม่ือส่งตลาดน้อยที่สุด โรงงานชาแหละและแปรรูปผลิตภัณฑ์จะได้รับไก่กระทงท่ีมีน้าหนักใกล้เคียงกัน นา้ หนักผลติ ภัณฑท์ ไี่ ดก้ จ็ ะตรงตามมาตรฐาน ไม่มีเศษเน้ือท่ีถูกตัดทิ้งมากเกินไปและสามารถวางแผนการจับไก่ สง่ โรงงานชาแหละตามน้าหนกั ตวั ที่ตอ้ งการไดง้ ่ายขนึ้ เมื่อนาค่าน้าหนักตัวมาทาเป็นกราฟความเบ่ียงเบนมาตรฐานจะมีลักษณะเป็นรูประฆังคว่า อย่างไรก็ ตาม ถ้าหากผู้เลี้ยงมีการเลี้ยงดู การจัดการในด้านการด้านต่าง ๆ อย่างถูกต้อง ไก่ท่ีเลี้ยงไม่เป็นโรค สภาพ อณุ หภูมิภายในโรงเรือนอยชู่ ่วงทไ่ี กอ่ ย่อู ยา่ งสบายจะทาให้ความผันแปรของน้าหนักตัวมีค่าน้อยลง ค่าความผัน แปรของน้าหนักตัวนี้สามารถคานวณเป็นค่าความสม่าเสมอของน้าหนักตัว (Uniformity) ในฝูงได้ ในทาง กลับกัน ถ้าหากมีการเลย้ี งและการจัดการไมด่ ี มสี ภาพแวดลอ้ มไม่เหมาะสมก็จะทาให้ความผันแปรของน้าหนัก ตวั จะมมี ากข้ึนและจุดสูงสดุ ของระฆังควา่ (นา้ หนักเฉลี่ย) จะเบ้มาทางด้านซ้ายซึ่งหมายถึงไก่ในฝูงน้ันมีน้าหนัก เฉลย่ี นอ้ ยลง การค้านวณค่า Co-efficiency of variation (CV%) เป็นค่าที่แสดงความแปรปรวนของน้าหนัก ตัว ฝูงไก่ที่มีค่า CV ต่าแสดงว่ามีความสม่าเสมอของน้าหนักตัวสูง ในขณะท่ีถ้ามีค่า CV สูงแสดงว่ามีความ สมา่ เสมอของน้าหนักต่า การเล้ียงไก่แบบคละเพศ (As-hatched หรือ mixed sex หรือ straight-run) มักจะ
การจัดการฟาร์มสตั วป์ ีก (ปรับปรุง 2560) 59 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย มคี ่า CV มากกวา่ การเล้ยี งแบบแยกเพศ เน่อื งจากมักจะพบว่าตัวเลขในฝูงจะมีค่า CV 2 ค่า คือ ค่า CV ของไก่ ตัวผู้ และค่า CV ของไก่ตัวเมีย ดังแสดงในภาพที่ 7 การหาค่าความสม่าเสมอของฝูงควรเริ่มเมื่อไก่อายุ 3 สัปดาห์ข้ึนไปและควรหาทุกสัปดาห์ ถ้าหากพบว่าค่า CV สูงกว่า 10% จะต้องรีบตรวจหาสาเหตุของความ ผดิ ปกติทนั ที Standard deviation X 100 Average body weight ภาพที่ 4.7 การกระจายของน้าหนกั ตวั ไกก่ ระทงทม่ี คี ่าน้าหนกั ตวั เฉล่ยี ของฝูงเทา่ กบั 1.9 กก. (4.2 ปอนด์) ทม่ี า : Arbor Acres Broiler Management Hand Book (2014) หน้า 114 ตารางที่ 4.17 แสดงคา่ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งค่า CV คา่ ความสม่าเสมอของฝงู และการแปรผล CV, % Uniformity, % การแปรผล 8 80 มคี วามสมา่ เสมอดี 10 70 มคี วามสมา่ เสมอปานกลาง 12 60 มคี วามสม่าเสมอต่า ทม่ี า : Cobb; Broiler Management Guide (2013) หนา้ 20 ตารางท่ี 4.18 คา่ เปรียบเทยี บการแปลงค่าจากคา่ Uniformity เปน็ คา่ CV คา่ Uniformity, % ค่า CV, % 95.4 5 90.4 6 84.4 7 78.8 8 73.3 9 68.3 10 63.7 11
การจดั การฟาร์มสัตว์ปีก (ปรับปรุง 2560) 60 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย 58.2 12 55.8 13 52.0 14 49.5 15 46.8 16 ทมี่ า : Cobb; Broiler Management Guide (2013) หน้า 21 ปจั จยั ที่มผี ลตอ่ ค่า CV 1. คุณภาพของลกู ไก่ 2. การจดั การกก 3. การจัดการน้าและอาหาร 4. ความหนาแน่น 5. การระบายอากาศและการจดั การสภาพแวดล้อม 6. การเกิดโรคและการติดเชอื้ การเลีย้ งไก่กระทงแบบแยกเพศ เนื่องจากเพศจะมีผลโดยตรงตอ่ น้าหนกั ตวั ของไก่กระทงซ่ึงโดยปกตไิ กเ่ พศผู้จะโตเร็วกว่าและมีน้าหนัก ตัวมากกว่าไก่เพศเมีย ดังแสดงในตารางที่ 4.18, 4.19 และ 4.20 ดังน้ัน ฟาร์มเลี้ยงไก่กระทงบางฟาร์มจึงมี การเลี้ยงไก่แบบแยกเพศเพ่ือให้สามารถคาดคะเนระยะเวลาในการเล้ียงให้ได้น้าหนักตัวตามที่ต้องการ และ ประมาณเวลาในการจับจาหนา่ ยไดง้ ่ายขึ้น ตารางที่ 4.18 นา้ หนกั ตวั และปริมาณหารที่กินเฉลย่ี ตอ่ ตวั สาหรบั ไก่กระทงท่ีเลี้ยงแบบแยกเพศ อายุ นา้ หนักตวั (กรัม) อาหารท่ีกินต่อตัว อาหารท่ีกนิ สะสมต่อตัว (สัปดาห์) (กรมั /สปั ดาห์) (กรัม/ตัว) ผู้ เมีย ผู้ เมยี ผู้ เมีย 1 152 144 135 131 135 131 2 375 344 290 273 425 404 3 686 617 487 444 912 848 4 1,085 965 704 642 1,616 1,490 5 1,576 1,344 960 738 2,576 2,228 6 2,088 1,741 1,141 1,001 3,717 3,229 7 2,590 2,134 1,281 1,081 4,998 4,310 8 3,077 2,506 1,432 1,165 6,430 5,475 9 3,551 2,842 1,577 1,246 8,007 6,721 หมายเหตุ อาหารมคี ่าพลงั งาน 3,200 kcal ME/kg มีโภชนะอ่นื ครบถว้ นตามความต้องการ ทม่ี า : NRC (1994) หน้า 26
