สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ บทท่ี 2 สุนทรียภาพด้านวรรณกรรม ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์เจษฎาภรณ์ อจั ฉริโยภาสหัวข้อเนือ้ หา ตอนที่ 2.1 ความรู้ทว่ั ไปเก่ียวกบั วรรณกรรม เรื่องท่ี 2.1.1 ความหมายของคาวา่ วรรณกรรม เรื่องท่ี 2.1.2 วรรณกรรมในฐานะเป็นศลิ ปะ เรื่องที่ 2.1.3 องค์ประกอบของกวีนิพนธ์ เรื่องที่ 2.1.4 องค์ประกอบของนวนิยายและเรื่องสนั้ เร่ืองท่ี 2.1.5 องค์ประกอบของบทละคร ตอนที่ 2.2 สนุ ทรียภาพด้านวรรณกรรม เรื่องท่ี 2.2.1 ปรัชญาของวรรณกรรม เรื่องที่ 2.2.2 ความซาบซงึ ้ ด้านสนุ ทรียภาพของวรรณกรรม เร่ืองท่ี 2.2.3 ลกั ษณะของสนุ ทรียภาพในวรรณกรรม เร่ืองที่ 2.2.4 การประเมนิ สนุ ทรียภาพในวรรณกรรมแนวคดิ 1. คาวา่ “วรรณกรรม” ไมม่ ีในสมยั รัชกาลที่ 6 แตม่ ีคาวา่ “หนงั สือ” หนงั สือที่แตง่ ขนึ ้ และตีพิมพ์เป็ นเร่ืองแล้วย่อมเรียกได้วา่ เป็ นวรรณคดีทงั้ สิน้ เพียงแต่หนงั สือเล่มใดหรือเรื่องใดจะได้รับการยกยอ่ ง วา่ เป็นวรรณคดีที่มีคณุ สมบตั ติ รงตามหรือเข้าอย่ใู นข่ายแหง่ ความในพระราชกฤษฎีกาอนั ควรได้รับประโยชน์นัน้ ต้องผ่านการพิจารณาจากวรรณคดีสโมสรเท่านัน้ ซ่ึงเมื่อพิจารณาโดยนัยยะย่อมแสดงความหมายว่า หนังสือหรือวรรณคดีมีคุณวิเศษณ์บริบูรณ์ได้มาโดยการกาหนดจากอานาจของรัฐ และสามารถเข้าใจได้ว่าสนุ ทรียภาพก็พึงเกิดขึน้ จากการกาหนดโดยอานาจรัฐ พลเมืองแหง่ รัฐจะเกิดสนุ ทรียภาพเองมิได้ เหตุนนั้ เองสุนทรียภาพท่ีกล่าวจึงมิใช่สุนทรียภาพท่ีมีความหมายเก่ียวข้องกับศิลปะวรรณกรรม ดงั ที่โลกศิลปะวรรณกรรมเข้าใจตามความหมายของคาภาษาองั กฤษ ทงั้ นี ้เพราะคาว่าวรรณคดีในภาษาไทยเป็ นศพั ท์ท่ีบญั ญตั ขิ นึ ้ เมื่อพทุ ธศกั ราช 2457 เพียงเพื่อปรับความหมายให้ 49
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติเข้ากับคาว่า “literature” ดงั เป็ นท่ีทราบทั่วไป แต่มีความแตกต่างกันอย่างสิน้ เชิงท่ีมิได้เป็ นความหมายอนั เกี่ยวข้องกบั สนุ ทรียภาพในศลิ ปะวรรณกรรม 2. คาว่า “วรรณกรรม” “วรรณคดี” และ “literature” สามารถสรุปความได้ว่า โดยสาระสาคญั ของคาดงั กลา่ วหมายถงึ ข้อเขียนท่ีเขียนหรือแตง่ ขนึ ้ เป็นหนงั สือ แตง่ ดีหรือไม่ดี เนือ้ หาดีหรือไม่ดี เป็ นหนังสือเก่ียวกับเรื่องใดก็ตาม หนังสือของชาติใดก็ตาม หนังสือภาษาใดก็ตามหนังสือยุคใดสมัยใดก็ตาม ล้วนนับว่าเป็ นวรรณกรรมทัง้ หมดทงั้ สิน้ เมื่อประสงค์คารับรองว่าข้อเขียนที่เขียนหรือแต่งขึน้ เล่มใดควรเป็ นหนงั สือท่ีได้ช่ือว่าเขียนดีอย่างมีวรรณศิลป์ จึงมอบให้คณะกรรมการที่จดั ตงั้ ขนึ ้ ทาหน้าที่พจิ ารณาตดั สิน และประกาศผลการตดั สนิ แกส่ าธารณชนทราบ 3. คานิยามของวรรณกรรมท่ีคนทว่ั ไปเข้าใจคือ ผลงานเขียนที่มีลกั ษณะเชิงศลิ ปะและให้คณุ คา่ ทางปัญญา จรรโลงใจหรือคา้ ชูจิตใจให้เบิกบาน โดยจากัดรูปแบบตามลักษณะการเขียนเป็ นกวีนิพนธ์ นวนิยาย เร่ืองสนั้ บทละคร และจาแนกตามแนวทางเนือ้ หา (genre) ที่กระทบอารมณ์เป็ นประเภทพาฝัน สยองขวญั ผจญภยั ชวนขนั เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม วรรณกรรมยงั ถูกจดั เป็ นงานเขียนประเภทบนั เทิงคดี (fiction) เพราะเขียนขึน้ มาจากจินตนาการและให้ความเพลิดเพลนิ แก่ผ้อู า่ น สว่ นงานเขียนท่ีไมก่ ่อเกิดความบนั เทิงตามความหมายดงั กลา่ วถกู จดั เป็ นสารคดี (non-fiction) เพราะเขียนหรือเรียบเรียงขึน้ เพื่อให้สาระหรือข้อมลู ความรู้แก่ผ้อู ่านเป็ นสาคญัถึงแม้ว่าสารคดีบางเรื่องอาจให้ความเพลิดเพลิน จรรโลงใจ หรือสาระความรู้ รวมอย่ใู นเนือ้ หาก็ตาม เชน่ ตารา หนงั สืออา่ นทว่ั ไป หนงั สืออ้างอิง คมู่ ือ วิทยานิพนธ์ ดงั นนั้ กล่าวได้ว่าคานิยามของวรรณกรรมมีความหมายคลมุ เครือไมช่ ดั เจนเดน่ ชดั เม่ือนาเทียบกบั ความหมายของสารคดี คานิยามของวรรณกรรมมีลักษณะที่ไม่ชัดเจนเด่นชัด เน่ืองจากหาข้อยุติมิ ได้โดยฉนั ทานมุ ตั ขิ องโลกทางศลิ ปะวรรณกรรม หากต้องระบวุ ่าวรรณกรรมจาเป็ นต้องตีพิมพ์เป็ นหนงั สือทงั้ นี ้มีผ้ตู งั้ ข้อสงั เกตว่าสาเหตเุ นื่องจากความเปลี่ยนแปลงอย่างตอ่ เนื่องในโลกของการพิมพ์ เช่นวรรณกรรมอิเลคทรอนิกส์ (electronic literature) อย่างไรก็ตาม นักวิชาการกลุ่มหนึ่งได้ตงั้ข้อสงั เกตต่อคานิยามของ “วรรณกรรม” ว่าเปรียบเหมือนถนนสายหนึ่งท่ีถูกย่าผ่านไปนบั ครัง้ ไม่ถ้วน แม้ว่าจุดหมายปลายทางท่ีไปถึงมิได้เป็ นท่ีพึงพอใจนกั คานิยามส่วนใหญ่ท่ีกลนั่ ออกมานนั้กลบั กว้างเกินไป คลุมเครือและเปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลาอยา่ งเลี่ยงไม่พ้ น ความจริงแล้วมีเพียงสง่ิ เดยี วท่ีแนน่ อนที่สดุ เก่ียวกบั การนิยามวรรณกรรมคือคานิยามจะต้องเปลี่ยนแปลง กรอบคดิ ของคาถามวา่ วรรณกรรมคืออะไรจงึ ต้องเปลี่ยนแปลงไปเชน่ เดียวกนั50
สนุ ทรียภาพกบั ชีวิต 4. กวีนิพนธ์ คือถ้อยคาที่ดีที่สดุ ในตาแหน่งท่ีเรียงไว้อย่างดีท่ีสดุ การอา่ นบทกวีนิพนธ์จึงเป็ นการหาความหมายของถ้ อยคา เพ่ือก่อเกิดสุนทรียภาพในอารมณ์สัมผัสรับรู้ของผู้อ่านความหมายของถ้ อยคาบทกวีนิพนธ์ปรากฏในองค์ประกอบหลายประการ ได้แก่ ภาพพจน์(figures of speech) เสียง (sound features) กระบวนจินตภาพ (imagery) สัญลักษณ์(symbols) ความเปรียบประชดประชนั พลิกผนั (irony) เอกภาพ (unity) จินตนาการ ความย้อนแย้ง ความกากวมหลายนยั (imagination, paradox, ambiguity) และ แกน่ เรื่อง (theme) 5. คาวา่ “นวนิยาย” และ “เรื่องสนั้ ” มีคานิยามท่ีแตกตา่ งกนั ตามธรรมชาติแหง่ เจตนาของการเล่าเร่ือง กล่าวคือ ประการแรก ถ้ากาหนดให้ เร่ืองสนั้ เป็ นหลกั เปรียบเทียบ กล่าวได้ว่าจานวนคาในเรื่องสนั้ มีน้อยกวา่ จานวนคาในนวนยิ าย ประการสอง โครงสร้าง (structure) ของโครงเร่ือง (plot) ในเร่ืองสนั้ ซ่ึงมีสามส่วน (the three-act structure) นนั้ ม่งุ เจาะจงจาเพาะท่ีการเสนอเหตกุ ารณ์หลกั ท่ีเก่ียวข้องกับตัวละครเอกเท่านนั้ นับว่าแตกต่างจากนวนิยายท่ีสามารถดาเนินเรื่องตามโครงสร้างสามสว่ น ได้อยา่ งละเอียดครบถ้วนตามเจตนาของนกั เขียนได้มากกวา่ ประการสาม เหตุการณ์ที่เกิดขึน้ ในเรื่องสนั้ ต้องมุ่งจาเพาะเหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขึน้ กับตวั ละครเอกเท่านนั้ ซ่ึงแตกตา่ งจากนวนยิ ายท่ีสามารถเลา่ เหตกุ ารณ์ที่เกิดขนึ ้ กบั ตวั ละครอ่ืน ๆ ในเรื่องได้ละเอียดมากกวา่ 6. การอ่านนวนิยายและเรื่องสัน้ ผู้อ่านควรพิจารณาองค์ประกอบของเร่ืองเล่าสองประเภทดงั กล่าว เพ่ือเป็ นส่ิงช่วยให้เข้าใจและเข้าถึงความคิด อารมณ์ ปัญญา และการสร้างสรรค์อนั เป็ นคณุ คา่ ของเร่ืองเลา่ ด้านศิลปะวรรณกรรม ดงั ตอ่ ไปนี ้โครงสร้างของเร่ือง (structure) โครงเรื่อง (plot) ฉากของเรื่อง (setting) ผ้เู ลา่ และมมุ มองการเลา่ เร่ือง (narrators and point of view)ลีลาภาษาและบทสนทนา (style and dialogue) ตวั ละคร (character) แกน่ เรื่อง (theme) 7. บทละคร (play) เป็ นวรรณกรรมท่ีเขียนเป็ นร้ อยแก้วประเภทบนั เทิงคดี (fiction)นกั เขียนบทละคร (playwright) เขียนบทละครขึน้ ด้วยรูปแบบท่ีแตกต่างจากงานเขียนร้ อยแก้วประเภทอ่ืน เช่น นวนิยาย เรื่องสนั้ สารคดี (non-fiction) แม้วา่ บทละครบางเร่ืองมีลกั ษณะเป็ นกวีนพิ นธ์แทรกปนอยู่บ้างก็ตาม ทงั้ นีเ้นื่องจากบทละครเป็ นเพียงองค์ประกอบสว่ นหนึง่ ของการแสดงละครบนเวที กลา่ วได้วา่ บทละครหมายถึงงานเขียนประเภทเรื่องเล่าท่ีมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อใช้เป็ นบท(screen) สาหรับการแสดงบนเวที บทละครมีรูปแบบท่ีแตกตา่ งจากงานเขียนร้อยแก้วประเภทอื่นในข้อท่ีว่า บทละครแบง่ เรื่องราวเหตกุ ารณ์ออกเป็ นหลายองก์ (Act) แตล่ ะองค์แบง่ ออกเป็ นหลายฉาก (Scene) บทละครตลอดทงั้ เร่ืองถกู เขียนขนึ ้ ให้มีเฉพาะบทสนทนาของตวั ละคร คาสนทนาถกูกากบั ไว้ด้วยชื่อของตวั ละคร ตวั ละครถกู กาหนดทิศทางขณะปรากฏตวั บนเวทีด้วยคาอธิบายบอกในตวั บท 51
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ 8. การประเมินสนุ ทรียภาพหรือประสบการณ์สนุ ทรียภาพในวรรณกรรม สามารถอธิบายได้ด้วยปรากฏการณ์เชิงประจักษ์ เพื่อยืนยันและเชื่อได้ว่าปัจเจกบุคคลเกิดประสบการณ์สนุ ทรียภาพอย่างไร โดยอาศยั หลกั เกณฑ์ 4 ด้านดงั ต่อไปนี ้1) ประวตั ิผลงานศิลปะ (History ofArtwork) 2) ทฤษฎีศิลปะ (Art Theory) 3) คณุ คา่ ด้านสนุ ทรียภาพ (Aesthetic Qualities) 4)คณุ คา่ ด้านเกณฑ์สุนทรียภาพ (Qualitative Criteria) หมายถึง คณุ คา่ ท่ีเกิดจากประสบการณ์สนุ ทรียภาพท่ีรับรู้อยา่ งสอดคล้องกบั รูปแบบ (form) และ เนือ้ หา (content) ของทฤษฎีศิลปะหรือประเภทของศลิ ปะวตั ถุประสงค์ เมื่อศกึ ษาบทท่ี 2 จบแล้ว นกั ศกึ ษาสามารถ 1. อธิบายความหมายของคาวา่ “วรรณกรรม” “วรรณคดี” “literature” ได้ 2. อธิบายความหมายของวรรณกรรมตามความเข้าใจของคนทว่ั ไปได้ 3. อธิบายคานยิ ามและองค์ประกอบของกวีนิพนธ์ได้ 4. อธิบายคานยิ ามและองค์ประกอบของนวนิยายและเรื่องสนั้ ได้ 5. อธิบายความหมายของบทละครและความแตกตา่ งจากงานเขียนประเภทอื่นได้ 6. อธิบายเกณฑ์ที่ใช้อธิบายประสบการณ์สนุ ทรียภาพด้านวรรณกรรมได้52
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ติบทนา คาวา่ “สนุ ทรียภาพ” มีความหมายตามภาษาของคนทวั่ ไปวา่ “ความงาม” แตเ่ ม่ือผกู โยงสนุ ทรียภาพเข้ากบั คาวา่ “ศิลปะ” ความหมายนนั้ แปรไปจากภาษาปรกติของคนทวั่ ไป กล่าวคือมีนยั ยะวา่ มงุ่ ให้ความสนใจในทางการรู้สกึ สมั ผสั รับรู้ได้ตอ่ ความงามของศลิ ปะหรือสภาพแวดล้อมที่เป็ นธรรมชาติ เม่ือความหมายดงั กล่าวอย่ใู นบริบทของศิลปะประเภทอื่นและศิลปะร่วมสมยั จะพบว่า สุนทรียภาพได้ก้าวข้ามคณุ ค่าด้านความงามไปส่คู ณุ ค่าด้านอ่ืนหลายรูปแบบ ดงั กรณีเม่ือสุนทรียภาพเข้าอยู่ในบริบทของงานวรรณกรรม ดงั นัน้ เมื่อกล่าวถึงสุนทรียภาพจึงต้องศึกษาความหมาย แนวคิด ความรู้ทวั่ ไปด้านความสมั พนั ธ์ระหว่างสนุ ทรียภาพกับวรรณกรรม เพ่ือเป็ นพืน้ ฐานการอธิบายประสบการณ์สนุ ทรียภาพ เม่ือได้สมั ผสั รับรู้ผลงานศลิ ปะประเภทวรรณกรรมตอนท่ี 2.1 ความรู้ท่วั ไปเก่ียวกับวรรณกรรม ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับวรรณกรรมมีเนือ้ หาเกี่ยวกับประวัติความเป็ นมาของคาว่าวรรณกรรมโดยสังเขป เพ่ือให้เห็นความแตกต่างด้านความหมายของคาในภาษาไทยและภาษาอังกฤษ นอกจากนัน้ ยังเสนอความรู้ที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบของวรรณกรรมประเภทบนั เทิงคดี (fiction) ได้แก่ กวีนิพนธ์ นวนิยาย เรื่องสนั้ และบทละคร เพื่อเป็ นแนวทางสาหรับการทาความเข้าใจสาระสาคัญของวรรณกรรมในเชิงลึก และเป็ นการนาไปสู่ความซาบซึง้ ต่องานวรรณกรรมในด้านสนุ ทรียภาพกบั วรรณกรรม เร่ืองท่ี 2.1.1 ความหมายของคาว่าวรรณกรรม คาว่า “วรรณกรรม” และคาว่า “วรรณคดี” เป็ นคาที่มีอยใู่ นภาษาไทยทงั้ สองคาโดยตา่ งมีความแตกตา่ งกนั ทางความหมายที่แปรไปจากคาภาษาองั กฤษโดยสิน้ เชิง กล่าวคือคาว่า“วรรณกรรม” พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 พิมพ์ครัง้ ท่ี 2 อธิบายความหมายว่า“วรรณกรรม น. งานหนงั สือ, งานประพนั ธ์, บทประพนั ธ์ทุกชนิดทงั้ ที่เป็ นร้ อยแก้วและร้อยกรอง,เช่น วรรณกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ วรรณกรรมของเสถียรโกเศศ วรรณกรรมฝรั่งเศส วรรณกรรมประเภทส่ือสารมวลชน” และได้อธิบายความหมายของคา “วรรณคดี” ในหน้าเดียวกันว่า“วรรณคดี น. วรรณกรรมท่ีได้รับยกยอ่ งวา่ แตง่ ดีมีคณุ คา่ เชิงวรรณศลิ ป์ ถงึ ขนาด เชน่ พระราชพิธีสิบสองเดอื น มธั นะพาธา สามก๊ก เสภาเรื่องขนุ ช้างขนุ แผน” [1] ดงั นนั้ ปัจจบุ นั คาว่า“วรรณกรรม” และ“วรรณคดี” มีความหมายต่างกันที่วรรณคดีคือวรรณกรรมท่ีได้รับยกย่อง หมายความว่ามีคณะ 53
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติบคุ คลทาหน้าท่ียกย่องวรรณกรรมเร่ืองนนั้ ๆ ว่าแตง่ ดีมีคณุ คา่ เชิงวรรณศลิ ป์ โดยมิได้เกี่ยวกบั การรู้สกึ สมั ผสั รับรู้ได้ของแตล่ ะบคุ คลตอ่ ความงามด้านศลิ ปะของวรรณกรรม สงั คมไทยเมื่อสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ วั รัชกาลท่ี 6 พระองค์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีคณะบุคคลทาหน้าท่ีพิจารณาหนงั สือเป็ นวรรณคดีท่ีแตง่ ดี ได้แก่คณะบุคคลท่ีเป็ นกรรมการในวรรณคดีสโมสร อันเป็ นสโมสรท่ีตงั้ ขึน้ ตามพระราชกฤษฎีกาตงั้วรรณคดีสโมสร ลงวันท่ี 23 กรกฎาคม พระพุทธศักราช 2457 และโดยมาตรา 7 แห่งพระราชกฤษฎีกาฉบบั ดงั กล่าวกาหนดให้หนงั สือไมว่ ่าเรื่องใดตามรายการต่อไปนี ้ให้นบั เป็ นหนงั สือท่ีควรได้รับพจิ ารณาจากวรรณคดสี โมสรตามพระราชกฤษฎีกาฉบบั นนั้ ดงั นี ้ (1) กวีนิพนธ์ คือ โคลง ฉนั ท์ กาพย์ กลอน (2) ละครไทย คอื แตง่ เป็ นกลอนแปด มีกาหนดหน้าพาทย์ ฯลฯ (3) นทิ าน คือ เร่ืองราวอนั ผกู ขนึ ้ และแตง่ เป็ นร้อยแก้ว (4) ละครพดู (5) คาอธิบาย (คือเอสเซย์ หรือ แปมเฟลต) แสดงด้วยศลิ ปวิทยา หรือกิจการอยา่ งใด อยา่ งหน่ีง (แตไ่ มใ่ ช่ตาราหรือแบบเรียน หรือความเรียงเรื่องโบราณคดี มีพงศาวดารเป็ นต้น) ให้นบั วา่ เป็นหนงั สือท่ีควรพิจารณาในวรรณคดสี โมสรตามพระราชกฤษฎีกานี ้ นอกจากนนั้ มาตรา 8 ตามพระราชกฤษฎีกาฉบบั ดงั กล่าว กาหนดให้หนงั สือตามมาตรา7 เรื่องใดเป็นหนงั สือดี มีคณุ วเิ ศษบริบรู ณ์ ต้องประกอบด้วยคณุ สมบตั ิ ดงั นี ้ (1) เป็ นหนังสือดี กล่าวคือเป็ นเรื่องท่ีสมควร ซึ่งสาธารณชนจะอ่านได้โดยไม่เสียประโยชน์ คือ ไม่เป็ นเร่ืองทภุ าษิต หรือเป็ นเร่ืองที่ชกั จงู ความคดิ ผ้อู ่านไปในทางอนั ไม่เป็ นแก่นสารหรื อซ่ึงจะชวนให้ คิดวุ่นวายไปในทางการเมือง อันจะเป็ นเครื่องราคาญแก่รัฐบาลของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ดงั่ นีเ้ป็นต้น (2) เป็ นหนังสือแต่งดี ใช้วิธีเรียบเรียงอย่างใด ๆ ก็ตาม แต่ต้องให้เป็ นภาษาไทยอันดีถกู ต้องตามเย่ียงท่ีใช้ในโบราณกาล หรือในปัตยบุ นั กาลก็ได้ ไม่ใช่ภาษาซงึ่ เลียนภาษาตา่ งประเทศหรือใช้วิธีผกู ประโยคประธานตามภาษาตา่ งประเทศ (เช่นใช้ว่า ไปจบั รถไฟ แทน ไปขนึ ้ รถไฟ หรือโดยสารรถไฟ และ มาสาย แทน มาช้า หรือมาล่า ดง่ั นีเ้ป็ นตวั อยา่ ง) ดงั่ นี ้ก็จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หนงั สือเร่ืองนีไ้ ด้รับประโยชน์จากวรรณคดสี โมสรตามสมควร [2] ดงั นัน้ กล่าวได้ว่าเมื่อสมัยรัชกาลท่ี 6 สังคมไทยไม่มีคาว่า “วรรณกรรม” แต่มีคาว่า“หนังสือ” ฉะนัน้ หนังสือที่แต่งขึน้ และตีพิมพ์เป็ นเร่ืองแล้วย่อมเรียกได้ว่าเป็ นวรรณคดีทัง้ สิน้เพียงแตห่ นงั สือเล่มใดหรือเร่ืองใดจะได้รับการยกยอ่ ง ว่าเป็ นวรรณคดีท่ีมีคณุ สมบตั ติ รงตามหรือ54
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ิตเข้าอยใู่ นข่ายแห่งความในพระราชกฤษฎีกาอนั ควรได้รับประโยชน์นนั้ ต้องผ่านการพิจารณาจากวรรณคดีสโมสรเทา่ นนั้ ซ่ึงเมื่อพิจารณาโดยนยั ยะยอ่ มแสดงความหมายว่า หนงั สือหรือวรรณคดีมีคณุ วเิ ศษณ์บริบรู ณ์ได้มาโดยการกาหนดจากอานาจของรัฐ และสามารถเข้าใจได้วา่ สนุ ทรียภาพก็พึงเกิดขึน้ จากการกาหนดโดยอานาจรัฐ พลเมืองแห่งรัฐจะเกิดสุนทรียภาพเองมิได้ เหตนุ นั้ เองสุนทรียภาพท่ีกล่าวจึงมิใช่สุนทรียภาพที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับศิลปะวรรณกรรม ดงั ท่ีโลกศิลปะวรรณกรรมเข้าใจตามความหมายของคาภาษาอังกฤษ ทัง้ นี ้ เพราะคาว่าวรรณคดีในภาษาไทยเป็ นศพั ท์ที่บญั ญัติขึน้ เมื่อพุทธศกั ราช 2457 เพียงเพ่ือปรับความหมายให้เข้ากบั คาว่า“literature” ดงั เป็ นที่ทราบทั่วไป แต่มีความแตกต่างกันอย่างสิน้ เชิงท่ีมิได้เป็ นความหมายอันเกี่ยวข้องกบั สนุ ทรียภาพในศลิ ปะวรรณกรรม ส่วนคาว่า “literature” นัน้ ปรากฏในภาษาอังกฤษช่วงปลายยุคกลางของยุโรปเมื่อประมาณปี คริสต์ศกั ราช 1375-1425 โดยเขียนว่า “litterature\" ซึ่งคานีม้ ีรากศพั ท์มาจากภาษาลาตนิ ว่า litterātūra / litteratura / literatura หมายความถึงการเขียน การเรียน หรือไวยากรณ์อย่างไรก็ตาม ปัจจบุ นั คา “literature” เป็ นคานาม มีความหมายหลายความหมาย ดงั นี ้หนงึ่ การเขียนท่ีมีลกั ษณะจาเพาะตามประเภทการเขียน ที่ผูกโยงอยู่กับแนวคิดหลากหลายที่เป็ นความสนใจโดยสากล เช่น กวีนิพนธ์ นวนิยาย ประวตั ศิ าสตร์ ชีวประวตั ิ และความเรียง สอง งานเขียนโดยรวมตามยคุ สมยั ภาษาเฉพาะแตล่ ะภาษา หรือชนชาติ เช่น the literature of England สามงานเขียนที่จาเพาะศาสตร์ เชน่ the literature of ornithology, the literature of medicine ส่ีอาชีพนกั เขียน ห้า ผลงานเขียนด้านวรรณกรรม (literary work or production) หก ส่ือส่ิงพิมพ์ เชน่แผน่ พบั โฆษณา (literature describing company products) เจ็ด โบราณหมายถึง ความรู้อนัประณีต (polite learning) วฒั นธรรมทางวรรณกรรม (literary culture) ความซาบซึง้ จบั ใจด้านตัวอักษรและหนังสือ นอกจากนัน้ คาว่า “literature” ยังหมายถึงงานเขียนท่ีเขียนดีอย่างมีวรรณศลิ ป์ (Literature, belles-lettres, letters refer to artistic writings worthy of beingremembered.) [3] เม่ือพิจารณาจากคาอธิบายดงั กล่าวข้างต้นของคาว่า “วรรณกรรม” “วรรณคดี”และ “literature” แล้วสามารถสรุปความได้วา่ โดยสาระสาคญั ของคาดงั กล่าวหมายถึงข้อเขียนท่ีเขียนหรือแตง่ ขึน้ เป็ นหนงั สือ แต่งดีหรือไม่ดี เนือ้ หาดีหรือไม่ดี เป็ นหนังสือเกี่ยวกบั เร่ืองใดก็ตามหนังสือของชาติใดก็ตาม หนังสือภาษาใดก็ตาม หนังสือยุคใดสมัยใดก็ตาม ล้วนนับว่าเป็ นวรรณกรรมทัง้ หมดทัง้ สิน้ เม่ือประสงค์คารับรองว่าข้อเขียนท่ีเขียนหรือแต่งขึน้ เล่มใดควรเป็ นหนงั สือที่ได้ชื่อว่าเขียนดีอย่างมีวรรณศลิ ป์ จึงมอบให้คณะกรรมการท่ีจดั ตงั้ ขนึ ้ ทาหน้าที่พิจารณา 55
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติตดั สิน และประกาศผลการตัดสินแก่สาธารณชนทราบ ดังกรณีที่ปฏิบตั ิกันเป็ นปรกติในสมัยปัจจบุ นั เชน่ รางวลั โนเบลสาขาวรรณกรรม (The Noble prize in literature) รางวลั พลู ิตเซอร์ (ThePulitzer prize for fiction) รางวลั ซีไรท์ (The S.E.A. Write Award, or Southeast Asian WritersAward) เป็นต้น เร่ืองท่ี 2.1.2 วรรณกรรมในฐานะเป็ นศิลปะ เมื่อพิจารณาวรรณกรรมจากมมุ มองของศิลปะ จาเป็ นต้องเข้าใจคานิยามของวรรณกรรมว่าหมายความถึงอะไร คานิยามของวรรณกรรมที่คนทวั่ ไปเข้าใจคือผลงานเขียนที่มีลกั ษณะเชงิ ศลิ ปะและให้คณุ คา่ ทางปัญญา จรรโลงใจหรือคา้ ชจู ิตใจให้เบกิ บาน โดยจากดั รูปแบบตามลกั ษณะการเขียนเป็ นกวีนิพนธ์ นวนิยาย เร่ืองสนั้ บทละคร และจาแนกตามแนวทางเนือ้ หา(genre) ที่กระทบอารมณ์เป็ นประเภทพาฝัน สยองขวญั ผจญภัย ชวนขัน เป็ นต้น อย่างไรก็ตามวรรณกรรมยงั ถูกจดั เป็ นงานเขียนประเภทบนั เทิงคดี (fiction) เพราะเขียนขึน้ มาจากจินตนาการและให้ความเพลิดเพลินแก่ผ้อู ่าน ส่วนงานเขียนท่ีไม่ก่อเกิดความบนั เทิงตามความหมายดงั กล่าวถูกจัดเป็ นสารคดี (non-fiction) เพราะเขียนหรือเรียบเรียงขึน้ เพ่ือให้สาระหรือข้อมูลความรู้แก่ผ้อู ่านเป็ นสาคญั ถึงแม้ว่าสารคดีบางเร่ืองอาจให้ความเพลิดเพลิน จรรโลงใจ หรือสาระความรู้รวมอยใู่ นเนือ้ หาก็ตาม เชน่ ตารา หนงั สืออ่านทวั่ ไป หนงั สืออ้างอิง คมู่ ือ วิทยานิพนธ์ ดงั นนั้ กลา่ วได้วา่ คานิยามของวรรณกรรมมีความหมายคลมุ เครือไมช่ ดั เจนเดน่ ชดั เมื่อนาเทียบกบั ความหมายของสารคดี คานิยามของวรรณกรรมมีลกั ษณะท่ีไมช่ ดั เจนเดน่ ชดั เน่ืองจากหาข้อยตุ มิ ิได้โดยฉนั ทานมุ ตั ขิ องโลกทางศลิ ปะวรรณกรรม หากต้องระบวุ า่ วรรณกรรมจาเป็ นต้องตีพิมพ์เป็ นหนงั สือทงั้ นี ้มีผ้ตู งั้ ข้อสงั เกตว่าสาเหตเุ น่ืองจากความเปล่ียนแปลงอย่างตอ่ เนื่องในโลกของการพิมพ์ เช่นวรรณกรรมอิเลคทรอนิกส์ (electronic literature) โดย ไซมอน ไรอนั และ ดิลีส ไรอนั (SimonRyan and Delyse Ryan) ได้ตงั้ ข้อสงั เกตท่ีได้รับการนาไปอ้างอิงในบทความด้านวรรณกรรมจานวนมากเก่ียวกบั คานิยามของวรรณกรรมว่า การค้นหาคานิยามของ “วรรณกรรม” คือถนนสายหนงึ่ ท่ีถกู ย่าผา่ นไปนบั ครัง้ ไม่ถ้วน แม้วา่ จดุ หมายปลายทางที่ไปถึงมิได้เป็ นท่ีพึงพอใจนกั คานิยามสว่ นใหญ่ท่ีกลนั่ ออกมานนั้ กลบั กว้างเกินไป คลมุ เครือและเปล่ียนแปลงไปตลอดเวลาอย่างเลี่ยงไม่พ้น ความจริงแล้วมีเพียงสิ่งเดียวท่ีแน่นอนท่ีสดุ เกี่ยวกบั การนิยามวรรณกรรม คือคานิยามจะต้องเปลี่ยนแปลง กรอบคดิ ของคาถามวา่ วรรณกรรมคืออะไรจึงต้องเปลี่ยนแปลงไปเชน่ เดียวกนั [4]56
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ติ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าคานิยามของวรรณกรรมเปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย แต่สมควรได้รู้ถึงพฒั นาการของคานยิ ามเหลา่ นนั้ วา่ โลกของวรรณกรรมแตล่ ะยคุ สมยั มองวรรณกรรมอยา่ งไร กลา่ วคือสงั คมยโุ รปตะวนั ตกเม่ือก่อนคริสต์ศตวรรษท่ี 18 มีความเข้าใจต่อวรรณกรรมว่าหมายถึงงานเขียนและหนงั สือเท่านนั้ ตอ่ เม่ือย่างเข้าส่ยู คุ โรแมนติก (the Romantic period -roughly between 1770 and 1848) วรรณกรรมจงึ หมายถึงงานเขียนท่ีเขียนขนึ ้ จากจินตนาการ [5]เวลาภายหลงั เกิดกระแสแนวคิดท่ีพิจารณาความเป็ นวรรณกรรม ว่าควรตดั สินตามคณุ สมบตั ิท่ีสูงส่งลา้ ค่าของตวั งานตรงเนือ้ หาส่วนท่ีเรียกว่าเขียนดี (belles-lettres or ‘fine writing’) ทงั้ นี ้หนงั สือ Encyclopædia Britannica Eleventh Edition (1910-11) ได้นาแนวคิดดงั กลา่ วมาอธิบายความหมายไว้ [6] จนเป็ นที่ทราบโดยท่ัวไป เหตุนัน้ คานิยามวรรณกรรมจึงมักมีเนือ้ ความในความหมายว่า วรรณกรรมคืองานเขียนที่เขียนดีและมีความหมาย (Literature is simply beautiful,meaningful writing.) อยา่ งไรก็ตาม นกั ทฤษฎีวรรณกรรมกลมุ่ รูปแบบนิยม (Formalism) พิจารณางานเขียนวา่ เป็ นวรรณกรรมหรือไม่เพียงใดท่ีโครงสร้างของตวั งาน กลา่ วคือมงุ่ ให้ความสาคญั ด้านผลกระทบเชิงกวีนิพนธ์ ซ่ึงเป็ นภาษาของวรรณกรรมที่แตกต่างไปจากภาษาท่ีมีใช้ในลักษณะสามญั ทว่ั ไป (ordinary uses of language) เช่น ภาษาของหนงั สือพิมพ์ [7] อยา่ งไรก็ตาม ความคลมุ เครือของความหมายวรรณกรรมตามแนวคิดของกล่มุ รูปแบบนิยมกลบั มิได้ถกู แก้ไขอย่างสิน้ข้อสงสยั เพราะไมส่ ามารถระบไุ ด้อย่างชดั เจนวา่ ภาษาสามญั ทว่ั ไป (ordinary language) นนั้ มีลกั ษณะอย่างไร เนื่องจากภาษาที่หมายถึงสามญั ทว่ั ไปนนั้ มีความเปล่ียนแปลงไปตามยคุ สมยั ไม่หยดุ คงท่ีตายตวั ตลอดไป แม้ว่าวรรณกรรมไม่มีคานิยามท่ีชดั เจนแนน่ อน แตผ่ ลงานวรรณกรรมปรากฏในโลกวรรณกรรมจานวนมากมายอยา่ งตอ่ เนื่อง นอกจากนนั้ ผลงานวรรณกรรมยงั ถกู นบั เป็ นงานด้านศลิ ปะอีกโสดหนง่ึ ด้วย ดงั นนั้ กลา่ วได้วา่ วรรณกรรมมีลกั ษณะจาเพาะ แตกตา่ งจากงานเขียนอื่นท่ีภาษาปรกติของคนท่ัวไปเรียกว่างานตลาด ลักษณะจาเพาะดังกล่าวนัน้ มีองค์ประกอบดังคาอธิบายในหนงั สือช่ือ Le Degré zero de l’écriture ของโรล็องด์ บาร์ตส์ (Roland Barthes1915–1980) ศาสตราจารย์ด้านสญั ศาสตร์วรรณกรรม (literary semiology) ชาวฝร่ังเศสท่ีนาเสนอแนวคิดด้ านสัญศาสตร์ (semiotics) จนเป็ นท่ียอมรับอย่างแพร่หลายในวงวิชาการด้ านมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ บาร์ตส์เช่ือว่าตวั วรรณกรรมเองทาหน้าที่เป็ นภาพแทนโลกได้อยา่ งโปร่งใส แม้วา่ ในระดบั การส่ือความหมายของเนือ้ ความวรรณกรรมหรือตวั บท (text) มีรหสั (code)การอา่ นเพ่ือหาความหมายแฝงจากถ้อยคาในวรรณกรรมอย่กู ็ตาม [8] โดยวรรณกรรมประกอบด้วยปัจจยั 3 ประการ ได้แก่ ภาษา (langue) ลีลา (style) และ ประพนั ธกรรม (écriture) [9] 57
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ ภาษาเป็ นผลผลิตของสงั คม วฒั นธรรม และประวตั ศิ าสตร์ ดงั นนั้ ภาษาจงึ เป็ นสญั ลกั ษณ์ (sign) ที่มีมาก่อนตวั นกั ประพนั ธ์ ย่ิงไปกว่านนั้ ภาษาของแตล่ ะสงั คมยงั อดุ มไปด้วยคติความเช่ือ คา่ นยิ ม ท่ีสง่ั สมมาเป็ นเวลายาวนานของคนรุ่นแล้วรุ่นเลา่ ดงั นนั้ ภาษาจึงเปรียบเสมือนวสั ดอุ ปุ กรณ์สาหรับให้นกั ประพนั ธ์หยิบไปใช้เพื่อเขียนงานประพนั ธ์ โรล็องด์ บาร์ตส์อธิบายวา่ เป็ นท่ีทราบกนั วา่ ภาษาประกอบขนึ ้ ด้วยข้อบงั คบั และความเคยชินชดุ หนง่ึ ซึง่ เป็ นของกลางที่ใช้ร่วมกนัในหม่นู กั เขียนยคุ สมยั หนึ่ง ๆ […] ภาษาเป็ นกรอบท่ีครอบการสร้างสรรค์วรรณกรรมเอาไว้เสมือนท้องฟ้ าและผืนดินซึ่งประสานกันเข้าเป็ นเค้าร่างของนิวาสถานอนั ค้นุ เคย [10] โดยความหมายคือภาษามีข้อจากัดด้านไวยากรณ์และความหมายของคาศพั ท์ ซึ่งนักประพันธ์แต่ละยุคสมัยไม่สามารถหยิบภาษาไปเขียนได้โดยสะดวกตามอาเภอใจ นกั ประพนั ธ์จาเป็ นต้องคดั เลือกกลนั่ กรองภาษากอ่ นใช้เพื่อให้ตรงตามวตั ถปุ ระสงค์ อย่างไรก็ตาม เมื่อนักประพันธ์คุ้นเคยอย่างเช่ียวชาญกับตัวภาษาแล้ว จึงสามารถจับทางภาษาเป็ นแนวทางการใช้ภาษาได้อย่างใจปรารถนา จนสามารถสร้ างผลงานประพนั ธ์ออกมาตามลีลาเฉพาะตน เหตนุ นั้ ณ จดุ นนั้ เองท่ีวรรณกรรมก่อเกิดกลายเป็ นงานศิลปะเพราะลีลาภาษาของนกั ประพนั ธ์ โรลอ็ งด์ บาร์ตส์อธิบายวา่ ในขณะที่ภาษายงั ไปไมถ่ ึงวรรณกรรมลีลานนั้ กลบั เกือบจะถือได้ว่าอย่เู ลยโพ้นไปจากวรรณกรรม ภาพพจน์บางภาพ จงั หวะบางจงั หวะคาศพั ท์บางกล่มุ ก่อกาเนิดขึน้ จากร่างสรีระและความฝังใจแต่หนหลงั ของนกั ประพนั ธ์ แล้วมนั ก็คอ่ ย ๆ กลายเป็ นวิถีอตั โนมตั ิในศิลปะของเขาผู้นนั้ […] ลีลาเป็ นรูปลกั ษณ์ท่ีปราศจากจุดหมายปลายทาง เป็ นผลผลิตจากแรงขบั ดนั มิใช่จากเจตนา[11] คาอธิบายดงั กล่าวนนั้ มีความหมายว่าเม่ือภาษาเป็ นเคร่ืองมือส่ือสารร่วมกันในสังคม ลีลาการใช้ภาษาจึงกลายเป็ นเรื่องส่วนบุคคลเฉพาะตนของนกั ประพนั ธ์ จนทาให้ผลงานประพนั ธ์กลายเป็ นศิลปะ ซึ่งตรงกลางระหว่างภาษาและลีลาในวรรณกรรมนนั้ ปรากฏให้เห็นว่ามี “ประพนั ธกรรม” เกิดขึน้ กล่าวคือประพนั ธกรรมหมายถึงมิติทางสังคมที่นกั ประพนั ธ์บรรจุลงในการเขียนงานวรรณกรรม เพื่อบอกนา้ เสียงท่ีนกัประพนั ธ์เลือกกลา่ วถงึ โลก ดงั นนั้ การประพนั ธกรรมจงึ มีทงั้ มิติทางสงั คมและนา้ เสียงตามเจตนาท่ีนกั ประพนั ธ์ประสงค์ท่ีจะพดู ผา่ นถ้อยคาอนั เป็ นการแสดงจดุ ยืนทางสงั คมของตนเอง ดงั ท่ีโรล็องด์บาร์ตส์อธิบายว่า ขณะที่ภาษาและลีลาเป็ นวตั ถุ ประพนั ธกรรมมีลกั ษณะเป็ นบทบาทหน้าที่ เป็ นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งการสร้างสรรค์กบั สงั คมภายนอก เป็ นภาษาของวรรณกรรมที่ถกู แปรรูปด้วยจุดหมายทางสังคม เป็ นรูปลักษณ์ที่จับยึดอยู่กับเจตนาของมนุษย์และเช่ือมโยงกับวิกฤตของประวตั ศิ าสตร์ [12]58
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ วรรณกรรมเป็ นงานศิลปะเพราะการใช้ภาษาของนกั ประพนั ธ์ที่เรียกว่า “ลีลาภาษา” ซึ่งศิลปะของวรรณกรรมในลักษณะการใช้ภาษาดังกล่าว เกิดขึน้ มานานเมื่อสมัยก่อนคริสตกาลในโลกวรรณกรรมของยโุ รป ดงั กรณีการตงั้ ชื่อข้อเขียนของกวีชาวโรมนั ผ้หู นึ่งท่ีมีช่ือเสียงและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางคือ ฮอเริส (Horace or Quintus Horatius Flaccus (65 BC–8 BC) ที่เขียนเกี่ยวกับกวีนิพนธ์เมื่อประมาณ 18 ปี ก่อนคริสตกาล โดยเปรียบเทียบบทกวีกับภาพเขียนในช่ือเร่ือง “ศลิ ปะของกวีนิพนธ์” (Ars Poetica or Art of Poetry) ว่า “กวีนิพนธ์เป็ นเชน่ เดียวกนั กบั ภาพเขียน” “ut pictura poesis” (as in painting so in poetry) นอกจากนนั้ ฮอเริสยงั ได้เขียนว่า กวีนิพนธ์เสนอความงามเพียงประการเดียวมิอาจนบั ว่าเพียงพอแล้ว กวีนิพนธ์ต้องมอบความยินดีอิ่มเอมใจและนาทางไปส่สู ถานท่ีท่ีจิตวิญญาณของผ้ฟู ังปรารถนาจะไปด้วย และเขียนว่า ขณะเดียวกันกวีปรารถนาให้ประโยชน์หรือไม่เชน่ นนั้ ก็ให้ความพึงพอใจแก่พวกเรา หรือปรารถนาจะได้กลา่ วถ้อยคาที่เป็นความสขุ และก่อประโยชน์ตอ่ ชีวิตของพวกเรา [13] อย่างไรก็ตาม การอธิบายว่ากวีนิพนธ์คือผลงานด้านศิลปะเนื่องจากก่อให้เกิดความซาบซงึ ้ (appreciation) เป็ นคาอธิบายท่ีทาให้เข้าใจและประจกั ษ์ชดั ด้วยตวั งานเอง แต่เม่ือนาคาอธิบายท่ีใช้บอกความเป็ นศิลปะของบทกวีนิพนธ์ ไปอธิบายงานเขียนร้ อยแก้วประเภทนวนิยาย เร่ืองสนั้ หรือบทละคร ผลลพั ธ์กลบั ทาให้เกิดความสงสยั ว่าวรรณกรรมลกั ษณะดงั กลา่ วเป็ นศิลปะหรือไม่ เพราะนกั วิจารณ์วรรณกรรมหลายกล่มุ แนวคิด เช่น กลุ่มแนวคิดถอดรือ้ สร้ างความหมายใหม่ (deconstructionism) กล่มุ แนวคิดประวตั ิศาสตร์ใหม่ (new historicism) กล่มุจิตวิเคราะห์ (psychoanalyticism) กล่มุ สตรีนิยม (feminism) เช่ือว่าการอ่านวรรณกรรมมิได้ม่งุอ่านเพื่อความซาบซึง้ แต่มุ่งหาความหมายในตวั บทท่ีมิได้แตกต่างไปจากการอ่านเอกสารสื่อส่ิงพิมพ์ทวั่ ไป กรณีดงั กล่าวนนั้ วรรณกรรมในฐานะเป็ นศลิ ปะมีคาอธิบายตอ่ แนวคิดของกลมุ่ ต่างๆ ข้างต้นวา่ การอ่านเพ่ือม่งุ หาความหมายในตวั บทนนั้ ความจริงแล้วคือการมงุ่ มองหาคณุ สมบตั ิทางวรรณกรรมจากตวั งานวรรณกรรม หรือกล่าวอีกนยั หนึ่งได้ว่าการอ่านเพื่อม่งุ หาความหมายในตวั บทเป็ นการอ่านผลงานวรรณกรรมท่ีอยใู่ นฐานะเป็ นศลิ ปะนน่ั เอง โดยมีประเด็นตา่ งไปแตเ่ พียงว่าการอ่านเช่นนนั้ มิได้มีเจตนามองไปท่ีแง่มุมด้านศิลปะของตัวงานวรรณกรรม (the work’sartistic aspects) เหตนุ นั้ จงึ มิอาจกลา่ วได้วา่ วรรณกรรมประเภทร้อยแก้วขาดความเป็ นศลิ ปะ 59
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ เร่ืองท่ี 2.1.3 องค์ประกอบของกวีนิพนธ์ กวีนิพนธ์ (poetry, poem, poesy) เป็ นวรรณกรรมที่นบั เป็ นงานศิลปะ เพราะสามารถสร้างความจบั ใจตอ่ ผ้อู ่านผา่ นภาษา ก่อให้เกิดความรู้สกึ น่มุ นวล อ่อนหวาน งามหมดจดในจินตภาพ แช่มช่ืนในอารมณ์ หรือกระด้าง หยาบคาย สะอิดสะเอียน กักขฬะ ต่าช้า ดงั นนั้ เมื่อกล่าวถึงองค์ประกอบของกวีนิพนธ์ เนือ้ หาสาระหลกั ของหวั ข้อนีจ้ ะกลา่ วเฉพาะองค์ประกอบของกวีนิพนธ์ท่ีมีลกั ษณะสาคญั บางประการของความเป็นกวีนิพนธ์ โดยมิได้เจาะจงว่าเป็ นกวีนิพนธ์ในภาษาใดภาษาหนง่ึ และมไิ ด้มงุ่ อธิบายรายละเอียดของศาสตร์ด้านกวีนิพนธ์ ทงั้ นี ้เพื่อให้เป็ นเพียงแนวทางและเป็นพืน้ ฐานด้านความรู้ความเข้าใจเบือ้ งต้น ท่ีสามารถประยกุ ต์ใช้กบั การศกึ ษาบทกวีนพิ นธ์ จนก่อเกิดสนุ ทรียภาพซาบซงึ ้ เชิงวรรณศลิ ป์ ท่ีเป็นศลิ ปะในงานวรรณกรรม สาหรับตวั อย่างที่นามาอ้างองิ ประกอบคาอธิบายแตล่ ะประเดน็ จะเป็นบทกวีนิพนธ์ภาษาไทยและภาษาองั กฤษตามความเหมาะสมแก่เนือ้ หา เพื่อเสริมความเข้าใจของผ้อู า่ นให้ชดั เจนยิ่งขนึ ้ คาว่า “กวีนิพนธ์” มิได้เป็ นคาปรกติธรรมดาที่เห็นได้ตามส่ิงพิมพ์ทว่ั ไป แตเ่ ป็ นคาท่ีมกั ปรากฏในตาราเรียน ซึ่งคนทว่ั ไปเข้าใจว่าหมายถึงโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน และเม่ือต้องกาหนดคานิยามแก่คาว่า “กวีนิพนธ์” คานิยามหลากหลายท่ีมีอย่มู กั ปรากฏว่าแตกตา่ งกนั หลายประเด็น จนมิอาจจะจาแนกเป็ นแนวทางเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างง่ายชดั เจน อย่างไรก็ตามหากนาคานิยามของบคุ คลนิรนามที่นิยามกวีนิพนธ์ว่า กวีนิพนธ์คือรูปแบบการเขียนประเภทหนง่ึ ที่เขียนเป็ นบรรทดั จานวนหน่ึงไปจรดขอบกระดาษ นิยามดงั กล่าวนนั้ อาจทาให้เข้าใจว่ากวีนิพนธ์เป็ นงานเขียนที่มีจานวนบรรทดั ไม่มากเหมือนงานเขียนประเภทร้อยแก้ว นอกจากนนั้ ยงั มีกวีชาวอเมริกนั ชื่อ โรเบิร์ต ฟรอสต์ (Robert Frost 1874-1963) ได้ให้คานิยามของกวีนิพนธ์วา่ กวีนิพนธ์คือสิ่งท่ีกวีเขียน [14] เม่ือนาคานิยามกวีนิพนธ์ของกวีนิรนามมาพิจารณาร่วมกับคานิยามของโรเบิร์ต ฟรอสต์ สามารถเข้าใจได้ว่ากวีนิพนธ์ต้องมีการตระเตรียมเลือกสรรคาเพ่ือเขียนบนหน้ากระดาษเป็ นบรรทดั และเขียนออกมาด้วยวิธีการพิเศษเฉพาะตนของผ้มู ีทกั ษะความสามารถเช่ียวชาญที่เรียกวา่ กวี หากกลา่ วโดยสรุปความเข้าใจวา่ กวีนิพนธ์คืออะไร คาตอบที่น่าจะมีความชดั เจนอยบู่ ้างปรากฏดงั คานิยามของแซมเู อิล เทย์เลอร์ โคเลอะริดจ์ (Samuel Taylor Coleridge1722-1834) กวีชาวองั กฤษ ผ้นู ิยามกวีนิพนธ์ว่า กวีนิพนธ์คือถ้อยคาท่ีดีที่สดุ ในตาแหน่งที่เรียงไว้อย่างดีท่ีสดุ (Poetry is the best words in their best order.) [15] เมื่อบทกวีนิพนธ์เป็ นเชน่ คานิยามของโคเลอะริดจ์ การอ่านบทกวีนิพนธ์จึงเป็ นการหาความหมายของถ้อยคา เพ่ือก่อเกิดสุนทรียภาพในอารมณ์สัมผัสรับรู้ของผู้อ่าน ความหมายของถ้อยคาบทกวีนิพนธ์ปรากฏในองค์ประกอบหลายประการ ได้แก่ ภาพพจน์ (figures of speech) เสียง (sound features)60