การจัดการฟาร์มสัตว์ปีก (ปรับปรงุ 2560) 61 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ตารางท่ี 4.19 คา่ น้าหนกั ตัวและปริมาณอาหารทีก่ นิ สะสมตอ่ ตัวของไก่กระทงสายพนั ธุ์ Cobb 500 (กรมั ) อายุ คละเพศ เพศเมีย เพศผู้ (สัปดาห์) น้าหนักตัว อาหารท่กี ิน นา้ หนกั ตวั อาหารทีก่ ิน นา้ หนกั ตวั อาหารทก่ี ิน แรกเกิด 42 41 43 1 177 150 175 150 179 151 2 459 465 443 456 475 475 3 891 1,053 844 1,001 938 1,106 4 1,436 1,963 1,341 1,840 1,531 2,085 5 2,067 3,216 1,914 2,994 2,217 3,435 6 2,732 4,659 2,511 4,317 2,953 4,994 7 3,369 6,185 3,084 5,717 3,660 6,646 8 3,958 7,772 3,641 7,159 4,275 8,375 ทมี่ า : Broiler performance and Nutrition supplement Cobb 500 (2013) ตารางที่ 4.20 ค่าน้าหนักตัวเฉลี่ยและปริมาณอาหารท่ีกินเฉลี่ยสะสมต่อตัวของไก่กระทงสายพันธุ์ Arbor Acres Plus (กรัม) อายุ คละเพศ เพศเมีย เพศผู้ (สัปดาห์) น้าหนกั ตวั อาหารท่ีกิน น้าหนักตัว อาหารท่กี ิน น้าหนักตัว อาหารทีก่ นิ แรกเกิด 42 42 42 1 185 167 185 171 185 163 2 474 539 457 533 481 545 3 923 1,187 893 1,150 953 1,223 4 1,495 2,131 1,420 2,033 1,570 2,229 5 2,136 3,342 1,998 3,147 2,274 3,534 6 2,793 4,759 2,580 4,438 3,005 5,073 7 3,427 6,319 3,137 5,853 3,716 6,773 8 4,010 7,957 3,645 7,334 4,374 8,561 9 4,521 9,608 4,083 8,812 4,960 10,374 10 4,944 11,203 4,428 10,209 5,460 12,156 ที่มา : Arbor Acres plus; Broiler performance objective (2014) หน้า 3-11 อัตราการตาย (Mortality rate) อัตราการตายของไก่กระทงจะขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น โรงเรือน อายุของพ่อแม่พันธุ์ การ จดั การในฝูงและสภาวะการเกิดโรค เปน็ ต้น โดยปกติแลว้ อัตราการตายของไก่กระทงในช่วงสัปดาห์แรกไม่ควร จะเกิน 1% สัปดาหท์ ี่สองไม่ควรเกิน 0.5% การตายของไก่กระทงอาจจะเกิดจากหลายสาเหตุโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการตายที่สัมพันธ์กับการเจริญเติบโต เช่น ขาเสีย โรคท้องมาน และช็อกตาย (Sudden death syndrome) เปน็ ตน้
การจัดการฟารม์ สตั ว์ปีก (ปรับปรุง 2560) 62 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ความหนาแน่นและอัตราการเลีย้ ง (Stocking density) การกาหนดความหนาแน่นหรืออตั ราการเลี้ยงมี 2 ลักษณะคอื การกาหนดเป็นจานวนตัวต่อพ้ืนท่ีเล้ียง การกาหนดลักษณะนี้จะทาให้ทราบว่าเราจะสามารถเลี้ยงไก่ได้จานวนเท่าใดต่อโรงเรือน หรือการกาหนดเป็น นา้ หนักตวั ตอ่ พื้นทเี่ ล้ยี งซึ่งจะบอกไดว้ ่าเราจะไดผ้ ลิตไก่ได้น้าหนักเท่าใดต่อโรงเรือน ซ่ึงโดยปกติแล้ว จานวนไก่ ที่จะเลย้ี งได้ภายในโรงเรอื นจะขึน้ อยู่กบั น้าหนักตัวเมื่อจบั สง่ ตลาด ลกั ษณะของโรงเรอื น และฤดูกาล ไก่กระทงท่ีเล้ียงในโรงเรือนระบบ Evaporative cooling system สามารถเล้ียงไก่ได้ประมาณ 30.8 กก./ตร.ม. ในฤดูหนาว และประมาณ 29.3 กก./ตร.ม. ในฤดูร้อน การเลี้ยงไก่ในอัตราส่วนที่สูงหรือเล้ียง หนาแน่นมากเกินไปจะทาให้น้าหนักตัวน้อยลง ให้ผลผลิตเนื้อลดลง ประสิทธิภาพการเปล่ียนอาหารลดลง จานวนไก่คุณภาพต่าเพิ่มมากข้ึนและมีอัตราการตายเพ่ิมขึ้น อัตราการเลี้ยงไก่กระทงที่แนะนาโดย Arbor Acres Broiler Management Guide (2009) ดงั แสดงไว้ในตารางที่ 4.21 ตารางท่ี 4.21 ความหนาแน่นในการเลีย้ งไก่กระทงทแ่ี นะนาตามน้าหนักตวั สดุ ทา้ ยท่ตี อ้ งการ น้าหนักตัว พื้นทก่ี ารเล้ยี ง จ้านวนตวั /พืน้ ที่ นา้ หนกั ตัว (กก.) (ตร.ม./ตัว) (ตัว/ตร.ม.) (กก./ตร.ม.) 1.36 0.50 21.5 29.2 1.82 0.70 15.4 28.0 2.27 0.85 12.7 28.8 2.73 0.90 12.0 32.7 3.18 1.00 10.8 34.3 3.63 1.15 9.4 34.1 ที่มา : Arbor Acres; Broiler Management Guide (2009) ความหนาแน่นในการเลี้ยงไกก่ ระทงจะข้ึนกับฤดูกาล อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ อุปกรณ์และลักษณะ ของโรงเรอื น เชน่ ถ้าเลย้ี งไก่กระทงในโรงเรอื นระบบปิดทีค่ วบคมุ สภาพแวดล้อมสามารถเล้ียงได้ไม่ควรเกิน 30 กก./ตร.ม. (นา้ หนกั ตวั เม่ือจบั ขาย) โรงเรือนเปดิ ท่มี กี ารควบคุมสิง่ แวดลอ้ มได้ไม่ดี ควรเล้ียงไม่เกิน 20-25 กก./ ตร.ม. และโรงเรือนเปิดที่อยู่ในเขตร้อนควรจะเลี้ยงไก่หนาแน่นไม่ควรเกิน 16-18 กก./ตร.ม. สาหรับโรงเรือน เปิดท่ีไม่มีการควบคุมสภาพแวดล้อมจะต้องไม่เลี้ยงไก่ให้มีน้าหนักตัวเกิน 3 กก. การเล้ียงไก่ในอัตราส่วนที่สูง หรือเล้ียงแบบหนาแน่นมากจะส่งผลทาให้ไก่มีน้าหนักตัวน้อยลง ให้ผลผลิตเน้ือลดลง ประสิทธิภาพการใช้ อาหารลดลง จานวนไกค่ ุณภาพตา่ มีมากขึน้ และมีอัตราการตายเพิ่มขนึ้ การใหแ้ สงสว่าง (Lighting) เน่ืองจากสัตว์ปีกเป็นสัตว์ท่ีไวต่อความยาวแสงต่อวัน กล่าวคือ แสงจะมีผลกระตุ้นการเจริญพันธ์ุและ การแสดงพฤตกิ รรมบางอย่าง เชน่ การอพยพย้ายถ่นิ แต่ไกก่ ระทงมรี ะยะเวลาการเลี้ยงส้ันและจับขายเม่ืออายุ ยังน้อย ดงั น้นั ความยาวแสงต่อวนั จึงไมม่ ีผลในการกระตุ้นการเจริญพันธุ์ แต่จะมีผลต่อการกินอาหารและการ พักผ่อน การเพิ่มความยาวแสงต่อวันจะช่วยให้ไก่มีเวลากินในการอาหารได้มากขึ้นส่งผลให้มีอัตราการเจริญ