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ติกระบวนจินตภาพ (imagery) สญั ลกั ษณ์ (symbols) ความเปรียบประชดประชนั พลิกผนั (irony)เอกภาพ (unity) จินตนาการ ความย้อนแย้ง ความกากวมหลายนัย (imagination, paradox,ambiguity) และ แกน่ เร่ือง (theme) (1) ภาพพจน์ (figures of speech) หมายถึง การใช้ภาษาในลกั ษณะที่แตกตา่ งจากการใช้ภาษาสามญั ปรกตขิ องคนทวั่ ไป (common usage) เพื่อสื่อความหมายเฉพาะอยา่ งใดอย่างหนึ่งหรือสร้ างผลกระทบด้านอารมณ์สมั ผัสรับรู้และความเข้าใจเนือ้ หาตามเจตนาของกวีภาพพจน์ท่ีปรากฏในบทกวีนิพนธ์ทาให้เกิดรสคา รสความ รสภาพ รสอารมณ์ และความรู้สึกนึกคิดขึน้ ในใจผู้อ่าน ภาพพจน์จัดเป็ นหนึ่งชนิดของภาษาภาพ (figurative language) ที่จาแนกออกเป็ น 2 ชนิด คือ ภาพของความคิด (figure of thought) หมายถึง คาเปรียบเทียบที่ทาให้ความหมายเดมิ ของคามีความหมายใหม่ โดยความหมายใหมอ่ งิ อย่กู บั ความเข้าใจความหมายเดมิที่ขนึ ้ อย่กู บั บริบทของวฒั นธรรมการใช้คานนั้ ๆ เช่น อปุ ลกั ษณ์ (metaphor) [16] ซ่ึงภาษาไทยมกั มีหลกั สงั เกตที่การใช้คาวา่ “คือ” “เป็ น” “ใช่” “เท่า” “ตา่ ง” ดงั ตวั อย่างบทอาขยานบทหนง่ึ ท่ีแตง่ โดยใช้ฉนั ทลกั ษณ์กาพย์ยานี ๑๑ มีการใช้ภาพของความคดิ แบบอปุ ลกั ษณ์ วชิ าเหมือนสินค้าวิชาเหมือนสนิ ค้า อนั มีคา่ อยเู่ มืองไกลต้องยากลาบากไป จงึ จะได้สนิ ค้ามาจงตงั้ เอากายเจ้า เป็นสาเภาอนั โสภาความเพียรเป็ นโยธา แขนซ้ ายขวาเป็ นเสาใบนวิ ้ เป็นสายระยาง สองเท้าตา่ งสมอใหญ่ปากเป็ นนายงานไป อชั ฌาสยั เป็นเสบยี งสตเิ ป็นหางเสือ ถือท้ายเรือไว้ให้เท่ียงถือไว้อยา่ ให้เอียง ตดั แลน่ เล่ียงข้ามคงคาปัญญาเป็ นกล้ องแก้ ว สอ่ งดแู ถวแนวหินผาเจ้าจงเอาหตู า เป็นล้าต้าฟังดลู มขีเ้ กียจคือปลาร้ าย จะทาลายให้เรือจมเอาใจเป็นปื นคม ยิงระดมให้จมไปจงึ จะได้สินค้ามา คือวชิ าอนั พสิ มยัจงหมน่ั มนั่ หมายใจ อยา่ ได้คร้านการวชิ า (ดรุณศกึ ษา, ฟี . ฮีแลร์) [17] 61
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติหรือการใช้ถ้อยคาท่ีทาให้คิดอย่างนยั ประหวดั (connotation) ดงั กรณีตวั อย่างดงั นี ้เม่ือความรักของครู่ ักมีอุปสรรคปัญหา ไม่สามารถรักกนั ตอ่ ไปได้อีก ถ้อยคาที่พดู ตอ่ กันอาจมีนยั ประหวดั เช่น“เราเดินทางมาด้วยกนั ไกลเกินไปแล้ว เส้นทางมีแตค่ วามขรุขระ เมื่อถึงทางแยกท่ีถอยกลบั ไม่ได้ถึงเวลาท่ีต้องเลือกทางเดนิ ชีวิตยงั ต้องเดินตอ่ ไปอีกยาวไกล แตค่ วามสมั พนั ธ์มาถึงทางตนั ” คาที่เป็นคาบง่ บอกนยั ประหวดั ของอปุ ลกั ษณ์คือ “เดนิ ทาง” “ไกลเกินไป” “เส้นทาง” ขรุขระ” “ทางแยก”“กลบั ไม่ได้” “เลือกทางเดิน” “ทางตนั ” และ ภาพพจน์ (figures of speech) ดงั นนั้ หากกลา่ วจาเพาะภาพพจน์ กวีสามารถเลือกใช้ภาพพจน์ที่มีหลากหลายแบบตามเจตนาเมื่อเขียนบทกวีได้แก่ อปุ มา (simile) หมายถึง การใช้คาเปรียบเทียบความเหมือนระหว่างส่ิงหนึ่งกับส่ิงหนึ่งท่ีแตกตา่ งกนั สงั เกตการใช้อปุ มาได้ด้วยคาเชื่อมคือ “เหมือน” “คล้าย” “ดจุ ” “ดงั่ ” “เปรียบ” “ราวกบั ”เช่น ผิวขาวเหมือนแตง่ ร่มใบ ชีวิตเหมือนรถไฟเหาะ อธินามนยั (metonymy) หมายถึง การใช้คนสตั ว์ส่ิงของอย่างหนึ่งเพ่ือเปรียบเทียบให้หมายถึงหรือแทนคนสตั ว์สิ่งของอีกอยา่ งหน่ึงที่เก่ียวข้องกนั อย่างใกล้ชิดมาก เชน่ “มงกฎุ ” “คทา” หมายถึง “พระราชา” “ดอกบวั ” หมายถึง “พทุ ธศาสนา”“ไม้กางเขน” หมายถงึ “คริสต์ศาสนา” อนนุ ามนยั (synecdoche) หมายถึง การใช้สว่ นใดสว่ นหน่ึงที่เป็ นลกั ษณะเด่นของส่ิงใดส่ิงหน่ึงเพื่อเปรียบเทียบให้หมายถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งทงั้ หมด หรือในทางกลบั กัน เช่น “หลายมือทาให้งานเบา” “แล้วชีวิตอ่อนใสเขียวใบไม้ ค่อยพลิกไหวพบละอองของแดดออ่ น บทเริ่มต้นตามลีลาความอาทร ผลใิ บซ้อนกอ่ นใบซบทบลงดิน” [18] “ฉันกาลงั อ่านงานของศรีดาวเรืองอยู่” บคุ ลาธิษฐาน (personification) หมายถึง การใช้คาเปรียบเทียบให้ส่ิงท่ีไมม่ ีชีวิตกลบั กลายเป็ นสิ่งมีชีวิตที่มีพฤติกรรม อารมณ์ ความรู้สึก หรือบคุ ลิกลกั ษณะเหมือนเป็ นคน ทงั้ นี ้เพื่อทาให้ความคิดท่ีเป็ นนามธรรมมีความน่าสนใจและชัดเจนอย่างรูปธรรม อนั จะช่วยผ้อู ่านให้เข้าใจความหมายง่ายขนึ ้ เช่น “สิงโตเดินสารวจอาณาเขตของมนั อย่างทระนง” หรือ ตวั อยา่ งจากงานเขียนเรื่อง Paradise Lost ของจอห์น มิลตนั (John Milton 1608-1674) กวีชาวองั กฤษ ที่เขียนเลา่ เหตกุ ารณ์ขณะท่ีอดมั เก็บผลไม้หวงห้ามในสวนเอเดน ดงั นี ้ Sky lowered, and muttering thunder, some sad drops Wept at completing of the mortal sin. [Paradise Lost : IX, 1002-1003] [19] (2) เสียง (sound features) หมายถึง หน่วยเสียง (phoneme) ของภาษา หนว่ ยเสียงเป็ นส่วนเล็กสดุ ของภาษา เมื่อนาหน่วยเสียงมารวมกนั เป็ นกล่มุ ๆ แตล่ ะกล่มุ เรียกวา่ พยางค์(syllable) พยางค์เดียวสามารถกลายเป็ นหน่ึงคา (word) เช่น รัก เกลียด บาป บญุ คณุ โทษ พ่อแม่ พี่ น้อง คาหนึ่งคาอาจมีพยางค์เดียวหรือคาหนง่ึ คาอาจมีหลายพยางค์ เชน่ สนุ ทรียภาพ (สนุ -62
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ิตทะ-รี-ยะ-ภาพ) ดงั นนั้ กลา่ วได้วา่ แตล่ ะภาษามีเสียงเป็ นสญั ลกั ษณ์ของรสและความหมาย เสียงกับรสและความหมายต่างร่วมเป็ นเหตุเป็ นผลแก่กัน กวีเลือกใช้คาตามเสียงเพ่ือสื่อรสและความหมายตามเจตนาท่ีต้องการส่ือถึงผ้อู ่าน เช่น กวีเลือกใช้เสียงที่เปล่งออกมากระทบริมฝี ปากบนและลา่ ง (bilabial) เสียงกกั ลมที่ป่ มุ เหงือก (alveolar ridge) เสียงกกั ลมที่โคนลิน้ กบั เพดานออ่ น(velar) กลายเป็นเสียงลมระเบดิ (plosives) และเลือกใช้สระเสียงสนั้ สลบั กบั สระเสียงยาว เพื่อส่ือความหมายของความกระด้าง การปะทะ ความรวดเร็ว และรสความกล้าหาญ เช่น ฉากบรรยายการตอ่ ส้รู ะหวา่ งสงั คามาระตากบั วหิ ยาสะกาในเรื่อง อิเหนา พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2 ดงั นี ้ เมื่อนนั ้ สงั คามาระตาแข็งขนัขบั ม้าไววอ่ งป้ องประจญั เป็นเชงิ ชนั้ ชงิ ชยั ในทีทวนร่ายรับกลบั แทงไมแ่ พลงพลา้ วิหยาสะกาผดั หนั หวนตา่ งเรียงเคียงร่ายย้ายกระบวน ปะทะทวนรวนรุกคลกุ คลี (อิเหนา, รัชกาลท่ี 2) [20] เสียงของคาท่ีกวีเลือกใช้เพ่ือเขียนบทกวีนิพนธ์มีหลายลักษณะ ได้แก่ สัมผัส(rhyme) หมายถึง สัมผัสเสียงของพยางค์ระหว่างคา ที่มีเสียงเดียวกัน และมีตวั สะกดมาตราเดยี วกนั ทงั้ นี ้โดยความเข้าใจทวั่ ไปมกั ให้ความสาคญั ท่ีการสมั ผสั สระ สมั ผสั ของกวีนิพนธ์มีหน้าที่หลายประการ เชน่ บง่ บอกการจบบรรทดั สร้างเสียงดนตรีแก่บทกวี สร้างจงั หวะและนา้ เสียงในบทกวี ช่วยให้ผู้อ่านจดจาบทกวีได้ง่ายขึน้ กวีนิพนธ์มีลกั ษณะการสัมผัสหลายชนิด ได้แก่ สัมผัสพยางค์เดี่ยว (single-syllable or masculine rhyme) คือ สมั ผสั สระเสียงเดียวกนั ระหว่างคาท่ีมีเพียงพยางค์เดียว โดยมิได้เก่ียวกบั เสียงพยญั ชนะต้นท่ีแตกต่างกัน เช่น [คน / ชน] [ชาย / ขาย][day / say] [light / night] สมั ผสั สองพยางค์ (double-syllable or feminine rhyme) คือ สมั ผสัสระสองพยางค์ระหว่างคา แต่ละคพู่ ยางค์ท่ีสมั ผสั มีสระเดียวกนั เช่น [รางวลั / กลางวนั ] [อาหารคาว / การหาว] [ocean / motion] [pretending / bending] สมั ผสั สามพยางค์ (triple-syllablerhyme) คือ สมั ผสั สระสามพยางค์ระหว่างคา แตล่ ะคพู่ ยางค์ท่ีสมั ผสั มีสระเดียวกัน เช่น [บ้านทรายทอง / ร้านขายของ] [ตะแลงแกง / พะแนงแกงคว่ั ] [beautiful / dutiful] [comparison /garrison] สมั ผสั แท้ (true or perfect rhyme) คือ สมั ผสั สระเดียวกนั ทงั้ รูปและเสียง เชน่ [กงั หนั /จงั หนั ] [หนงั สือ / หลงั มือ] [boat / float] [double / trouble] สมั ผสั ไมแ่ ท้ (imperfect rhyme) คือสมั ผสั คสู่ ระหรือคพู่ ยญั ชนะเดียวกนั ระหว่างคา แตม่ ิได้มีทงั้ คสู่ ระและคพู่ ยญั ชนะเดียวกนั ระหว่างคา เช่น [หมด / หมวด / หมดั ] [หน้ายกั ษ์ / หญ้าหมกั / ม้าหกั ] [loads / lids / lads] [road / moan/ boat] สมั ผสั นอก (end rhyme) คอื สมั ผสั สระท้ายวรรค ตวั อยา่ งเชน่ 63
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ ไปเพื่อสิทธิ์เสรี เพื่อศกั ดศิ์ รีบางระจนั โอ้เจ้านกเขาขนั แล้วเจ้าขนุ ทองก็ลงเรือน สะพายยา่ มหาดเสีย้ ว ซง่ึ ใสห่ นงั สือแสงเดอื น ทงั้ สมดุ ท่ีลบเลือน ด้วยรอยนา้ ตาแตเ่ มื่อคนื เจ้าขนุ ทองเจ้าร้องไห้ อยใู่ นเรือนจนดกึ ดื่น วา่ ดอกจาปี ถกู ปื น ตายอยเู่ กล่ือนเจ้าพระยา (เจ้าขนุ ทอง, สจุ ิตต์ วงษ์เทศ) [21] สมั ผสั ใน (internal rhyme) คือ สมั ผสั สระภายในวรรคหรือภายในบรรทดั คาท่ีมีเสียงสมั ผสั กนั มกั อยตู่ ิดกนั ตวั อย่างเชน่ เสียเจ้า ๏ เสียเจ้าราวร้าวมณีรุ้ง มงุ่ ปรารถนาอะไรในหล้า มหิ วงั กระทงั่ ฟากฟ้ า ซบหน้าตดิ ดนิ กินทราย ๏ จะเจ็บจาไปถึงปรโลก ฤๅรอยโศกร้ ูร้ างจางหาย จะเกิดก่ีฟ้ ามาตรมตาย อยา่ หมายวา่ จะให้หวั ใจ ๏ หากเจ้าอบุ ตั บิ นสรวงสวรรค์ ข้าขอลงโลกนั ตร์หมน่ ไหม้ สเู ป็นไฟเราเป็นไม้ ให้ทาลายสิน้ ถึงวญิ ญาณ ๏ แม้แตธ่ ลุ ีมอิ าลยั ลืมเจ้าไซร้ชวั่ กาลปาวสาน แม้นชาตไิ หนเกิดไปพบพาน จะทรมานควกั ทงิ ้ ทงั้ แก้วตา64
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ิต๏ ตายไปอยใู่ ต้รอยเท้าให้เจ้าเหยียบเลน่ เหมือนเส้นหญ้าเพื่อจดจาพิษชา้ นานาไปชวั่ ฟ้ าชวั่ ดนิ สิน้ เอย (เสียเจ้า, องั คาร กลั ยาณพงศ)์ [22] สมั ผสั พยัญชนะต้น (alliteration) คือ สมั ผสั พยัญชนะต้นของคาที่อยู่ชิดกันสมั ผสั ลกั ษณะนีก้ ่อให้เกิดเสียงดนตรีขณะอ่านออกเสียงและช่วยให้จดจาบทกวีนิพนธ์ในบรรทัดหรือวรรคนนั้ ได้ง่ายขึน้ เหตนุ ัน้ จึงเหมาะแก่การท่องจาบทกวี การสัมผัสพยัญชนะต้นในบทกวีนิพนธ์ยงั เป็ นที่นิยมอย่ใู นปัจจุบนั และอาจพบเห็นได้ทว่ั ไปจากบทเพลง พาดหวั ข่าวหนงั สือพิมพ์และภาษาปากที่ผ้คู นพดู ในชีวิตประจาวนั ตวั อยา่ งตอ่ ไปนีเ้ป็ นกาพย์ฉบงั ๑๖ จากกาพย์ พระไชยสรุ ิยา แตง่ โดยสนุ ทรภู่ ดงั นี ้ แม่ กง ทงั้ กนปนกนั[กาพย์ฉบงั ๑๖] ตลิงปลงิ ปริงประยง หลน่ เกล่ือนเถื่อนทาง ๏ ขนึ ้ กงจงจาสาคญั เหมือนอยา่ งนางเชิญ ราพรรณ์มง่ิ ไม้ในดง เริงร้ องซ้ องเสียง ๏ ไกรกร่างยางยงู สงู ระหง ฟังเสียงเพียงเพลง คนั ทรงสง่ กลนิ่ ฝ่ิ นฝาง เพียงฆ้องกลองระฆงั ๏ มะมว่ งพลวงพลองช้องนาง พระยาลอคลอเคยี ง กินพลางเดนิ พลางหวา่ งเนนิ ๏ เห็นกวางยา่ งเยือ้ งชาเลืองเดนิ พระแสงสาอางข้างเคียง ๏ เขาสงู ฝงู หงส์ลงเรียง สาเนียงนา่ ฟังวงั เวง ๏ กลางไพรไกข่ นั บรรเลง ซอเจ้งจาเรียงเวียงวงั ๏ ยงู ทองร้องกระโต้งโหง่ ดงั แตรสงั ข์กงั สะดาลขานเสียง ๏ กะลงิ กะลางนางนวลนอนเรียง แอน่ เอีย้ งอีโก้งโทงเทง 65
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ ๏ ค้อนทองเสียงร้องป๋ องเป๋ ง เพลินฟังวงั เวง อีเก้ งเริงร้ องลองเชิง คางแขง็ แรงเริง ๏ ฝงู ละมงั่ ฝังดนิ กินเพลงิ องึ คะนงึ ผงึ โผง ยืนเบง่ิ บงึ ้ หน้าตาโพลง (พระไชยสรุ ิยา, สนุ ทรภ่)ู [23] ๏ ป่ าสงู ยงู ยางช้างโขลง โยงกนั เลน่ นา้ คล่าไปฯ สมั ผสั สระซา้ เสียง (assonance) คือ สมั ผสั สระซา้ เสียงของคาท่ีอยชู่ ิดกนั สมั ผสั ลกั ษณะนีก้ ่อให้เกิดเสียงดนตรีขณะอ่านออกเสียงและช่วยให้จดจาบทกวีนิพนธ์ในบรรทดั หรือวรรคนนั้ ได้ง่ายขึน้ โปรดดูตัวอย่างข้อ สัมผัสสระซา้ เสียงจึงทาหน้าที่เช่นเดียวกันกับสัมผัสพยัญชนะต้นดงั กล่าวแล้วข้างต้น สัทพจน์ (onomatopoeia) คือ เสียงท่ีเกิดจากการเลียนเสียงของธรรมชาติเสียงของสตั ว์ เสียงของเครื่องยนต์ เสียงของเคร่ืองดนตรี เสียงในจินตนาการ กวีสามารถนาเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงดังกล่าวสร้ างสมั ผัสในบทกวีนิพนธ์ได้ เช่น ลูกสุนัขร้ องบ๊อก บ๊อก ลูกนกร้องจบิ๊ จ๊บิ ลกู แมวร้องเหมียว เหมียว เสียงท้องร้องจ๊อก จ๊อก นาฬิกาดงั ติก๊ ต็อก ตกิ๊ ต็อก ฟ้ าร้องดงัเปรีย้ ง เปรีย้ ง เคาะประตดู งั ก๊อก ก๊อก กดกระดิง่ เสียงดงั ต๊งิ ตอ่ ง ติง๊ ตอ่ ง ต๊กุ ตาลิงตีกลองดงั ตะแลกแต๊กแต๊ก ตะแลกแต๊กแต๊ก คล่ืนซดั สาดหินผาดงั ครืน ครืน เสียงระฆงั ดงั หง่างเหง่ง หง่างเหง่ง นกเอีย้ งร้องอ้อยอี๋เอียง อ้อยอี๋เอียง นกกาเหวา่ ร้องรับรุ่งอรุณว่ากาเว้า กาเว้า อีการ้องกา กา เป่ าแตรดงั แตร่แตร้แตร๋นแตร๋น เป่ าปี่ ดงั ต้อยตะริดติ๊ดต่ี เสียงกลองเสียงรามะนาดงั ว่าป๊ ะโท่นป๊ ะ โท่นป๊ ะโทน่ โทน่ เมื่อกวีนาสทั พจน์มาเขียนในบทกวีนิพนธ์ทาให้ผ้อู า่ นผู้ฟังเกิดจินตนาการ ตวั อยา่ งเชน่ ครืนครืนใชฟ่ ้ าร้อง เรียมครวญ หงึ่ หง่ึ ใชล่ มหวน พ่ีไห้ ฝนตกใชฝ่ นนวล พี่ทอด ใจนา ร้อนใชร่ ้อนไฟไหม้ พี่ร้ อนกลกาม (สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี 3) [24] (3) กระบวนจินตภาพ (imagery) หมายถึง คาหรือวลีท่ีก่อให้เกิดผลสะเทือนถึงการรับรู้ทางจินตนาการในประสาทสัมผสั ห้าประการ คาหรือวลีนนั้ เรียกว่า จินตภาพ (images)ตวั อยา่ งเชน่66
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติวา่ พลางทางชมคณานก โผนผกจบั ไม้องึ มี่เบญจวรรณจบั วลั ย์ชาลี เหมือนวนั พ่ีไกลสามสดุ ามานางนวลจบั นางนวลนอน เหมือนพี่แนบนวลสมรจินตะหราจากพรากจบั จากจานรรจา เหมือนจากนางสการะวาตีแขกเต้าจบั เตา่ ร้างร้อง เหมือนร้ างห้ องมาหยารัศมีนกแก้วจบั แก้วพาที เหมือนแก้วพี่ทงั้ สามสง่ั ความมาตระเวนไพรร่อนร้ องตระเวนไพร เหมือนเวรใดให้นริ าศเสนห่ าเค้าโมงจบั โมงอยเู่ อกา เหมือนพ่ีนบั โมงมาเมื่อไกลนางคบั แคจบั แคสนั โดษเดย่ี ว เหมือนเปลา่ เปล่ียวคบั ใจในไพรกว้างชมวิหคนกไม้ไปตามทาง คะนงึ นางพลางรีบโยธี (อเิ หนา, รัชกาลท่ี 2) [25] (4) สญั ลกั ษณ์ (symbols) หมายถึง คาท่ีใช้เรียกคนสตั ว์ส่ิงของและนามธรรมท่ีกวีนามาใช้ในบทกวีนิพนธ์เพ่ือสมมติให้สื่อความหมายถึงส่ิงอ่ืน ทงั้ นี ้เพ่ือช่วยให้เกิดวรรณศิลป์และชว่ ยให้สามารถส่ือความหมายตรงเจตนาของกวีและทาช่วยปะทอุ ารมณ์ผ้อู ่านให้มองเห็นภาพของนามธรรมได้ชดั เจนมากขึน้ สญั ลกั ษณ์ทางวรรณกรรมแบง่ เป็ น 2 ประเภท ได้แก่ สญั ลกั ษณ์สากลหรือวฒั นธรรม (cultural or shared symbols) หมายถงึ สญั ลกั ษณ์ที่สงั คมทวั่ ไปยอมรับและเข้าใจในความหมายตรงกนั เชน่ รุ่งอรุณ หมายถึง ความหวงั สีขาว หมายถึง ความบริสุทธ์ิ อสรพิษหมายถึง ความชว่ั แสงสว่าง หมายถึง ปัญญา ความมืด หมายถึง ความเขลา คนเลีย้ งแกะท่ีดีหมายถึง พระในศาสนาคริสต์ ดอกบวั สีขาว หมายถงึ ความบริสทุ ธ์ิสะอาดในจิตใจ นกยงู หมายถึงความสง่างาม นกอินทรีย์ หมายถึง การกระทาอันกล้าหาญ ดวงอาทิตย์อุทยั หมายถึง การเกิดหรือการทะยานสคู่ วามก้าวหน้า ดวงอาทติ ย์อสั ดง หมายถึง การตาย หรือการร่วงลงไปส่คู วามพ่ายแพ้และล้มเหลว สญั ลกั ษณ์ส่วนบคุ คล (literary or personal symbols) หมายถึง สญั ลกั ษณ์ท่ีกวีคิดขึน้ มาใช้เป็ นการเฉพาะตน เพื่อส่ือถึงเนือ้ หาสาระที่เป็ นส่วนหนึ่งในบริบทของเร่ื องท่ีนาเสนอสัญลักษณ์ลักษณะนีม้ ักก่อปัญหาต่อความเข้าใจของผู้อ่าน เพราะผู้อ่านต้องตีความหมายสญั ลกั ษณ์เอง ซ่ึงโดยปรกติจะอาศยั ข้อความและเรื่องราวแวดล้อมเป็ นสื่อช่วยหาความหมายสาหรับวรรณกรรมไทยมกั มีสญั ลกั ษณ์ส่วนบุคคลปรากฏในบทอศั จรรย์ ดงั กรณีตวั อย่างจากบทละครเร่ือง อิเหนา พระราชนิพนธ์ในรัชกาลท่ี 2 ท่ีบรรยายและพรรณนาตอนท่ีเจ้าชายอิเหนาเข้าห้องบรรทมองคห์ ญิงมาหยารัศมี ดงั นี ้ 67
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ เอนแอบแนบองคบ์ งั อร ตระกองกรกอดประทบั รับขวญั เกลียวกลมสมสนทิ ตดิ พนั อยบู่ นแทน่ สวุ รรณพรรณราย อศั จรรย์บนั ดาลเป็นฝอยฝน ดวงอบุ ลช่ืนแชม่ แย้มขยาย ที่หอ่ ห้มุ กลีบกลา้ ก็จาคลาย คล่ีระบายบานแบง่ รับแสงจนั ทร์ ภมุ รินบนิ ร้องเร่ร่อน แทรกไซ้เกสรโกสมุ สวรรค์ สองสวมสอดคล้องทานองกนั เกษมสนั ต์หรรษาในราตรี (อเิ หนา,รัชกาลท่ี 2) [26] (5) ความเปรียบประชดประชนั พลิกผนั (irony) หมายถึง คาหรือวลีที่ถกู นามาเปรียบเพื่อส่ือความหมายท่ีตรงกันข้ามกับความหมายตามภาษาปรกติของคนท่ัวไป เพื่อให้มีความหมายในทางการประชดประชนั ดงั ตวั อย่างจากเสภาเรื่อง ขุนช้างขุนแผน ที่ว่าเมื่อนางวนัทองกลายเป็ นภรรยาของขนุ ช้างแล้ว นางไมย่ อมออกจากห้องพกั พบหน้ าขนุ แผน ขนุ แผนท่ีเคยรักนางวันทองจึงกล่าวความเปรียบประชดประชนั เพราะเข้าใจเอาเองว่านางไม่ซื่อสตั ย์ต่อขุนแผนนางวนั ทองในสายตาของขนุ แผนมีคณุ คา่ ตกต่าเทา่ กบั ทองเนือ้ แปดท่ีด้อยกว่าทองเนือ้ เก้าหรือทองบริสทุ ธ์ิ ดงั นี ้ นางวนั ทองรักห้องไมย่ าตรา กลวั นวลหน้าจะหมองต้องลมพดั กระนีแ้ ลสมชื่อวา่ วนั ทอง เจ้าแปดนา้ ทานองเนือ้ กษตั ริย์ จะพดู ออกกลวั ดอกจาปาพลดั ด้วยคาตดั วนั นนั้ เป็นมนั่ คง (ขนุ ช้างขนุ แผน, 312) [27] (6) เอกภาพ (unity) หมายถึง ความประสานกลมกลืนคล้องจองเป็ นอนั หนึ่งอนัเดยี วกนั อยา่ งเหมาะเจาะลงตวั ของถ้อยคาท่ีประกอบด้วย เสียง ความหมาย และ เสียงของคาและความหมาย หมายความวา่ เสียงท่ีร้อยเรียงเข้าด้วยกนั ต้องกลมกลืนเป็ นเอกภาพ ความหมายของคาต้องกลมกลืนเป็นเอกภาพกบั เนือ้ หา เสียงของคาและความหมายต้องกลมกลืนเข้ากนั อย่างเป็ นเอกภาพ ตวั อยา่ งเชน่68
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติดนู า้ วิ่งกลงิ ้ เชี่ยวเป็นเกลียวกลอกกลบั กระฉอกฉาดฉดั ฉวดั เฉวียนบ้างพลงุ่ พลงุ่ ว้งุ วงเหมือนกงเกวียนดเู วียนเวียนคว้างคว้างในหวา่ งวน (นิราศภเู ขาทอง, สนุ ทรภ)ู่ [28] (7) จินตนาการ ความย้อนแย้ง ความกากวมหลายนยั (imagination, paradox,ambiguity) หมายถึง จินตนาการในกวีนิพนธ์ที่มีความซบั ซ้อนลมุ่ ลึกทางความหมาย สามารถส่งแรงกระทบอารมณ์ได้หลากหลายทงั้ สมดลุ กลมกลืนกันและขัดแย้งกัน มิใช่จินตนาการอย่างที่ภาษาปรกตขิ องคนทว่ั ไปเรียกวา่ พาฝัน (fancy) หรือภาษาด้านวรรณกรรมเรียกว่า “วรรณคตินิยม”(literary tradition or conventionalism) เชน่ “ตาเหมือนตามฤคมาศ” “เจ้างามพกั ตร์เพียงจนั ทร์บหุ ลนั ฉาย” ตวั อยา่ งจินตนาการท่ีมีความซบั ซ้อนล่มุ ลึกทางความหมายเชน่ ในเร่ือง สมทุ รโฆษคาฉนั ท์ ตอนปลาย พระนิพนธ์สมเดจ็ กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส มีกาพย์บทหนึ่งพรรณนาและบรรยายถงึ ความรู้สกึ ของนางพนิ ทมุ ดี ที่ถกู คลื่นกลางมหาสมทุ รซดั พดั แยกจากสมทุ รโฆษ และลอยไปถึงฝั่งได้ก่อน แตต่ ้องอยกู่ ลางป่ าเพียงลาพงั จนตระหนกั ตอ่ สภาพตนเองอยา่ งรัดทดสงั เวชราพงึ ดงั นี ้ไก่ฟ้ าวานวา่ ยฟ้ า เสาะสืบหานราบาลผงึ ้ พ้องพง่ึ พบพาน บพติ รด้วยชว่ ยเอน็ ดูเนืองนกกบเอือ้ นเอา ธุระเราเร่งอดสูสงั เวชแตต่ นตู อนั ไร้เพ่ือนในเถื่อนพนม (สมทุ รโฆษคาฉนั ท์, ปรมานชุ ติ ชิโนรส) [29]จินตนาการที่ส่งแรงกระทบอารมณ์จากบทกวีนิพนธ์ส่ผู ู้อ่าน เกิดจากคาหรือถ้อยคาที่กวีเลือกใช้โดยคาหรือถ้อยคาที่สามารถสง่ แรงกระทบอารมณ์และส่ือถึงจินตนาการอนั ซบั ซ้อนลมุ่ ลึกให้คมชดัมกั มีลกั ษณะท่ีเป็นความย้อนแย้งทางความหมาย ความย้อนแย้งทางความหมายดงั กล่าวมีศพั ท์เฉพาะเรียกวา่ “ปฏิทรรศน์” อนัหมายถึงวา่ หากมองอยา่ งผิวเผินจะพบคา ถ้อยคา หรือประโยคนนั้ ๆ มีความหมายขดั แย้งกนั อย่ใู นตวั เอง แตเ่ ม่ือพิจารณาโดยแยบคายจะพบความจริงซ่อนอย่ใู นความย้อนแย้งนนั้ โดยภาษาปรกติของคนท่ัวไปท่ีมีลกั ษณะย้อนแย้ง ปรากฏดังตวั อย่างเช่น “ความตายเป็ นการเริ่มต้นชีวิตใหม่”“ความตายหนกั เหมือนขนุ เขาเบาเหมือนขนนก” “ชีวิตคนเราเกิดมาตาย” “ฉนั รักคนทกุ คนยกเว้นคนที่เกลียดฉัน” กรณีความย้อนแย้งอย่ใู นบทกวีนิพนธ์ ปรากฏดงั ตวั อย่างจากบทกวีช่ือ “กระท่มุ 69
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติแบน” เนาวรัตน์ พงษ์ไพบลู ย์เขียนบทกวีกลา่ วถงึ ความตายของกรรมกรหญิงคนหนงึ่ เธอเป็ นสตรีท่ีร่วมขบวนเรียกร้องตอ่ รองกับนายจ้างชว่ งหลงั เหตกุ ารณ์ทางการเมืองเม่ือ 14 ตลุ าคม พ.ศ. 2516ดงั นี ้ กระท่มุ แบน เมื่อความเลวความร้ายเข้าครองโลก ความวโิ ยคก็จะเยือนทกุ หยอ่ มหญ้า คนกบั คนที่เคยอยคู่ กู่ นั มา คนกบั คนก็หนั หน้าฆา่ กนั เอง อานาจความเลวร้ายในวนั นี ้ อปั ยศกดข่ีและขม่ เหง เหมือนยกั ษ์มารไมเ่ คยกลวั ไมเ่ คยเกรง คอยแตเ่ ร่งให้ร้อนรุ่มทมุ่ ให้แบน เธอตายเพ่ือจะปลกุ ให้คนต่ืน เธอตายเพื่อผ้อู ื่นอีกหมื่นแสน เธอตายคอื ดนิ ก้อนเดียวในดนิ แดน แตจ่ ะหนกั และจะแนน่ เตม็ แผน่ ดนิ เราจะยืนหยดั เหยียดให้เสียดฟ้ า เราจะลกุ ขนึ ้ มาท้าภผู าหิน กระชากฟ้ าหา่ โหดโขมดทมิฬ ฉีกเป็นชิน้ กระทมุ่ ขยีใ้ ห้บแี ้ บน (กระทมุ่ แบน, เนาวรัตน์ พงษ์ไพบลู ย์) [30] นอกจากความย้อนแย้ง บทกวีนิพนธ์ยงั มีความกากวมหลายนยั แฝงในตวั บท ท่ีทาให้บทกวีมีความลกึ ซงึ ้ และมีพลงั ทางศิลปะ ผ้อู ่านต้องเพง่ ปัญญาค้นหาความหมายท่ีแท้จริง ซ่ึงหมายความวา่ บทกวีสร้างสุนทรียภาพผ่านภูมิปัญญาของกวีและผ้อู ่าน เพราะคาบางคาในบทกวีอาจมีความหมายหลายนยั ให้เพ่งพินิจ ใคร่ครวญโดยแยบคายเพ่ือหาความจริงท่ีแฝงเร้น ดงั กรณีคาว่า “ความเลวความร้ าย” “อานาจความเลวร้าย” “ตื่น” “ภผู าหิน” “ฟ้ า” ในบทกวีช่ือ “กระท่มุแบน” ว่ามีความหมายถึงสิ่งใด เป็ นต้น ความกากวมหลายนัยท่ีแฝงในตัวบทกวีมีปรากฏในตวั อยา่ งบทกวีช่ือ “พิลาปพไิ รครวญ” โดยกวีช่ือ แรคา ประโดยคา ได้ประพนั ธ์ ดงั นี ้ พลิ าปพไิ รครวญ เปล่ียวจิตจาเจเอกา อบั เฉาเหย้าอรุ า เปลี่ยวเปลา่ เหงาหมองครองวยั เปลา่ วา่ งร้างการงานใด เปลา่ เปลืองคดิ ไป อ้างว้างอารมณ์จมคะนงึ คดิ เลห่ ์เสนห่ ์หาตราตรึง ระการาพงึ วงั เวงว้าเหวเ่ สนห่ ์ลวง (พิลาปพิไรครวญ, แรคา ประโดยคา) [31]70
สนุ ทรียภาพกบั ชีวิต (8) แก่นเรื่อง (theme) หมายถึง ความคิดหลกั (central idea) ท่ีเป็ นแก่นแกนของเนือ้ หา (subject matter) ในตวั บทวรรณกรรม ความคิดหลกั ดงั กลา่ วหมายถึงทรรศนะตอ่ ชีวิตส่ิงแวดล้อม และการมองเห็นคณุ คา่ ความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง จากประสบการณ์ที่ผ่านเข้ามาในชีวิต ความคดิ หลกั จะแฝงอยู่ในเนือ้ หาเสมอ โดยทวั่ ไปผ้อู า่ นมีความเข้าใจว่า เม่ือกวีสร้างบทกวีนิพนธ์ขนึ ้ จนสาเร็จแล้ว แสดงว่ากวีมีความคิดอย่างใดอย่างหน่ึงที่ต้องการส่ือสารถึงผ้อู ่าน ความเข้าใจดงั กล่าวคลาดเคล่ือนจากธรรมชาติของความคิดหลักอันมีที่เนือ้ หา เพราะกวีมิได้เป็ นผู้สื่อสารแตเ่ ป็นผ้สู ร้างกวีนพิ นธ์ การค้นหาความคดิ หลกั จากเนือ้ หาจงึ ขนึ ้ อยกู่ บั ผ้อู ่านและตวั บท เมื่อกวีสร้างงานจนสาเร็จเสร็จสิน้ แล้ว ตวั กวีได้กลายเป็ นผ้อู า่ นผ้หู น่ึง โดยมิได้มีอิทธิพลเหนือการอ่านของผ้อู ่ืน ดงั นนั้ สมมติว่าเมื่ออา่ นบทกวีนิพนธ์บทหนึ่งและกลา่ วว่า บทกวีบทนนั้ เป็ นเร่ืองเกี่ยวกบั ”ความโลภ” คากล่าวเชน่ นนั้ มิได้เป็ นการบอกเก่ียวกับความคิดหลกั แตเ่ ป็ นเพียงการบอกเก่ียวกับเนือ้ หา ถ้าบอกว่าเกิดเหตกุ ารณ์อะไรขึน้ บ้างในบทกวีหรือเร่ือง (story) การบอกเช่นนนั้ มิได้เป็ นการบอกเก่ียวกบั ความคิดหลกั แต่เป็ นเพียงการสรุปโครงเร่ืองที่วางให้มีเหตกุ ารณ์เกิดและดาเนินไป การจะค้นพบความคิดหลกั ท่ีแฝงอย่ใู นเนือ้ หาจึงต้องไมห่ าคาตอบแก่คาถามว่า“เหตุการณ์ท่ีเกิดและดาเนินไปในตัวบทนัน้ เก่ียวกับอะไร” แต่ต้องหาคาตอบแก่คาถามว่า“เหตุการณ์ท่ีเกิดและดาเนินไปในตวั บทนนั้ มีความหมายว่าอะไร” ทงั้ นี ้ความคิดหลกั ในบทกวีสามารถหาพบได้ โดยต้องพิจารณาจากองค์ประกอบตา่ ง ๆ ทงั้ หมด ดงั ท่ีอธิบายข้างต้นเพ่ือการตีความหมาย ตวั อย่างตอ่ ไปนีเ้ ป็ นบทเพลงชื่อ “แสงดาวแห่งศรัทธา” แตง่ โดยจิตร ภูมิศกั ด์ิ มีลกั ษณะเป็ นกวีนิพนธ์ประเภทกลอนสภุ าพ ที่เสนอเนือ้ หาเก่ียวกับ “อุปสรรคของชีวิต” อย่างมีความหมายว่า “ชีวิตคนแม้เผชิญอุปสรรคขวากหนามมากเพียงใด ไม่ควรสิน้ ศรัทธาในชีวิตและความหวงั ” ความหมายดงั กล่าวคือความคิดหลกั ที่เรียกว่าแก่นเร่ือง โดยกวีเปรียบศรัทธาและความหวังเหมือนแสงดาว แม้ว่าดวงดาวทอแสงริบหร่ีอยู่ฟากฟ้ าแสนไกล แต่ดาวยังมีแสงให้มองเห็นเมื่อมืดมิดยามค่าคืน หวั ใจคนไม่ควรสิน้ แสงแห่งความหวงั คนควรดารงความหวงั จนกว่าจะสมหวงั เมื่อแสงแหง่ อรุณรุ่งมาเยือน ความมืดหมน่ จะปลาสนาการไป 71
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ แสงดาวแห่งศรัทธา พร่างพรายแสงดวงดาวน้อยสกาว สอ่ งฟากฟ้ าเดน่ พราวไกลแสนไกล ดง่ั โคมทองสอ่ งเรืองรุ้งในหทยั เหมือนธงชยั สอ่ งนาจากห้วงทกุ ข์ทน พายฟุ ้ าครืนขม่ คกุ คาม เดือนลบั ยามแผน่ ดนิ มืดมน ดาวศรัทธายงั สอ่ งแสงเบอื ้ งบน ปลกุ หวั ใจปลกุ คนอยมู่ ิวาย ขอเยาะเย้ยทกุ ข์ยากขวากหนามลาเคญ็ คนยงั คงยืนเดน่ โดยท้าทาย แม้นผืนฟ้ ามืดดบั เดอื นลบั ละลาย ดาวยงั พรายศรัทธาเย้ยฟ้ าดนิ ดาวยงั พรายอยจู่ นฟ้ ารุ่งราง (แสงดาวแหง่ ศรัทธา, จติ ร ภมู ิศกั ด)์ิ [32] วรรณกรรมประเภทกวีนพิ นธ์มีองค์ประกอบดงั กลา่ วข้างต้น ปรากฏเดน่ ชดั ในบทกวีนพิ นธ์ฉนั ทลกั ษณ์ โดยองค์ประกอบดงั กล่าวบางองค์ประกอบอาจไมป่ รากฏในกวีนิพนธ์ไร้ฉนั ทลกั ษณ์ เชน่ กลอนเปลา่ (blank verse or free verse) และ แคนโต้ ทงั้ นี ้อาจเป็ นความประสงค์ของกวีที่ต้องการมงุ่ เน้นความสาคญั ของคณุ ลกั ษณะ (qualitative) ใดคณุ ลกั ษณะหน่งึ ของภาษาในบทกวี ได้แก่ เสียง ภาพ เสียงและภาพ กล่าวคือ เมื่อกวีเน้นเสียงของคา กวีมีเจตนาเพียงเพ่ือสร้ างจังหวะของคาสาหรับโน้มน้าวอารมณ์ผู้อ่าน โดยมิได้ยึดหลักการของเสียงอย่างรัดกุมเคร่งครัดเหมือนกวีนิพนธ์ฉันทลกั ษณ์ เพราะมุ่งให้ความสาคญั กับความหมายของเนือ้ หาและปลดปลอ่ ยบทกวีให้ผอ่ นคลายลื่นไหล พร่ังพรูความคดิ ความรู้สกึ ออกมาผา่ นคาและถ้อยคา ก่อเกิดความแปลกใหมแ่ ก่ความเป็ นวรรณกรรม เมื่อกวีเน้นภาพผ่านคา นอกจากการสื่อความหมายตามเนือ้ หาแล้ว กวียังเจตนาสร้ างรูปลักษณ์ของกวีนิพนธ์ไร้ ฉันทลักษณ์อย่างงานศิลปะประเภททศั นศลิ ป์ อีกโสดหนง่ึ ด้วย ดงั นนั้ กวีนิพนธ์ไร้ฉนั ทลกั ษณ์ดงั กลา่ วจงึ ถกู เรียกวา่ วรรณรูป (concretepoetry or visual poem) ซงึ่ มกั มีลกั ษณะท่ีสามารถสงั เกตเห็นชดั เจนด้านรูปทรง ระบบสญั ลกั ษณ์ตรรกะด้านภาษาและความคดิ ความยอกย้อนด้านความหมายของภาษา ด้านมืดของชีวิตคน และปรัชญาชีวิตผ่านภาพพจน์ เม่ือกวีเน้นเสียงและภาพ กวีมีเจตนาให้ความสาคญั แก่ลีลาของเสียงและภาพในบทกวี ทงั้ นี ้อาจทาให้เข้าใจได้วา่ นอกจากการส่ือความหมายตามเนือ้ หาของบทกวีแล้วกวียงั มีเจตนาสร้างความลงตวั ระหว่างกวีนิพนธ์ฉันทลกั ษณ์กบั กวีนิพนธ์ไร้ฉันทลกั ษณ์ อย่างไรก็ตาม เนือ้ หาที่กวีนาเสนอมิได้มีความแตกต่างอย่างสิน้ เชิงจากกวีนิพนธ์ฉันทลักษณ์ กล่าวคือเนือ้ หายงั เป็ นความคิดเก่ียวกบั ความลกึ ซงึ ้ และความเรียบง่ายด้านโลกทศั น์ของชีวิต ความรู้สึกตอ่ชีวิตเชิงปัจเจก ความฝันเฟื่ องแนวพาฝัน ความซับซ้อนเชิงจิตวิทยาในอารมณ์ของคน เป็ นต้นนอกจากนนั้ กวีนิพนธ์ไร้ฉันทลกั ษณ์มีอีกลกั ษณะหนึ่งคือ แคนโต้ หรือ กลอนเปล่า 3 บรรทดั กวี72
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ิตนิพนธ์ประเภทนีก้ าเนิดขนึ ้ ในประเทศไทย มีรูปแบบการเขียนคล้ายบทกวีไฮกขุ องประเทศญี่ป่ นุ แต่มิได้เป็ นอย่างเดียวกนั เพราะประพนั ธ์ด้วยถ้อยคาสนั้ ๆ และเขียนเรียงให้จบความใน 3 บรรทดัอยา่ งเปี่ ยมความหมายและทรงพลงั กระทบอารมณ์ผ้อู า่ นอย่างลกึ ซงึ ้ ก่อเกิดความจบั ใจในจงั หวะของถ้อยคาเสมือนบทเพลง กวีนิพนธ์ไร้ฉนั ทลกั ษณ์มีตวั อยา่ ง ดงั นี ้ (1) กวีนิพนธ์ไร้ฉนั ทลกั ษณ์ ลกั ษณะเน้นเสียงและจงั หวะของคา ที่สดุ เราก็จากกนั : ความทรงจาจานวนหนง่ึ อ้มุ ลกู เดอื นเศษไว้ในอ้อมอก เธอบอกลาพี่ชายวา่ จะไปสอู่ ีกรากเหง้าที่ไมร่ ู้จกั เธอกาลงั กลายเป็นอื่น, น้องสาว เธออยากฟังเสียงสะอืน้ ของพี่ชาย, สะอืน้ ร่วมกบั พี่ชาย โลกหมนุ เร็วเกินไป น้องสาว การเรียนรู้ยา่ งก้าวไมท่ นั ความปรารถนา, เปราะบางเหลือเกิน ในร่างของเธอจง่ึ ซอ่ นความลบั รอยยมิ ้ ของสาวน้อย, รู้ไหม- ใบหน้าความเป็นแมก่ าลงั เบกิ บาน (ที่สดุ เราก็จากกนั : ความทรงจาจานวนหนง่ึ ,พิทกั ษ์ ใจบญุ ) [33] (2) กวีนิพนธ์ไร้ฉนั ทลกั ษณ์ ลกั ษณะเน้นภาพผา่ นคา “สวนดอกไม้” ผีเสือ้ บนิ บนิ บนิ บนิ บนิ บนิ บนิ บนิ บนิ ผีเสือ้ บนิ บนิ บนิ บนิ บนิ บนิ บนิ บนิ บนิ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ ดอกไม้ (สวนดอกไม้, จา่ ง แซต่ งั ้ ) [34] 73
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ (3) กวีนพิ นธ์ไร้ฉนั ทลกั ษณ์ ลกั ษณะเน้นเสียงและภาพ จนกว่าพลทหารคนสุดท้ายจากแนวรบจะกลับมา IIIIIIIIIIIIIIIIIIIIII เธอนง่ั ริมทางรถไฟ บนม้านงั่ ตวั เดมิ ท่ีเธอกบั เขาเคยนงั่ รถไฟขบวนหนงึ่ ขบวนนนั้ จอดเทียบชานชาลา ........................... คอ่ ยคอ่ ยเลก็ ลง เลก็ ลง เลก็ ลง เลก็ ลง เล็กลง เลก็ ลง เลก็ ลง เลก็ ลง เลก็ ลง เล็กลง จนหายลบั สายตา ----------------------------------------- IIIIIIIIIเธอนง่ั ริมทางรถไฟ IIIIIIIIIIIII บนม้านง่ั ตวั เดมิ ตวั นนั้ ท่ีเธอกบั เขาเคยนง่ั รถไฟเทียบชานชาลา ขบวนแล้วขบวนเล่า เธอนง่ั และยืน เธอนง่ั แล้วยืน ยืนแล้วนงั่ รอคอยอยา่ งนี ้นานหลายสบิ ปี 10+10+10+10+10 ขบวนแล้วขบวนเลา่ ขบวนแล้วขบวนเล่า รถไฟขบวนเก่าวิ่ง บรรทกุ ผ้ตู ้องโดยสารจาเป็น ในชดุ ผ้าพนั แผลเปื อ้ นเลือด เฝื อกและไม้คา้ ยนั รอยยมิ ้ บนแผลฟกชา้ แตไ่ มม่ ีว่ีแวว ใครท่ีเธอรอคอย กระซบิ สญั ญาของเขาดงั แวว่ และจางหาย ----------------------------------------- (จนกว่าพลทหารคนสดุ ทา้ ยจากแนวรบจะกลบั มา, ไม่มีหญิงสาวในบทกวี , ซะการีย์ยา อมตยา) [35]74
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ติ (4) กวีนิพนธ์ไร้ฉนั ทลกั ษณ์ แคนโต้ แคนโต้ หมายเลข 1 เม่ือได้ยนิ ขา่ วความตายของคนอ่ืน ลกึ ลงไปในหวั ใจของข้า มีเสียงหวั เราะอยา่ งชวั่ ร้าย [36] แคนโต้ หมายเลข 2 ได้ขา่ วความตายของเพื่อน ผมไปนงั่ อยรู่ ิมบงึ ที่เตม็ ไปด้วยดอกบวั สีชมพู [37] กวีนิพนธ์มีองค์ประกอบดงั ที่กล่าวข้างต้นทงั้ หมดนนั้ มิได้เป็ นสิ่งที่ปรากฏเองตามธรรมชาติ แตเ่ ป็นเจตนาของกวีเพ่ือนาเสนอความหมายของประสบการณ์ ความคิด ความรู้สกึและอารมณ์ผ่านคาและถ้อยคา เพื่อก่อเกิดสุนทรียภาพในอารมณ์สัมผัสรับรู้ของผู้อ่าน โดยความหมายของคาและถ้อยคาในบทกวีนิพนธ์นับเป็ นการสร้ างสรรค์ศิลปะวรรณกรรม การสร้ างสรรค์กวีนิพนธ์มิได้ เกิดขึน้ ในช่วงระยะเวลาอันสัน้ แต่กวีนิพนธ์ถูกสร้ างสรรค์ผ่านประสบการณ์ของมนษุ ย์รุ่นตอ่ รุ่นมายาวนานหลายร้อยปี คณุ คา่ ของกวีนิพนธ์จึงดารงอยกู่ บั สงั คมอารยะเสมอมาจนปัจจบุ นั เร่ืองท่ี 2.1.4 องค์ประกอบของนวนิยายและเร่ืองสัน้ นวนิยาย (novel) และเรื่องสนั้ (short story) เป็ นวรรณกรรมที่เขียนเป็ นร้อยแก้วประเภทบนั เทิงคดี (fiction) ผลงานวรรณกรรมประเภทนวนิยายและเรื่องสนั้ นบั เป็ นความคิดสร้างสรรคท์ ่ีมไิ ด้เกิดขนึ ้ โดยบงั เอิญ แตเ่ กิดขนึ ้ จากการวางแผนสร้างโดยนกั เขียน ท่ีสร้างงานขนึ ้ มาอย่างเปรียบเสมือนเป็ นสถาปนิกของเร่ืองเลา่ (narrative) กล่าวคือนกั เขียนต้องมีแบบแปลนเรื่องเหมือนสถาปนิกที่ต้องมีพิมพ์เขียวของการสร้างอาคารบ้านเรือน ดงั นนั้ เนือ้ หาสาระหลกั ของหวั ข้อนีจ้ ะกล่าวเฉพาะองค์ประกอบของนวนิยายและเร่ืองสัน้ ที่มีลกั ษณะสาคัญบางประการอย่างเดียวกนั ในความเป็ นเร่ืองเล่า โดยมิได้เจาะจงว่าเป็ นนวนิยายหรือเรื่องสนั้ ในภาษาใดภาษาหน่ึงและมไิ ด้มงุ่ อธิบายรายละเอียดของศาสตร์แหง่ นวนิยายหรือเร่ืองสนั้ ทงั้ นี ้เพ่ือให้เป็ นเพียงแนวทางและเป็ นพืน้ ฐานด้านความรู้ความเข้าใจเบือ้ งต้น ที่สามารถประยุกต์ใช้กับการศกึ ษาวรรณกรรมประเภทบันเทิงคดีดังกล่าว จนก่อเกิดสุนทรียภาพซาบซึง้ เชิงวรรณศิลป์ ท่ีเป็ นศิลปะในงานวรรณกรรม สาหรับตวั อย่างอ้างอิงประกอบคาอธิบายแต่ละประเดน็ จะเป็ นนวนิยายหรือเรื่องสนั้ 75
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติภาษาไทยและภาษาองั กฤษตามความเหมาะสมแก่เนือ้ หา เพื่อเสริมความเข้าใจของผู้อ่านให้ชดั เจนยิ่งขนึ ้ คาว่า “นวนิยาย” และ “เรื่องสนั้ ” มีคานิยามที่แตกตา่ งกนั ตามธรรมชาติแห่งเจตนาของการเล่าเรื่อง กลา่ วคือ ประการแรก ถ้ากาหนดให้เร่ืองสนั้ เป็ นหลกั เปรียบเทียบ กล่าวได้ว่าจานวนคาในเร่ืองสนั้ มีน้อยกวา่ จานวนคาในนวนิยาย โดยหลกั การทวั่ ไปจานวนคาในเร่ืองสนั้ มีประมาณ 1,000-20,000 คา เร่ืองสนั้ ที่ตีพิมพ์ในวารสารวรรณกรรมนนั้ บรรณาธิการมักกาหนดความยาวของเร่ืองอย่รู ะหวา่ ง 3,000-5,000 คา หากงานเขียนเร่ืองสนั้ มีจานวนคาน้อยกวา่ 1,000คา เรียกว่าเร่ืองสนั้ ขนาดสนั้ (flash fiction, sudden fiction, microfiction, micro-story, postcardfiction, or short short story) [38] หากเขียนเรื่องสนั้ มีจานวนคามากกวา่ 20,000 คา เรียกว่านวนิยายขนาดสัน้ (novella) หรือบางครัง้ ถูกเรียกว่าเรื่องสัน้ ขนาดยาว เช่น เรื่อง TheMetamorphosis (1915) เขียนโดยฟรานซ์ คาฟคา (Franz Kafka 1883 – 1924) นกั เขียนชาวออสเตรีย-ฮงั การี ประการสอง โครงสร้าง (structure) ของโครงเร่ือง (plot) ในเรื่องสนั้ ซึ่งมีสามส่วน(the three-act structure) นนั้ มงุ่ เจาะจงจาเพาะที่การเสนอเหตกุ ารณ์หลกั ที่เกี่ยวข้องกบั ตวั ละครเอกเท่านัน้ นับว่าแตกต่างจากนวนิยายท่ีสามารถดาเนินเรื่องตามโครงสร้ างสามส่วน ได้อย่างละเอียดครบถ้วนตามเจตนาของนกั เขียนได้มากกว่า ประการสาม เหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขึน้ ในเร่ืองสนั้ต้องม่งุ จาเพาะเหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขึน้ กบั ตวั ละครเอกเท่านนั้ ซ่ึงแตกต่างจากนวนิยายท่ีสามารถเล่าเหตกุ ารณ์ที่เกิดขึน้ กบั ตวั ละครอ่ืน ๆ ในเรื่องได้ละเอียดมากกว่า เช่น เรื่อง ส่ีแผน่ ดิน ผลงานเขียนโดย พลตรี หมอ่ มราชวงศค์ กึ ฤทธ์ิ ปราโมช (2454 – 2538) อย่างไรก็ตาม เร่ืองสัน้ ได้รับการอธิบายที่สามารถนาไปเปรียบเคียงกับคานยิ ามนวนยิ ายได้โดยนกั เขียนท่ีมีชื่อเสียงและมีผลงานเขียนเรื่องสนั้ จานวนมากมาย จนกลายเป็ นคาอธิบายท่ีคนส่วนใหญ่ยอมรับและอ้างอิงโดยทั่วไปในโลกวรรณกรรมคือ เอดการ์ อัลลัน โพ(Edgar Allan Poe 1809 – 1849) โพได้เขียนปฏิทศั น์ (review) ผลงานเร่ืองสนั้ ช่ือ “Twice-ToldTales” (1837) ซึง่ เขียนโดยนาเธเนียล ฮอว์ธอร์น (Nathaniel Hawthorne 1804 – 1864) นกั เขียนชาวอเมริกนั ซง่ึ จากคาอธิบายของโพทาให้สามารถนิยาม “เร่ืองสนั้ ” ได้ว่า “เรื่องสนั้ คือตวั บทท่ีเลา่เร่ืองเป็ นร้อยแก้วโดยสร้างผลกระทบทางอารมณ์ตอ่ ผ้อู ่านเพียงหนงึ่ ประเดน็ ” [39] ซึง่ สามารถอา่ นให้จบเรื่องภายในเวลาชว่ั หม้อข้าวเดือด นอกจากนนั้ คาอธิบายของโพยงั ทาให้สรุปหลกั เกณฑ์การเขียนเรื่องสนั้ ได้ว่า ประการแรก Selection คือเลือกสถานการณ์ท่ีเหมาะสมท่ีสดุ อนั แสดงประเด็นหนึ่งประเด็น ที่เป็ นการสะท้อนธรรมชาติหรือประสบการณ์ท่ีสาคญั อย่างใดอย่างหนึ่งของคนประการสอง Concentration คือม่งุ จาเพาะเจาะจงเสนอประเดน็ หน่งึ ประเดน็ จากดั รายละเอียดที่76