การจัดการฟารม์ สตั วป์ ีก (ปรบั ปรงุ 2560) 63 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย เติบดีขึ้นโดยพบว่า การเลี้ยงไก่กระทงภายใต้ความยาวแสง 23 ช่ัวโมง/วัน (D23 : L1) จะมีการเจริญเติบโต ดกี ว่าไกท่ เี่ ลยี้ งโดยใหแ้ สงตามธรรมชาติ (D12 : L12) ความเขม้ แสงกม็ ีผลต่อตัวไกเ่ ชน่ เดยี วกับความยาวแสงตอ่ วัน ความเข้มแสงมีผลต่อการมองเห็น แต่ถ้า ไก่อยู่ภายใต้แสงท่ีมีความเข้มมากเกินไปจะทาให้ไก่เกิดความเครียด ดังน้ัน ควรให้แสงที่มีความเข้มเพียงพอที่ ไก่จะสามารถมองเห็นน้าและอาหารได้ก็เพียงพอแล้ว ความเข้มแสงท่ีเหมาะสมสาหรับไก่กระทงน้ันควรอยู่ ระหว่าง 0.5-1.0 ฟุตเทียน (Foot-candle) หรือ 5-10 ลักซ์ (Lux) การให้แสงที่มีความเข้มมากเกินไปหรือ มากกวา่ 1.0 ฟุตเทยี น หรอื 10 ลักซ์ จะทาให้ไก่มีอัตราการเจริญเติบโตลดลงเน่ืองจากจะมีความเครียดและมี กจิ กรรมมากขน้ึ หลอดไฟ หลอดไฟที่มีขายอยู่ในท้องตลาดปัจจุบันมีหลายชนิด แต่ท่ีนิยมใช้ในการเล้ียงสัตว์ปีก ได้แก่ หลอด แบบเผาไส้ (Incandescent) หลอดฟลูออเรสเซ็นท์ (Fluorescent) และหลอด LED (Light emitting diodes) เป็นตน้ หลอดแบบเผาไส้เปน็ หลอดไฟท่ีให้แสงสว่างใน Spectrum ท่เี หมาะสมสาหรับไก่มากท่ีสุดแต่ มปี ระสิทธภิ าพในการให้แสงสว่างต่าที่สุดเมื่อเทียบกับหลอดไฟชนิดอ่ืนที่ใช้พลังงานไฟฟ้าเท่ากัน หลอดฟลูออ เรสเซ็นทม์ ปี ระสทิ ธิภาพการใหแ้ สงสว่างมากกว่าหลอดแบบเผาไส้ แต่เม่ือใช้งานไประยะหน่ึงมักจะมีความเข้ม ของแสงลดลงจากค่าตั้งต้นมาก จึงต้องมีการเปล่ียนหลอดใหม่ก่อนที่จะหมดอายุการใช้งานและหลอด LED เป็นหลอดที่มีประสิทธิภาพการให้แสงสว่างมากและให้แสงเฉพาะสี (Monochromic light) ต้นทุนในการ ติดตัง้ สูงกว่าหลอดไฟชนิดอน่ื แตอ่ ายุการใช้งานนานกวา่ หลอดไฟชนดิ อื่น ภาพท่ี 4.8 แสดงชนิดของหลอดไฟนยิ มใช้ในโรงเรอื นเลี้ยงไก่ ทม่ี า : Arbor Acres; Broiler Management Hand Book (2014) หน้า 103 เม่ือเปรียบเทียบ Wave length พบว่าไก่กระทงจะมีการเจริญเติบโตดีท่ีสุดเม่ือเลี้ยงภายใต้แสงท่ีมี Wave length อยู่ระหว่าง 415-560 nm (แสงสีม่วง-เขียว) เมื่อเทียบกับแสงสีแดง (มากกว่า 635 nm) หรือ แสงสขี าว (Broad spectrum) การเลีย้ งไก่กระทงภายใต้ความเข้มแสงต่ามาก (ต่ากว่า 5 ลักซ์ หรือ 0.5 ฟุตเทียน จะทาให้อัตราการ ตายของไกก่ ระทงเพม่ิ ขน้ึ อัตราการเปล่ียนอาหาร (FCR) และอัตราการเจริญเติบโตลดลง นอกจากน้ี ยังส่งผล
การจดั การฟาร์มสัตว์ปกี (ปรบั ปรงุ 2560) 64 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ถึงการพฒั นาของนัยนต์ าไก่ มปี ัญหาฝ่าเท้าอักเสบเพิ่มขึ้น พฤติกรรมบางอย่างท่ีไก่แสดงถึงการมีสุขภาพดีและ ไมเ่ ครยี ด เช่น การคลกุ ฝุ่นและการกรีดปีกจะลดลงและมีผลทาให้ไก่ไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่าง กลางวันและกลางคนื ไดซ้ ง่ึ จะสง่ ผลเสียเมอื่ มกี ารจบั ไก่ ภาพที่ 4.9 ความแตกต่างระหว่างสภาพการเลี้ยงไก่กระทงภายใต้ความเข้มแสงต่างกัน (ภาพซ้าย ความเข้ม แสงเทา่ กบั 10 ลักซ์ และภาพขวา ความเข้มแสงเทา่ กบั 30 ลักซ์ ที่มา : Arbor Acres Broiler Management Hand Book (2014) หนา้ 104 ตารางท่ี 4.22 โปรแกรมการให้แสงสว่างสาหรับไก่กระทงตามคาแนะนาของ Bell and Weaver (2002) จะ ไมท่ าให้การเจริญเติบโตลดลงแต่จะสง่ ผลใหป้ ระหยัดค่าไฟลงได้ อายุ (วัน) สว่าง : มืด (ช่วั โมง/วนั ) 0-3 24L : 0D 4-7 18L : 6D 8-14 14L : 10D 15-21 16L : 8D 22-28 18L : 6D 29-41 22L : 2D ท่มี า : Bell and Weaver (2002) หน้า 858 โปรแกรมการใหแ้ สงแนะนาโดย Cobb Broiler Management Guide (2013) แนะนาว่าการเลี้ยงไก่ กระทงควรปรับตั้งโปรแกรมแสงไว้ดังนี้ วันแรกของการกกจะต้องให้แสง 24 ช่ัวโมงเพื่อให้ไก่ได้มีเวลาปรับตัว และมองเห็นน้าและอาหารได้ จากน้ันจะลดความยาวแสงต่อวันลงเหลือ 23 ชั่วโมง/วัน จนกระท่ังไก่กระทงมี นา้ หนักตัวเฉลีย่ ประมาณ 100-160 กรัม จึงลดความยาวแสงต่อวันลงโดยแบ่งโปรแกรมการให้แสงออกเป็น 3 โปรแกรมตามนา้ หนกั ไก่ทีจ่ ับส่งโรงงานชาแหละ ซง่ึ การลดความยาวแสงต่อวนั น้จี ะมีผล ดังน้ี 1. ทาให้ไก่ได้มีโอกาสพักผ่อนช่วยประหยัดพลังงานในการดารงชีพส่งผลให้ประสิทธิภาพการเปล่ียน อาหารดขี ้นึ 2. อัตราการตายลดลงและการเกดิ ความผดิ ปกติของกระดูกโครงสร้างของร่างกายลดลง 3. สัดส่วนของช่วงมืด/สว่างจะทาให้การผลิตสาร Melatonin เพ่ิมข้ึนซ่ึงจะทาให้ระบบการสร้าง ภมู คิ ้มุ กันของร่างกายดขี ้ึน 4. ความสม่าเสมอของน้าหนกั ตวั ไกด่ ขี ึ้น