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ิตเกี่ยวข้องเพียงหน่ึงกรณี และจากดั ตวั ละครหลกั เพียงคนเดียว ประการสาม Brevity คือถ้อยคาสนั้กระชบั ได้ใจความ ภาษาไม่เย่ินเย้อ ประการส่ี Compression by suggestive language คือเนือ้ หาบอกความนยั ไมก่ ลา่ วตรง ๆ ผ้อู า่ นต้องอา่ นหาความหมายระหวา่ งบรรทดั สว่ นนวนิยายนนั้หนงั สืออภิธานศพั ท์วรรณกรรมและการวิจารณ์ The Bedford Glossary of Critical and LiteraryTerms นิยามว่า “นวนิยาย: เร่ืองเลา่ ร้อยแก้วบนั เทิงคดีที่มีขนาดยาว” [40] ทงั้ นี ้นวนิยายแตกตา่ งจากเรื่องเล่าร้ อยแก้วที่มีขนาดสัน้ (novella) ซึ่งมีจานวนหน้าประมาณ 50-100 หน้า และพจนานกุ รมศพั ท์วรรณกรรม NTC’s Dictionary of Literary Terms นิยามว่า “นวนิยาย: เร่ืองเลา่บนั เทงิ คดขี นาดยาวแบบร้อยแก้ว ที่มีตวั ละคร เหตกุ ารณ์ และ ฉาก ที่เลียนแบบจากสิ่งท่ีพบเห็นได้ในชีวิตจริง” [41] ดงั นนั้ อาจสรุปนิยามของนวนิยายได้ว่า “นวนิยายคือวรรณกรรมร้อยแก้วท่ีเล่าเรื่องราวเหตุการณ์สมมติจานวนหน่ึง ที่มีรูปแบบการดาเนินเรื่องจากเหตุการณ์ต้นเรื่องจนถึงเหตกุ ารณ์ท้ายเรื่อง” นอกจากนัน้ เร่ื องสัน้ มีกรณี ท่ีควรสังเกตคือ เรื่ องสัน้ มักเขียนขึน้ จากประสบการณ์และธรรมชาติของคนที่เป็ นจริงในโลกแหง่ ชีวิตจริง แม้วา่ ตวั ละคร เหตกุ ารณ์ ในเรื่องนนั้ ๆ ถกู ทาให้เสมือนวา่ เขียนจากจนิ ตนาการ ความจริงแล้วประสบการณ์และธรรมชาติของคนในเรื่องนนั้ ๆ มิได้เป็ นเร่ืองจากจินตนาการของนักเขียนทกุ กรณี ซง่ึ แตกตา่ งจากงานเขียนประเภทนวนิยายที่มกั สร้างเร่ืองจาก ประสบการณ์ และธรรมชาติของคนผ่านจินตนาการของนกั เขียนเกือบตลอดเรื่อง เหตนุ ัน้ เองที่ทาให้การอ่านบันเทิงคดีประเภทนวนิยายและเรื่องสนั้ มักทาให้ผู้อ่านจานวนหนึ่งมองหาความจริงของโลกแห่งชีวิตจริงจากโลกแห่งจินตนาการในเรื่องที่อ่าน โดยมิใช่มองหาความสมจริงในโลกแห่งจินตนาการ ยิ่งไปกว่านนั้ ผ้อู ่านจานวนหน่ึงกลบั เข้าใจว่าตวั ละครเอกกบั นกั เขียนอาจเป็นคน ๆ เดยี วกนั ด้วย ดงั นนั้ การอา่ นนวนิยายและเรื่องสนั้ ผ้อู า่ นควรพิจารณาองค์ประกอบของเรื่องเล่าสองประเภท เพื่อเป็ นส่ิงช่วยให้เข้าใจและเข้าถึงความคิด อารมณ์ปัญญา และการสร้างสรรค์อนั เป็ นคณุ คา่ ของเรื่องเล่าด้านศลิ ปะวรรณกรรม ดงั ตอ่ ไปนี ้โครงสร้างของเร่ือง (structure) โครงเร่ือง (plot) ฉากของเร่ือง (setting) ผ้เู ล่าและมุมมองการเล่าเรื่อง(narrators and point of view) ลีลาภาษาและบทสนทนา (style and dialogue) ตวั ละคร(character) แกน่ เรื่อง (theme) (1) โครงสร้ างของเร่ือง (structure) หมายถึง เร่ืองราวเหตุการณ์ (incidents)สมมตทิ ี่ถกู นามาร้อยเรียงเข้ากนั อยา่ งเป็นระบบตามเจตนาของผ้เู ขียนเพ่ือให้ผ้อู ่านสามารถอ่านได้ง่าย ดงั นนั้ กล่าวได้ว่าโครงสร้างของเรื่องถกู จดั ระบบเพื่อผ้อู ่าน มิใช่เพื่อผ้เู ขียน และการจดั ระบบของเร่ืองราวเหตกุ ารณ์สมมตินนั้ ต้องกระทาอย่างถกู จงั หวะพอเหมาะพอดี (timing) จงึ สามารถทา 77
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติให้เรื่องน่าอ่านน่าสนใจ ทงั้ นี ้หลกั การทว่ั ไปของเร่ืองเล่าท่ีถือปฏิบตั ิมาในการเขียนจนเป็ นที่ทราบทวั่ ไปประกอบด้วยเนือ้ หา 3 ตอน (the three-act structure) ได้แก่ เนือ้ หาตอนต้น (beginning)คือการร้ อยเรียงเร่ืองราวเหตกุ ารณ์ตอนต้นเร่ือง ผู้เขียนมักนาเสนอตวั ละครหลัก (protagonist)พร้ อมกับเป้ าหมายวัตถุประสงค์ที่ตวั ละครปรารถนาไปให้ถึง ความปรารถนาของตวั ละครหลักนบั เป็ นแรงขบั ดนั ท่ีทาให้เร่ืองเล่าดาเนินไป ดงั นนั้ ถ้าผ้อู ่านสงั เกตโครงสร้างของเร่ืองในส่วนท่ีเป็ นตอนต้นเร่ืองจะพบวา่ มีการนาเสนอโลกในเร่ืองเลา่ ให้ผ้อู ่านทราบก่อน เช่น ตวั ละคร ฉาก นา้ เสียงของการเล่า ปัญหาและอุปสรรคของตวั ละครเอก เนือ้ หาตอนกลาง (middle) คือการร้อยเรียงเร่ืองราวเหตุการณ์ท่ีเป็ นการระดมปัญหาและอุปสรรคเข้าใส่ตวั ละครเอก เพื่อมิให้เขาหรือเธอสามารถบรรลุเป้ าหมายได้อย่างง่ายดายตามความปรารถนา ทงั้ นี ้ยงั เป็ นการทาให้เร่ืองมีความน่าสนใจและทาให้ผู้อ่านพบสุนทรียภาพกับการอ่านงานวรรณกรรมอีกโสดหน่ึงด้วย สาหรับนวนยิ ายสามารถร้อยเรียงรายละเอียดได้งา่ ย และอาจสร้างโครงเรื่องยอ่ ยซ้อนเข้าได้ แตก่ รณีของเรื่องสัน้ อาจไม่สามารถสร้ างโครงเร่ืองย่อยซ้อนเข้าได้ง่ายนัก เนื่องจากข้อจากัดด้านวิธีการและเป้ าหมายของการเล่า เนือ้ หาตอนกลางของเรื่องเล่าท่ีดีจะนาเสนอความสมั พนั ธ์ด้านลึกของตวัละครหลกั กบั สงิ่ แวดล้อมตา่ ง ๆ ในชีวติ ของเขาหรือเธอ ซง่ึ ทาให้ผ้อู า่ นเกิดความสนใจอยา่ งตอ่ เน่ืองในเรื่องราวเหตกุ ารณ์ที่เกิดขนึ ้ ลาดบั ตอ่ ไป และพบว่ามีการสร้างสถานการณ์สดุ ท้ายขนึ ้ เพ่ือนาเร่ืองทงั้ หมดไปสจู่ ดุ สิน้ สดุ เนือ้ หาตอนปลาย (end) คอื การร้อยเรียงเร่ืองราวเหตกุ ารณ์ตอนปลายเร่ืองที่เป็นการนาเสนอความคลี่คลายของสถานการณ์ทงั้ หมดในเร่ือง (resolution) ซง่ึ อาจกลา่ วได้ว่าเป็ นสว่ นท่ีทาให้ผ้อู า่ นพอใจ (satisfied) จดจาเร่ืองราวได้ยาวนาน และทาให้ผ้อู ่านคิดหาความหมายของเรื่องทัง้ หมด กล่าวโดยสรุปได้ว่าโครงสร้ างของเรื่องนัน้ เมื่อแบ่งเนือ้ หาเป็ น 3 ตอน โดยกาหนดให้เร่ืองทงั้ หมดแบง่ เป็ น 4 ส่วน เนือ้ หาตอนต้นมีความยาว 1 / 4ส่วน เนือ้ หาตอนกลางมีความยาว 2 / 4 สว่ น หากนบั รวมกบั ตอนต้นอาจนบั เป็ น 3 /4 ส่วน และส่วนที่เหลือคือเนือ้ หาตอนปลาย 1 สว่ น (2) โครงเร่ือง (plot) หมายถึง เร่ืองราวเหตกุ ารณ์สมมติ (incidents) ชดุ หนง่ึ ท่ีถกู นามาร้อยเรียงเข้ากนั อย่างเป็ นระบบและเป็ นเหตุเป็ นผลตามเจตนาของผ้เู ขียน เพ่ือนาเสนอสภาวะความขดั แย้ง (conflict) รวมถึงการคล่ีคลายปัญหา (resolution) ที่เกิดกับตวั ละครหลกันอกจากนนั้ พึงสังเกตว่าโครงเร่ืองกับเร่ือง (story) มีความแตกต่างกัน กล่าวคือเรื่องหมายถึงเรื่องราวเหตกุ ารณ์ที่เกิดขนึ ้ ตามลาดบั เวลา โดยมิได้มีการร้อยเรียงคดั เลือกคดั สรรเข้ากนั อย่างเป็ นระบบ และเป็ นเหตเุ ป็ นผลตามเจตนาของผู้เขียน กรณีดงั กล่าวนนั้ อี.เอ็ม. ฟอร์สเตอร์ (E. M.Forster 1879 – 1970) อธิบายความแตกตา่ งระหว่างโครงเรื่องและเร่ืองในหนงั สือชื่อ Aspects of78
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติthe Novel (1927) ซงึ่ สรุปความได้ว่า เร่ืองหมายถึงเรื่องเล่าของเหตกุ ารณ์ที่เกิดตามลาดบั เวลาส่วนโครงเร่ืองก็หมายถึงเร่ืองเล่าของเหตกุ ารณ์เช่นเดียวกนั แต่มุ่งเน้นที่สาเหตุ (causality) อนันาไปสผู่ ลลพั ธ์ของเหตกุ ารณ์ ดงั กรณีตวั อยา่ งที่มกั นามาอธิบายอ้างอิงอย่างเป็ นที่ทราบทวั่ ไป ดงั นี ้“พระราชาสวรรคต จากนนั้ พระราชินีสวรรคต” เรื่องเล่าของเหตกุ ารณ์เช่นนนั้ เรียกว่า “เรื่อง” ซ่ึงแตกตา่ งจากกรณีที่เลา่ วา่ “พระราชาสวรรคต เวลาตอ่ มาพระราชินีสวรรคตด้วยความโทมนสั ” [42]น่ีคือเร่ืองเล่าท่ีมีโครงเร่ือง เพราะพระราชินีสวรรคตเน่ืองจากความโทมนสั ดงั นนั้ ความโทมนสั จึงเป็นความขดั แย้งท่ีเกิดขนึ ้ กบั ตวั ละครท่ีเป็นพระราชินีของเร่ืองเลา่ นี ้ โครงเรื่องมีหลกั การสาคญั อย่ทู ่ีการนาเสนอความขดั แย้งท่ีเกิดกบั ตวั ละครหลกัซ่ึงความขดั แย้งในเรื่องเล่าสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ลกั ษณะ คือ หนึ่ง ความขดั แย้งที่เกิดจากปัจจยัภายนอกตวั ละครหลกั (external conflict) เช่น ความขดั แย้งเชิงกายภาพ (physical conflict) อาทิตวั ละครขดั แย้งกบั ธรรมชาติ ความยากจน ชะตากรรม ความขัดแย้งกับสงั คม (social conflict)อาทิ ตวั ละครหลักขัดแย้งกับผู้อื่น หรือขัดแย้งกับสังคมโดยรวมด้านฐานะทางสังคม ความคิดความเช่ือ อดุ มการณ์ ระบอบการปกครอง สอง ความขดั แย้งที่เกิดจากปัจจยั ภายในของตวั ละครหลัก (internal conflict) เช่น ความขัดแย้งท่ีเกิดภายในความคิดของตัวละครหลักเอง(psychological conflict) ซง่ึ มกั เป็ นความขดั แย้งด้านความคดิ ที่ถกู กบั ความคิดที่ผิด ด้านความผิดปรกตขิ องการทางานในระบบประสาทที่ตวั ละครหลกั เผชิญ ทงั้ นี ้โดยหลกั การของเร่ืองเล่านนั้ตวั ละครหลกั จะเกิดความขดั แย้งเพียงหน่งึ กรณี แตผ่ ้เู ขียนสามารถระดมความขดั แย้งให้ตวั ละครแบกรับมากกว่าหน่ึงกรณีก็ได้ อย่างไรก็ตาม ควรสังเกตว่าในเร่ืองเล่านนั้ ตวั ละครหลักท่ีเผชิญความขัดแย้งจะต้องดิน้ รนให้ตนเองพ้นสภาวะของความขัดแย้งด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างสุดความสามารถ จนกระทง่ั เร่ืองราวเหตกุ ารณ์ทงั้ หมดเรียวลีบบีบตวั ไปสู่สภาวะที่เรียกวา่ “จดุ วิกฤต”(crisis) และตามมาภายหลงั ด้วยสภาวะที่เรียกว่า “จดุ อิ่มตวั ของความตงึ เครียด” (climax) เพราะความขดั แย้งได้เดนิ ทางถึงทางตนั (deadlock) หรือ ทางหกั เห (turning point) ของสถานการณ์ที่ตวั ละครหลกั เผชิญ ซงึ่ เขาหรือเธอต้องตดั สินใจขจดั ความขัดแย้งให้สิน้ ไปจากชะตากรรมของตนเพื่อให้สถานการณ์คลี่คลายสสู่ ภาวะปรกติ (resolution) เรื่องเล่าท่ีเป็ นนวนิยายและเร่ืองสนั้ มีรูปแบบของโครงเรื่อง (plot patterns)หลายชนิด ดงั ตวั อย่างได้แก่ โครงเร่ืองประเภทการแสวงหา (the quest) การแก้แค้น (revenge)ความรัก (love) การไลล่ า่ (the chase) การผจญภยั (adventure) การยืนหยดั เพ่ืออดุ มการณ์ (oneagainst) การยืนหยดั เพ่ือตวั เอง (one apart) อานาจ (power) อปุ มานิทศั น์ (allegory) [43] โดยโครงเรื่องแต่ละชนิดมีหลกั การและโครงสร้างของเร่ืองตา่ งกนั ทงั้ นีข้ ึน้ อย่กู บั การออกแบบเร่ืองของ 79
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติผ้เู ขียน ดงั กรณีตวั อยา่ งรูปแบบของโครงเรื่องประเภทอานาจที่อาจอธิบายได้ดงั ตอ่ ไปนี ้รูปแบบของโครงเร่ืองประเภทอานาจมกั นาเสนอเนือ้ หาที่บอกเล่าถึงการได้มาซึ่งอานาจและการเสียอานาจไปหรือการได้มาด้วยอานาจต้องแลกมาด้วยสิ่งมีค่าอย่างใดอย่างหน่ึงเสมอ เช่น แลกมาด้วยการทาลายศลี ธรรมของตนเอง เพราะอานาจมิใชส่ ิ่งท่ีคนจะควบคมุ มนั ได้อย่างง่ายดาย ดงั นนั้ รูปแบบของโครงเรื่องประเภทอานาจจงึ มีหลกั การในการสร้างวา่ ตวั ละครหลกั เริ่มต้นเส้นทางชีวิตสอู่ านาจด้วยการปราศจากอานาจ ตวั ละครหลกั มีความทะเยอทะยานอยากต่อการได้มาซึ่งอานาจ และท่ีสดุ ได้อานาจมาครอบครองจนสามารถก้าวออกจากการไร้อานาจขนึ ้ สกู่ ารมีอานาจ แตก่ ารได้รับอานาจนนั้ ทาให้ตวั ละครหลกั ต้องแลกด้วยการเสียศีลธรรมไป และสดุ ท้ายผ้เู ขียนอาจสร้างให้ ตวัละครหลกั เผชิญกบั ความตกต่าในชีวิตแม้มีอานาจอย่ใู นครอบครอง จนกระทงั่ ตวั ละครหลกั ยอมสละอานาจนนั้ ทงิ ้ ไปเพ่ือนาศลี ธรรมกลบั คนื มาสตู่ นอีกครัง้ หนง่ึ เมื่อผ้เู ขียนกาหนดรูปแบบของโครงเรื่องตามที่วางแผนแล้วจงึ นาไปกาหนดเป็ นโครงสร้างของเรื่องตามลกั ษณะโครงสร้าง 3 ตอนดังท่ีอธิบายข้างต้นแล้วตอ่ ไป กลา่ วโดยสรุปวา่ โครงเรื่องจงึ เปรียบเหมือนกระดกู สนั หลงั ของเร่ืองเลา่ (3) ฉากของเร่ือง (setting) หมายถึง สงั คมแวดล้อม เวลา ยุคสมยั ท้องถ่ิน ที่เป็ นสิ่งสมมติอนั เป็ นที่เกิดเรื่องราวเหตกุ ารณ์ขึน้ ในเรื่องเล่า [44] นอกจากนนั้ ฉากยงั หมายรวมถึงสงิ่ ของเคร่ืองใช้ เครื่องนงุ่ หม่ ที่ตวั ละครเอกมีหรือใช้ในชีวติ ประจาวนั ด้วย เชน่ นาฬิกา ปากกา สมดุดนิ สอ ผ้าเช็ดหน้า เคร่ืองสาอาง เคร่ืองประดบั สร้อยคอ ริบบนิ ้ ผูกผม ต๊กุ ตา บางกรณีฉากยงั รวมไปถึงลกั ษณะรูปร่างหน้าตา อปุ นิสยั สภาพทางจิตใจ และสถานภาพทางสังคมของตวั ละครหลกัด้วย โดยสรุป ฉากในเรื่องเล่ามีความหมายถึงทุกสิ่งทกุ อย่างที่อ้างอิงให้เห็นภูมิหลงั ของตวั ละครหลกั ฉากในเรื่องเลา่ แบง่ เป็น 2 ประเภท คือ ฉากกายภาพธรรมชาติ (nature) เรียกวา่”ฉากภายนอก” (outdoor setting) เช่น ท่งุ นา ป่ าเขา แม่นา้ ทะเล ดินฟ้ าอากาศ ถนนหนทางสถานที่ บ้านเรือน ท้องถ่ินท่ีอยู่อาศยั วันเวลา ยุคสมัย และ ฉากสภาพแวดล้อมสังคม (socialsetting) เช่น ภาษาพดู ความคิดด้านสงั คม วฒั นธรรม การเมือง เศรษฐกิจ ฐานะ ค่านิยม วตั ถุอปุ กรณ์สิ่งของเคร่ืองใช้ กลา่ วได้วา่ ฉากในเร่ืองเลา่ มไิ ด้เป็นเพียงส่ิงสร้างบรรยากาศและอารมณ์แก่ตวั เรื่อง แตฉ่ ากทาหน้าที่หลายประการ เช่น เนรมิตความน่าเช่ือถือและความเสมือนจริงให้เกิดขึน้แก่เร่ืองท่ีเล่า (credibility) สร้างความจริง (real things) ผา่ นภาษาภาพ (pictorial language) ท่ีเป็นการพรรณนาจนทาให้ผ้อู ่านสมั ผสั รับรู้ได้ทางจินตนาการ แปลงตวั เองให้กลายเป็ นตวั ละครในเรื่องท่ีสง่ อิทธิพลตอ่ ตวั ละครหลกั ให้มีบคุ ลิกทา่ ที ความคิด คา่ นิยม สขุ ภาพ เฉพาะตน กลายเป็ นส่ืออปุ กรณ์ (means) ให้ผ้เู ขียนตระเตรียมเหตกุ ารณ์และการกระทาของตวั ละครหลกั หรือตวั ละคร80
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติอื่น ให้ดาเนินไปอยา่ งสมเหตสุ มผลและเสริมสร้างความกระจา่ งชดั เจนตอ่ แก่นเร่ือง จดั วางอารมณ์บรรยากาศของเรื่องและเปิ ดเผยบุคลิกของตวั ละครหลัก เสนอภาพความเปรียบประชดประชนั(irony) ในเนือ้ หาของเร่ือง เพ่ือบอกให้ทราบระหวา่ งอะไรท่ีดเู หมือนวา่ จริงกบั อะไรท่ีเป็ นจริงจริง ๆในเรื่องราวเหตกุ ารณ์ของเร่ืองเลา่ นนั้ กลา่ วโดยสรุปวา่ ฉากคือโลกสมมตขิ องเรื่องเลา่ (4) ผ้เู ล่าและมมุ มองการเล่าเรื่อง (narrators and point of view) หมายถึงบคุ คลสมมติท่ีเป็ นผ้เู ล่าเรื่อง (narrator) จากมมุ มองการรู้เห็นของเขา (point of view) เกี่ยวกับเร่ืองราวเหตกุ ารณ์ที่ดาเนินในเรื่องท่ีเล่า ดงั นนั้ กล่าวได้ว่าผ้เู ล่าเรื่องกับผ้เู ขียนเร่ือง (authors orwriters) มิใชบ่ คุ คลคนเดียวกนั ผ้อู ่านหรือผ้ฟู ังได้อา่ นหรือได้ฟังเร่ืองราวเหตกุ ารณ์จากปากของผู้เลา่ เร่ือง ที่ผ้เู ขียนสมมตขิ นึ ้ มาให้เป็นคนท่ีเห็น ที่ได้ฟัง ที่ได้รู้เร่ืองราวเหตกุ ารณ์ท่ีดาเนินไปในเรื่องที่เล่า กรณีเช่นนีอ้ าจอธิบายเปรียบเทียบอย่างการเชิดหุ่น ผู้เขียนเร่ืองเปรียบเป็ นคนเชิดหุ่น(ventriloquist) ผ้เู ลา่ เรื่องเปรียบเป็ นหนุ่ (dummy) ภาพท่ี 2.1 ผ้เู ขียนเรื่องสร้างเร่ืองราวเหตกุ ารณ์และคาพดู ของเขาให้ห่นุ เป็ นผ้เู ล่า ฉะนนั้ เรื่อง (story) เนือ้ หา (subject matter) และเหตกุ ารณ์(incidents) ที่ผ้ฟู ังผ้อู ่านทราบนนั้ มิได้มาจากผ้เู ขียนโดยตรงแตม่ าจากผ้เู ล่าเรื่องหรือมาจากปากของห่นุ นนั่ เอง ดงั นนั้ ผ้อู า่ นหรือผ้ฟู ังเรื่องไมอ่ าจเข้าใจไปได้วา่ ผ้เู ขียนเร่ืองกบั ผ้เู ลา่ เรื่องเป็ นบคุ คลคนเดียวกนั หาไมแ่ ล้วจะกลายเป็ นส่ิงเหลือเช่ือที่ผ้เู ขียนเร่ือง สามารถรู้เห็นและไปยงั สถานที่ตา่ ง ๆได้อย่างทะลทุ ะลวง ไมว่ า่ จะอย่บู นบก ป่ าเขาลาเนาไพร ใต้นา้ บนฟ้ า ความฝัน ห้วงคิดคานึงของตวั ละคร เป็นต้นภาพท่ี 2.1 คนเชิดหนุ่ และหนุ่ [45]ที่มา: The Ventriloquist – A short film starring Kevin Spacey<http://thefoxisblack.com/2012/08/29/the-ventriloquist-a-short-film-starring-kevin-spacey/> 81
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ มมุ มองการเลา่ เร่ืองมี 3 ลกั ษณะ ได้แก่ หนึง่ มมุ มองการเล่าแบบบรุ ุษที่ 1 (first-person point of view or first-person narrator) หมายถึง เรื่องราวเหตกุ ารณ์ถกู เล่าผา่ นการรู้เห็นหรือการกระทาของบรุ ุษที่หนง่ึ ซง่ึ อาจเป็นตวั ละครเอกหรือตวั ละครรองก็ได้ ท่ีเป็ นผ้รู ่วมรู้เห็น ได้ยินได้กระทา และคิดตอ่ เหตกุ ารณ์ท่ีเล่า ผ้เู ล่าจะใช้คาสรรพนามแทนตนเองว่า “ฉัน” “ข้าพเจ้า” “พวกเรา” มุมมองการเล่าแบบบุรุษท่ี 1 ทาให้ผู้อ่านหรือผู้ฟังทราบทัศนคติของผู้เล่าและเรื่องราวเหตกุ ารณ์ในเวลาเดียวกนั ด้วย สอง มมุ มองการเลา่ แบบบรุ ุษท่ี 2 (second-person point of view)หมายถึง เร่ืองราวเหตกุ ารณ์ถกู เล่าผ่านการรู้เห็นหรือการกระทาในอดีตของบุรุษที่สอง โดยส่วนใหญ่บรุ ุษท่ีสองจะเป็นตวั ละครเอก อยา่ งไรก็ตาม การเลา่ เร่ืองจากมมุ มองการเลา่ แบบบรุ ุษที่ 2 มกัต้องการบรุ ุษที่ 1 มาเป็นผ้บู อกเรื่องราวเหตกุ ารณ์แทน เชน่ พอ่ แม่ ป่ ู ย่า หรือบคุ คลอื่นเล่าเร่ืองราวเหตกุ ารณ์การกระทาในอดีตของตวั ละครหลกั ซง่ึ เป็นบรุ ุษท่ี 2 ตอนเป็ นเดก็ เล็ก หรือ นายแพทย์เป็ นผ้เู ล่าเรื่องราวเหตกุ ารณ์การกระทาในอดีตของผ้ปู ่ วยคนหน่ึงที่เป็ นโรคความจาเส่ือมและเป็ นตวัละครหลกั ของเร่ือง สาม มมุ มองการเล่าแบบบรุ ุษท่ี 3 (third-person point of view) หมายถึงเรื่องราวเหตกุ ารณ์ถกู เลา่ ผา่ นการรู้เห็นของบรุ ุษที่ 3 ซงึ่ เป็นบคุ คลนอกที่มิได้เป็ นตวั ละครและมิได้มีสว่ นเข้าไปเก่ียวข้องกบั เหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขนึ ้ มมุ มองการเล่าแบบบรุ ุษท่ี 3 ชว่ ยให้การเล่าเร่ืองมีอิสระกว้างไกล เพราะผู้เล่าสามารถทะลุทะลวงผ่านเวลา สถานที่ และความคิดอ่านของตัวละครนอกจากนนั้ การเลา่ เร่ืองในลกั ษณะมุมมองการเล่าแบบบุรุษท่ี 3 สามารถแบง่ ย่อยได้ 2 ลกั ษณะคือ หนงึ่ แบบมมุ มองการเล่าอยา่ งสพั พญั ญู (omniscient point of view) หมายถึง ผ้เู ลา่ รู้แจ่มแจ้งปรุโปร่งในเรื่องราวเหตกุ ารณ์ท่ีเกิดขนึ ้ สามารถรู้อปุ นิสยั ใจคอความรู้สึกและความคิดอา่ นของตวัละคร สามารถวิพากษ์วิจารณ์ตวั ละครและแสดงความคดิ เหน็ สอดแทรกเร่ืองราวเหตกุ ารณ์ท่ีเล่าได้สอง แบบมมุ มองการเลา่ อยา่ งจากดั (limited point of view) หมายถึง ผ้เู ลา่ มีมมุ มองการเลา่ อย่างจากดั เพราะสามารถเลา่ เร่ืองราวเหตกุ ารณ์ท่ีเก่ียวข้องกบั ตวั ละครได้อย่างจากดั แม้ว่าเป็ นการเล่าในมมุ มองการเลา่ แบบบรุ ุษท่ี 3 ก็ตาม ดงั นนั้ มมุ มองการเลา่ เรื่องลกั ษณะนีจ้ งึ เลือกตวั ละครตวั ใดตวั หน่ึงมาเป็ นผู้เล่าเรื่อง เรื่องราวเหตกุ ารณ์ที่เกิดขึน้ จะดาเนินไปตามการรับรู้ของตวั ละครท่ีถูกเลือกมาเป็นผ้เู ลา่ และผ้เู ลา่ แบบมมุ มองการเลา่ อยา่ งจากดั นีไ้ มส่ ามารถลว่ งรู้ความคิดของตวั ละครอื่นในเร่ืองที่เลา่ กลา่ วโดยสรุปวา่ มมุ มองของการเลา่ เร่ืองชว่ ยให้เรื่องที่เลา่ มีความชดั เจนขนึ ้ (5) ลีลาภาษาและบทสนทนา (style and dialogue) หมายถึง โครงสร้างประโยคหรือไวยากรณ์ (syntax) ซึ่งภาษาวิชาการเรียกว่า “วากยสัมพันธ์” อันหมายถึงความสมั พนั ธ์ระหว่างถ้อยคาในประโยค บทสนทนาหมายถึงคาพดู ท่ีเป็ นบทสนทนาของตวั ละครทงั้ ที่เป็ นการสนทนาระหวา่ งตวั ละครและการสนทนาที่ตวั ละครพูดกบั ตวั เอง เม่ือนกั เขียนนาลีลา82
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติภาษาและบทสนทนามาใช้ในงานวรรณกรรมประเภทนวนิยายและเรื่องสนั้ ลีลาภาษาจึงเป็ นกรณีที่ควรสงั เกต เนื่องจากประโยคที่ตวั ละครในเร่ืองเลา่ กล่าวหรือพดู นนั้ จะมีลกั ษณะแตกตา่ งกนั เชน่ประโยคยาว ประโยคสนั้ ประโยคความเดียว ประโยคความรวม ประโยคความซ้อน แม้แตค่ าหรือถ้อยคาที่ถูกนามาใช้ก็แตกตา่ งกนั เช่น คาท่ีเป็ นภาษาทางการ คาที่เป็ นภาษาปาก ศพั ท์สานวนวิชาการ ศัพท์สานวนเฉพาะกลุ่มคนท้องถิ่น กลุ่มคนในเมืองใหญ่ คาที่มีความหมายตรง คาท่ีมีความหมายอ้อม คาเปรียบเปรย คาอปุ มาอปุ มยั ดงั นนั้ ลีลาภาษาและบทสนทนาที่ปรากฏในเร่ืองเลา่ ประเภทนวนิยายและเร่ืองสนั้ จึงเป็ นสิ่งบง่ บอกถึงบคุ ลิกลกั ษณะ อปุ นิสยั การกระทา และโลกทศั น์ของตวั ละครวา่ มีความแตกตา่ งจากตวั ละครอ่ืน ๆ อย่างไรในเร่ืองท่ีเล่า นอกจากนนั้ ยงั บง่ บอกถึงลักษณะของรูปแบบการเขียนที่นักเขียนแต่ละคนมีเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตนอีกโสดหน่ึงด้วยกลา่ วโดยสรุปวา่ ลีลาภาษาและบทสนทนาจงึ เป็นองคป์ ระกอบท่ีสาคญั สาหรับเร่ืองเลา่ (6) ตวั ละคร (character) หมายถึง บคุ คลสมมติในเร่ืองเลา่ ชีวิตของคนจริง ๆในโลกแห่งความเป็ นจริงมกั ถกู นกั เขียนนาเสนอในเรื่องเล่า ซึ่งคนสมมติในเรื่องเล่าถกู เรียกว่าตวัละคร วิธีการที่นกั เขียนนาเสนอตวั ละครในเรื่องเล่า ว่ามีบคุ ลิกลกั ษณะและนิสยั อย่างไร เรียกว่าการเสนอภาพตวั ละคร (characterization) ซึง่ มีวิธีการเสนอ 2 วิธี ได้แก่ หนงึ่ บอกผ้อู ่านโดยตรง(telling) เก่ียวกบั ตวั ละครในเรื่องราวเหตกุ ารณ์ที่เลา่ ด้วยการกลา่ วถึงบคุ ลิกสว่ นตวั นิสยั ความคิดการกระทา สอง บอกผู้อ่านทางอ้อมโดยการเผยให้เห็น (showing) ด้วยกลวิธีต่าง ๆ เช่น บทสนทนา พฤติกรรมและความคิด เปรียบเทียบกบั ตวั ละครอ่ืน ฉาก ช่ือ ฐานะครอบครัว สถานภาพทางสังคม รูปร่างหน้าตา ซ่ึงผู้อ่านสามารถนาไปอ้างอิงตีความหมายได้เอง โดยหลกั การทั่วไปนกั เขียนมกั นาเสนอภาพตวั ละครผา่ นสองวธิ ีดงั กลา่ วพร้อมกนั ในการเลา่ เร่ือง นอกจากนนั้ ตวั ละครในเร่ืองเลา่ ยงั ถกู แบง่ ออกเป็นหลายประเภทหรือถกู เรียกได้หลายคา กล่าวคือหากแบง่ ตวั ละครเป็ นฝ่ ายดีและฝ่ ายร้าย ตวั ละครหลกั จะถูกเรียกว่า “พระเอก”(protagonist) และ ตวั ละครคปู่ รับจะถกู เรียกวา่ “ผ้รู ้าย” (antagonist) ซ่ึงในเร่ืองเลา่ บางเรื่องมิได้หมายถึงตวั ละครที่เป็ นคนสมมติ แต่เป็ นสภาพแวดล้อมธรรมชาติท่ีโหดร้ าย สงั คม ความทุกข์ทรมาน ความเจ็บไข้ และแม้แต่ความตายก็เป็ น”ผู้ราย” ได้ ดงั นัน้ ผู้อ่านนวนิยายพึงสังเกตความหมายของคาวา่ “ผ้รู ้าย” ว่ามิได้มีความหมายจาเพาะจะต้องเกี่ยวข้องกบั กรณีของจริยธรรมหรือศีลธรรม และไม่ควรสบั สนทางความหมายว่า “พระเอก” หมายถึง “hero” ในภาษาองั กฤษและ “ผ้รู ้าย” หมายถงึ “villain” ตวั ละครในเรื่องเลา่ สามารถถกู เรียกวา่ ตวั ละครหลกั ตวั ละครรองได้(major or minor characters) โดยขึน้ อย่กู ับความสาคญั ตามบทบาทและหน้าท่ีในโครงเรื่องกล่าวคือหากตวั ละครมีบุคลิกลกั ษณะนิสยั ความคิดอ่านซับซ้อนลุ่มลึก อารมณ์เปล่ียนแปรได้ 83
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติหลายมติ ิ ซง่ึ โดยสว่ นใหญ่ของเรื่องเล่าจะหมายถึงบคุ ลิกของตวั ละครหลกั เรียกตวั ละครเชน่ นนั้ ว่า“ตวั ละครหลายด้าน” (round characters) ในทางตรงกนั ข้ามหากตวั ละครมีบคุ ลิกลกั ษณะตายตวัไม่แปรเปล่ียน เช่น ตระหน่ี ทะเลาะวิวาท อิจฉา มองโลกด้านดีเสมอ ซึ่งโดยสว่ นใหญ่ของเรื่องเล่าจะหมายถึงบคุ ลิกของตวั ละครรอง เรียกตวั ละครเชน่ นนั้ วา่ “ตวั ละครด้านเดียว” (flat characters)ทงั้ นี ้ผ้อู า่ นไมค่ วรสบั สนหรือตีความหมายผิดพลาดว่า ตวั ละครท่ีมีลกั ษณะบคุ ลิกด้านเดียวเป็ นตวัละครท่ีไม่มีความสาคญั อยา่ งไรก็ตาม ผ้เู ขียนอาจสร้างตวั ละครหลกั ให้มีลกั ษณะเป็ น ”ตวั ละครด้านเดียว” ก็ได้ตามเจตนาของโครงเรื่อง เพื่อสะท้อนความคิดบางอย่างหรือนาไปส่คู วามหมายของแก่นเรื่อง ในเรื่องเล่าหากตวั ละครมีลกั ษณะนิสยั ที่เปลี่ยนแปรด้วยสาเหตทุ างประสบการณ์ท่ีเป็นไปตามสถานการณ์และสภาพแวดล้อม เรียกตวั ละครเชน่ นนั้ ว่า “ตวั ละครหลายนยั ” (dynamiccharacters) และในทางตรงกนั ข้ามเรียกตวั ละครที่บุคลิกลกั ษณะนิสยั ไม่เปล่ียนแปรไปตามเหตุปัจจยั แวดล้อมหรือประสบการณ์เลยวา่ “ตวั ละครเสถียร” (static characters) ซ่งึ โดยสว่ นใหญ่ของเรื่องเล่าจะหมายถึงบคุ ลิกของตวั ละครรอง แตต่ วั ละครหลกั ก็อาจกลายเป็ น “ตวั ละครเสถียร”ได้ตามเจตนาของโครงเร่ือง เพ่ือบง่ บอกวา่ สภาพแวดล้อมหรือเหตปุ ัจจยั ตา่ ง ๆ นนั้ เป็ นสาเหตทุ ี่ทาให้ตวั ละครตวั นนั้ ๆ กลายเป็ นเช่นนนั้ กล่าวโดยสรุปว่าการสังเกตประเภทของตัวละครช่วยให้เข้าใจความหมายและเจตนาของเรื่องเลา่ ได้ชดั เจนขนึ ้ (7) แก่นเรื่อง (theme) หมายถึง ความคิดหลกั เชิงปรัชญาของเร่ืองเล่า ดงั นนั้อาจอธิบายได้ว่าแก่นเร่ืองเป็ นความคิดอย่างใดอย่างหนงึ่ ท่ีบอกให้ผ้อู ่านทราบว่าเร่ืองเลา่ เร่ืองนนั้ๆ หมายความว่าอย่างไร และแก่นเรื่องจะสอดคล้องกับความหมายของประสบการณ์ท่ีมนุษย์ประสบพบผ่าน แก่นเรื่องมิใช่ส่ิงท่ีบอกว่าเร่ืองเล่าเร่ื องนัน้ ๆ เก่ียวกับอะไร ดงั นัน้ เพ่ือท่ีจะได้คาตอบวา่ แก่นเรื่องของเร่ืองนนั้ ๆ คอื อะไร เมื่ออา่ นเร่ืองเลา่ ซึง่ อาจเป็ นนวนิยายหรือเร่ืองสนั้ ผ้อู า่ นควรตอบวา่ เนือ้ หา (subject matter) ของเรื่องนนั้ ๆ เก่ียวกบั อะไร และสรุปโครงเร่ืองของเรื่องนนั้ ๆว่าเกิดอะไรขึน้ หลงั จากนนั้ จงึ พิจารณาตีความหมายของเร่ืองเพ่ือค้นหาแก่นเรื่อง โดยยดึ แนวทางพจิ ารณาตามลาดบั 4 ขนั้ ตอน ดงั นี ้หนึง่ พิจารณาทาความเข้าใจและสรุปพฤติกรรมความคดิ อา่ นของตวั ละครหลกั ว่ามีเจตนาอะไร สอง พิจารณาหาความขดั แย้งที่เป็ นแก่นแกนของปัญหาที่เกิดขนึ ้ กับตวั ละครหลกั สาม พิจารณาว่าความขดั แย้งได้รับการแก้ไขคล่ีคลายอย่างไร เพ่ือเชื่อมโยงความสมั พนั ธ์เข้ากบั แก่นเร่ือง สี่ สรุปส่ิงท่ีพจิ ารณาแล้วนนั้ ให้ได้เป็นแกน่ เร่ือง ทงั้ นี ้แก่นเรื่องจะต้องนาเสนอในรูปของประโยคที่สมบรู ณ์เทา่ นนั้ ตอ่ ไปนีเ้ ป็ นตวั อย่างประโยคท่ีแสดงแก่นเรื่อง เชน่ เมื่ออ่านเร่ืองเล่าหน่งึ เร่ืองจบแล้ว พบว่าเนือ้ หาเป็ นเร่ืองเก่ียวกับความรัก โครงเร่ืองเป็ นเรื่องเกี่ยวกบั ชายหนมุ่ หญิงสาวท่ีรักกนั84
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ิตมาก พวกเขาให้คามนั่ สญั ญาแก่กนั ว่าจะไม่ยอมพรากจากกัน แม้ว่าทงั้ คจู่ ะพบอปุ สรรคมากมายเพียงใดก็ตาม เมื่อความรักของพวกเขาถกู เปิ ดเผย พวกเขาต้องพบกบั ปัญหาท่ียากจะพบหนทางแก้ไขได้ เพราะครอบครัวของพวกเขาเป็ นศตั รูคอู่ าฆาตทางธุรกิจทาเหมืองแร่ท่ีมีมูลคา่ มหาศาลฝ่ ายหญิงสาวถกู ครอบครัวลา่ มโซข่ งั มไิ ด้เห็นเดือนเห็นตะวนั ฝ่ ายชายถกู คลมุ ถงุ ชนแตง่ งานกบั บตุ รีของนกั การเมืองผ้มู ีอานาจกว้างขวาง ฝ่ ายหญิงสาวสามารถหลบหนีจากครอบครัวของเธอ แตเ่ ธอเสียชีวิตอย่างคาดไม่ถึงขณะเดินทางม่งุ หน้าไปหาฝ่ ายชาย ประโยคแสดงแก่นเร่ืองอาจเขียนดงั นี ้“ความรักเป็ นสิ่งจาเป็ นแตก่ ็ไม่มีเหตผุ ลได้เช่นเดียวกัน” “ความรักมน่ั ของมนุษย์ไม่อาจอย่เู หนือชะตากรรม” “มนษุ ย์มีชะตากรรมแหง่ ความรักเป็นของตวั เอง” เป็นต้น กลา่ วโดยสรุปวา่ การพิจารณาแก่นเร่ืองด้วยวิธีอิงกบั ความขดั แย้ง (conflict) จดุอิ่มตวั ของความตึงเครียด (climax) และ สภาวะการคล่ีคลายของความขัดแย้ง (resolution)สามารถชว่ ยให้พบแกน่ เรื่องของเร่ืองเลา่ ได้ โดยทวั่ ไปแก่นเร่ืองมีลกั ษณะที่สามารถเป็ นแนวทางทาความเข้าใจเรื่องเลา่ ดงั นี ้แก่นเรื่องท่ีมีลกั ษณะการมองโลกด้านบวก (optimistic theme) แก่งเรื่องที่มีลกั ษณะการมองโลกในแง่ลบ (pessimistic theme) แก่นเรื่องท่ีมีลกั ษณะการเสียดสีล้อเลียน(satirical theme) และ แก่นเร่ืองที่มีลกั ษณะความเปรียบประชดประชนั พลิกผนั (ironic theme)เร่ืองเลา่ มกั มีลกั ษณะของแกน่ เร่ืองดงั กลา่ วเสมอ เร่ืองท่ี 2.1.5 องค์ประกอบของบทละคร บทละคร (play) เป็ นวรรณกรรมที่เขียนเป็ นร้อยแก้วประเภทบนั เทิงคดี (fiction)นกั เขียนบทละคร (playwright) เขียนบทละครขึน้ ด้วยรูปแบบท่ีแตกต่างจากงานเขียนร้ อยแก้วประเภทอื่น เชน่ นวนิยาย เรื่องสนั้ สารคดี (non-fiction) แม้วา่ บทละครบางเร่ืองมีลกั ษณะเป็ นกวีนพิ นธ์แทรกปนอยบู่ ้างก็ตาม ทงั้ นีเ้นื่องจากบทละครเป็ นเพียงองค์ประกอบส่วนหน่งึ ของการแสดงละครบนเวที กลา่ วได้วา่ บทละครหมายถงึ งานเขียนประเภทเรื่องเล่าท่ีมีวตั ถปุ ระสงค์เพ่ือใช้เป็ นบท(screen) สาหรับการแสดงบนเวที บทละครมีรูปแบบที่แตกตา่ งจากงานเขียนร้อยแก้วประเภทอ่ืนในข้อที่วา่ บทละครแบง่ เร่ืองราวเหตกุ ารณ์ออกเป็ นหลายองก์ (Act) แตล่ ะองค์แบง่ ออกเป็ นหลายฉาก (Scene) บทละครตลอดทงั้ เรื่องถกู เขียนขนึ ้ ให้มีเฉพาะบทสนทนาของตวั ละคร คาสนทนาถกูกากบั ไว้ด้วยช่ือของตวั ละคร ตวั ละครถกู กาหนดทิศทางขณะปรากฏตวั บนเวทีด้วยคาอธิบายบอกในตวั บท เป็ นต้น ดงั นนั้ การอ่านบทละครจงึ แตกต่างจากการอ่านวรรณกรรมร้อยแก้วประเภทอ่ืนด้วยเหตตุ ามลกั ษณะรูปแบบดงั กล่าวข้างต้น อย่างไรก็ตาม บทละครมีองค์ประกอบแหง่ ความเป็ นวรรณกรรม (literariness) บางประการท่ีเหมือนกนั กบั วรรณกรรมร้อยแก้วประเภทอ่ืน ได้แก่ ตวั บท(text) ตวั ละคร (character) โครงสร้างของเรื่อง (structure) โครงเร่ือง (plot) ความขดั แย้ง 85
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ(conflict) แก่นเรื่อง (theme) ดงั นนั้ เพ่ือเป็ นการช่วยให้เข้าใจและเข้าถึงความคดิ อารมณ์ ปัญญาและการสร้างสรรคอ์ นั เป็นคณุ คา่ ของเร่ืองเล่าประเภทบทละครซ่ึงนบั เป็ นศิลปะวรรณกรรมด้วย จึงควรอธิบายองคป์ ระกอบดงั กลา่ วข้างต้นบางหวั ข้อเพิ่มจากกรณีของเรื่องเล่าประเภทอื่น ดงั ตอ่ ไปนี ้ (1) ตวั บท (text) หมายถึง เร่ืองราวเหตกุ ารณ์ท่ีเขียนขึน้ เป็ นบทละคร (writtentext) สาหรับการแสดงบนเวที โดยทวั่ ไปตวั บทของบทละครเขียนเป็ นร้อยแก้ว และแบง่ เรื่องราวเหตุการณ์ออกเป็ นองก์และเป็ นฉาก ตัวบทที่เขียนเป็ นร้ อยแก้วของบทละครบางเรื่องอธิบายรายละเอียดของตวั ละครละเอียดชดั เจน บางเรื่องไม่ได้ให้รายละเอียดชัดเจนเพราะผู้เขียนบทปล่อยไว้ให้ผู้อ่านจินตนาการเองบางส่วน เช่น ฉากการปรากฏตัวของแม่มดในบทละครเร่ืองMacbeth องก์ 1 ฉาก 1 เขียนโดย William Shakespeare (1564 – 1616) ไมม่ ีคาอธิบายวา่ แมม่ ดต้องแต่งตวั อย่างไร ทาเสียงอยา่ งไร อายุเท่าไร เคลื่อนไหวอย่างไร เป็ นต้น ความยาวขององก์ถกูแบง่ ออกเป็ นฉาก โดยทว่ั ไปองก์จะมีความยาวในการแสดงประมาณ 1 ชว่ั โมง และฉากจะมีความยาวในการแสดงประมาณ 5 – 30 นาที โดยขึน้ อย่กู ับการสร้างเร่ืองราวเหตกุ ารณ์และการวางโครงสร้ างของโครงเร่ืองจากผู้เขียนบท นอกจากนัน้ ฉากประกอบด้วยบทสนทนาของตวั ละคร(dialogue or speeches or lines) และ ทิศทางการปรากฏตวั บทเวทีของตวั ละคร (stagedirections) ซ่ึงเป็ นข้อกาหนดไว้ท่ีตวั บท เพื่อให้นกั แสดงและผ้กู ากบั การแสดงทราบว่าละครฉากนนั้ ๆ ต้องแสดงจากทศิ ทางใดของเวทีอนั เป็ นมมุ มองของผ้เู ลา่ เร่ือง (2) ตวั ละคร (character) หมายถึง บุคคลสมมติที่มีบทบาทในเร่ืองราวเหตกุ ารณ์ที่บทละครสร้างขนึ ้ ซ่ึงบุคคลสมมติในบทละครจะถกู แทนบทบาทด้วยนกั แสดง (actor)ซงึ่ เป็นผ้ตู คี วามความหมายบทบาทของบคุ คลสมมติ ดงั นนั้ ตวั ละครจงึ มิได้เป็ นตวั บคุ คลจริง (realpeople) นกั แสดงเป็ นผ้สู ร้างสรรค์บทบาทของตวั ละครให้ดสู มจริง นอกจากนนั้ บทละครมกั พิมพ์รายชื่อของตวั ละครไว้ที่หน้าแรกกอ่ นตวั บทเพื่อให้ผ้อู า่ นทราบ และนกั แสดงท่ีแสดงเป็ นตวั ละครถกูเรียกวา่ ผ้แู สดง (cast or company) การแสดงของนกั แสดงบนเวทีถกู เรียกว่าแสดงบทบาทของตวัละครตามบทละคร (playing a part) กลา่ วได้วา่ ตวั ละครในบทละครมีอิทธิพลตอ่ ผ้คู นทวั่ ไปมากจนกระทง่ั มีคากล่าวว่า “โลกคือละคร” “ชีวิตคือละคร” “แตล่ ะครล้วนมีบทบาทการแสดงของตวั เอง” เป็นต้น (3) ความขดั แย้ง (conflict) หมายถึง ปัญหาอปุ สรรคท่ีเกิดขนึ ้ กบั ตวั ละครหลกัซงึ่ ถือวา่ เป็นส่งิ ขดั ขวางวตั ถปุ ระสงค์หรือความปรารถนาท่ีตวั ละครหลกั ต้องการบรรลุ ดงั นนั้ กลา่ วได้ว่าความขัดแย้งในเร่ืองราวเหตกุ ารณ์ของบทละคร ซึ่งนบั เป็ นเรื่องเล่านนั้ คือพลังขบั ดนั ให้บทละครมีชีวิตชีวาน่าติดตามน่าสนใจตอ่ ผู้อ่าน ความสาคญั ของความขดั แย้งในเรื่องเล่าอาจอธิบาย86