การจัดการฟาร์มสัตวป์ กี (ปรบั ปรงุ 2560) 65 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย 5. การชะลอการเจริญเติบโตในช่วงแรกจะช่วยประหยัดอาหารและลดอัตราการตาย หลังจากเพิ่ม ความยาวแสงข้ึนมาเป็นให้แสงแบบต่อเนื่องจะทาให้ไก่มีการเจริญเติบโตทดแทน (Compensatory growth) ขน้ึ มาได้เทา่ กบั ไกท่ ไี่ ดร้ ับโปรแกรมแสงปกติ ตารางที่ 4.23 โปรแกรมแสงทใี่ ชส้ าหรบั ไก่ท่จี ับสง่ โรงงานชาแหละน้าหนกั ตา่ กวา่ 2.5 กก. อายุ (วัน) สว่าง : มืด (ชัว่ โมง/วัน) 0 24 : 0 1 23 : 1 น้าหนัก 100-160 กรมั 18 : 6 5 วนั ก่อนจบั 19 : 5 4 วัน ก่อนจับ 20 : 4 3 วนั กอ่ นจบั 21 : 3 2 วัน ก่อนจบั 22 : 2 1 วัน กอ่ นจบั 23 : 1 ทมี่ า : Cobb Broiler Management Guide (2013) หนา้ 24 ตารางที่ 4.24 โปรแกรมแสงทใี่ ชส้ าหรับไกท่ ่จี บั ส่งโรงงานชาแหละนา้ หนัก 2.5-3.0 กก. อายุ (วนั ) สว่าง : มดื (ชว่ั โมง/วนั ) 0 24 : 0 1 23 : 1 น้าหนกั 100-160 กรัม 15 : 9 22 16 : 8 23 17 : 7 24 18 : 6 5 วัน กอ่ นจบั 19 : 5 4 วนั กอ่ นจับ 20 : 4 3 วัน ก่อนจับ 21 : 3 2 วัน กอ่ นจับ 22 : 2 1 วัน ก่อนจับ 23 : 1 ทม่ี า : Cobb; Broiler Management Guide (2013) หน้า 24
การจัดการฟาร์มสตั ว์ปีก (ปรับปรงุ 2560) 66 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ตารางท่ี 4.25 โปรแกรมแสงทใี่ ช้สาหรับไกท่ ่ีจับสง่ โรงงานชาแหละนา้ หนกั ต่ากว่า 2.5 กก. อายุ (วัน) สว่าง : มดื (ชั่วโมง/วนั ) 0 24 : 0 1 23 : 1 นา้ หนัก 100-160 กรัม 12 : 12 22 13 : 11 23 14 : 10 24 15: 9 29 16 : 8 30 17 : 7 31 18 : 6 5 วนั ก่อนจบั 19 : 5 4 วนั ก่อนจบั 20 : 4 3 วนั ก่อนจบั 21 : 3 2 วนั กอ่ นจบั 22 : 2 1 วัน ก่อนจับ 23 : 1 ที่มา : Cobb Broiler Management Guide (2013) หน้า 25 การตดิ ตามน้าหนักตวั และค่าความสม้า่ เสมอของน้าหนักตวั (Uniformity) เพื่อติดตามการเปล่ียนแปลงของน้าหนักตัวเทียบกับน้าหนักตัวเป้าหมายท่ีกาหนดไว้ในโปรแกรมการ จับไก่ส่งโรงงานชาแหละได้อย่างถูกต้องและแม่นยา ค่า CV% ของฝูงจะช่วยให้เราม่ันใจได้ว่าไก่ส่วนใหญ่จะมี นา้ หนักตัวอยูใ่ นช่วงนา้ หนกั ตัวที่โรงงานชาแหละตอ้ งการ การชัง่ นา้ หนกั ตวั จะทาการช่ังทุกสัปดาห์และเม่ือใกล้ ถงึ กาหนดการจับไกอ่ าจจะต้องทาการสุ่มช่ังน้าหนักตัวถขี่ ้นึ หรอื ช่ังทกุ วนั การชัง่ น้าหนกั ตวั จะตอ้ งทาการชั่งในเวลาเดียวกันทุกคร้ังซึ่งปกติจะทาการช่ังในช่วงบ่ายและจะต้องมี จานวนตัวอย่างไก่ที่ทาการชั่งน้าหนักเท่ากันทุกคร้ัง การสุ่มตัวอย่างจะต้องสุ่มจากตาแหน่งต่าง ๆ ในโรงเรือน อย่างน้อยที่สุด 3 จุด โดยตาแหน่งที่สุ่มจับไก่น้ันจะต้องห่างจากผนังและประตูพอสมควร การจับไก่จะต้อง กระทาอยา่ งทะนุถนอมและคานงึ ถึงสวัสดิภาพสตั ว์อย่าให้ไก่ได้รับบาดเจ็บหรือเกิดความเครียด การชั่งน้าหนัก ตัวสามารถทาได้ 2 วิธี ได้แก่ 1. การชั่งน้าหนักด้วยมือ (Manual weighting) ในขณะท่ีไก่ยังเล็กอยู่หรือช่วงอายุ 0-3 สัปดาห์ ควรชั่งนา้ หนักตัวอย่างน้อย 100 ตัวหรอื ประมาณ 1% ของจานวนไก่ทั้งหมดแล้วหาค่าเฉลี่ย การสุ่มตัวอย่างท่ี ดีจะทาให้เราได้ค่าน้าหนักตัวใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากท่ีสุด ทาการชั่งน้าหนักตัวรวมครั้งละ 10-20 ตัว ขนึ้ กับภาชนะบรรจุ เมอ่ื ไกโ่ ตขนึ้ หรือหลังจากอายุ 3 สปั ดาหไ์ ปแล้วให้ทาการช่ังน้าหนักรายตัว การเลือกขนาด ของเครื่องชั่งจะต้องให้เหมาะสมกับน้าหนกั ของไก่ดว้ ย 2. การชั่งน้าหนักตัวด้วยเคร่ืองชั่งอัตโนมัติ (Automatic weighting) ให้เลือกตาแหน่งวางเคร่ือง ชั่งอัตโนมัติในตาแหน่งที่ไก่มักจะมารวมตัวกัน ไก่จะต้องมายืนอยู่บนเครื่องชั่งเป็นเวลานานพอสมควรเพ่ือจะ บันทกึ นา้ หนักตวั ถ้ามีไกข่ ้นึ มายืนบนเคร่อื งชง่ั น้อยจะทาใหเ้ ราได้คา่ ท่มี ีความแม่นยาต่าและมักพบว่าไก่ตัวผู้ที่มี นา้ หนกั ตัวมากมกั จะไมค่ อ่ ยขึน้ ไปยนื บนเครื่องชัง่ อตั โนมัตทิ าใหม้ กั จะได้ค่าน้าหนกั ตัวต่ากว่าความเป็นจริง การ
การจัดการฟารม์ สัตว์ปกี (ปรบั ปรุง 2560) 67 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ใช้ข้อมูลจากเครอ่ื งช่งั อัตโนมัติจะต้องตรวจสอบอตั ราการใช้งานหรือจานวนไก่ท่ีบันทึกในแต่ละวันด้วยและควร มกี ารตรวจสอบซา้ ดว้ ยเคร่อื งชั่งด้วยมืออย่างนอ้ ยสัปดาห์ละคร้งั การจัดการไก่กระทงก่อนการจับ (Pre-processing management) กอ่ นจะเริม่ ต้นจบั ไก่จะต้องมีการจัดการตามข้ันตอนดังต่อไปนี้ 1. แสงสว่าง (Light) จะต้องให้แสงสว่าง 23 ชั่วโมง/วันท่ีระดับความเข้มแสงต่าสุด 5-10 ลักซ์ หรือ 0.5-1.0 ฟุตเทยี นตดิ ตอ่ กันอย่างน้อย 3 วนั กอ่ นถงึ กาหนดการจับไก่เพื่อให้ไกม่ ีอาการสงบในขณะจบั ไก่ 2. การอดอาหาร (Feed withdrawal) การอดอาหารก่อนการจับส่งโรงงานชาแหละเป็นขั้นตอนที่ สาคัญและจาเป็นมากเพ่ือไม่ให้มีอาหารตกค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหาร ลดความเสี่ยงในการปนเปื้อนมูล ระหว่างการขนส่งและในโรงงานชาแหละ การอดอาหารจะต้องมีระยะเวลาที่เหมาะสม ซ่ึงถ้ามีการอดอาหาร นานเกินไปจะส่งผลใหม้ กี ารสูญเสียน้าหนักตัวมากเกินไป ระยะเวลาท่ีอาหารถูกขับถ่ายออกมาจนหมดใช้เวลา ประมาณ 8-12 ช่ัวโมง การอดอาหารไม่เพียงพอจะทาให้มีอาหารตกค้างอยู่ในระบบทางเดินอาหารทาให้การ ประเมินน้าหนักตัวมีชีวิตผิดพลาดและเส่ียงต่อการปนเปื้อนมูลในระหว่างการชาแหละ แต่ถ้ามีการอดอาหาร นานเกนิ ไปกจ็ ะทาให้เกิดการสูญเสียน้าหนักตัวมากเกินไปซ่ึงจะส่งผลเสียหายทางเศรษฐกิจและได้ผลผลิตเน้ือ ไมต่ รงตามเปา้ หมายทต่ี ัง้ ไว้เช่นกนั ขอ้ ปฏบิ ัติในการอดอาหารไกก่ อ่ นจับสง่ โรงงานชา้ แหละ 1. กอ่ นถงึ กาหนดการอดอาหารอย่างน้อยในช่วง 24 ช่ัวโมงจะต้องมีอาหารให้ไก่กินเป็นปกติ ซ่ึงถ้าหากมีการเปล่ียนแปลงอย่างใดอย่างหน่ึงก็อาจจะทาให้ไก่กินอาหารมากหรือน้อยเกินไปจึงอาจจะส่งผล ตอ่ เวลาท่ีระบบทางเดินอาหารว่างกไ็ ด้ ปัจจัยท่มี ผี ลต่อการกินอาหารของไก่ได้แก่ ปริมาณอาหารและพ้ืนท่ีการ ใหอ้ าหาร โปรแกรมการใหแ้ สงสว่างและอุณหภูมิภายในโรงเรือน เปน็ ต้น 2. ระหวา่ งการอดอาหารให้ลดระดับจานอาหารลงมาต่าสุดจะกว่าจะเร่ิมต้นจับไก่เพ่ือลดการ จกิ กนิ วัสดุรองพ้นื 3. เม่อื เรม่ิ ต้นการอดอาหารไมค่ วรรบกวนไก่โดยไมจ่ าเป็น เชน่ การเดนิ เขา้ ไปในโรงเรือนหรือ การเปิดประตูโรงเรอื นโดยไมจ่ าเป็น 4. ถ้ามีโปรแกรมการให้เมล็ดธัญพืช (Whole grain) จะต้องงดให้เมล็ดธัญญพืชอย่างน้อย 2 วันกอ่ นกาหนดการจับไกเ่ พ่ือลดการตกคา้ งของเมล็ดธัญพชื ในระบบทางเดนิ อาหาร ระยะเวลาในการอดอาหารสามารถคานวณได้ดังนี้ เวลาในการอดอาหาร = เวลาทีอ่ ดอาหารในโรงเรือน + เวลาทใ่ี ชใ้ นการจับไก่ + เวลาท่ีใช้ในการขนส่ง + เวลาที่ไกพ่ ักหน้าโรงงานชาแหละกอ่ นเข้าเชอื ด/รอคิวเชือด การอดอาหารและการสูญเสียนา้ หนักตัว เมื่อไก่ขับถ่ายมูลออกมาจนระบบทางเดินอาหารว่างเปล่าแล้ว น้าหนักตัวท่ีลดลงหลังจากน้ันจะ หมายถึงปริมาณโปรตีนและไขมันท่ีสะสมไว้ในร่างกายถูกดึงออกมาใช้เป็นพลังงานทาให้ผลผลิตเน้ือและ คุณภาพเนื้อลดลง หลงั จากทีร่ ะบบทางเดินอาหารวา่ งเปลา่ แล้วนา้ หนกั ตวั ท่ลี ดลงหลังจากน้ันจะประมาณ 0.1- 0.5% ต่อชวั่ โมง การลดลงของนา้ หนักตวั จะผนั แปรขึน้ อย่กู ับปัจจยั ตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ 1. อายุ ไก่ทม่ี ีอายุมากจะสญู เสียน้าหนักมากกวา่ 2. เพศ ไกเ่ พศผูจ้ ะสญู เสยี นา้ หนกั ตัวมากกว่าไกเ่ พศเมยี
การจดั การฟารม์ สตั วป์ กี (ปรับปรุง 2560) 68 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย 3. อณุ หภมู โิ รงเรอื น การลดนา้ หนกั ตัวจะเพมิ่ ขน้ึ เม่อื ไกอ่ ยใู่ นสภาพอณุ หภมู ิสูงหรือตา่ เกนิ ไป 4. การรบกวนการกินอาหารของไก่กอ่ นการอดอาหารจะส่งผลให้ระยะเวลาในการขับถ่ายมูล ไมแ่ น่นอน 5. เวลาในการขนส่ง ถ้าหากใช้เวลาในการขนส่งมากจะสง่ ผลให้ไก่สูญเสียนา้ หนักตัวมากขึน้ 6. อุณหภูมิในขณะขนส่งและขณะพัก ในขณะท่ีขนส่งหรือในขณะพักไก่ไว้หน้าโรงงาน ชาแหละถา้ มอี ณุ หภูมิสูงจะสง่ ผลใหม้ กี ารสญู เสยี นา้ หนกั ตวั มากข้ึน การวางแผนการอดอาหาร การวางแผนการอดอาหารไก่จะต้องมีการตรวจสอบดูแลอย่างใกล้ชิดและอาจจะมีการปรับเปลี่ยน โปรแกรมไดถ้ ้าหากจาเป็น เน่ืองจากถ้าหากมีการจัดการที่ไม่เหมาะสมจะส่งผลเสียต่อสวัสดิภาพสัตว์ ผลกาไร คุณภาพไก่มีชีวิตและคุณภาพของเน้ือไกต่ ลอดจนระยะเวลาเก็บบนช้ันจาหน่าย (Shelf life) การตรวจสอบวา่ มีการอดอาหารเหมาะสมหรือไม่ให้สังเกตมูลไก่ที่ขับถ่ายออกมา ถ้าหากไก่ขับถ่ายมูล เหลวปนน้าแสดงว่าการอดอาหารเหมาะสม ถ้ามีมูลปนน้าและมีวัสดุรองพ้ืนอยู่ในกระเพาะพักและกระเพาะ บดแสดงว่าการอดอาหารนานเกินไปหรืออาจจะนานเกิน 12 ชว่ั โมง แต่ถ้ายังมอี าหารตกค้างอยู่ในกระเพาะพัก หรอื มีมูลปนเปือ้ นในโรงงานชาแหละแสดงว่าระยะเวลาในการอดอาหารสัน้ เกินไปหรือน้อยกว่า 8 ช่วั โมง การให้น้า ระหว่างการอดอาหารตอ้ งแนใ่ จวา่ ไกจ่ ะได้รับน้าดืม่ อย่างเต็มท่ีตามความต้องการจนกระท่ังเร่ิมต้นการ จับไก่ ถ้าไก่อดน้าจะทาให้เกิดการสูญเสียความชื้นจากร่างกายมาก (Dehydration) และอัตราการว่างของ ระบบทางเดินอาหารจะช้าลง นอกจากนี้ จะส่งผลให้อัตราการตายสูงข้ึนด้วย การจัดการให้น้าในระหว่างการ อดอาหารทาไดโ้ ดย 1. เพ่มิ จานวนอปุ กรณ์ให้นา้ 2. แบง่ ไก่ออกเป็นหอ้ งเล็ก ๆ 3. ถ้าให้นา้ แบบถงั อตั โนมัตริ ูประฆังจะต้องค่อย ๆ เกบ็ ถังน้าเม่อื จะจับไก่ในบรเิ วณนนั้ การจบั ไก่ (Catching) คุณภาพของเนื้อไก่จะลดลงและอาจจะเกิดความเสียหายมาก ถ้าหากมีการจับไก่ท่ีไม่ถูกต้อง ฉะน้ัน พนักงานจับไก่จะต้องจับไก่อย่างนิ่มนวลและจับอย่างถูกวิธี