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ติให้เห็นอย่างเป็ นรูปธรรมดงั กรณีตวั อย่างเปรียบเทียบว่า เม่ือตวั ละครหลกั มีความปรารถนาท่ีจะบรรลุเป้ าหมายอยา่ งใดอย่างหน่งึ นนั้ เชน่ ต้องการผลไม้สกุ บนต้น เขาหรือเธอถกู ผ้เู ขียนบทจบั ให้ปี นขึน้ ต้นไม้ ผ้เู ขียนบทได้วางเง่ือนไขในเหตกุ ารณ์ด้วยการสร้างความขดั แย้งตา่ ง ๆ ขึน้ หลายครัง้หลายหนแก่ตวั ละครหลกั ความขดั แย้งนนั้ เปรียบเหมือนการที่ผู้คนระดมขว้างปาก้อนหินสิ่งของเข้าใสต่ วั ละครหลกั ที่กาลงั ปี นขึน้ ต้นไม้ เม่ือตวั ละครหลกั ถกู ส่ิงของขว้างปาจึงต้องพยายามดนิ ้ รนไปให้ถึงเป้ าหมาย ความขดั แย้งแต่ละเรื่องแต่ละประเด็นท่ีถูกเทเข้าหาตวั ละครหลักนนั้ จะเพ่ิมความหนกั หน่วงมากขึน้ ๆ จนกระทง่ั เมื่อความขัดแย้งท่ีอาจเปรียบเหมือนนา้ ต้มเดือดถึงขีดสุด(climax) ก็จะปรากฎผลลพั ธ์ของความขดั แย้งออกมาเป็ นอยา่ งใดอยา่ งหนึง่ เม่ือผ้เู ขียนบทเห็นวา่สมควรแก่การยตุ ิอปุ สรรคที่ขดั ขวางตวั ละครหลกั จึงนาเขาหรือเธอลงจากต้นไม้ ดงั นนั้ กล่าวได้ว่าความขดั แย้งเป็ นหวั ใจของบทละครหรือเป็ นหัวใจของโครงเร่ืองนั่นเอง บทละครท่ีมิได้นาเสนอความขดั แย้งของตวั ละครหลกั ถือว่าเป็นเพียงเร่ืองเลา่ ตามลาดบั เวลาท่ีปราศจากโครงเรื่อง อย่างไรก็ตาม การอ่านบทละครมีกรอบแนวทางที่ควรพิจารณาใช้ประกอบการอ่าน เพื่อความเข้าใจเร่ืองราวเหตกุ ารณ์ในตวั บทอยา่ งซาบซึง้ จนก่อเกิดสนุ ทรียภาพขนึ ้ ในตวั ของผู้อ่าน ดังนี ้ (หนึ่ง) การอ่านบทสนทนาของตัวละคร ผู้อ่านอาจพบความลาบากในการอ่านบทสนทนาระหว่างตวั ละคร เน่ืองจากบทสนทนามีช่ือของตวั ละครเขียนกากบั คาสนทนาไว้ หรือบางคาพดู เป็ นการพูดกบั ตนเองของตวั ละคร หรือบางคาพูดตวั ละครพดู กับผ้ชู ม เป็ นต้น ซึ่งแม้ว่าการใส่ช่ือตวั ละครกากับคาพูดนนั้ ทาให้ทราบว่าใครเป็ นผู้พูดก็ตาม แต่ก็ทาให้การอ่านถูกเบี่ยงเบนสมาธิและไม่ลื่นไหลเหมือนกบั การอ่านนวนิยายหรือเรื่องสนั้ ท่ีผ้อู า่ นเดาออกหรือทราบได้แม้ว่าไม่มีชื่อตวั ละครกากบั คาพูดประโยคนนั้ ๆ วลีนนั้ ๆ อย่างไรก็ตาม อุปสรรคในการอ่านดงั กล่าวอาจแก้ไขได้ เช่น วิธีกวาดสายตาดูช่ือตัวละครว่ามีตัวละครตัวใดบ้างก่อนอ่าน หรือ วิธีสร้ างคาเชื่อมโยง (transitional words) เข้ากบั ช่ือตวั ละครด้วยตนเอง เชน่ กระถนิ : ทาไมเธอพดู จาแปลกหพู ิกล มีเรื่องหนกั ใจอะไรหรือเปลา่ สายบัว : ฟังฉนั ให้ดีนะกระถิน กานนั ถยุ จะยดึ ที่นาของฉนั กบั แมไ่ ว้ขดั ดอกเบีย้ เงินกู้ ฉนั จะพดู จาเป็นปรกตไิ ด้อยา่ งไร คนมนั กงั วลใจนี่นา นี่ยงั ไมร่ ู้จะทายงั ไงดีวิธีสร้างคาเชื่อมโยงช่ือตวั ละครกบั คาพดู อาจแก้ไขได้จนเกิดความชานาญในการอ่าน ดงั นี ้ กระถนิ เอ่ย, “ทาไมเธอพดู จาแปลกหพู ิกล มีเร่ืองหนกั ใจอะไรหรือเปลา่ ” สายบัวตอบ,“ฟังฉนั ให้ดนี ะกระถิน กานนั ถยุ จะยดึ ท่ีนาของฉนั กบั แมไ่ ว้ขดั ดอกเบยี ้ เงินกู้ ฉนั จะพดู จาเป็นปรกตไิ ด้อยา่ งไร คนมนั กงั วลใจน่ีนา น่ียงั ไมร่ ู้จะทายงั ไงดี” 87
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติ(สอง) ทิศทางการปรากฏตวั บทเวทีของตวั ละคร คาอธิบายเกี่ยวกบั รายละเอียดของฉากและทิศทางการปรากฏตวั บนเวทีของตวั ละคร อาจเป็ นอุปสรรคได้เช่นเดียวกันกบั ช่ือของตวั ละครท่ีเป็ นเหตุให้กระแสความคิดของผู้อ่านถูกถ่วงรัง้ ชะงัก ไม่ลื่นไหล แม้ว่าคาอธิบายดังกล่าวนัน้ เป็ นส่งิ จาเป็นในบทละคร เพราะชว่ ยให้ผ้อู ่านมองเห็นภาพจินตนาการเดียวกนั กบั ที่ผ้เู ขียนบทมองเห็นวิธีแก้อุปสรรคของการอ่านดังกล่าวอาจแก้ไขได้ด้วยการอ่านสองครัง้ กล่าวคือครัง้ ที่หนึ่งอ่านสารวจเกี่ยวกบั รายละเอียดของฉากและทิศทางการปรากฏตวั บนเวทีของตวั ละครโดยคร่าว ๆ ก่อนเมื่อจดจาคาอธิบายได้พอประมาณสณั ฐานแล้วจึงเริ่มอ่านใหม่เป็ นครัง้ ท่ีสอง การอ่านครัง้ ที่สองผ้อู า่ นจะสามารถมองเหน็ ภาพตามจนิ ตนาการได้อย่างล่ืนไหลเป็นอิสระ กลา่ วโดยสรุปว่า องค์ประกอบของบทละครซึ่งเป็ นเร่ืองเล่าประเภทหนึง่ ท่ีเขียนเป็ นร้อยแก้วนนั้ มีลกั ษณะร่วมและลกั ษณะที่แตกตา่ งบางประการจากเร่ืองเล่าประเภทนวนิยายและเรื่องสนั้ อยา่ งไรก็ตามบทละครท่ีเขียนขนึ ้ เพื่อจดุ มงุ่ หมายสาหรับใช้แสดงละครเวทีนนั้ มีวิธีการอา่ นบางกรณีที่ตา่ งไปจากการอ่านวรรณกรรมลักษณะอ่ืน ทงั้ นี ้เพ่ือให้กระแสความคิดของผ้อู ่านเกิดความลื่นไหลตอ่ เนื่องเชน่ เดียวกนั กบั การอ่านงานเขียนร้อยแก้วทว่ั ไป ทงั้ นี ้ไม่วา่ บทละครนนั้ ๆจะมีรูปแบบใดก็ตาม ดงั ตวั อย่างละครโบราณ (traditional forms of drama) ในลกั ษณะท่ีเป็ นละครกรีก (Greek drama) ละครสมยั เอลิซาเบ็ธขององั กฤษ (Elizabeth drama) หรือ ละครสมยั ใหม่ (modern forms of drama) ในลกั ษณะเป็นละครเริงรมย์ประกอบดนตรี (melodrama) ท่ีภาษาชาวบ้านเรียกว่า “ละครนา้ เนา่ ” บ้าง “ละครชาวบ้าน” (soap opera) บ้าง ซึง่ ความจริงแล้วเป็ นละครที่ตวั ละครมีลกั ษณะนิสยั แบบเหมารวม (stereotyped) กลา่ วคือดีก็ดีเหลือล้น ร้ายก็ร้ายเหลือทน หรือละครลกั ษณะสมจริง (realistic drama) ท่ีเสนอเหตกุ ารณ์จากชีวิตจริงประจาวนั ของคนปรกตทิ ว่ั ไป หรือละครทวนตรรกะ (theatre of the absurd) ที่สะท้อนการสิน้ ศรัทธาตอ่ ความเป็นผ้มู ีเหตผุ ลของมนษุ ย์ เป็นต้นตอนท่ี 2.2 สุนทรียภาพด้านวรรณกรรม เนือ้ หาเกี่ยวกับสนุ ทรียภาพด้านวรรณกรรมนาเสนอประเด็นว่า วรรณกรรมเป็ นศิลปะประเภทหน่งึ ท่ีมีปรัชญาเฉพาะตวั แตกตา่ งจากศิลปะลกั ษณะอื่น ซ่ึงเมื่อมีความเข้าใจในธรรมชาติของวรรณกรรม จะเกิดความซาบซึง้ ด้านสุนทรียภาพของวรรณกรรม อันนาไปสู่ความเข้าใจลกั ษณะของสุนทรียภาพในวรรณกรรม จนสามารถประเมินสุนทรียภาพในวรรณกรรมได้ โดยตดั สินจากเกณฑ์อธิบายประสบการณ์สุนทรีภาพ ที่เป็ นหลักฐานเชิงประจักษ์ว่าปัจเจกบุคคลสามารถเกิดประสบการณ์สนุ ทรียภาพด้านวรรณกรรมที่วดั ได้ด้วยคาอธิบาย88
สนุ ทรียภาพกบั ชีวิต เร่ืองท่ี 2.2.1 ปรัชญาของวรรณกรรม ปรัชญาของวรรณกรรม (philosophy of literature) ที่จะกลา่ วถึงในท่ีนีม้ ิได้ม่งุอธิบายเนือ้ หาในเชิงลึก เพราะมีเนือ้ หากว้างขวางเหมาะแก่การแยกออกศกึ ษาเป็ นศาสตร์เฉพาะตา่ งหาก แตม่ ่งุ อธิบายพอสงั เขปเพื่อเป็ นแนวทางให้เข้าใจ ขอบข่ายเนือ้ หาของปรัชญาวรรณกรรมว่าเกี่ยวข้องกบั เรื่องใดบ้าง กล่าวคือปรัชญาของวรรณกรรมเกี่ยวข้องกับคาถามพืน้ ฐานท่ีว่าด้วยเรื่องธรรมชาติแห่งวรรณกรรมในฐานะเป็ นศลิ ปะ ซึง่ คาถามดงั กลา่ วนนั้ มีลกั ษณะเป็ นอภิปรัชญา(metaphysics) และภววิทยา (ontology) อันหมายถึงการแสวงหาคาอธิบายเก่ียวกับภาวะ(being) และความจริง (reality) ของงานวรรณกรรม เช่น อะไรทาให้งานวรรณกรรมในฐานะเป็ นศลิ ปะ อาทิ กวีนิพนธ์ นวนิยาย เรื่องสนั้ บทละคร มีความแตกตา่ งจากงานเขียนประเภทอ่ืน เช่นคมั ภีร์ทางศาสนา ตาราประวตั ิศาสตร์ รายงานด้านวิทยาศาสตร์ คมู่ ือทาอาหาร หนงั สือนาเที่ยวเป็นต้น เอกสารหรือหนงั สือเหลา่ นนั้ อาจเขียนในลกั ษณะบนั เทิงคดีได้ งานวรรณกรรมในฐานะเป็ นศิลปะท่ีมิได้เป็ นส่ิงพิมพ์ (printed editions) จะนบั เป็ นงานศิลปะหรืองานวรรณกรรมหรือไม่ เช่น ผลงานเขียนในรูปแบบของดิจิตอล (digitaleditions) อะไรคือบรรทัดฐาน (norms) ของแนวปฏิบัติด้านการทาความเข้าใจหรือการตีความหมายของงานวรรณกรรม ความหมายของงานวรรณกรรมเรื่องใดเรื่องหนึ่งคงท่ีหรือสามารถเปล่ียนแปรได้ เม่ืออ่านด้วยบริบทของสังคมท่ีแตกต่างออกไปจากบริบทของต้นฉบับผ้อู า่ นมีการตอบสนองทางอารมณ์ท่ีเป็นจริงจริง ๆ หรือไมต่ อ่ ตวั ละคร เรื่องราวเหตกุ ารณ์ เน่ืองจากผ้อู ่านทราบอยกู่ ่อนแล้ว วา่ วรรณกรรมเป็ นเร่ืองแตง่ ตามจินตนาการของผ้เู ขียนอนั เป็ นเรื่องสมมตินอกจากนนั้ ปรัชญาของวรรณกรรมยงั ก้าวเข้าไปสปู่ ริมณฑลของความรู้ โดยคาถามที่เก่ียวกบั เร่ืองคณุ คา่ ของงานวรรณกรรม เชน่ วรรณกรรมสร้างการหยง่ั เห็น (insights) หรือความรู้อะไรที่โดดเดน่แตกตา่ งอย่างชดั เจนหรือไม่ ข้อดีข้อเสียเชิงพทุ ธิปัญญาของงานวรรณกรรมนบั เป็ นข้อดีข้อเสียเชิงศลิ ปะได้หรือไม่ เป็นต้น กลา่ วโดยสรุปวา่ ปรัชญาของวรรณกรรมเป็นองค์ความรู้ที่เก่ียวด้วยเรื่องของการแสวงหาคาอธิบายเกี่ยวภาวะและความจริงของงานวรรณกรรมในฐานะเป็ นศิลปะ ว่าภาวะและความจริงของวรรณกรรมคือสิ่งใด สามารถก่อเกิดประโยชน์อะไรตอ่ มนษุ ย์ด้านปัญญาความคิดและการเข้าใจโลกเข้าใจชีวิต ซ่ึงปรากฏว่าปรัชญาของวรรณกรรมมิได้อยโู่ ดดเด่ียวในโลกของการแสวงหาปัญญา เพราะศาสตร์แขนงต่าง ๆ เช่น ประวัติศาสตร์ของวรรณกรรม การวิจารณ์วรรณกรรม ปรัชญาของภาษา อภิปรัชญาวิเคราะห์ แม้กระทงั่ สาขาวิทยาศาสตร์ เช่น วิทยาศาสตร์ 89
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติด้านกระบวนการคิด ต่างหาคาอธิบายอย่างเป็ นระบบที่นบั เป็ นสหวิทยาการ (interdisciplinary)อนั เปรียบเสมือนการสอ่ งทางแกก่ นั และกนั ทางด้านศลิ ปะวรรณกรรม เร่ืองท่ี 2.2.2 ความซาบซงึ้ ด้านสุนทรียภาพของวรรณกรรม วรรณกรรมเป็ นงานศลิ ปะประเภทหน่งึ ที่ถกู สร้างสรรค์ผ่านตวั อกั ษร ซึง่ เมื่ออา่ นผ้อู ่านสามารถเกิดความซาบซงึ ้ ด้านสุนทรียภาพ (aesthetic appreciation of literature) หรือความงามของวรรณกรรม เนื่องจากวรรณกรรมเป็ นการแสดงออกของผู้เขียนด้วยกลวิธีทางวรรณศลิ ป์ อยา่ งจบั ใจผ้อู า่ นด้านประสบการณ์ ความคดิ จนิ ตนาการที่มีความหมาย ทงั้ นีผ้ ้อู ่านต้องเพ่งพินิจวรรณกรรมจากความรู้ความสามารถด้านภาษาและวิจารณญาณของตนจนหยั่งเห็นความหมายและคณุ คา่ ท่ีเป็นความซาบซงึ ้ ด้านสนุ ทรียภาพ กลา่ วได้ว่าสนุ ทรียภาพของวรรณกรรมกอ่ เกิดจากรูปแบบและเนือ้ หาของตวั งานวรรณกรรม แม้ว่าเม่ือปิ ดหนงั สือวรรณกรรมเลม่ ท่ีอา่ นลงแล้วก็ตาม แตเ่ สนห่ ์ (enchantment) ของสนุ ทรียภาพยงั คงดาเนนิ ตอ่ ไปในการรับรู้ของผ้อู า่ น ดงั นนั้ ความซาบซงึ ้ ด้านสนุ ทรียภาพของงานวรรณกรรม มิอาจก่อเกิดขึน้ ได้จากมมุ มองการอ่านท่ีข้ามรูปแบบและเนือ้ หาของวรรณกรรม ในฐานะงานศิลปะหรืองานท่ีถกู สร้างขึน้อยา่ งมีวรรณศลิ ป์ (literary work’s artistic aspects) ตรงกนั ข้ามมมุ มองการอ่านดงั กลา่ วที่มงุ่ มองหาแง่มุมอื่นจากคุณสมบัติทางวรรณศิลป์ ของงานวรรณกรรม เช่น การถอดรือ้ โครงสร้ างความหมาย (deconstruction) ความหมายสญั ญะ (signified or concept) นวประวตั ิศาสตร์(new historicism) นบั เป็ นการลดทอนความสมั พนั ธ์ระหวา่ งวรรณกรรมกบั ศิลปะอย่างย้อนแย้ง(paradox) ในประเด็นเก่ียวกับความซาบซงึ ้ ด้านการอา่ นวรรณกรรม ในฐานะเป็ นวรรณกรรมแต่กลบั มไิ ด้ให้ฐานะเป็นงานศลิ ปะ ดงั กรณีตวั อยา่ งบทกวีนิพนธ์ชื่อ “วกั ทะเล” วักทะเล รับประทานกบั ข้าวขาว วกั ทะเลเทใสจ่ าน ไว้คลกุ เคล้าซาวเกลือกิน เอือ้ มเก็บบางดวงดาว เต้นราทาเพลงวงั เวงสิน้ ดปู หู อยเริงระบา ไปกินตะวนั และจนั ทร์ กิง้ ก่ากิง้ กือบนิ ลอยลอ่ งทอ่ งเที่ยวสวรรค์ คางคกขนึ ้ วอทอง เทวดานนั้ หนีเข้ากะลา องึ่ อา่ งไปด้วยกนั ชาวอปั สรนอนชนั้ ฟ้ า ไส้เดอื นเที่ยวเกีย้ วสาว เชดิ หน้าได้ดบิ ได้ดี ทกุ จลุ ินทรีย์อมบิ ้า ทะยานลงดนิ มากินขี ้ เทพไท้เบ่ือหนา่ ยวิมาน90
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ติชมอาจมวา่ มี รสวเิ ศษสดุ ที่จะกลา่ วคา ป่ าสมุ ทมุ พมุ่ ไม้ พดู ได้ปรัชญาลกึ ลา้ คานวณนา้ หนกั แหง่ เงาขีเ้ ลื่อยละเมอทา อยหู่ ล้าเหลวเลวโงเ่ ขลา วเิ ศษใหญ่ใคร่เสวยฟ้ า งง่ั เอาเถิดประเสริฐเอย (วกั ทะเล, องั คาร กลั ยาณพงศ)์ [46]โลภโกรธหลงมอมเมาบทกวีนิพนธ์โดยองั คาร กลั ยาณพงศ์ ช่ือ “วกั ทะเล” บทนีเ้ ขียนขนึ ้ ด้วยวรรณศลิ ป์ อย่างจบั ใจด้านรูปแบบและเนือ้ หา เม่ือผ้อู ่านนาองค์ประกอบของกวีนิพนธ์ในหวั ข้อเรื่องท่ี 2.1.3 มาประกอบการพิจารณาทาความเข้าใจ จะสามารถมองเห็นประสบการณ์ ความคดิ และจินตนาการท่ีปรากฏอยู่ในตวั บท (text) จนนาไปส่คู วามซาบซงึ ้ ด้านสนุ ทรียภาพหรือความงามในบทกวีดงั กล่าวได้ ย่ิงไปกว่านัน้ หากมองลึกเข้าไปจนถึงแก่นเร่ืองของกวีนิพนธ์บทนี ้ ผู้อ่านจะยิ่งเข้าใจคุณค่าและความหมายของวรรณกรรมในฐานะเป็ นงานศลิ ปะ โดยมิได้ยึดติดอย่กู บั กวีผ้สู ร้างงานแม้แตน่ ้อยเพราะผ้อู า่ นมีอสิ ระท่ีจะตีความหมายของงานวรรณกรรมได้โดยเสรี เว้นเสียแตว่ ่าผ้อู า่ นมิได้ม่งุ อ่านเพ่ือสนุ ทรียภาพ แตม่ งุ่ อา่ นเพื่อมองหาประเด็นอื่นที่มิได้เก่ียวด้วยเร่ืองของวรรณกรรมในฐานะเป็ นงานศิลปะดงั ได้กลา่ วข้างต้นแล้ว การอ่านตามกรณีเช่นนนั้ ยอ่ มอยนู่ อกขอบขา่ ยเร่ื องความซาบซึง้ด้านสนุ ทรียภาพของวรรณกรรม กลา่ วโดยสรุปวา่ ผ้อู ่านต้องใช้ประสบการณและทกั ษะทางภาษาของตนเพ่งพินิจพิจารณาความงามของงานวรรณกรรม ผ่านองค์ประกอบของวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ เพื่อมองให้เห็นรูปแบบและเนือ้ หาในตวั งานวรรณกรรม ท้ายที่สุดจะสามารถเข้าใจและซาบซงึ ้ จนกลายเป็นสนุ ทรียภาพตอ่ งานวรรณกรรมท่ีอา่ น เร่ืองท่ี 2.2.3 ลักษณะของสุนทรียภาพในวรรณกรรม วรรณกรรมเป็ นงานศิลปะประเภทหนึ่งที่สามารถก่อเกิดสนุ ทรียภาพขึน้ ในการรับรู้ของผ้อู า่ น ทงั้ นี ้เพราะลกั ษณะของสนุ ทรียภาพในวรรณกรรม (aesthetic features) ไม่อาจถกูลดทอนลงเหลือเพียงแคข่ ้อเทจ็ จริงด้านความหมายทางภาษาศาสตร์ (linguistic meaning) ในทางตรงกนั ข้ามสนุ ทรียภาพในวรรณกรรมมีศกั ยภาพท่ีข้ามข้อเท็จจริงดงั กลา่ ว ไปส่คู วามซาบซึง้ ทางพทุ ธิปัญญา (intellectual appreciation) การสมั ผสั รับรู้ถึงความงาม (aesthetic taste) ความรู้สึกอนั ประณีต (fine feeling) ที่มีตอ่ ความงามและจนิ ตนาการในงานวรรณกรรม นอกจากนนั้ เม่ืออ่านงานวรรณกรรมผ้อู ่านได้ก้าวเข้าไป ส่พู ืน้ ที่ของศิลปะและตวั บทที่มีสุนทรียภาพ เปิ ดทางให้ผ้อู ่านเตรียมตวั เองเข้าสู่มุมมองโลกและชีวิต ที่แตกต่างไปจากวิถีชีวิตเดิม มีโลกทศั น์และอารมณ์การสมั ผสั รับรู้แบบใหม่ กล่าวคือลกั ษณะของสุนทรียภาพในวรรณกรรมอาจเปรียบเสมือนเป็ นแหล่ง 91
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติแหง่ ความพงึ พอใจ (a source of pleasure) ท่ีประกอบด้วยความจริง (the true) อนั นาไปส่พู ทุ ธิปัญญาท่ีจะพาให้เกิดความเข้าใจโลกเข้าใจชีวิต และความงาม (the beautiful) อนั นาไปส่กู ารสมั ผสั รับรู้และจินตนาการ ท่ีอาจกลายไปสกู่ ารมีวสิ ยั ทศั น์ในชีวิตของผ้อู า่ นได้ ดงั กรณีตวั อยา่ งเร่ืองสนั้ ช่ือ “Muddy Road” จากหนงั สือช่ือ Zen Flesh, Zen Bones (1957) แปลและเรียบเรียงโดยPaul Reps ที่มีลกั ษณะของสนุ ทรียภาพในวรรณกรรมคือมีความจริง และ ความงาม ดงั นี ้Muddy RoadTanzan and Ekido were once traveling together down a muddy road. A heavy rain wasstill falling. Coming around a bend, they met a lovely girl in a silk kimono and sash,unable to cross the intersection.'Come on, girl,' said Tanzan at once. Lifting her in his arms, he carried her over the mud.Ekido did not speak again until that night when they reached a lodging temple. Then heno longer could restrain himself.'We monks don't go near females.' He told Tanzan, especially not young and lovelyones. It is dangerous. Why did you do that ?''I left the girl there,' said Tanzan. 'Are you still carrying her ?' [47] เม่ืออ่านเรื่องสนั้ เร่ืองนี ้ผ้อู า่ นสมั ผสั รับรู้ได้ว่ากาลงั มีบางส่ิงบางอย่างจะเกิดขึน้ขณะที่นกั บวชนิกายเซนสองรูปกาลงั เดินไปบนถนน ท่ีมีโคลนเลอะเปรอะท่ามกลางสายฝนท่ีตกกระหน่าลงมาไม่ขาดสาย ผ้อู ่านสมั ผสั รับรู้ได้ถึงอะไรบางอย่างที่จะเกิดนนั้ จากสายฝนและถนนที่เตม็ ไปด้วยดนิ โคลน หมายความวา่ จดุ หมายการเดนิ ทางมิใชป่ ระเด็นหลกั ของเหตกุ ารณ์ แตห่ วั ใจสาคญั อย่ทู ่ีการกาลังเดินทางท่ามกลางฝนตกหนกั ความมีสนุ ทรียภาพของเร่ืองนีอ้ ย่ทู ่ีกลวิธีการนาเสนอ เมื่อเรื่องแนะนาตวั ละคร (characters) และฉาก (setting) อย่างฉับพลนั ชดั เจนแล้วสถานการณ์ได้พงุ่ เข้าสคู่ วามยงุ่ ยาก (complication) อนั เป็นพฒั นาการของเรื่องราวโดยทนั ทีทนั ได้เม่ือนกั บวชสองรูปเผชิญกับหญิงสาวสวยในชุดกิโมโน เธอไม่สามารถข้ามถนนตรงสี่แยกที่มีนา้ทว่ มขงั ได้ Tanzan ตรงเข้าชว่ ยด้วยการอ้มุ เธอข้ามโคลนนา้ ขงั สถานการณ์ของเรื่องยงั มิได้มีความขดั แย้ง ขึน้ กบั ตวั ละครหลกั แม้ว่าผ้อู ่านรับรู้ได้วา่ เหตกุ ารณ์นนั้ เป็ นความขดั แย้ง (conflict) ท่ีไม่อาจเผยตวั ในข้อความวา่ “Ekido did not speak again until that night …” โครงเร่ืองได้ตรึงความกระหายใคร่รู้เหตกุ ารณ์ต่อไปของผ้อู ่านด้วยกลวิธีสร้างภาวะต่ืนเต้น (suspense) จนไมส่ ามารถหยดุ อา่ นตอ่ ไปได้ ในที่สดุ Ekido ไม่อาจอดกลนั้ ความสงสยั ของตนเองจงึ โพล่งคาพดู ตอ่ Tanzanออกมาว่า 'We monks don't go near females.' …, especially not young and lovely ones. It92