อุปกรณ์ในการจับไก่ ภาชนะในการบรรจุไก่และ ยานพาหนะในการเคล่อื นยา้ ยจะต้องเหมาะสม ก่อนการเริม่ จบั ไก่และในระหว่างการจับ ไก่ฝูงนั้นจะต้องอยู่กัน อยา่ งสงบน่ิงและมีกิจกรรมน้อยท่ีสดุ เพื่อป้องกนั การเกดิ รอยฟกชา้ บาดแผล ปกี หักและขาหัก เป็นต้น ตารางที่ 4.26 ข้อปฏบิ ัติกอ่ นเร่ิมกระบวนการจบั ไก่ จะต้องมกี ารตรวจสอบและมีการเตรยี มการดังต่อไปน้ี การตรวจสอบ การท้างาน/กิจกรรม เวลาท่จี ะเร่ิมตน้ จบั ไกแ่ ละขนสง่ คานวณระยะเวลาท่ีจะต้องใช้ในการจับไก่ เวลาท่ี จะต้องใชใ้ นการขนสง่ และคิวหรือเวลาท่ีจะเข้าโรงงาน ช า แ ห ล ะ เ พื่ อ จ ะ ไ ด้ ค า น ว ณ เ ว ล า ใ น ก า ร เ ร่ิ ม ต้ น อ ด อาหารและเวลาที่จะเร่มิ ตน้ จับไกท่ ่เี หมาะสมได้ จานวนกลอ่ งบรรจไุ ก่ (Crates) และโมดลู (Modules) คานวณหรือประมาณการจานวนกล่องบรรจุไก่และ ท่ใี ช้ในการบรรจุไก่ โมดลู ทีจ่ ะต้องใช้ รวมท้ังจานวนรถบรรทุกที่จะต้องใช้
การจดั การฟาร์มสตั วป์ กี (ปรับปรุง 2560) 69 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย การตรวจสอบ การท้างาน/กิจกรรม อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ท่จี ะต้องใช้ ในการขนส่งให้เหมาะสมกับจานวนไก่ก่อนจะเริ่มต้น พ้นื ดนิ /ทางเข้าโรงเรือน จบั ไก่ วสั ดรุ องพน้ื ต้องแน่ใจว่าอุปกรณ์ทุกอย่างท่ีจาเป็นจะต้องใช้ท้ัง อปุ กรณ์ใหอ้ าหาร รถบรรทุก กล่องบรรจุไก่ โมดูล แผงตาข่ายก้ันไก่ การกัน้ หอ้ ง/แบ่งเปน็ ห้องเลก็ จะต้องสะอาดและผ่านการฆ่าเช้ืออย่างเหมาะสม ความเขม้ แสง มาแลว้ และจะตอ้ งอยูใ่ นสภาพท่ีใช้งานไดด้ ี พื้นดิน/ทางเข้าโรงเรือนจะต้องเรียบไม่เป็นหลุมเป็น การระบายอากาศ บ่อหรือไม่ทาให้การขนส่งไก่สะดุดซ่ึงจะทาให้ไก่ได้รับ บาดเจบ็ ได้ ถ้ามีวัสดุรองพื้นส่วนใดส่วนหนึ่งเปียกแฉะอาจจะต้อง เอาออกหรือใช้วัสดุรองพื้นท่ีแห้งมากลบปิดเอาไว้เพื่อ ป้องกนั การสกปรก ให้เอาอุปกรณ์ให้อาหารออกหรือยกระดับให้สูงข้ึน เพอ่ื ไมใ่ หก้ ีดขวางการทางานของพนักงานจบั ไก่ ในโรงเรือนขนาดใหญจ่ าเป็นต้องใช้ตาข่ายกัน้ ซอยเป็น ห้องเล็ก ๆ (Pen) เพ่ือป้องกันไก่ไปสุมทับรวมกันใน พ้นื ทเี่ ดยี วกนั ในระหว่างการจับไกใ่ หล้ ดความเขม้ แสงลงให้มากท่ีสุด เท่าท่ีจะทาได้แต่ต้องไม่เป็นอุปสรรคต่อการจับไก่ เพื่อใหไ้ ก่อยกู่ นั อยา่ งสงบ การจับไก่ในช่วงกลางคืนจะ เหมาะสมท่สี ุดเน่ืองจากสามารถควบคุมความเข้มแสง ได้ดีกว่าช่วงกลางวัน ในขณะจับไก่ให้เปิดแสงสีฟ้า เพอ่ื ให้ฝูงไกส่ งบลง จะต้องมีการระบายอากาศท่ีดีตลอดระยะเวลาในการ จับไก่เพ่ือป้องกันความร้อนสะสมในโรงเรือน ลม จะต้องพัดผ่านตัวไก่ตลอดเวลาและต้องคอยสังเกต อาการผดิ ปกตขิ องไก่ เชน่ อาการหอบ เป็นต้น วิธีการจับขาไก่ที่ถูกต้องจะต้องจับด้วยมืออย่างนุ่มนวลทั้ง 2 ขาและจะต้องเต็มมือ ถ้าหากจับท่ีตัว จะตอ้ งใช้มอื ทง้ั 2 ข้างรวบให้ปีกชดิ กับลาตัวเพอื่ ป้องกนั การด้นิ ของไก่ ดงั แสดงในภาพท่ี 4.10
การจดั การฟาร์มสตั ว์ปกี (ปรับปรงุ 2560) 70 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ภาพท่ี 4.10 แสดงการจับไกท่ ่ถี ูกตอ้ งโดยการใชม้ อื รวบขาทง้ั สองข้างหรือใช้มือจบั รอบอก ทมี่ า : Arbor Acres; Broiler Management Hand Book (2014) หน้า 123 นอกจากน้กี ารจับไก่ลงกลอ่ งจะต้องนุ่มนวล หา้ มโยนหรอื ยดั ไก่ลงกล่อง การใช้โมดูลในการเคล่ือนย้าย ไก่จะเหมาะสมท่สี ดุ เนื่องจากไก่เกิดความเครียดน้อยและมีการสูญเสียน้อยกว่าการใช้กล่องบรรจุไก่ จานวนไก่ ท่ีจะบรรจุไก่ลงกล่องหรือโมดูลจะต้องเหมาะ ในช่วงฤดูร้อนจะต้องลดจานวนตัวต่อกล่องหรือโมดูลลงและ จะตอ้ งมพี ัดลมเปา่ ในขณะบรรจไุ กล่ งกล่องและนาข้ึนรถบรรทุก ควรมีช่องว่างระหว่างโมดูลหรือระหว่างกล่อง อย่างนอ้ ย 10 เซนติเมตร หรอื 2 น้วิ ของทกุ ๆ 2 ช้ันของกล่อง หรืออาจจะใช้กล่องเปล่าคั่นกลางเป็นระยะ ๆ เพือ่ ใหม้ ีการระบายอากาศดขี ้นึ ในขณะท่ีไก่อยู่บนรถบรรทุกความร้อนสะสมจะเพิ่มข้ึนอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะ อย่างย่ิงในช่วงท่ีรถจอดอยู่กับที่จะไม่มีลมพัดผ่าน ดังนั้น จะต้องออกเดินทางทันทีท่ีจับไก่ข้ึนรถบรรทุกเสร็จ เรียบร้อยและการขนส่งจะต้องใช้ระยะเวลาให้น้อยที่สุดและจะต้องจอดพักรถให้น้อยที่สุดด้วย เม่ือรถบรรทุก ไก่ถึงโรงงานชาแหละแล้วในระหว่างรอคิวชาแหละจะต้องมีพัดลมเป่าตลอดเวลาเพื่อระบายความร้อนท่ีสะสม อาจจะมีการฉดี พ่นสเปรย์นา้ เพื่อลดความร้อนลงไดแ้ ตจ่ ะต้องระวงั ไม่ให้ความช้นื ในบรรยากาศสูงเกนิ 70% ปัญหาท่ีมกั พบในการเลยี้ งไก่กระทง 1. น้าหนักตัวน้อย ปัญหาไก่กระทงมีน้าหนักตัวน้อย หรือมีน้าหนักตัวไม่ได้ตามเป้าหมายหรือ มาตรฐานท่ีกาหนดไวเ้ มอ่ื อายถุ ึงเกณฑ์ท่กี าหนด อาจจะมีสาเหตุมาจากปจั จยั ต่าง ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1.1 ขนาดไข่ฟัก ลูกไกท่ ่ีมาจากแม่พันธุ์ที่เพิ่งเป็นสาวจะมีขนาดเล็กกว่าไข่ที่มาจากแม่พันธ์ุท่ี มีอายุมาก เม่ือไข่ฟักมขี นาดเล็กก็จะส่งผลให้ได้ลูกไก่ขนาดเล็กตามไปด้วย ในขณะที่ไข่ฟักขนาดใหญ่กว่าจะให้ ลกู ไกท่ ่มี ขี นาดใหญ่กวา่ และมสี มรรถภาพการเจรญิ เตบิ โตดกี ว่าด้วยดงั แสดงในตารางที่ 4.27