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติis dangerous. Why did you do that ?' เหตกุ ารณ์นีค้ ือ“จดุ อิ่มตวั ของความตงึ เครียด” (climax)เพราะความขัดแย้งได้เดินทางถึงทางตนั (deadlock) ซึ่งเผยตวั เองออกมาอย่างชดั แจ้ง ผ้อู ่านสมั ผสั รับรู้ความหมายในคาพดู และความสงสยั ของ Ekido โดยทนั ทีถึงศีลของเขา ความไม่สงบ ไม่นิ่ง ไมส่ ขุ มุ ในจติ ใจของเขา ความโกรธท่ีคกุ รุ่นอย่ใู นความไมส่ งบของเขา ทงั้ ๆ ท่ีเร่ืองมิได้เขียนเล่าไว้เลยแม้แต่คาเดียว เมื่อเร่ืองดาเนินไปถึงจุดเดือดสุดของสถานการณ์แล้ว คาตอบสนั้ ๆ ของTanzan ทาให้เร่ืองราวจบลงด้วยความสมบรู ณ์ (resolution or dénouement) และนาความจริงมาสเู่ ร่ืองราวเหตกุ ารณ์ของโครงเรื่องทงั้ หมด นอกจากนนั้ ผ้อู ่านยงั พบกบั ความจริงดงั กล่าวในเรื่องนนั้ด้วยเช่นเดียวกัน กล่าวได้ว่าเรื่องราวเหตุการณ์จากเรื่องเล่านีม้ ีความงามและความจริงท่ีเป็ นลกั ษณะของสนุ ทรียภาพในวรรณกรรม เร่ืองท่ี 2.2.4 การประเมนิ สุนทรียภาพในวรรณกรรม วรรณกรรมเป็ นผลงานศิลปะด้ านภาษาที่นักเขียนสร้ างสรรค์ขึน้ ดังนัน้วรรณกรรมจึงเป็ นงานศิลปะที่ก่อให้เกิดสุนทรียภาพในความรู้สึกสัมผัสรับรู้ของผู้อ่าน กล่าวคือผลงานท่ีนักเขียนสร้ างขึน้ ต้องเป็ นงานท่ีมุ่งสร้ างประสบการณ์หนึ่งอย่างที่จะถูกรับรู้ว่าเกิดสุนทรียภาพ ทัง้ นี ้ การรับรู้อย่างมีสุนทรียภาพดังกล่าวนัน้ ควรอธิบายด้วยป รากฏการณ์เชิงประจกั ษ์ เพื่อยืนยนั ได้ว่าปัจเจกบคุ คลเกิดประสบการณ์สนุ ทรียภาพอย่างไร ความหมายคือเมื่อมีการอา่ นงานวรรณกรรม ผ้อู า่ นควรประเมินสนุ ทรียภาพในวรรณกรรม (aesthetic appraisal) ที่ตนได้รับจากการรู้สึกสัมผสั รับรู้ โดยอาศยั หลักเกณฑ์ 4 ด้านดงั ต่อไปนี ้ หนึ่ง ประวัติผลงานศิลปะ(History of Artwork) หมายถงึ การรู้แนวคิดเกี่ยวกบั ความเป็ นมาของผลงานวรรณกรรมเรื่องนนั้ ๆเช่น หาข้อมูลจากการตอบคาถามประเภท Wh-questions อาทิ ผลงานมีความพิเศษอย่างไร(how) อะไรทาให้มีความสาคญั ตอ่ ประวตั ศิ าสตร์ศลิ ปะ (how) สองทฤษฎีศิลปะ(Art Theory)หมายถึง แนวคิดเกี่ยวกับการกาหนดประเภทของวรรณกรรม ท่ีนาไปสู่ความเข้าใจรูปแบบและเนือ้ หาของผลงานเรื่องนนั้ ๆ ซึ่งเป็ นพืน้ ฐานของการเกิดประสบการณ์สุนทรียภาพขึน้ ในตวั ผ้อู ่านสาม คุณค่าด้านสุนทรียภาพ (Aesthetic Qualities) หมายถึง คุณค่าจากองค์ประกอบของสนุ ทรียภาพด้านใดด้านหนง่ึ หรือหลายด้านที่ตวั ผลงานวรรณกรรมเรื่องนนั้ ๆ ได้แก่ ด้านความงาม(the beautiful) ด้านวฒั นธรรม (cultural specifics) ของสงั คมแตล่ ะสงั คม ด้านท่ีถกู กาหนดขนึ ้ด้วยอานาจของชนชนั้ กลาง ชนชนั้ สงู และผ้ปู กครอง (bourgeois-elitist-state regulation) แห่งรัฐด้านที่เกิดจากการตีความหมายเชิงปัจเจก (individual interpretations) สี่ คณุ ค่าด้านเกณฑ์สนุ ทรียภาพ (Qualitative Criteria) หมายถงึ คณุ คา่ ที่เกิดจากประสบการณ์สนุ ทรียภาพที่รับรู้อยา่ ง 93
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติสอดคล้องกบั รูปแบบ (form) เนือ้ หา (content) ของทฤษฎีวรรณกรรมและองค์ประกอบของวรรณกรรม ที่วรรณกรรมแตล่ ะเรื่องถกู จดั ประเภทไว้ เกณฑ์อธิบายประสบการณ์สนุ ทรียภาพดงั กลา่ วข้างต้น ท่ีเกิดจากการสมั ผสั รับรู้ผลงานศิลปะประเภทวรรณกรรมสามารถอธิบายเชิงประจกั ษ์ได้ ดงั ตวั อย่างที่ยกมาประกอบจากนวนิยายเร่ือง The Catcher in the Rye (1951) ภาพท่ี 2.2 ซง่ึ เป็ นผลงานเขียนของนกั เขียนชาวอเมริกนั ช่ือ J. D. Salinger (Jerome David Salinger 1919 – 2010)ภาพที่ 2.2 ภาพหน้าปกพิมพ์ครัง้ แรกของนวนยิ ายเรื่อง The Catcher in the Rye [48]ท่ีมา: The Catcher in the Rye. Wikipedia, The Free Encyclopedia.<https://en.wikipedia.org/wiki/The_Catcher_in_the_Rye> โครงเร่ือง นวนิยายเรื่อง The Catcher in the Rye เลา่ เร่ืองราวชีวิตของตวัละครหลกั ซึ่งเป็ นนกั เรียนมธั ยมปลายคนหน่ึงชื่อ Holden Caulfield อายุ 16 ปี เรื่องของเขาเริ่มจากเหตกุ ารณ์ท่ีเขาเป็ นผ้เู ล่าเอง ขณะพักรักษาอาการโรคประสาท (a nervous breakdown) ณโรงพยาบาลแหง่ หนึ่ง ซ่ึงอาการป่ วยของเขาเป็ นผลกระทบจากการถกู ไลอ่ อกจากโรงเรียนมธั ยมที่เขาเรียนอยู่ ความจริงแล้ว Caulfield ถูกไล่ออกจากโรงเรียนอ่ืนมาก่อนหน้าแล้วหลายแห่งจนกระทง่ั ถึงครัง้ หลงั สดุ คือโรงเรียนมธั ยมแห่งหนึ่งช่ือ Pencey กล่าวได้ว่าชีวิตของเขาพบความล้มเหลวครัง้ แล้วครัง้ เลา่94
สนุ ทรียภาพกบั ชวี ติ เร่ืองราวชีวิตของ Caulfield ตลอดทงั้ เร่ืองสะท้อนถึงความโดดเดี่ยวและแปลกแยกกบั สงั คม เขากลายเป็นเดก็ หนมุ่ วยั รุ่นที่มีอารมณ์และความคดิ เก็บกด เขาไม่มีเพ่ือนสนิทแม้แต่คนเดียว เขามกั ชกตอ่ ยกับเพ่ือนวยั เดียวกนั บอ่ ย นิสยั ประจาของเขาคือวิพากษ์วิจารณ์ทกุ คนท่ีอยู่รอบข้างเขา ตลอดเวลา Caulfield มีแตค่ วามเศร้าและความทกุ ข์ท่ีฝังลึกอยภู่ ายในจิตใจถึงความตายของ Allie ซงึ่ เป็ นน้องชายคนเล็กที่เขารักมาก Allie เสียชีวิตเม่ือสามปี ท่ีแล้วด้วยโรคมะเร็งในเม็ดเลือดขาว (Luekemia) วนั สดุ ท้ายก่อนท่ี Caulfield จะหนีออกจากโรงเรียนไปอย่างเงียบ ๆ ไมบ่ อกขา่ วถึงพ่อแม่เลยนนั้ เขามีความเครียดอย่างมากหลงั จากท่ีเกิดการทะเลาะวิวาทชกตอ่ ยกบั เพื่อนร่วมหอพกั ชื่อ Stradlater ด้วยสาเหตเุ รื่องการนดั เดทกบั เพื่อนนกั เรียนหญิงชื่อ Jane เวลานนั้ ไมม่ ีใครทราบวา่ Caulfield หายไปไหนเม่ือเขาออกจากโรงเรียน ความจริงแล้วเขาเดินทางกลบั บ้านที่เมืองNew York City เขาไมเ่ ข้าบ้านแตเ่ ชา่ โรงแรมอยู่ เมื่อพ้นออกจากโลกของโรงเรียนชีวิตของเขาเผชิญกบั อปุ สรรคปัญหาอย่างที่โลกวยั รุ่นของเขาไม่เคยคาดคดิ Caulfield เคยแอบเข้าบ้านของตวั เองเมื่อพอ่ แมอ่ อกไปธรุ ะข้างนอกในตวั เมือง เขามีความสขุ ใจสบายใจเม่ือได้พบกบั น้องสาวของเขาคือPhoebe ซง่ึ เธอเป็นเพียงคน ๆ เดียวท่ีเขาไว้วางใจที่สดุ นอกจากผ้คู นอ่ืน ๆ บนโลกนี ้ Caulfield เคยคดิ ฝันวา่ เขาไมต่ ้องการเตบิ โต ไม่ต้องการเป็ นผ้ใู หญ่ แตป่ รารถนาจะอย่ใู นวยั เดก็ ตลอดไป ความคดิ ความฝันของ Caulfield คือต้องการเป็ นคนรับลกู เบสบอลกลางทงุ่ ข้าว (the catcher in the rye) ความหมายโดยนยั คือเป็ นผ้คู อยคว้าเด็กวยั รุ่นท่ีจะร่วงตกหน้าผาเป็ นผู้คอยดูแลเด็ก ๆ วัยรุ่นท่ียังไร้ เดียงสา หน้าผาเป็ นคาสญั ลกั ษณ์ที่หมายถึงภาวะความเป็ นวยั รุ่น วยั ที่กาลงั เรียนรู้โลกและชีวิตจนอาจเกิดความผิดพลาดหลงทางเห็นผิดเป็ นชอบเห็นเลวเป็ นดี ความจริงแล้ว Caulfield มีโลกทศั น์ตอ่ ความเป็ นผ้ใู หญ่วา่ เต็มไปด้วยความนา่ กลวั โป้ ปดมดเท็จ(too phony) เกินกวา่ ที่เขาจะทนรับปรับตวั เข้าหาได้อย่างผู้คนทว่ั ไป ประวัติผลงานศิลปะ (History of Artwork) นวนิยายเร่ือง The Catcher in theRye ประพนั ธ์โดย เจ. ดี. แชลินเยอร์ (J. D. Salinger or Jerome David Salinger 1919 – 2010)ตีพิมพ์เป็ นหนังสือนวนิยายครัง้ แรกเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 1951 โดยสานักพิมพ์ Little,Brown and Company เนือ้ หาเรื่องราวเหตกุ ารณ์ของวรรณกรรมเรื่องนีถ้ กู จดั ประเภท (genre)เป็ นนวนิยายแนววุฒิภาวะ (coming-of-age) ซ่ึงมีความหมายว่าตวั ละครหลกั ของเรื่องผ่านพ้นความไมร่ ู้สคู่ วามรู้ความเข้าใจในความจริงของชีวิต ท่ีเปรียบเหมือนผา่ นพ้นจากความเป็ นวยั รุ่น ท่ีมีเพียงอารมณ์พลุ่งโพล่งมุทะลุแต่อ่อนประสบการณ์ชีวิตและโลก เข้ าสู่วัยผู้ใหญ่ที่ผ่านพบประสบการณ์ชีวิต ผ่านร้ อนผ่านหนาวผ่านโลกจนเจนจัดอย่างเข้าใจแจ่มแจ้งสุขุมนิ่งเย็นใน 95
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติความคิดจิตใจ นวนิยายเร่ืองนีม้ ีฉากของเรื่องราวเหตกุ ารณ์เกิดขึน้ เม่ือราวทศวรรษ 1950 ท่ีเมืองAgerstown มลรัฐ Pennsylvania ประเทศสหรัฐอเมริกา ความโดดเดน่ ของนวนิยายเรื่องนีค้ ือตวัละครหลกั กลายเป็ นบคุ คลท่ีได้รับการจดจาจากผ้อู ่านงานวรรณกรรมอเมริกนั ตลอดมาจนปัจจบุ นัไมต่ า่ งจากตวั ละครหลกั คนอ่ืนจากวรรณกรรมอเมริกนั เรื่องอ่ืน เช่น Huckleberry Finn ตวั ละครหลกั จากนวนิยายเร่ือง The Adventures of Huckleberry Finn บทประพนั ธ์โดย Mark Twain นวนิยายเรื่องนีเ้ขียนเป็ นเรื่องสนั้ ก่อนเป็ นนวนิยายขณะเม่ือผ้ปู ระพนั ธ์อย่ใู นวยั หนมุ่ ช่วงอายุ 25 – 30ปี ดงั นนั้ ภาษาและความคิดของตวั ละครจึงสมจริงอย่างผู้ที่อยู่ในวยั รุ่น ความสาคญั ที่ควรทราบประการหนง่ึ เก่ียวกบั นวนิยายเร่ืองนีค้ ือเกิดกระแสการวิพากษ์วิจารณ์โจมตีว่าเป็ นหนงั สือสกปรกในสงั คมวรรณกรรมอเมริกัน โรงเรียน ห้องสมุด และชุมชนหลายแห่งเวลานัน้ ต่อต้านและห้ามนกั เรียนนกั ศกึ ษาอ่าน เพราะมีข้อความที่บ่งบอกนัยยะเรื่องเพศและคาสบถหยาบคายไม่สุภาพในนวนิยายเร่ืองนีห้ ลายคาหลายประโยค อย่างไรก็ตาม ในที่สุดนวนิยายเรื่องนีก้ ลับกลายเป็ นหนังสืออ่านนอกเวลาสาหรับนักเรียนมัธยมและนักศึกษาด้านวรรณกรรม และมีจานวนการจาหนา่ ยทวั่ โลกมากกวา่ หกสบิ ล้านเลม่ ทฤษฎีศิลปะ (Art Theory) ความหมายของคาวา่ ทฤษฎีศลิ ปะเมื่อนามาใช้กบังานวรรณกรรมหมายถึงหลกั การหรือองค์ประกอบของเรื่องเล่าประเภทนวนิยาย ซึ่งเมื่ออ่านนวนยิ ายเร่ือง The Catcher in the Rye พบวา่ มีองค์ประกอบที่เดน่ ชดั ควรกลา่ วถึงคือโครงเร่ือง (plot)กลา่ วคือเร่ืองราวเหตกุ ารณ์ของนวนยิ ายเรื่องนีม้ ีโครงเรื่องท่ีจัดอย่ใู นโครงเรื่องประเภทการแสวงหา(the quest) ซึ่งมีหลกั การสาคญั เบือ้ งต้น (rudiments) คือ ตวั ละครหลกั มีความไม่สมบรู ณ์ในโลกแหง่ ความเป็นจริงตามเรื่องราวเหตกุ ารณ์ของเร่ือง เชน่ แปลกแยกกบั สงั คม ดงั นนั้ เขาจึงตามหาส่ิงที่เขาเชื่อว่าคือความจริง ความสมบรู ณ์ ความถูกต้อง และสิ่งที่เขาตามหานนั้ มีความสาคญั อยา่ งยิ่งตอ่ เขา ตวั ละครหลกั จะต้องเผชิญกับอปุ สรรคกีดขวางและหนกั หนาเกินกว่าจะคาดคิดเพ่ือมิให้เขาสามารถบรรลุเป้ าหมายได้ และท้ ายท่ีสุดการแสวงหาสิ่งที่ตัวละครหลักมุ่งมั่นนัน้ ได้เปลี่ยนแปลงชีวิตเขาให้กลายเป็นบคุ คลที่ตา่ งไปจากเดมิ โดยสนิ ้ เชงิ คุณค่าด้านสุนทรียภาพ (Aesthetic Qualities) วรรณกรรมเร่ือง The Catcherin the Rye มีคณุ คา่ ด้านสนุ ทรียภาพที่เป็นความงามของโครงสร้างของโครงเร่ือง เมื่ออ่านนวนิยายเร่ืองนีแ้ ละสงั เกตท่ีโครงสร้างของเร่ืองราวเหตกุ ารณ์ ผ้อู ่านจะรู้สึกประทบั ใจและซาบซึง้ ในความงามของความลงตวั อย่างเหมาะสมท่ีเกิดจากการวางโครงสร้างของเร่ืองท่ีดาเนินไปแต่ต้นจนจบกล่าวคือเร่ืองถูกจัดวางหรือออกแบบโดยผู้เขียนเป็ นสามส่วน เหตกุ ารณ์ส่วนแรกของนวนิยายผ้เู ขียนได้นาเสนอภาพของตวั ละครหลกั ที่มีโลกทศั น์แปลกแยกแตกต่างไม่สมบรู ณ์ ตวั ละครหลกั96
สนุ ทรียภาพกบั ชีวิตขาดสงิ่ ที่นบั เป็นความปรกตขิ องผ้คู นทว่ั ไปคือการทาตวั ไหลล่ืนไปตามกระแสคา่ นิยมของสงั คม เขาจะต้องแสวงหาสิ่งที่เป็ นความสมบรู ณ์เพียบพร้อมอย่างท่ีเขาเชื่อ เพ่ือเยียวยารักษาโลกทศั น์อนับกพร่องนนั้ กล่าวได้ว่าการแสวงหานนั้ คือแรงส่งให้เร่ืองราวเหตกุ ารณ์ของนวนิยายดาเนินไปข้างหน้าได้ ผ้อู ่านจะเห็นประจกั ษ์แจ้งจากการที่ตวั ละครหลกั คือ Holden Caulfield พบแตค่ วามระทมทกุ ข์ คบั ข้องใจ เก็บกดอารมณ์ ฉนุ เฉียวสบถอย่ตู ลอดเวลา ทะเลาะวิวาทกบั เพื่อน จนกระทง่ัเขาหนีออกจากโรงเรียนเดินทางสู่ New York City ซ่ึงมีความหมายว่าการแสวงหาโลกแหง่ อดุ มคติของเขาเริ่มต้นขนึ ้ แล้วนน่ั เอง เหตกุ ารณ์สว่ นที่สองของนวนิยายผ้เู ขียนได้วางตวั ละครหลกั ให้พบกับอปุ สรรคตา่ ง ๆ ที่เผชิญในเมืองใหญ่ และเขาเร่ิมรู้สกึ วา่ ตวั เขาพบแตค่ วามลาบากหนกั ยิ่งขนึ ้ ไปอีกในการอยู่ในโลกของผ้ใู หญ่ท่ีเป็ นตวั ละครประกอบเรื่อง เชน่ โสเภณี แมงดา (pimp) พนกั งานโรงแรม แม่ชีท่ีขอบริจาคเงินเพื่อการกศุ ล หญิงสาวช่ือ Sally ท่ีเขานดั มีสมั พนั ธ์รัก (a date) กบั เธอแตก่ ารณ์กลบัจบลงด้วยความไมส่ มหวงั และความรู้สกึ แย่ เขาจงึ ดื่มสรุ าเมามายอยใู่ นห้องพกั ความหวงั ท่ีจะพบโลกแห่งอุดมคติของเขามีแต่ความยากลาบากและถดถอย ยิ่งเขาสู้ ย่ิงเขาฟันฝ่ าปัญหามากมายเหล่านนั้ เขาก็ย่ิงพบว่าตวั เองถดถอยท้อแท้มากยิ่งขึน้ กว่าเดิม การแสวงหาสิ่งท่ีวาดหวงั ของเขาดาเนินไปอย่างไม่ราบร่ืนเลย ความจริงแล้วผ้เู ขียนระดมความลาบากเข้าใส่ตวั ละครหลกั เพ่ือให้โครงเรื่องมีความขดั แย้ง (conflict) เดน่ ชดั ขนึ ้ แก่เรื่องราวเหตกุ ารณ์ เหตกุ ารณ์ส่วนท่ีสามของชีวิตตวั ละครหลกั ท่ีแสวงหาโลกในอดุ มคติคือ ผ้เู ขียนได้วาง Holden Caulfield ไว้ในสภาพที่สิน้ หวงั เวลาค่าคืนที่เยือกเย็น ณ สวนสาธารณะ CentralPark เขาหนาวเหน็บและรู้สึกว่าตวั เองกาลงั จะตาย เขาคิดถึงบ้านแตไ่ มก่ ล้าจะกลบั ไปเพราะไม่ทราบว่าพ่อแม่จะคิดว่าเขาเป็ นคนเช่นใด ขณะนนั้ ตวั ละครหลกั คิดว่าเขากาลงั จะตาย ความตายใกล้เข้ามาหาเขาแล้ว เขาเร่ิมคิดถึง Phoebe น้องสาวของเขา ภาพของน้องสาวปรากฏขึน้ ในสายตาของเขาบนม้าหมนุ ในสวนสาธารณะ การพบกบั น้องสาวท่ีเขารักมากนนั้ ได้เผยให้ผ้อู า่ นเห็นแก่นแกนของเร่ืองทงั้ หมดเมื่อ Phoebe ถามเขาว่าเขาต้องการอะไรกบั ชีวิตตวั เอง เขาตอบเธอว่าต้องการเป็นคนรับลกู เบสบอลกลางทงุ่ ข้าว (the catcher in the rye) เม่ือผ้อู ่านนวนิยายเรื่องนีค้ ดิ คานึงถึงคาตอบของตวั ละครหลกั จะพบว่าส่ิงที่เขาแสวงหานนั้ เป็ นโลกที่งดงามเหลือเกิน เป็ นภาพพจน์ท่ีบริสทุ ธิ์ใจยิ่งนกั Holden Caulfield มิใชต่ วัละครที่เอาแตใ่ จตวั เอง หยาบคายมทุ ะลุ สบถเกรีย้ วกราด แปลกแยกกบั สงั คมผ้คู น ความหมายคือโลกของผ้ใู หญ่ตา่ งหากท่ีโหดร้ายต่อความคดิ ของเด็ก ในโลกแห่งความเป็ นจริงนอกตวั บทของนวนิยายผู้อ่านทราบดีว่า ชีวิตจริงของแต่ละคนมีการแสวงหาเช่นเดียวกัน ผู้คนต่างล้วนเผชิญ 97
สนุ ทรียภาพกบั ชีวติอปุ สรรคขวากหนาม ล้วนได้พบความท้อแท้ถดถอยในความคดิ จิตใจ มีบ้างที่พบความสมหวงั แต่ชีวิตยงั ต้องก้าวตอ่ ไปแม้รู้ว่าเหน็ดเหนื่อย กลา่ วได้ว่าผ้เู ขียนวางโครงสร้างของโครงเรื่องได้อย่างลงตวั เหมาะสมและงดงามโดยแท้จริง อนั เป็นความหมายของคณุ คา่ ด้านสนุ ทรียภาพของวรรณกรรม คุณค่าด้านเกณฑ์สุนทรียภาพ (Qualitative Criteria) วรรณกรรมเรื่อง TheCatcher in the Rye มีคณุ คา่ ด้านเกณฑ์สนุ ทรียภาพที่การรับรู้และการตีความหมายของเรื่องด้านแก่นเรื่อง (theme) อนั เป็ นความคิด ความรู้สึก และอารมณ์เฉพาะของปัจเจกบุคคลที่เรียกว่าประสบการณ์สนุ ทรียภาพ ซงึ่ เป็นไปตามหลกั การของความเป็นงานศลิ ปะประเภทวรรณกรรม อนั มีเป้ าหมายท่ีการม่งุ สร้างประสบการณ์หนึ่งอยา่ ง ที่จะถกู รับรู้วา่ เกิดสนุ ทรียภาพขึน้ ในตวั ของผ้อู ่านโดยประสบการณ์หนึ่งอย่างนนั้ ดาเนินไปอิสระต่อเนื่อง แต่ละห้วงแต่ละตอนของการดาเนินนนั้หลอมรวมเข้าเป็ นเอกภาพเดียวกนั มีความเป็ นปัจเจกเอกเทศ (individual and singular) มีจุดเร่ิมต้นและสิน้ สุดโดยตวั เอง มีโครงเรื่องของตนเอง มีคุณสมบัติเอกเทศแผ่ซ่านตลอดทว่ั ทัง้ประสบการณ์หนง่ึ อยา่ งนนั้ ซงึ่ กอปรไปด้วยปัญญาและอารมณ์ (intellectual and emotional) ดงั นนั้ แก่นเร่ืองของนวนิยายเรื่องนีม้ ่งุ เสนอให้ผ้อู ่านเห็นว่า ตวั ละครหลกั ของเร่ืองไมม่ ีโอกาสพบสงิ่ ท่ีเขาแสวงหา ไม่มีสงั คมในความฝันของเขา กล่าวได้ว่าเขาเกิดความขดั แย้ง(conflict) กับวิถีชีวิตและสงั คมผ้คู นชาวอเมริกันที่อิงอย่กู บั คา่ นิยมและวฒั นธรรมตามกระแส ณชว่ งทศวรรษ 1950 เมื่ออดีต อยา่ งไรก็ตาม ตวั ละครหลกั ได้แบง่ ปัน เชือ้ เชิญ และบอกความจริงใจของเขาต่อผ้อู ่านอย่างตรงไปตรงมา จนกระท่งั เมื่อเร่ืองราวเหตุการณ์ดาเนินไปถึงคืนที่ตวั ละครหลกั นอนหนาวอย่างโดดเดี่ยวในสวนสาธารณะ การแสวงหาของเขาได้เดินทางมาถึง ”จดุ อ่ิมตวัของความตงึ เครียด” (climax) เขาคดิ วา่ เขากาลงั จะตาย ความตายกาลงั จะย่างกรายมาถึงเขาแล้วและท้ายท่ีสุดการแสวงหาของตัวละครหลักได้คลี่คลาย (resolution) เม่ือภาพของ Phoebeน้องสาวท่ีเขารักอย่างย่ิงปรากฏในความรู้สึกของเขาเพ่ือให้เขามีโอกาสบอกความเป็ นตวั ตนที่แท้จริงออกมา ดงั นนั้ สรุปได้ว่านวนิยายเร่ือง The Catcher in the Rye เป็ นเร่ืองราวเหตกุ ารณ์เกี่ยวกับความแปลกแยกต่อสังคม ซึ่งนาเสนอแก่นเรื่องว่า การแสวงหาโลกแห่งความงามเพียบพร้ อมตามอุดมคติ เป็ นการกระทาท่ีต้องแลกด้วยความกล้าเสี่ยงกับการสูญเสียบางสิ่งบางอย่างในชีวิตไป สุนทรียภาพของแก่นเร่ืองในนวนิยายเร่ืองนีส้ ะท้อนความจริงของชีวิตในโลกแหง่ ความจริงอยตู่ ลอดเวลาเสมอไป98
Search