การจดั การฟารม์ สตั ว์ปีก (ปรับปรงุ 2560) 71 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ตารางท่ี 4.27 ผลของขนาดไข่ฟักต่อน้าหนักลูกไก่แรกเกิดและสมรรถภาพการเจริญเติบโตของไก่กระทงเมื่อ เล้ยี งจนถึงอายุ 7 สปั ดาห์ น้าหนักไขฟ่ ัก น้าหนักแรกเกดิ อตั ราการตาย (%) น้าหนักตัว (กก.) FCR (กรัม) (กรมั ) 47.2 30.2 7.00 2.42 2.08 52.0 33.3 6.25 2.46 2.06 56.7 36.3 5.50 2.50 2.04 61.4 39.3 4.75 2.54 2.02 66.1 42.3 5.68 2.58 2.00 ทีม่ า : Bell and Weaver (2002) หน้า 865 1.2 สภาพอากาศ การเลีย้ งไก่ในชว่ งฤดูร้อนไก่มักจะมอี ตั ราการเจริญเติบโตช้ากว่าในช่วงฤดู หนาว เนอื่ งจากในชว่ งฤดูร้อน ไก่จะกนิ อาหารนอ้ ยกว่านัน่ เอง 1.3 การจัดการอุปกรณ์ให้น้าให้อาหารไม่ถูกต้อง ถ้าหากมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ให้น้าหรือ อปุ กรณ์ใหอ้ าหารไม่เพยี งพอกบั ความต้องการของไก่จะส่งผลให้เกิดการแก่งแย่งกันมากข้ึน ไก่ได้ดื่มน้าและกิน อาหารไม่เพียงพอ จะส่งผลให้ไดน้ ้าหนกั ตัวไม่ไดต้ ามมาตรฐานทก่ี าหนดไว้ 2. คุณภาพอากาศไม่ดี คุณภาพของอากาศภายในโรงเรือนเป็นส่งสาคัญ เน่ืองจากการเลี้ยงไก่กระทง มักจะให้ไก่อยู่ในพื้นที่ท่ีจากัดและมีการเล้ียงแบบหนาแน่นมาก จึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องจัดหาอากาศท่ีดีมี ออกซิเจนเพียงพอ ไม่มีก๊าซพิษ อย่างไรก็ตาม ปัญหาเกี่ยวกับคุณภาพของอากาศมักพบในช่วงฤดูหนาว เนื่องจากผู้เลี้ยงจะต้องลดปริมาณการระบายอากาศออกจากโรงเรือนให้น้อยลงเพื่อรักษาความอบอุ่ นภายใน โรงเรอื นทาให้มีกา๊ ซพษิ สะสมอยู่มาก เชน่ กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ (Co2) ก๊าซแอมโมเนีย (NH3) ฯลฯ 3. คุณภาพน้าดื่ม น้าด่ืมสาหรับไก่จะต้องคานึงถึงความสะอาดปราศจากเชื้อจุลินทรีย์ปนเป้ือน มีค่า pH พอเหมาะ และโลหะหนักท่ีเป็นโทษปนเปื้อน ค่า pH ของน้าดื่มท่ีเหมาะสมสาหรับการเล้ียงไก่กระทงควร อยู่ระหว่าง 6.4-8.5 ถ้าหากน้ามีค่า pH น้อยกว่า 6.4 หรือมีค่ามากกว่า 8.5 จะทาให้ไก่ชะงักการเจริญเติบโต ถ้าหากในน้าน้ันมีแร่ธาตุบางชนิดมีมากเกินไปก็จะเป็นสาเหตุให้ไก่ชะงักการเจริญเติบโตได้ เช่น โซเดียม (Sodium) คลอไรด์ (Chloride) ซัลเฟต (Sulfate) แมกนีเซยี ม (Magnesium) และไนเตรท (Nitrate) 4. โรคติดต่อ ไก่เนื้อมีอายุการเล้ียงสั้น เม่ือเกิดโรคขึ้นกับไก่แล้วจะทาให้ไก่กินอาหารได้น้อยลงส่งผล ใหช้ ะงกั การเจรญิ เตบิ โตและมนี า้ หนกั ตวั นอ้ ย การวนิ จิ ฉยั โรคทร่ี วดเรว็ และการรกั ษาอย่างทันท่วงทีจะสามารถ ลดปัญหาดังกล่าวนี้ลงได้ อย่างไรก็ตาม ในอุตสาหกรรมการเลี้ยงไก่กระทงนั้น การจัดการไม่ให้มีปัญหา เกยี่ วกับโรคระบาดจะดีที่สดุ ดงั นน้ั ผู้เลยี้ งไก่จงึ ให้ความสาคัญกับการป้องกันและควบคุมโรคมากกว่าการรักษา ซง่ึ สามารถทาไดโ้ ดยการทาความสะอาดโรงเรือนและอปุ กรณก์ ารเล้ยี งไกใ่ ห้สะอาดและทาการฆ่าเชื้อด้วยน้ายา ฆ่าเชื้อภายหลังจากจับไก่ออกหมดแล้ว มีการพักเล้าประมาณ 12-14 วันเพ่ือตัดวงจรการติดต่อของโรคบาง ชนิด 5. ความสม้่าเสมอของฝูง (Uniformity) ความสม่าเสมอของน้าหนักตัวไก่นั้นจะเป็นตัวบ่งชี้ถึงการ จดั การฝงู ไก่กระทงนัน้ วา่ ถูกต้องหรือไม่ ถ้าหากไก่ที่เล้ียงมีค่าความสม่าเสมอของน้าหนักตัวต่า แสดงให้เห็นว่า ไก่ฝูงนั้นมีการจัดการไม่ดี หรืออาจจะเกิดโรคติดต่อ สภาพอากาศภายในโรงเรือนแต่ละส่วนไม่สม่าเสมอ อาจจะมีพื้นท่ีบางส่วนภายในโรงเรือนร้อนเกินไป บางพื้นที่เย็นเกินไป หรืออุณหภูมิสูง-ต่าในแต่ละวันมีความ
การจดั การฟาร์มสัตว์ปกี (ปรับปรุง 2560) 72 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย แตกต่างกันมาก การระบายอากาศไม่เพียงพอโดยเฉพาะอย่างย่ิงในช่วงกลางคืนที่มีอากาศเย็น บางพ้ืนที่ ภายในโรงเรือนอาจจะมเี งามดื บางพ้ืนทอ่ี าจจะมีแสงสวา่ งมากเกินไป หรอื อาจจะมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ให้น้า ใหอ้ าหารไมเ่ พียงพอกับความต้องการของไก่ก็ได้ ไกจ่ ะมกี ารเคลอ่ื นที่ไปมาภายในโรงเรือนเพ่ือหาบริเวณท่ีมีสภาพแวดล้อมเหมาะสมสาหรับตนเอง ถ้า หากแต่ละพ้ืนที่ภายในโรงเรือนมีสภาพแวดล้อมแตกต่างกันมาก จะทาให้ไก่เคลื่อนย้ายไปยังบริเวณท่ีมี สภาพแวดล้อมเหมาะสมกับตนเองมากกว่า ส่งผลให้ในบริเวณน้ันมีความหนาแน่นของมากกว่ากว่าบริเวณอ่ืน อุปกรณ์ให้น้า ให้อาหารไม่เพียงพอ ส่งผลให้ค่าความสม่าเสมอของน้าหนักตัวลดลง การเลี้ยงไก่ในโรงเรือน ขนาดใหญ่ เช่น โรงเรือนระบบ Evaporative cooling system ควรใช้แผงตาข่ายท่ีมีความสูงประมาณ 18 นวิ้ (45 เซนติเมตร) กัน้ แบ่งเป็นชว่ ง ๆ ละประมาณ 30 เมตร เพื่อป้องกันมิให้ไก่เคลื่อนท่ีไปอยู่รวมกันในพื้นท่ี ใดพน้ื ที่หน่ึงหนาแน่นเกินไปสามารถช่วยให้ค่าความสม่าเสมอของน้าหนกั ตวั ไก่ดขี ้นึ 6. อัตราการตายสูง (High mortality) ในกรณีท่ีผู้เล้ียงมีการจัดการในระหว่างการกกลูกไก่ดี ถ้า หากมกี ารตายของลูกไกเ่ กดิ ขึ้นในช่วงอายุ 7 วนั แรก สามารถสนั นิษฐานได้ว่าอาจมีสาเหตุมาจากโรงฟักหรือฝูง ไก่พ่อแมพ่ ันธุ์มีปัญหา ถ้าหากการตายของไก่เกิดข้ึนหลังจากอายุ 7 วัน สันนิษฐานได้ว่าน่าจะมีสาเหตุเกิดการ เล้ยี งดู การจดั การ หรอื อาจจะเกิดโรคบางอย่าง การปรับปรุงพันธุ์ไก่เน้ือในปัจจุบันมุ่งเน้นให้มีการเจริญเติบโตเร็ว ระยะเวลาในการเล้ียงส้ันลง โดย มิไดค้ านึงถึงการทางานของอวัยวะท่ีสนบั สนนุ การเจริญเตบิ โต หรอื รองรับการเจริญเติบท่ีเพ่ิมข้ึนมา เช่น หัวใจ ตับ ปอด และขา ฯลฯ สิ่งท่ีตามมาก็คือ เกิดปัญหาโรคท้องมาน ขาพิการ และการตายฉับพลันมากข้ึน ซ่ึง พบว่า ไก่ที่เกิดภาวะโรคดังกล่าวข้างต้นจะเกิดกับไก่ที่มีอัตราการเจริญเติบโตเร็ว มีน้าหนักมาก โดยเฉพาะ อย่างย่ิง การเลี้ยงไก่เพ่ือจับขายเป็นไก่ใหญ่ การตายเน่ืองจากสาเหตุดังกล่าวข้างต้นน้ีอาจจะมีมากกว่า 10% ถ้าหากมีการตายของไก่ในช่วงท้ายของการเลี้ยงจะมีความสูญเสียทางเศรษฐกิจมาก การลดปัญหาการตายที่ เกิดจากการเจริญเติบโตมีหลายวิธี เช่น การกกลูกไก่ด้วยอุณหภูมิสูงกว่าปกติ การลดความเข้มข้นของโภชนะ ในอาหารสาหรับลูกไก่ การจากัดอาหารท่ีให้ไก่กินในช่วงแรก และการให้แสงสว่างแบบช่วง (Intermittent light) ซง่ึ พบว่า สามารถลดภาวการณ์เกิดโรคท้องมานในฝูงไก่ลงได้ ลดปัญหาขาพิการ และลดปัญหาการตาย ฉบั พลนั ในช่วงท้ายของการเล้ยี งลงได้ 7. ซากมีต้าหนิและคุณภาพต่้า คุณภาพซากของไก่จะขึ้นอยู่กับสภาวะการเกิดโรค การจัดการด้าน อุปกรณ์ภายในโรงเรือนจะต้องไม่มีขอบคมหรือสิ่งแหลมคมยื่นออกมา ควรจับไก่อย่างระมัดระวังซึ่งจะช่วยลด เกิดการบาดเจ็บ รอยฟกช้า รอยถลอก ปีกหัก ขาหัก ฯลฯ ลงได้ การจัดการวัสดุรองพื้นไม่ให้เปียกช้ืนหรือจับ กนั เปน็ ก้อนแข็งซึ่งจะเป็นสาเหตุทาให้เกดิ ปญั หาแผลท่ีฝ่าเทา้ และถุงนา้ ใต้ผวิ หนงั ที่หนา้ อกได้ การบนั ทึกข้อมลู และการคา้ นวณคา่ ต่าง ๆ ขอ้ มูลทีจ่ ะต้องบันทกึ ประกอบด้วย 1. วนั ทรี่ ับลูกไก่ พนั ธุ์ไก่ที่เล้ียงและบรษิ ัทผ้ผู ลติ ลูกไก่ 2. จานวนไกท่ ง้ั หมดและน้าหนักเฉลีย่ เม่ือเริม่ ต้นเลยี้ ง 3. จานวนไก่ตายและคัดท้ิงในแต่ละวัน 4. ปรมิ าณอาหารท่ีใหห้ รอื กนิ ในแตล่ ะวนั 5. การให้ยาและไวตามนิ
การจดั การฟาร์มสตั วป์ ีก (ปรับปรงุ 2560) 73 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย 6. การทาวคั ซีน จะต้องบันทึกชนิดวัคซนี ชอ่ื ทางการค้า บรษิ ัททผ่ี ลติ วนั หมดอายุ วธิ ีการให้ และวนั ทที่ าวัคซีน 7. น้าหนกั ไก่ทง้ั หมดท่ขี าย 8. จานวนไกท่ ้งั หมดท่ขี าย 9. ระยะเวลาการให้แสงแตล่ ะวนั และเวลาเปิด-ปิดแสง 10. อณุ หภมู ิสูง-ต่าสุดในแต่ละวนั 11. ความช้ืนสมั พัทธ์ในแต่ละวัน สตู รการคา้ ควณสมรรถภาพการให้ผลผลติ นา้ หนกั ตวั ทเ่ี พิ่ม/ตัว = นน. ตวั สิ้นสุด – นน. ตวั เริม่ ต้น (Weight gain) นา้ หนกั ตวั ทเี่ พ่ิม/วนั นน. ตัวสนิ้ สดุ – นน. ตัวเร่ิมตน้ เล้ยี ง (Average daily gain, ADG) = จานวนวันท่เี ลีย้ ง ปริมาณอาหารท่ีกิน/ตัว = นน. อาหารท่ใี ห้ – นน. อาหารที่เหลอื (Feed intake) จานวนตัว อัตราการเปลี่ยนอาหาร = นน. อาหารท่ีกนิ ทั้งหมด (Feed conversion ratio, FCR) นน. ตัวท่ีเพิม่ อัตราการตาย (%) = จานวนไก่ตาย + คดั ทิง้ (Mortality rate) X 100 หรอื จานวนไก่เร่มิ ตน้ เลย้ี ง อัตราการตาย (%) จานวนไกเ่ ริม่ ตน้ เลี้ยง – จานวนไก่เม่ือส้นิ สุดการเล้ยี ง (Mortality rate) = X 100 จานวนไก่เรม่ิ ต้นเลี้ยง อตั ราการเล้ียงรอด (%) = จานวนไกเ่ มื่อสนิ้ สุดการเล้ียง (Liveability) X 100 จานวนไกเ่ ร่มิ ตน้ เล้ียง คา่ ประสทิ ธิภาพการผลติ Factor, PEF) = อัตราการเล้ียงรอด x น้าหนกั ตัว (กก.) X 100 (Production Efficiency อายุ (วนั ) x FCR ตน้ ทนุ อาหารต่อการผลิตไก่ 1 กก. = FCR X ราคาอาหาร (บาท/กก.) (Feed cost of production)
การจัดการฟาร์มสตั วป์ กี (ปรบั ปรุง 2560) 74 ผศ.ดร.ประภากร ธาราฉาย ท่ีมา : de Jong Ingrid and Jan van Harn (2012) Management Tool to Reduce Foot Pad Dermatitis in Broilers. Aviagen. หน้า 24
Search
Read the Text Version
- 1 - 43
Pages: