ลักษณะงาน รายการทต่ี ้องตรวจ ๗. การตอ่ เหล็กโครงสรา้ งในสนาม การต่อเหลก็ โครงสรา้ งในสนาม (๑) ต้องเป็นไปตามแบบขยายโดยเคร่งครัด (๒) ตอ้ งทาํ นง่ั ร้าน คาํ้ ยนั ใหป้ ลอดภัยขณะทํางาน ๘. งานสลกั เกลยี ว (๓) หา้ มใช้แก๊สตดั เหลก็ โครงสร้างเว้นวิศวกรอนุญาต (๔) เมอ่ื ทําโครงเหลก็ เสรจ็ แล้ว ตอ้ งทาสกี ันสนมิ ตามแบบ งานสลักเกลยี ว (๑) การใส่สลักเกลียวต้องมัน่ คงแขง็ แรงไมใ่ ห้เกลยี วเสยี หาย (๒) ต้องมน่ั ใจว่ากอ่ นทาํ สลกั เกลียวผิวรอยตอ่ เรยี บ และผวิ ทีร่ องรบั ต้อง สัมผสั กันเต็มหน้า (๓) เมอื่ ใสส่ ลกั เกลยี ว และขนั เกลยี วแนน่ แล้ว ตอ้ งทบุ สลกั เกลยี วกันน็อต คลาย
๙. งานคอนกรีต ( การผสม งานคอนกรีต ( การผสมคอนกรตี ) คอนกรีต ) (๑) ตรวจวสั ดุ ปูนซีเมนต์ ทราย หนิ มลี าํ ดบั ขนาดคุณภาพตามกาํ หนด และสะอาด (๒) ก่อนเทคอนกรตี ทกุ ครงั้ ตอ้ งขออนุมัตกิ อ่ นจงึ จะเทได้ (๓) หนิ ทีส่ กปรกตอ้ งล้างนาํ้ ให้สะอาด (๔) ทรายต้องมีการร่อนเอาเศษวสั ดุอ่นื ออกใหห้ มด (๕) คอนกรีตผสมเสร็จ ( READY MIXED ) ต้องผสม และการขนส่งปฏบิ ตั ิ ตาม “ บทกาํ หนดสําหรบั คอนกรตี ผสมเสร็จ ” (๖) กอ่ นเทตอ้ งตรวจความเรียบรอ้ ยของแบบครง้ั สุดท้าย ทําความสะอาด เก็บเศษไมเ้ ศษเหล็ก ถงุ พลาสตกิ พร้อมลา้ งแบบหลอ่ ใหส้ ะอาด (๗) ตรวจแผนการเทคอนกรีตของผู้รบั จา้ งวา่ จะเรม่ิ ตน้ เททใ่ี ด และจะหยดุ เทตําแหนง่ ใด อยู่ในข้อกําหนดทย่ี อมได้หรอื ไม่
(๘) คอนกรีตทีเ่ ทจะต้องผสมเสรจ็ ใหม่ ๆ คอนกรตี ผสมนานเกิน ๓๐ นาที หา้ มนํามาใชง้ านเดด็ ขาด (๙) เมื่อเทคอนกรตี ลงในแบบแลว้ ตอ้ งกระทุ้งใหแ้ น่น หรอื ใช้ “ เครอ่ื งสนั่ คอนกรตี ” ( VIBRATOR ) เพ่อื มใิ หค้ อนกรีตเป็นโพรง ( อตั ราส่วนผสมคอนกรตี ) (๑๐) ถา้ ผู้ควบคมุ งานพจิ ารณาแล้วเห็นวา่ มีอปุ สรรค หากเทคอนกรีต ลกั ษณะงาน แลว้ จะทาํ ใหค้ อนกรตี เสียแรง เชน่ ถกู แดดความร้อน นํ้า นาํ้ ฝน จะสง่ั ให้ งดเทคอนกรีตได้ จะเทต่อได้เมอ่ื ไดแ้ กไ้ ขปัญหาหรืออปุ สรรคนนั้ ๆ ได้แลว้ (๑๑) อตั ราสว่ นผสมคอนกรตี ๑) งานคอนกรตี ท่ัวไปใชส้ ว่ นผสม ปนู ซีเมนต์ : ทราย : หิน อัตรา ๑ : ๒ : ๔ นาํ้ ๒๙ ลติ ร/ปูนหน่งึ ถงุ รายการท่ีต้องตรวจ ๒) ผสมใหม้ คี วามข้นเหลวพอเทได้ ทํา “ SLUMP TEST ” ทุกคร้ังที่ ผสมคอนกรีต ค่ายบุ ตวั ไมเ่ กิน ๗ ซม. ๓) ทํา “ ลูกปูน ” ขนาด ๑๕X๑๕X๑๕ ซม. เปน็ ตวั อยา่ งทดสอบกําลัง ประลยั อายุ ๒๘ วัน ๒๑๐ กก./ซม.๒ ๔) การผสมคอนกรตี เทหลอ่ ตอม่อ เสา คาน ใช้หนิ เบอรส์ อง ( ๓ ส่วน ) หินเบอรห์ นึ่ง ( ๑ ส่วน ) ๕) ผสมคอนกรีตเทพนื้ บันได กนั สาด ใชห้ ินเบอรส์ อง ( ๒ สว่ น )
( การเตรียมงานคอนกรีต ) หินเบอร์หนึง่ ( ๒ ส่วน ) ๖) การผสมคอนกรีต เพอ่ื เทครบี ตง้ั ครบี นอน หรอื โครงสรา้ งทีห่ นา ไม่น้อยกวา่ ๘ ซม. ใชห้ นิ เบอรส์ อง ( ๑ สว่ น ) หนิ เบอรห์ นง่ึ ( ๓ สว่ น ) ๗) การผสมคอนกรตี สาํ หรับเทฐานรากใชห้ ินเบอร์สองลว้ น ๘) ตรวจและกาํ หนดให้ผรู้ ับจ้างมีท่ีสาํ หรบั ตวงปนู ซเี มนต์ ทราย หิน ท่ีไดม้ าตรฐานตลอดเวลาผสมคอนกรีต (๑๒) ก่อนเทคอนกรตี ต้องให้ผรู้ ับจา้ งเตรียม ดงั ตอ่ ไปน้ี.- ๑) วสั ดุก่อสรา้ ง ปูนซเี มนต์ หิน ทราย นา้ํ ต้องมพี รอ้ มและ ปริมาณเพยี งพอ สาํ หรับการเทคอนกรีตคราวน้นั ๆ ๒) เครอื่ งผสมคอนกรตี เคร่ืองเขยา่ คอนกรตี ต้องอย่ใู นสภาพพร้อมใช้ งาน ๓) ตรวจแบบหล่อคอนกรีตว่าแขง็ แรง ถกู ต้อง สะอาด ปราศจาก ฝุ่น ขี้โคลน ( เหล็กตอ้ งสะอาด ) ๔) บรเิ วณนํา้ ขงั ก่อนเทคอนกรีตต้องสูบนา้ํ ออกให้หมดเสยี กอ่ น ๕) ตรวจดกู ารผกู เหลก็ และขนาดของเหล็กเสริม มีการจดั วาง ถกู ตอ้ งตามแบบ ๖) การเทคอนกรีตตอ่ ต้องทาํ ให้ถกู วิธีทางเทคนิค ๗) ขณะเทคอนกรตี ตอ้ งคอยควบคมุ ไม่ใหค้ นงานเหยยี บไปบนโครง เหล็กเส้นทวี่ างไวด้ ีแลว้ ๘) เมื่อผูร้ บั จา้ งเตรยี มงานเทคอนกรีตเสร็จแลว้ ใหร้ ายงานขออนุมัติ
ลกั ษณะงาน เทคอนกรตี ตอ่ ผ้คู วบคุมงานเมอื่ ผูร้ บั จ้างเตรยี มงานเทคอนกรตี เสรจ็ แลว้ ใหร้ ายงานขออนมุ ัตเิ ทคอนกรตี ตอ่ ผคู้ วบคมุ งาน ( การถอดแบบหล่อคอนกรีต ) ( การบ่มคอนกรตี ) ๙) คอนกรีตท่ีเทต้องผสมเสร็จใหม่ คอนกรตี ที่ผสมไวน้ านเกนิ ๓๐ นาที หา้ มนาํ มาใชง้ าน ๑๐) เมื่อเทคอนกรตี แลว้ มกี ารใช้ VIBRATOR หรอื ใชเ้ หลก็ กระทงุ้ กนั คอนกรีตเป็นโพรงหรือเปน็ รรู ังผง้ึ รายการท่ีต้องตรวจ ๑๑) การเทคอนกรีตต้องเทรวดเดยี วตลอดจะหยดุ กลางครันไมไ่ ด้ ๑๒) เมอ่ื เทคอนกรีตรวดเดยี วไมไ่ ด้ ยอมใหห้ ยุดเทคอนกรตี ได้ และ ให้ดําเนินการดงั นี้.- ๑. เสาให้เทถึงระดบั ๒.๕ ซม. ต่ําจากท้องคานหวั เสา ๒. สําหรับคานใหเ้ ทถงึ ก่ึงกลางคาน แตค่ านทยี่ าวเกนิ ๕.๐๐ ม. และฐานรากต้องเทใหเ้ สร็จในคราวเดยี วกัน ๑๓) การเทพ้ืนขอบให้หยดุ เมอ่ื เทถงึ กลางแผน่ ๑๔) บันได ตอ้ งเทพร้อมกนั ทง้ั แมบ่ นั ได ขนั้ บนั ได และคานรบั ช่วงบนของบนั ได (๑๓) การถอดไมแ้ บบหลอ่ คอนกรีต ให้ใชป้ นู ปอตแลนด์ ชนดิ ที่ ๑ ๑) เม่ือเทคอนกรีตแลว้ ในระยะ ๒๔ ชม. ห้ามกระทบกระเทอื นหรอื โยกคลอนแบบคอนกรีตเด็ดขาด ๒) แบบขา้ งเสา ข้างคาน กําแพงถอดไดใ้ น ๒๔ ชม. ๓) แบบทอ้ งคาน พ้นื กันสาด ใน ๑๔ วัน (๑๔) การบ่มคอนกรีต ๑) หลงั เทคอนกรตี แลว้ ภายใน ๒๔ ชม. ต้องป้องกันคอนกรตี โดน แดด นํา้ หรือนาํ้ ฝน ๒) หลังเทคอนกรีต ๒๔ ชม. จะต้องบม่ คอนกรตี ให้ชมุ่ น้ําตลอดเวลา อย่างน้อย ๗ วนั
( การแตง่ ผิวคอนกรตี ) ๓) ให้ผูร้ ับจ้างเป็นผู้เลอื กวธิ ีบ่มคอนกรีตทถ่ี ูกต้องเหมาะสม (๑๕) การแตง่ ผวิ คอนกรีต ๑) ก่อนฉาบปนู มีการทําใหผ้ นงั คอนกรีตหยาบขรขุ ระหรอื ไม่ ๒) ทนั ทที ี่ถอดแบบ ต้องแต่งผิวคอนกรีตใหไ้ ด้ตามแบบรปู ๓) กรณวี สั ดุฝังคอนกรตี ผู้รบั จ้างตอ้ งฝงั ปลอกหรอื ท่อ วาง SLEEVE ไวเ้ สมอโดยเตรียมไวก้ อ่ น ๑๐. งานถนน สนามบนิ และระบบ งานถนน สนามบิน และระบบระบายนาํ้ ระบายนา้ (๑) ลกู รงั ดมี ีคณุ ภาพดีปราศจากวชั พชื ดินกอ้ นทโ่ี ตกวา่ ๕ ซม. ต้องทุบให้ แตกเสยี ก่อน (๒) ลูกรงั ต้องมีเชอื้ ประสานท่ีดี (๓) หินคลุกต้องเป็นหินทแ่ี ข็งไมผ่ ุกร่อน มเี ช้ือประสานท่ีดี (๔) หินยอ่ ยตอ้ งแข็ง และเหนียวปราศจากกอ้ นดนิ และวชั พชื
ลกั ษณะงาน (๕) ASPHALT สําหรับฉาบกอ่ นลงผิว ( PRIME COAT ) ใช้ MC - ๓๐ , ( วิธกี อ่ สรา้ ง ) MC - ๗๐ , MC - ๒๕๐ ( การทาํ ผวิ ชนดิ แมคคาดัม ) รายการท่ีต้องตรวจ ( การดาดผวิ ) (๖) ASPHALT สาํ หรับเป็นเชือ้ ประสาน ใช้ AC ๘๕ - ๑๐๐ ยางทนี่ ํามาใช้ ตอ้ งไมม่ ีนาํ้ เจือปน และตอ้ งได้มาตรฐาน (๗) งานคอนกรีตตอ้ งไดม้ าตรฐาน (๘) ท่อระบายนํ้าทงิ้ ชนดิ และขนาดที่ไดม้ าตรฐานตาม มอก.ปจั จุบนั (๙) เสาเขม็ ไมต้ ้องทุบเปลือกออก หน้าตัดได้ขนาดตามแบบกําหนด (๑๐) วิธกี อ่ สร้าง ( การทาํ ดว้ ยคอนกรตี ) ๑) ชัน้ รากใหใ้ ช้ถมด้วยลกู รัง หรือหินคลกุ หนาชน้ั ละ ๒๐ ซม. บดอดั แนน่ ๙๕% MOD.AASHO ๒) กอ่ นเทคอนกรีตตอ้ งแจ้งผคู้ วบคุมงานให้ทราบล่วงหนา้ ไมน่ ้อย กวา่ ๔๘ ชม. เพื่อตรวจสอบ ๓) มกี ารเตรยี มการกอ่ นเทคอนกรตี ดี ๔) กรณเี ทคอนกรีตตอ่ เน่ืองยาว ใหต้ ดั แนวคอนกรตี ด้วยเครอ่ื งจักร ภายใน ๗ ชม. ๕) อนญุ าตให้ถอดแบบไดใ้ น ๑๒ ชม. แล้วทําการบม่ คอนกรีต ตลอดเวลาทกี่ าํ หนดไม่น้อยกวา่ ๗ วัน ๖) ผวิ หนา้ คอนกรีตได้ระดบั และลาดตามกําหนด ยอมให้ผิดได้ ๑ ซม. ในระยะ ๓ ม. ๗) การยาแนวรอยตอ่ ทาํ หลงั จากเทคอนกรีตแล้ว ๗ วนั (๑๑) การทาํ ผิวชนดิ ราดยางแมคคาดมั ๑) การทาํ ช้นั รองพืน้ ทาง ( SUB BASE COURSE ) ใหถ้ มลกู รงั หนา ชั้นละ ๒๐ ซม. บดอัด ๙๕% MOD.AASHO ๒) การทาํ ช้ันพน้ื ทาง ( BASE COURSE ) ลงหินคลุกหนา ๑๕ ซม. ๓) บดทบั ดว้ ยรถบดล้อเหลก็ หนกั ๑๐ ตัน ความเรว็ ไมเ่ กนิ ๔ กม./ชม. ๔) บดตามแนวยาง เรม่ิ จากขอบนอกเหล่อื มไหลถ่ นนหรอื ขอบ ๓๐ ซม. และบดเขา้ หาศูนย์กลาง ๕) บดติดตอ่ กนั จนผิวแนน่ ๙๕% MOD.AASHO ๖) การทําผวิ ชัน้ ตน้ โดยฉาบกอ่ นลงผิว ( PRIME COAT ) ดว้ ยจาก MC - ๓๐ , MC - ๗๐ , MC - ๒๕๐ ปริมาณ ๑ - ๒ กก./ม.๒ ราดซมึ ลงไป ในผวิ ลกึ ๑/๔ นวิ้ ๗) บ่ม PRIME COAT ไว้ ๔๘ ชม. (๑๒) การดาดผิว
๑) การทาํ ผิวชั้นที่ ๑ ใส่หนิ หยาบหนา ๗ ซม. ลักษณะงาน รายการที่ตอ้ งตรวจ ๒) เกลยี่ แลว้ บดทบั ดว้ ยรถบดลอ้ เหลก็ หนัก ๘ ตัน ลาดดว้ ยยาง AC ( การทาํ ถนนผวิ ASPHALTIC ๘๕ - ๑๐๐ เกลีย่ แล้วบดทับดว้ ยรถบดล้อเหลก็ หนกั ๘ ตนั ลาดดว้ ยยาง CONCRETE ) AC ๘๕ - ๑๐๐ ๓) การทาํ ผิวชั้นที่ ๒ ลาดหินละเอยี ดทับหน้ายางทกี่ าํ ลงั ร้อน เกลย่ี เสมอหนา ๓ ซม. ๔) บดทบด้วยรดบดลอ้ เหล็กแล้วราดยาง AC ๘๕ - ๑๐๐ ปรมิ าณ ๒ - ๓ กก./ ม๒ ๕) ลาดด้วยหินฝุ่นหรอื ทราย ทับหนา้ หนาประมาณ ๑ ซม. แล้วบดทบั ด้วยรถบดลอ้ เหลก็ (๑๓) การทําถนนผิว ASPHALTIC CONCRETE ๑) สว่ นผสมของ ASPHALTIC CONCRETE โดยวัสดุทม่ี าตรฐาน ของกรมทางหลวง ๒) การทําชัน้ รองพ้นื ทางตามมาตรฐาน ๓) การทาํ ชน้ั พื้นทางตามมาตรฐาน ๔) การทําผิว ASPHALTIC CONCRETE ดงั ต่อไปน้ี.- ๑. ทาํ ความสะอาดชน้ั รากไม้ปราศจากสิ่งสกปรก ๒. สาํ หรบั ชน้ั พื้นทางจะต้องลง PRIME COAT กอ่ นปดู ว้ ย ASPHALTIC CONCRETE ๓. สาํ หรบั ผวิ เดมิ ท่ีเปน็ ลาดยาง หรอื ASPHALTIC เดมิ จะต้อง ลงชัน้ TACK-COAT ก่อนปูทับดว้ ย ASPHALTIC CONCRETE ๔. ลงผวิ ASPHALTIC CONCRETE ดว้ ย SELF POWERED PAVER โดยมอี ณุ หภมู ิ ๒๕๐๐F ๕. การนํา ASPHALTIC CONCRETE มาทแี่ หลง่ เทดว้ ยรถดัม๊ ต้องรักษาอณุ หภูมิ ASPHALT ไว้ ๒๗๐๐F (๑๔) การบดทับ ASPHALTIC CONCRETE ๑) ภายหลงั PAVER แลว้ ใหบ้ ดทับครั้งแรกด้วยรถบดล้อเหลก็ ๒ ลอ้ หรอื ๓ ล้อ นาํ้ หนกั ๘ - ๑๐ ตนั บดดว้ ยความเร็ว ๕ กม./ชม. ๒) บดทับจากดา้ นนอกขอบถนนเข้าหาศูนยก์ ลาง ๓) บดทับครง้ั แรก ๒ เทย่ี ว แลว้ ตรวจสอบระดบั ๔) บดทบั คร้งั ที่ ๒ ด้วยรถบดลอ้ ยางหนกั ๑๐ - ๑๒ ตนั ๙ ลอ้ ความเรว็ ๗ กม./ชม.
๕) บดทบั ครง้ั สดุ ทา้ ยดว้ ยรดบดล้อเหลก็ ความเรว็ ๕ กม./ชม. ๖) บดเสร็จทงิ้ ไว้ ๑๖ ชม. จงึ อนญุ าตใหเ้ ปิดใชง้ านได้ ลักษณะงาน รายการทตี่ อ้ งตรวจ ( การทาไหลถ่ นนและสนามบิน ) (๑๕) การทําไหล่ถนน/สนามบนิ ( งานท่อระบายนา้ ) ๑) บดอัดหรือถมดินลูกรงั ชน้ั ละไม่เกิน ๑๕ ชม. ความแนน่ ๙๕% ๑๑. รายการ POST-TENSIONED MOD.AASHO FLAT-SLAB ๒) ลาดของไหลท่ ีส่ ูงเกนิ กว่า ๑.๕๐ ม. ตอ้ งปลูกหญา้ กันนา้ํ เซาะ (๑๖) งานทอ่ ระบายนา้ํ ๑) หากจําเป็นต้องตอกเสาเข็มตอ้ งเปน็ ไปตามแบบ ๒) หากดนิ อ่อนก่อนวางทอ่ ตอ้ งลอกโคลนออกและปรับระดับดว้ ย ทรายปรบั ระดับแล้วอดั แน่น ๓) รอยต่อท่อตอ้ งยาแนวดว้ ย ปนู ทราย ( ๑ : ๓ ) และบม่ ใหช้ ้ืน อยา่ งนอ้ ย ๓ วัน ๔) การกลบทอ่ ตอ้ งใชว้ ัสดทุ ด่ี ีถมท่อเป็นช้นั ๆ ละ ๑๕ ซม. แล้วบดอดั จนสงู พ้นทอ่ ๓๐ ซม. จึงใชเ้ ครือ่ งมอื บดอัดได้ ๕) กรณที อ่ ลอดถนนใหด้ าํ เนินการหลงั จากทําชนั้ ( SUB BASE ) เสร็จแลว้ รายการตรวจสอบงาน POST-TENSIONED FLAT-SLAB ในรายการงานจา้ งเหมากอ่ สรา้ งของ ทบ. ในปจั จุบนั มลี ักษณะงาน ท่เี ป็นตึกสูงมากย่งิ ขนึ้ โดยเฉพาะในพื้นท่หี น่วยสว่ นกลางใน กทม. อาคารทท่ี าการ ที่พกั อาศยั มกั มหี ลายชัน้ และการออกแบบแต่ละชน้ั มกั ให้ เปน็ แบบ POST-TENSIONED FLAT-SLAB ดังนนั้ เพื่อเป็นการเพ่ิมพนู ความรู้เปน็ กรณีพเิ ศษ จงึ ใหม้ กี ารเพิ่มเตมิ ข้นั ตอนการทํางาน POST- TENSIONED FLAT-SLAB และรายการสาํ คญั ๆ ที่ผู้ควบคุมงาน นายทหารควบคมุ งานกอ่ สร้าง และคณะกรรมการตรวจการจา้ ง ควรจะ ทราบ และตรวจตรางานตามจดุ และข้นั ตอนต่าง ๆ ใหถ้ ูกตอ้ ง เพื่อความ มนั่ คงแขง็ แรงของอาคารตอ่ ไป งานสําคญั ๆ ท่ีตอ้ งใหต้ ามลาํ ดบั ดงั ต่อไปน้ี (๑) ขัน้ ตอนการทางาน ( การตรวจงาน ) ๑) ตรวจสอบความเรียบร้อยของแบบหลอ่ และความแข็งแรงของ คาํ้ ยนั ตา่ ง ๆ
๒) ตรวจดกู ารจัดวางเหล็กเสรมิ ( BOTTOM BAR ) ตอ้ งไดต้ ามแบบ กําหนด ๓) ตรวจดกู ารติดตงั้ สมอยดึ ( ANCHORAGE ) ๔) ตดิ ตง้ั จัดแนวระดบั ( PROFILE ) ของสายเหลก็ เอ็น ( PRESTRESSING TENDONS ) ลกั ษณะงาน รายการท่ีตอ้ งตรวจ ๕) ตรวจดูวา่ การจดั เหล็กเสรมิ บน ( TOP BAR ) วา่ ได้มาตรฐานตาม แบบกําหนด
๖) ตรวจ และควบคมุ การเทคอนกรีต ๗) ตรวจข้ันตอนการบ่มนํา้ และถอดแบบข้าง ๘) การถอด PLASTIC FORMER และการใสจ่ าํ ปา ( JAWS )
๙) ตรวจขัน้ ดงึ สายเหล็กเส้น และการยดึ ๑๐) การถอดแบบพนื้ หมายเหตุ : ๑. ในกรณที ่มี กี ารเวน้ ชอ่ งรอบเสน้ ( COLUMN PACKET หรือ SLIDING
ลกั ษณะงาน JOINT ) หรือ COLUMN HINGS ใหป้ รึกษา และขอคาแนะนาจาก ผู้ออกแบบ ๒. งานน้สี ว่ นใหญจ่ ะเหมอื นกับงาน RC. FLAT SLAB (๒) สมอยดึ ( ANCHORAGE ) ๑) ตรวจดูสมอยึด ( ANCHORAGE ) ต้องมสี ภาพสมบูรณ์ ตามท่ี ออกแบบ ไม่มรี โู พรง หรือรอยแตกร้าวทาดว้ ยวสั ดทุ มี่ คี วามคงทนตามท่ี ทดสอบแล้ว ๒) ตรวจดจู าปา ( GRIP ) ตอ้ งมีความแขง็ มากกวา่ เหลก็ ลวดใน สายเอ็นมีขนาดกระชับกบั เหล็กสายเอน็ และสมอยึดพอดี ๓) ตรวจดแู น่ใจวา่ PLASTIC FORM ไม่แตกรา้ ว จนปล่อยใหน้ า้ ปนู รว่ั ไหลเขา้ ไปจับกับสมอยึด และจาปาได้ ๔) กรณีที่ปลายขา้ งหน่ึงมสี มอยดึ ตายอยู่ ( DEAD END ANCHORAGE ) ใหต้ รวจดตู าแหน่งและสภาพความแขง็ แรงของสมอยึด ดว้ ย ๕) กอ่ นเรม่ิ งานควรศึกษาทา SHOP DRAWING ให้เขา้ ใจพรอ้ มทงั้ ตรวจสอบดว้ ย STRAND และ MILD STEEL ทบ่ี รเิ วณ COLUMN และที่ mid span ใหเ้ ป็นไปตามที่ผูอ้ อกแบบไดค้ านวณไว้และขอความเหน็ ชอบ ก่อนลงมือทางาน (๓) รายการตรวจสอบสมอยดึ ๑) ตรวจสอบตาแหนง่ สมอยดึ ท่แี บบข้างตามแบบและทาเครอ่ื งหมาย ว่าเปน็ ปลายตงึ หรอื ปลายตายตัว ๒) วดั และกาหนดตาแหน่งและระดบั ของศนู ยเ์ หล็กเอน็ ทจี่ ะโผลใ่ ห้ ละเอียดถงึ ๐.๐๕ มม. แลว้ เจาระรู รายการทต่ี อ้ งตรวจ ๓) ประกอบเข้าพลาสตกิ เข้ากบั สมอใหต้ รงกับรทู ่ีเจาะเบ้าพลาสตกิ ซงึ่ จะถกู ร้อื ออกในภายหลงั เพือ่ ให้ปากแม่แรงยืน่ เข้าไปยันกบั แปน้ สมอได้ ๔) ยดึ เบา้ และสมอเขา้ กบั แบบขา้ ง ต้องรกั ษาระนาบแปน้ สมอใหไ้ ด้ ปากกับแกนตามยาวของสายเหล็กดงึ ๕) ตรวจดูการป้องกันไมใ่ ห้คอนกรีต และน้าปนู ร่วั ไหลเข้าไปในเบา้ ได้ (๔) สายเหลก็ เอ็น ( PRESTRESSING TENDONS ) ตรวจดดู งั ตอ่ ไปนี้.- ๑) การตดิ ต้งั สายเหลก็ เอ็นจะทาภายหลังทจี่ ัดวางเหลก็ เสริมลา่ ง ตามแบบเรยี บรอ้ ยแลว้ ๒) คล่ขี ดสายเหล็กเอ็นไปตามความยาว ตามทศิ ขดสมอ ตัดสาย
ลกั ษณะงาน และรอ้ ยสายเขา้ ตามคู่สมอที่ถกู ต้อง ๓) ตรวจดกู ารตดั สายเหล็กเอน็ ว่าตอ้ งใชเ้ ลอื่ ยจานคาโบรนั ดัมรอบสูง ตัดเทา่ นน้ั หา้ มใช้ไฟแก๊สตดั และตอ้ งเผอ่ื ความยาวให้ย่ืนโผล่จากสมอ ให้ เพียงพอทแ่ี ม่แรงจะทาการดงึ ได้ ( ให้ตรวจสอบระยะโผลก่ บั ผจู้ ัดหาแมแ่ รง ) ๔) วัสดุที่ห่อหุ้มทอ่ ( POLYETHYLENE ) ต้องอยู่ในสภาพดี ถา้ มรี อย ฉีกขาดให้รบี พนั ซ่อมดว้ ย TAPE ทันที เพ่ือปอ้ งกันปญั หาเรอ่ื งนา้ ปนู ไหลซึม เข้าไปขณะเทคอนกรตี ๕) การจดั แนวระดับ และยึดสายเหลก็ เอน็ ใหม้ ่ันคงในตาแหนง่ ต้องมี ความแขง็ แรงพอท่ีจะไม่คลาดเคล่อื นเกิน ± ๑ มม. ในขณะเทคอนกรตี ต้อง ใช้แครเ่ หลก็ แบกรบั สายไปห่างประมาณทุก ๆ ๑.๐๐ ม. ๖) ตรวจนบั จานวนเหลก็ เสน้ เอ็นทั้งหมดใหค้ รบตามแบบ ๗) ตรวจสอบแนวระดบั ( PROFILE ) ไมใ่ หม้ คี วามคลาดเคลอื่ นเกนิ กว่า กาหนดดงั นี้.- - ในแนวดงิ่ คลาดเคล่อื นได้ไม่เกิน ± ๒ มม. - ในแนวราบ คลาดเคลอื่ นได้ไมเ่ กิน ± ๕ มม. ๘) รอยตอ่ ระหว่างสมอยึด ( ANCHORAGE ) กับสายเหล็กเอน็ ต้องพัน ด้วย TAPE กาวใหเ้ รยี บรอ้ ยเพอื่ ป้องกนั นา้ ปูนรวั่ เขา้ ไปจับระหวา่ งสมอกบั สายเหล็กเอน็ ๙) หา้ มใช้สายเหล็กเอ็น ( PRESTRESSING TENDONS ) เปน็ สายดนิ ในการเชอ่ื มด้วยไฟฟ้าเป็นอันขาด ๑๐) ตรวจสอบวา่ สายเหล็กเอ็นย่ืนโผลจ่ ากสมอเพยี งพอ สาหรบั ปลาย ท่ตี ้องดงึ และตรวจสอบการยึดตายของสายเหล็กอนั ปลายทีไ่ มม่ กี ารตัด ๑๑) หา้ มคนงานเดินเหยียบยา่ บนสายเหล็กเอน็ ทจ่ี ัดแนวระดบั ไว้ เรียบรอ้ ยแลว้ รายการทีต่ อ้ งตรวจ (๕) รายการตรวจสอบการเทคอนกรีต ๑) ตรวจดกู ารทาความสะอาดแบบหลอ่ ให้เกบ็ เศษลวดและ ถงุ พลาสติก ก้นบุหร่ี และสง่ิ แปลกปลอมอืน่ ๆ ออกไปใหห้ มด ๒) ต้องให้มกี ารพาดสะพานเพ่ือให้รถเข็นเขา้ ไปเทคอนกรตี ใหห้ า่ งจดุ ที่ ต้องการไม่เกิน ๑.๐๐ ม. ๓) ตรวจดูความถกู ตอ้ งของสายเหล็กเอน็ และเหล็กเสริมเปน็ ครั้ง สดุ ทา้ ยกอ่ นเท ได้แก่ ระยะแนวระดับ และความสมบูรณ์ของวัสดุหุม้ สาย เหล็กเอน็ ถ้าพบขอ้ บกพร่องให้แก้ไขใหเ้ รียบร้อย ๔) ตอ้ งระมัดระวงั ไม่ให้มกี ารกระแทกเหล็กเสริม และสายเหล็กเอน็ ให้
ลกั ษณะงาน คลาดเคลอื่ นจากตาแหน่งท่จี ดั ไว้ ถา้ มีการเคลอ่ื นยา้ ยผดิ ทใี่ หร้ ีบจดั ให้เขา้ ทีเ่ ดิม และต้องมีการวัดสอบระยะดว้ ย ๕) เม่อื เทคอนกรตี แล้วใหใ้ ช้ เคร่อื งสนั่ คอนกรีต ( VIBRATOR ) จมุ่ หรือ จล้ี งในคอนกรีตให้ทว่ั ๖) เพือ่ กระจายส่วนผสมหินและทราย ใหส้ มา่ เสมอกนั คืออยา่ ใหห้ นิ แยกกลุ่มจากทราย ๗) ใหเ้ พิ่มความแนน่ ของคอนกรีตทบ่ี ริเวณหมุ้ สมอ เป็นพิเศษ ๘) หา้ มใช้ เครอ่ื งสั่นคอนกรตี ( VIBRATOR ) ทจ่ี ดุ เดมิ อยู่นานเกินกว่า ๑๕ วนิ าที ๙) หา้ มใช้ เครอื่ งสน่ั คอนกรตี ( VIBRATOR ) จ้คี อนกรตี ใหไ้ หลเขา้ ไป บรเิ วณใกลห้ ัว ANCHORAGE แต่ให้ทาการเทคอนกรีตทบ่ี รเิ วณจดุ นั้น แล้วจงึ ใชเ้ คร่อื งส่ันคอนกรตี ทาการสนั่ คอนกรีตตามปกติ ๑๐) ควรระมดั ระวงั บริเวณหวั เสาหา้ มเทหวั เสาสงู เกินพ้นื เดด็ ขาด เน่อื งจากแรงเฉือนท่จี ดุ น้นั จะสูงมาก ๑๑) ตรวจสอบว่าในแบบระบใุ ห้เว้นหวั เสาหรอื บรเิ วณรองรับไวก้ ่อน หรอื ไม่ และตรวจดใู หเ้ ป็นไปตามนั้น (๖) รายการตรวจสอบกอ่ นการดงึ สายเหล็กเอ็น จะทาการดงึ ไดต้ ่อเมือ่ คอนกรตี อายุครบตามทว่ี ศิ วกรกาหนดแลว้ เทา่ นั้น ๑) ต้องทดสอบความเที่ยงตรงของแมแ่ รงกบั CALIBRATION CRANE และ PROVING RING ทุกวันกอ่ นนาแม่แรงไปใชง้ าน ๒) ถ้าแมแ่ รงเกิดความคลาดเคลื่อน ห้ามนามาใชง้ าน และใหว้ ศิ วกร ตรวจสอบทนั ที ( แม่แรงจะมีความคลาดเคล่อื นได้ไมเ่ กิน ± ๒% ) ๓) ตรวจสอบลาดับข้ันตอนของการดึงสายเหล็กเอน็ ตามหมายเลขที่ วศิ วกรจดั ทาบัญชกี ารดงึ ไว้ รายการทีต่ ้องตรวจ ๔) ตรวจทานระยะยดึ แรงอดั ในแม่แรง และค่าที่ไดจ้ ากการคานวณไว้ สาหรับแรงดงึ ในสายเหล็กเอน็ แตล่ ะสาย ๕) ตรวจดกู ารต้งั แนวกนั้ ตน้ ปลายชายเหลก็ เอ็นทจี่ ะใช้แมแ่ รงดึง เพอ่ื ปอ้ งกันอนั ตรายอยา่ งรนุ แรง อันท่ีอาจจะเกดิ จากสายเหล็กเอ็นขาด (๗) การดงึ สายเหลก็ เอ็น ๑) ตรวจดูการจัดจาปา สายเหลก็ เอน็ และสมอ ใหก้ ระชับดว้ ยความ ระมดั ระวงั ไมใ่ ห้จาปาขบสายเหลก็ เอน็ ขาดในขณะดงึ ๒) ตรวจดูใหม้ กี ารทาความสะอาดแปน้ เสมอ ( ซงึ่ ปากแม่แรงจะยัน ) ให้รวมทง้ั จาปา ใหส้ ะอาดปราศจากขป้ี ูนเกาะ
๓) กากบั ดูแลการสวมแมแ่ รงเขา้ กบั สายเหลก็ เอ็น โดยจดั จาปาใหย้ ดึ กระชบั แล้วดึงสายเหลก็ เอน็ โดยการอา่ นมาตรแรงอดั ของนา้ มนั ไฮดรอรคิ เมือ่ แรงอดั ข้นึ ประมาณ ๑๐% แลว้ ให้คลายแรงดนั ให้หมด ต้องระวงั ไม่ให้ เกดิ แรงบดิ แรงดดั อ่ืน ๆ ทีไ่ มต่ อ้ งการ อนั อาจจะเกิดจากการดงึ สายเหลก็ เอน็ นดี้ ้วย ๔) ทาเครอื่ งหมายขดี ตอนเรม่ิ วดั ความยดื ไวบ้ นสายเหล็กเอ็น และ เตรียมไม้บรรทัดเหลก็ ซงึ่ วดั ไดล้ ะเอยี ดจนถงึ มลิ ลเิ มตร ๕) เริ่มเดินเคร่ืองอัดนา้ มัน เพ่ือดงึ ใหม่ การอา่ นแรงในสายดงึ ใหว้ ัด โดยตรงดว้ ย LOAD CELL หรืออา่ นจากมาตรความดนั นา้ มัน ซึ่งมกี าร เทียบแรงไวก้ ่อนแล้ว พรอ้ มกบั ระยะยืดใหไ้ ด้ตามบัญชี การดงึ ดว้ ยความ คลาดเคลื่อนของแรง ซงึ่ วัดจากมาตรความดันได้ไมเ่ กิน ± ๒% คือความ ยืดไมเ่ กิน ± ๒ มม. หรือตามทว่ี ศิ วกรกาหนด ๖) เมือ่ ไดแ้ รงตามกาหนดแลว้ ใหอ้ ดั จาปายดึ สายเหล็กเอ็นจนแนน่ นอกเสียจากระยะยดื ของสายเหล็กเอน็ เกนิ กวา่ ระยะเลือ่ นของกระบอกสบู จงึ ใหท้ าการอัดจาปาไวแ้ คพ่ อใหย้ ึดอยู่ แล้วจดั กระบอกสูบแมแ่ รงเพือ่ ดงึ ใหม่ต่อไป ๗) ตรวจควบคมุ ใหม้ ีการจดและบันทกึ ระยะลตู่ ามของจาปา เมอ่ื ปลอ่ ย แมแ่ รง สาหรับสายเหล็กเอน็ ทุกสายระยะลู่ตามนจ้ี ะต้องไมเ่ กินทว่ี ศิ วกร กาหนด ถา้ เกินจะตอ้ งทาการดงึ ซ่อมแรงใหม่ ๘) ตรวจดูการคลายแรงภายหลงั การยดึ สมอแล้วนั้น จะต้องกระทาไป ด้วยอาการราบรน่ื ปราศจากแรงกระตกุ กระแทกใด ๆ ซึ่งอาจเกดิ ข้นึ ใน สายเหล็กเอ็น หรือสมอเป็นอันขาด ลกั ษณะงาน รายการทตี่ อ้ งตรวจ (๘) การตดั และการอดุ อัด ตรวจสอบดงั ต่อไปน.ี้ - ๑) ตรวจสอบระยะโดง่ ตา่ ง ๆ ตามทว่ี ศิ วกรกาหนด ถา้ ไมไ่ ด้ระยะตาม เกณฑ์ หา้ มดาเนนิ การต่อไปและใหร้ ายงานวศิ วกรทราบทนั ที ๒) การตัดสายเหล็กเอ็นที่โผลย่ ืน่ เกิน ต้องการใหใ้ ชเ้ ลือ่ ยจานคาโบ รนั ดมั ความเร็วสูงตัดหา้ มใช้ไฟแกส๊ หรอื ความรอ้ นตัดโดยเดด็ ขาด ๓) ต้องใหม้ กี ารพ่นสีกนั สนมิ ทีส่ มอยึดทกุ ตวั ๔) ใหม้ ีการคลสี่ ายเหลก็ เอ็นหลังพับงอเขา้ ไปไวใ้ นเบา้ ๕) อดุ และอดั เบ้าสมอใหเ้ ตม็ ด้วยปนู ทราย (๙) การถอดแบบ
๑๒. งานก่ออิฐฉาบปนู ๑) ห้ามถอดแบบจนกว่าจะทาการดึงสายเหล็กเอ็นจนเสร็จเรยี บรอ้ ย แลว้ ๒) ในกรณีทีน่ ้าหนกั คงท่ี ( DEAD LOAD ) ของช้นั ถดั ข้นึ ไปเกนิ น้าหนกั จร ( LIVE LOAD ) ที่ออกแบบวศิ วกรจะต้องตรวจสอบนา้ หนักทนี่ ่งั ร้าน และค้ายนั ให้เรียบรอ้ ยเสียก่อน โดยทาคา้ ยันมากกวา่ ๑ ช้นั งานกอ่ อฐิ ฉาบปูน อนุญาตให้ใชป้ นู ไดท้ กุ ชนดิ (๑) อฐิ มอญก่อนนาํ มาก่อต้องชบุ นํ้าจนอ่ิมตัว (๒) อฐิ ที่กอ่ ตอ้ งไดแ้ นวทงั้ ทางดง่ิ และระดับ (๓) เศษอฐิ ที่ก่อไมเ่ ต็มก้อนใหก้ ่อไวร้ ิมเสา (๔) ควบคมุ ให้ส่วนผสมปูนกอ่ ปนู ฉาบได้อัตราสว่ นทเ่ี หมาะสม (๕) การฉาบปูนผวิ หนา้ ท้งั ภายนอกและภายในหนาประมาณ ๑ ซม. (๖) ก่อนฉาบปูนต้องทาํ สะอาดผวิ และราดนํา้ ใหเ้ ปยี กกอ่ นฉาบผวิ คอนกรีต ตอ้ งกะเทาะใหผ้ ิวหยาบ
(๗) ปนู ท่ีฉาบผิวเสร็จแลว้ มองดูตอ้ งไม่เปน็ คล่นื (๘) อัตราสว่ นผสมของปนู ก่อและปูนฉาบ ๑) ปูนก่อผนงั ใต้ดินใช้ ปูนซเี มนต์ : ทรายหยาบ ( อัตรา ๑ : ๔ ) ๒) ปูนก่อผนังทว่ั ไป ปูนซเี มนต์ : ปูนขาว : ทรายหยาบ ( อัตราส่วน ๑:๒:๔) ๓) ปูนเทเหลวแทรกในแนวกอ่ อฐิ ใช้ปนู ซเี มนต์ : ทรายละเอียด ( อัตราส่วน ๑ : ๑ ) ๔) ปูนฉาบผนงั ภายนอกใช้ ปูนซเี มนต์ : ปนู ขาว : ทราย ( อตั ราสว่ น ๑:๑:๕) ๕) ปูนฉาบผนังภายในใช้ ปนู ซีเมนต์ : ปนู ขาว : ทราย ( อัตราส่วน ๑:๒:๖) ลกั ษณะงาน รายการทตี่ อ้ งตรวจ (๙) ตรวจขนาดความยาวและระยะห่างของเหลก็ เสียบขา้ งเสา ค.ส.ล. สําหรับยึดผนงั อิฐ (๑๐) ตรวจการก่ออฐิ สลับรอยต่อ แนวฉาก สวนผสมของปนู ก่อ ความหนา ของปูนกอ่ ไมค่ วรเกิน ๑ ซม. (๑๑) การก่อถงึ ชนั้ บนท่จี ะชนทอ้ งคาน หรือแผน่ พน้ื ค.ส.ล. ควรเว้นไวใ้ ห้ คานหรอื แผ่นพน้ื นัน้ แอน่ ตัวมากที่สุดกอ่ นแล้วจงึ ก่อขนั้ สดุ ทา้ ย โดยการเอยี ง แผน่ อฐิ อัดให้แนน่ (๑๒) ตรวจคานเอน็ และทบั หลัง ค.ส.ล. ทุกช่องเปดิ และทกุ ระยะใน แนวนอนไมเ่ กนิ ๒ ม. และแนวตงั้ ไมเ่ กิน ๓ ม. ตรวจคานเอ็นและทับหลัง ค.ส.ล. ทุกชอ่ งเปิด และทุกระยะในแนวนอนไมเ่ กิน ๒ ม. และแนวต้งั ไม่ เกนิ ๓ ม. (๑๓) การฉาบปนู ใหฉ้ าบเปน็ ชนั้ ๆ หนาชั้นละไมเ่ กนิ ๑ ซม. ความหนา ท้งั หมดไมเ่ กิน ๒.๕ ซม. ๑๓. การก่ออฐิ คอนกรตี บลอ๊ ค การก่ออฐิ คอนกรตี บลอ๊ ค ฉาบปูน กอ่ หนิ อิฐโปร่ง อิฐประดบั ฉาบปนู ฉาบปูน กอ่ หนิ อฐิ โปรง่ อฐิ ประดับ
และงานปนู แต่ง แตง่ (๑) ให้อดั หรอื ยาสว่ นทก่ี ลวงดว้ ยปนู ทราย MORTAR ให้ทวั่ เตม็ หน้า ก่อนก่อ (๒) วัสดทุ ี่เป็นกอ้ นกดให้เรียบโดยยา MORTAR ให้ทวั่ เตม็ หน้าทงั้ รอยตอ่ ด้านหัว และทางราบ (๓) รอยตอ่ ดา้ นหวั และทางราบตอ้ งมี MORTAR ยาหนา ๙ มม. แล้วอดั ให้ แนน่ (๔) รอยต่อทางระนาบและทางตงั้ ( COLLAR ) ตอ้ งอดั ดว้ ย MORTAR ใหเ้ ตม็ (๕) รอยตอ่ ปลายธรณีโดยรอบวงกบประตูหนา้ ตา่ ง หรอื ตาํ แหนง่ อ่นื ท่ี กาํ หนดวา่ ต้องอุด MORTAR ตอ้ งเซาะร่องลกึ ๒ ซม. และปาดใหเ้ รียบ สมํา่ เสมอ (๖) กอ่ นนาํ อิฐมาก่อต้องชุบนาํ้ จนเปียกให้ทวั่ ก้อนกนั ปนู รอ่ นเพราะอิฐ ดูดนํ้า (๗) รอยตอ่ อฐิ กอ่ ตอ้ งมีปนู กอ่ เตม็ หนา้ (๘) หา้ มนาํ อฐิ หักมาก่อกลางกําแพงหรือผนงั (๙) ถา้ จาเปน็ ต้องก่ออฐิ บางแหง่ ในแนวผนังเดยี วกัน ซง่ึ สูงกวา่ ทอี่ ่ืน ๆ ห้ามก่ออฐิ เทา่ กนั เกนิ ๑.๐๐ ม. ( กนั กาแพงล้ม ) ลกั ษณะงาน รายการท่ตี อ้ งตรวจ ๑๔. การทาเอ็นคอนกรีตเสริมเหลก็ (๑๐) การก่ออฐิ ติดส่วนโครงสร้าง ตอ้ งกระเทาะหนา้ คอนกรตี ใหข้ รขุ ระ ตลอดหนา้ ( ให้แงห่ ินโผลแ่ ต่ไม่ใหถ้ ึงโครงเหลก็ ) และลาดนา้ ใหเ้ ปียกก่อน กอ่ อิฐ (๑๑) กาแพงทกุ ส่วนต้องมที ับหลงั และเสาเอ็น ค.ส.ล.ทุกแห่ง (๑๒) กอ่ นกอ่ อฐิ เหนอื คานระดบั ดนิ ทุกแห่ง ต้องเทแนวกันความชืน้ บน คานดว้ ย ASPHALT หนาอยา่ งนอ้ ย ๑ ซม. (๑๓) เมือ่ กอ่ อฐิ เสรจ็ ภายใน ๔๘ ชม. ห้ามกระทบกระเทือนโดยเดด็ ขาด (๑๔) การก่ออฐิ หนุนท้องคานต้องรอหลงั ก่อผนงั เสร็จแลว้ ๓ วนั การทาํ เอน็ คอนกรีตเสรมิ เหล็ก (๑) ผนังกอ่ อฐิ หรือซเี มนต์บลอ๊ คทฉี่ าบปูนมีเนื้อทีเ่ กนิ ๙ ม.๒ และผนงั กอ่ อิฐ หรอื ซีเมนต์บล๊อคทก่ี ่อตดิ วงกบ ประตูหน้าตา่ ง ตอ้ งมเี อ็น ค.ส.ล.โดยใช้ เหล็กยืน ๒ - ๙ มม. เหลก็ ปลอก ๖ มม. ทุกระยะ ๒๐ ซม. (๒) ความหนาของเอ็นเทา่ กบั ผนงั กอ่ อิฐหรือซีเมนต์บลอ๊ ค (๓) เสา ค.ส.ล.ทุกต้นทก่ี าแพง กอ่ มาชนตอ้ งมีเหลก็ เสียบขนาด ๖ มม.
ฝังย่นื ขา้ งละ ๒๕ ซม. ทุกระยะ ๓๐ ซม. สําหรับผนงั ทก่ี อ่ อฐิ และทุกระยะ ๒๐ ซม. สาํ หรบั ผนงั ซเี มนตบ์ ล๊อค ๑๕. การทากาจดั ปลวก ให้มผี ้คู วบคุมงานกาํ กับดูแล ใหผ้ รู้ ับจา้ งดาํ เนนิ การโดยใช้ผู้ชาํ นาญงาน ๑๗. การปกู ระเบ้อื งยาง ของบรษิ ทั ผูผ้ ลติ การปรับพื้นไม้ ลักษณะงาน (๑) ไม้ทุกแผ่นต้องเขา้ ลนิ้ อดั สนทิ (๒) การปรบั พ้ืนตอ้ งเปน็ แนวตรง (๓) การปรับไสตอ้ งเรยี บเสมอไมเ่ ป็นคลืน่ หรอื ลอน การปูกระเบอื้ งยาง (๑) วัสดุทใ่ี ชต้ ้องเปน็ กระเบอื้ งคณุ ภาพดี มสี ่วนประกอบดว้ ยสว่ นผสม ไวนลิ และพลาสติก โดยทั่วถงึ (๒) ขนาดสมา่ เสมอกนั (๓) กระเบอ้ื งยางต้องตัดเป็น ๔ เหลี่ยมอย่างเทีย่ งตรง ไม่มรี อยตาํ หนิ (๔) ผิวทจี่ ะปูพ้นื กระเบื้องยางตอ้ งแตง่ ให้เรยี บร้อย พน้ื คอนกรีตตอ้ งแห้ง สนทิ (๕) การทากาวตามคาํ แนะนําของผผู้ ลติ โดยใชเ้ กรียงฟันปลาความหนา ไมเ่ กนิ ๐.๘๐ ซม. ตรงรูปตวั V ทเ่ี กรยี งลกึ ๐.๑๖ ซม. และห่างกัน ๐.๒๕ ซม. จากศูนยถ์ ึงศนู ย์ รายการท่ีต้องตรวจ (๖) จะเรม่ิ ปูกระเบ้ือง เม่ือปูแตง่ ผิวแล้วมีอายไุ ม่น้อยกวา่ ๒๑ วนั (๗) ปกู ระเบอ้ื งยางใหไ้ ด้แนวสม่าเสมอ (๘) เมื่อปูกระเบื้องแล้วหา้ มใชง้ านจนกวา่ จะผ่านไปแลว้ ๓ วัน (๙) ทาํ บัวเชิงยางสีดํา ผนงั กวา้ ง ๔\" (๑๐) เม่ือกระเบื้องยางตดิ พื้นที่แล้วใหข้ ดั ด้วย WAX โดยใช้เครอ่ื งขัด
๑๘. การปูกระเบ้อื งพน้ื ชนดิ ผิวแขง็ (๑๑) การขจดั รอยดา่ งให้ใช้เกรยี ง พตุ ต้ี หรือฝอยเหลก็ หรือผา้ ชบุ สบู่ ( การปกู ระเบอ้ื งชนดิ ผิวแขง็ ) ท่เี ป็นกลาง หา้ มใชน้ ํา้ ยาอยา่ งอน่ื เดด็ ขาด การปกู ระเบอื้ งพน้ื ชนดิ ผิวแขง็ (๑) วัสดทุ ใี่ ช้ ไดแ้ ก่ กระเบ้อื งโมเสค เซรามิค หินออ่ น หินแกรนิต กระเบือ้ งเคลอื บ กระเบอ้ื งดินเผาความร้อนสูง กระเบือ้ งหนิ ขดั (๒) วัสดุท่ีนาํ มาใช้ต้องมคี ุณภาพ ขนาด สี และลักษณะตามแบบกําหนด (๓) ข้นั เตรยี มการ ๑) กอ่ นทางานต้องตรวจดวู ่าแนวปูน สมอ ยดึ พุก งานไฟฟา้ งานเดิน ทอ่ ถนนต่าง ๆ ทอ่ี ยใู่ ตพ้ ื้นผิวแข็งเสร็จเรยี บรอ้ ยแลว้ ๒) ไมเ่ ริ่มงานจนกว่าปกปดิ ทใ่ี กลเ้ คยี งให้พน้ จากความเสียหายก่อน ๓) ก่อนปูพนื้ ตอ้ งเตรยี มความสะอาดปราศจากเศษผงวสั ดตุ า่ ง ๆ ๔) ผวิ ตอ้ งไดร้ ะดบั และความลาดตามกาหนด ๕) ระดับพนื้ ตอ้ งตา่ กว่าความหนาของแผน่ และเช้อื ประสาน ๖) ก่อนปูกระเบอ้ื งต้องลา้ งผวิ ทที่ างานให้สะอาดใหผ้ ิวชมุ่ แตต่ อ้ ง ไม่มนี ้าขัง ๗) ต้องเตรียมผวิ ด้วยการฉาบปนู ๒ ชน้ั ปรับผิวกาแพงให้ไดฉ้ าก มุม ขนาดตามกาหนด ๘) หา้ มปกู ระเบอ้ื งบนแผน่ พน้ื คอนกรตี ทอ่ี ายุไมค่ รบ ๒๘ วัน หรอื ยกระดบั คอนกรีตทีอ่ ายุไมค่ รบ ๑๕ วนั ๙) ปนู รองพื้นประกอบดว้ ย ปนู ซเี มนต์ : ทราย ( อัตราส่วน ๑ : ๕ ) ผสมนา้ พอเหลวทางานได้ (๔) การปพู ้นื กระเบือ้ งชนดิ ผิวแขง็ ๑) ก่อนปกู ระเบ้ืองให้โรยซเี มนต์ผงให้ท่วั ปนู รองพน้ื หนา ๑.๖ มม. ไล้ด้วยเกรยี งแล้วเริม่ ปแู ผน่ กระเบื้อง ๒) วางแผ่นกระเบื้องเรยี งเป็นแนว แผน่ หา่ งกนั ๑ มม. ๓) ปูนรองพนื้ ท่ีเทเกนิ ๑ ชม. หรือถ้าลงชั้นยดึ ประสานเกนิ ๑๕ นาที ถา้ ปนู มเี ยื่อลอยปิดหนา้ ใหโ้ กยปนู ออกแลว้ เทปูนรองหรือเชอื้ ประสานใหม่ ลักษณะงาน รายการทต่ี อ้ งตรวจ ๔) ปรับระดับหน้ากระเบอ้ื งลอกกระดาษออกและแตง่ แนวให้แล้วเสร็จ ๑๙. การบารงุ รักษา และปอ้ งกัน ภายใน กระเบอื้ งปพู นื้ ผนงั ผวิ แขง็ ๕) ยาแนวแตง่ แนวดว้ ยผงซีเมนต์ ยาแนวเรว็ ท่สี ดุ หลังแตง่ แนวใน ๑ ๑/๒ ชม. การบํารงุ รกั ษาและปอ้ งกนั กระเบอ้ื งปูพน้ื ผนงั ผิวแขง็
๒๐. วัสดุปพู นื้ (๑) หา้ มแตะต้องรบกวนกระเบ้ืองท่ีปใู นเวลา ๗ วัน (๒) ถา้ จาํ เปน็ ต้องเดนิ ผา่ นให้ใช้ไมร้ องก่อนเดนิ ผ่านหรือทาํ งาน ๒๑. การกรุฝา( ท่วั ไป ) (๓) ใช้ฟองนาํ้ ล้างกระเบอื้ ง แลว้ ขดั ทาํ ความสะอาดครง้ั สดุ ทา้ ยดว้ ยผา้ แหง้ ๒๒. การกรสุ ังกะสีลกู ฟกู วสั ดุปูพ้นื (๑) ตรวจดวู ่ากระเบอื้ งเคลือบมีคณุ ลกั ษณะตามแบบกําหนด ถา้ แบบใด ไม่กําหนดตอ้ งเป็นขนาด ๘”x๘” สีเทาอ่อน คุณสมบัตใิ หไ้ ด้มาตรฐานตาม มอก. ปจั จบุ ัน (๒) วสั ดปุ ูพนื้ ที่เปน็ กระเบอื้ งยางต้องเป็น P.V.C. ชนดิ ไมผ่ สมใยหนิ และ ไวนิลปพู ื้นชนิดไม่ผสมใยหนิ - อาคารท่ีพักอาศัย กระเบ้ืองหนา ๑.๖ มม. - อาคารท่ีทําการ กระเบอื้ งหนา ๒.๐ มม. (๓) พนื้ หนิ แกรนติ ต้องไดม้ าตรฐาน ดงั น.้ี - (๑) ขนาดไม่เล็กกวา่ ๐.๓๐ - ๐.๖๐ ม.๒ (๒) หนาไม่น้อยกวา่ ๒.๕ ซม. (๔) ตรวจดกู ระเบอ้ื งหนิ ขัดขนาด ๐.๓๐ x ๐.๓๐ ม. หนา ๒๕ มม. หนิ เกล็ด เบอร์ ๓ - เบอร์ ๔ ผสมปนู ซีเมนต์ขาวคุณภาพได้มาตรฐาน การกรฝุ า ( ท่ัวไป ) (๑) ฝากระเบื้องใยหนิ แผน่ เรยี บ ฝาไมว้ ทิ ยาศาสตร์ตอ้ งกรโุ ดยวางจาก กึ่งกลางห้อง โดยใหเ้ ศษทเี่ หลอื อยตู่ อนริม (๒) แนวรอยต่อต้องเป็นเส้นตรง และเซาะรอ่ งตวั วี เวน้ ฝากระเบื้องใยหิน แผน่ เรยี บใหย้ าแนวด้วยกมั กรตี (๓) เครา่ ฝาใหว้ างหา่ งกนั ระยะ ๖๐ x ๖๐ ซม. หรอื ตามแบบ (๔) กระเบอ้ื งใยหนิ แผ่นเรยี บ ใหผ้ วิ เรยี บอยดู่ ้านนอก ส่วนไมว้ ทิ ยาศาสตร์ ใหล้ ายอยดู่ ้านนอก การกรสุ ังกะสลี ูกฟกู ต้องกรซุ ้อนกันลอนครึ่งสําหรบั ลอนใหญ่ และซอ้ นกัน ๒ ลอนครง่ึ สาํ หรบั ลอนเล็กยึดดว้ ยตะปตู อกสังกะสี ลักษณะงาน รายการท่ีต้องตรวจ ๒๓. การกรกุ ระเบือ้ งแผ่นเรียบ การกรุกระเบ้ืองแผ่นเรยี บหรือกระเบ้ืองใยหนิ ( ASBESTOS ) หรือกระเบอ้ื งใยหนิ ( ASBESTOS ) (๑) ถา้ แบบรปู มิไดก้ าหนดใหใ้ ชไ้ ม้เครา่ ขนาด ๑ ๑/๒\"x๓\" ระยะ ๖๐x๖๐ ซม. ( ทานา้ ยากนั ปลวกเรียบรอ้ ย) (๒) ตดิ กระเบ้อื งให้ผิวเรียบอย่ดู า้ นนอก (๓) รอยต่อเว้นช่องตามแนวเครา่ ไม้ ๑ ซม.หรือ เซาะร่องเป็นตวั V และไส
๒๔. การกรุผนังดว้ ยกระเบ้อื ง กบลบมมุ ( FACING TILE ) (๔) การตอกตะปู ใหต้ อกจากกง่ึ กลางแผ่นกระเบอื้ งแลว้ ตอกไล่ ๒ ขา้ ง พร้อมกัน และตอกมมุ หา่ ง ๑๐ ซม. (๕) การตดิ แผ่นกระเบอ้ื งใหเ้ ริ่มจากกงึ่ กลางหอ้ ง การกรผุ นังดว้ ยกระเบอ้ื ง ( FACING TILE ) (๑) กระเบอ้ื งเคลอื บ กระเบ้ืองเซรามิคกอ่ นกรจุ ะตอ้ งทาํ ความสะอาดผนัง กอ่ น คอื ปูนผิวชนั้ แรกของกาํ แพงฉาบปนู ช้ันแรก หนา ๑ ซม. (๒) ขดู ผวิ ปนู ท่ีฉาบกาํ แพง ก่อนปูนแห้งเพอ่ื เตรยี มเกาะปนู ฉาบครง้ั ท่ี ๒ (๓) ฉาบปนู ผนังคร้ังที่ ๒ ทําเชน่ เดยี วกนั กับขัน้ ท่ี ๑ แตต่ อ้ งเหลือระยะไวใ้ ห้ พอดีกบั ความหนาของกระเบือ้ งเคลอื บ (๔) กอ่ นกรกุ ระเบอ้ื งใหร้ ดน้าํ ผิวผนังกาํ แพงทฉี่ าบขัน้ ท่ี ๒ แล้วโบกปูนกรุ ผนงั ให้มีระยะเสมอกับทก่ี ะระยะไว้กบั ความหนาของกระเบอ้ื ง ( หนาไมเ่ กิน ๒ ซม. ) (๕) ก่อนกรกุ ระเบอื้ ง ใหน้ าํ ไปแชน่ าํ้ ก่อนแลว้ ฉาบหลงั กระเบ้อื งทนั ทีก่อนปนู (๖) รอยตอ่ ท่ปี กู ระเบื้อง หา่ งกนั ไม่เกิน ๓ มม. ปแู ลว้ ยาแนวดว้ ยซเี มนต์ ยาแนวใหเ้ รยี บร้อย ๒๕. การกรุแผ่นบรรเทาเสยี ง (๗) ปแู ลว้ รบี ทาความสะอาดก่อนส่วนทเ่ี ลอะสกปรกจะแหง้ แล้วขัดทา ( ACOUSTIC BOARD ) ความสะอาดโดยเชด็ ให้แหง้ (๘) การกรุผนงั ดว้ ยกระเบอ้ื ง ( FACING TILE ) โดยใช้กาวผงสาํ เร็จรูป ผสมซีเมนต์ ทราย น้าํ ตอ้ งปฏบิ ัติตามขอ้ กาหนดของบรษิ ัทผผู้ ลิต จาหนา่ ย การกรแุ ผ่น ( ACOUSTIC BOARD ) (๑) เครา่ ฝ้าเพดานระยะ ๓๐x๓๐ ซม. จากศูนยก์ ลางถงึ ศนู ยก์ ลาง ขนาด ไม้เครา่ ๑ ๑/๒\"x๓\" หรือตามแบบกาํ หนด (๒) วางแนวสมา่ํ เสมอจากกลางหอ้ งไป ๒ ขา้ งเทา่ กัน (๓) ยดึ แผ่น ACOUSTIC BOARD ตดิ เครา่ ด้วยตะปู
(๔) หรือปฏบิ ตั ิอยา่ งอื่นตามแบบกาํ หนด ลกั ษณะงาน รายการท่ีตอ้ งตรวจ ๒๖. การกรุฝา้ เพดานด้วยแผ่นไม้ การกรุฝ้าเพดานด้วยแผน่ ไม้วิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (๑) เคร่าฝา้ เพดานระยะ ๖๐x๖๐ ซม. จากศูนยก์ ลางถงึ ศูนยก์ ลางใช้ไม้ ขนาด ๑ ๑/๒\"x๓\" หรือตามแบบ ๒๗. การตดิ ตงั้ โครงเคร่าฝา้ การ (๒) ยดึ ฝ้าตดิ เครา่ ดว้ ยตะปูโดยปรับใหช้ ดิ กัน ตดิ ตัง้ โครงเครา่ ฝ้า ระบบ T- BAR (๓) ทับแนวให้มเี ฉพาะรอบหอ้ งเท่านั้นโดยใชไ้ มเ้ น้อื แขง็ และตวั C ( GALVANIZED STEEL (๑) การติดตง้ั โครงเครา่ เหล็กชบุ สงั กะสีระบบ T- BAR และตวั C CEILING FRAME ) ( GALVANIZED STEEL CEILING FRAME ) ๑) ตรวจดูชนดิ และขนาด ของโครงเครา่ หลักและรอง ได้มาตรฐาน ตาม มอก.ปัจจบุ นั หรอื ไม่ ๒) ตรวจดูจดุ ปรบั ระดบั ทีโ่ ครงเครา่ หลัก ทุกระยะ ๖๐x๑๒๐ ซม. หรอื ตามแบบกาํ หนด ๓) ตรวจดูระดบั ฝา้ ให้ไดร้ ะดบั เดียวกันท่วั บรเิ วณ หรอื ตามแบบกําหนด การติดตง้ั โครงเครา่ ฝาเหลก็ ชบุ สงั กะสี (๒) การตดิ ตั้งโครงเครา่ ฝาเหลก็ ชบุ สงั กะสรี ปู ตวั C รูปตัว ๑) ตรวจดชู นิดและขนาด ของโครงเครา่ หลักและรอง ได้มาตรฐาน
๒๘. แผ่นยิบซัม่ ( GYPSUM ตาม มอก.ปัจจุบัน หรอื ไม่ BOARD ) ๒) ตรวจดูระยะโครงเครา่ ทกุ ระยะ ๔๐ ซม. หรือ ๖๐ ซม. หรอื ตาม ๒๙. การกรุเพดานดว้ ยยิบซม่ั แบบกําหนด แผ่นยบิ ซ่มั ( GYPSUM BOARD ) ๑) ตรวจวา่ แผน่ ยบิ ซม่ั ที่นาํ มาใชม้ ี ชนิด ขนาด และความหนา ตามแบบ กําหนด ๒) ตรวจวา่ แผ่นยิบซม่ั ได้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจบุ ัน หรือไม่ การกรเุ พดานด้วยยิบซั่ม (๑) ตอ้ งจดั แนวเป็นเสน้ ตรงได้ระดบั เรียบสมา่ํ เสมอ (๒) การวางแนวเรม่ิ จากกลางห้องออกไปท้งั ๒ ดา้ น ๓๐. แผ่นบรรเทาเสยี ง (๓) โครงเครา่ ตามแบบกาํ หนด ( ACOUSTIC BOARD ) แผน่ บรรเทาเสียง ( ACOUSTIC BOARD ) (๑) ตรวจดวู า่ แผน่ สาํ เร็จรปู ACOUSTIC BOARD ที่นํามาใชส้ ามารถ ๓๑. กระเบื้องใยหนิ แผ่นเรยี บ บรรเทาเสยี ง และความรอ้ น ไดห้ รอื ไม่ ( ASBESTOS ) (๒) เป็นชนดิ และขนาดตามแบบกาํ หนด (๓) ตรวจตราการตดิ ตั้งต้องถกู วธิ ี เชน่ เคร่าฝา้ หรือวิธกี าร ฯลฯ กระเบอ้ื งใยหนิ แผน่ เรียบ ( ASBESTOS ) (๑) ตรวจดวู า่ เป็นชนดิ ขนาด ความหนาตามท่แี บบกําหนด (๒) ตรวจวา่ คณุ สมบตั ไิ ด้มาตรฐานตาม มอก. ปจั จบุ นั หรอื ไม่
ลกั ษณะงาน รายการที่ตอ้ งตรวจ ๓๒. กระเบ้อื งมงุ หลังคา (๓) ตรวจดูวธิ กี ารตดิ ต้ังถกู ตอ้ ง รวมทงั้ วัสดุอปุ กรณ์ประกอบอ่นื ๆ เชน่ ( ROOFING ) เครา่ ฝา้ การตอกตะปูยดึ ติด วิธกี ารกรุ เป็นตน้ กระเบอื้ งมงุ หลงั คา ( ROOFING ) ๓๓. การติดตง้ั ผนงั และหลงั คา (๑) ตรวจดวู า่ กระเบ้อื งใยหิน ชนดิ ลอนคลู่ ูกฟกู ลอนเลก็ หรือใหญ่ มี เหลก็ เคลอื บรีดลอน คุณสมบตั ิได้มาตรฐานตาม มอก. ปจั จุบันหรือไม่ ( ENAMELED STEEL (๒) ตรวจดตู ะขอรับกระเบื้องว่ามคี ุณสมบตั ติ ามกาํ หนด CORRUGATED ROOFING (๓) ตรวจดูเหลก็ รอ้ ยยึดกระเบอื้ งสําเร็จรปู วา่ มคี ณุ สมบัตถิ กู ต้อง SHEET ) (๔) หากมงุ ดว้ ยกระเบือ้ งคอนกรตี คุณภาพต้องเทยี บเทา่ C - PAC ๓๔. การทา HOOD และปลอ่ งไฟ MONIER หรอื V - CON และคุณสมบตั ิได้มาตรฐานตาม มอก. ปจั จุบนั (๕) อน่ื ๆ ตรวจดวู ัสดอุ ุปกรณว์ ่าเป็นไปตามแบบกาํ หนด ๓๕. การทาหนิ ขดั ในท่ี การตดิ ตั้งหลงั คาเหลก็ เคลอื บรีดลอน ( ENAMELED STEEL CORRUGATED ROOFING SHEET ) ( การเตรยี มการ ) (๑) ตรวจดชู นิดและขนาด ได้มาตรฐานตาม มอก.ปจั จบุ นั หรือไม่ (๒) ตรวจดูวิธกี ารตดิ ตง้ั ถูกตอ้ งตามแบบกาํ หนด หรือตามกรรมวธิ ขี อง ผผู้ ลิต รวมท้งั วัสดุอปุ กรณ์ประกอบอื่น ๆ หรอื ไม่ การทาํ HOOD และปล่องไฟ (๑) รอยตะเข็บตอ้ งบัดกรใี ห้เรยี บรอ้ ย (๒) สว่ นท่ีปลอ่ งไฟยดึ ติดอาคารใชเ้ หลก็ หนา ๑/๑๖\" - ๑\" รดั ยึดทุกระยะ ๕๐ ซม. (๓) ยอดปล่องตอ้ งมีฝาชี ทําดว้ ยสงั กะสเี บอร์ ๒๘ ครอบบน (๔) ยดึ ฝาชีปลอ่ งเหลก็ ดว้ ยเหลก็ ๑/๘\" - ๑\" รวม ๓ ชุด ดว้ ยหมดุ ย้า การทาํ หนิ ขดั ในท่ี (๑) ตรวจตราใหแ้ นใ่ จวา่ งานทเ่ี กยี่ วขอ้ งทาเสรจ็ ไปก่อนแลว้ ก่อนทาหนิ ขัดในท่ี (๒) หา้ มทาหนิ ขดั ในพ้นื คอนกรตี ที่อายุไมค่ รบ ๒๘ วนั (๓) สว่ นผสมหนิ ขดั หนิ ขัดหนา ๑ ซม. และในพนื้ ท่ี ๑ ม.๒ ใชซ้ ีเมนต์ขาว ๖ กก. (๔) สว่ นผสมของหนิ ล้างหนา ๑ ซม. ในพืน้ ท่ี ๑ ม.๒ ใช้ปูนซีเมนตธ์ รรมดา (๕) การเตรยี มการกอ่ นทาํ หินขัดในที่ ๑) พรมนา้ ให้ผวิ ชน้ื โดยไม่มนี ้าขัง ( พนื้ สะอาด ) ๒) วางเส้นแบ่ง ฉาบปูนผวิ ขา้ งเส้นแบง่ ก่อนทาหนิ ขดั ๒๔ ชม. ๓) เทสว่ นผสมหินขดั ในเสน้ แบ่ง โดยเกณฑต์ ามกาหนดดงั กลา่ วแล้ว
ลกั ษณะงาน รายการทีต่ อ้ งตรวจ ๔) บ่มหนิ ขดั อยา่ งนอ้ ย ๖ วนั จึงสามารถขดั ด้วยเคร่ืองขัดได้ ๕) การแต่งหนา้ ครัง้ สุดทา้ ยเช็ดให้แหง้ แล้วขดั ดว้ ยขผ้ี งึ้ จนขนึ้ มัน ๓๖. การทาหนิ ขัดขน้ั บันได การทาํ หนิ ขดั ข้นั บนั ได กระทาํ เชน่ เดยี วกนั กบั การทาํ พื้นหนิ ขดั ๓๗. เชิงผนงั หนิ ขดั เชงิ ผนงั หนิ ขดั (๑) ถา้ แบบรูปหรอื รายการไมไ่ ดก้ าํ หนด เชงิ ผนังหนิ ขดั มคี วามสงู ไมน่ อ้ ย กวา่ ๑๐ ซม.( จากขอบบนถงึ พ้ืน ) (๒) หินขัดเชงิ ผนงั หนาอย่างนอ้ ย ๑๐ มม.
๓๘. การตดิ กระจก (๓) หนิ ขัดเชงิ ผนังตอ้ งบ่มอยา่ งนอ้ ย ๖ วนั จงึ ขัดให้เรยี บ ๓๙. การกรุขึงลวดถกั (๔) เชิงผนงั ทว่ั ไป ๔๐. การกอ่ สรา้ งเตา ๑) ให้ทาเชงิ ผนังทกุ ครั้งแม้แบบไมก่ าหนด โดยใช้วสั ดุท่กี ลมกลืนหรอื เหมาะสม ๒) ห้องหรอื พื้นซีเมนต์ไมป่ วู สั ดใุ ด ๆ ให้ทาสีแทนเชงิ ผนังโดยมคี วามสงู จากพืน้ ๑๐ ซม. การตดิ กระจก (๑) บานทต่ี ิดกระจกต้องใหก้ รอบบานแหง้ ฉาบดว้ ยพุตต้ี ( PUTTY ) บาง ๆ แลว้ กดกระจกลงไปบนพุตตี้ (๒) ตอกตะปไู มก้ บั แนวเข้าทแี่ ตง่ PUTTY ทีล่ น้ ออกมาใหเ้ รียบ (๓) อยา่ ให้ถูกนาํ้ จนกว่า PUTTY จะแหง้ แล้วจงึ ทาสี การกรขุ งึ ลวดถกั (๑) ต้องเหยยี ดลวดถกั ใหต้ รง เรียบ แล้วขึงตามแบบระบุ (๒) ลวดถกั ทข่ี งึ เสร็จแล้ว ต้องตงึ ไมห่ ย่อนโย้ (๓) รอยตอ่ เชอ่ื มตอ้ งแตง่ ใหเ้ รยี บร้อยทุกจดุ (๔) ทาํ ความสะอาดรอยเช่ือม ทาสีกันสนมิ และทาสที ับหน้าใหเ้ รียบรอ้ ย การกอ่ สร้างเตา (๑) ก่อนก่ออิฐทนไฟตอ้ งลา้ งนา้ํ ทาํ ความสะอาดก่อน (๒) การกอ่ อฐิ ใหท้ าํ ตามหลกั วชิ าช่าง (๓) พนื้ คอนกรีตทุกแหง่ ท่ีจะก่ออฐิ ทนไฟ ต้องกระเทาะใหแ้ งห่ ินโผล่ เพือ่ ให้ ปนู กอ่ จบั แน่น (๔) เมอื่ สร้างเตาแล้วต้องถอื ปนู ฉาบ และคอนกรีตใหแ้ หง้ สนทิ กอ่ น และ รมไฟในเตาโดยรมไฟใหร้ มุ ๆ และเพิม่ ความร้อนทีละน้อย ๆ ในระยะ ๔๘ ชม. ในขณะกอ่ อิฐหรือก่ออฐิ เสรจ็ ห้ามเปียกนาํ้ เด็ดขาด (๕) ใน ๔๘ ชม. หา้ มไดร้ ับการกระทบกระเทอื นหรอื รับนา้ํ หนัก ลักษณะงาน รายการทีต่ อ้ งตรวจ ๔๑. วสั ดทุ ีใ่ ช้ในการกอ่ สรา้ ง วสั ดุท่ีใชใ้ นการกอ่ สรา้ งเตาหงุ ต้ม เตาหงุ ตม้ (๑) ตรวจดูอฐิ ทน่ี ํามากอ่ สร้างตอ้ งสามารถทนความรอ้ นได้ และคณุ สมบตั ิ ใหไ้ ด้มาตรฐานตาม มอก. ปัจจบุ นั ๔๒. วสั ดุกอ่ สรา้ งทที่ าดว้ ยไม้ (๒) ตรวจดูฉนวนกนั ความร้อนสาํ หรบั ปลอ่ งเหลก็ ระบบควนั มีคณุ สมบัติ ตามแบบกําหนด (๓) ตรวจดูปนู ทนไฟว่าคณุ สมบตั ไิ ดม้ าตรฐานตาม มอก. ปจั จบุ นั หรือไม่ วัสดกุ อ่ สร้างทาํ ดว้ ยไม้
๔๓. ประตูหน้าตา่ งไม้ (๑) ไม้ ( ตรวจดูวา่ มคี ณุ สมบตั ดิ งั ตอ่ ไปน้หี รือไม่ ) ๑) ไม้เน้อื แขง็ ตอ้ งเป็นไม้ทมี่ ีรายช่ือตามทก่ี าํ หนด มคี ณุ สมบัติรับแรง ประลยั ได้ ๑,๐๐๐ กก./ซม. ๒) ไม้เนอ้ื ออ่ น ต้องเปน็ ไม้ทีม่ รี ายชื่อกําหนดไวแ้ ลว้ คุณสมบตั สิ ามารถ รบั แรงประลยั ไดไ้ ม่น้อยกวา่ ๕๕๐ กก./ซม.๒ (๒) ตรวจดูวา่ ไม้ท่นี าํ มาใชง้ านตอ้ งไม่ผุ เปน็ รูโคง้ งอ แตกร้าว เปน็ กระพี้ จนเสียความมัน่ คง แขง็ แรง (๓) ตรวจ และกาํ กับดูแลการไสไม้ต่าง ๆ ทีน่ าํ มาใช้ทกุ ชนิดว่าเมอ่ื ไสแลว้ ขนาดลดลงตอ้ งอยตู่ ามเกณฑ์ท่ีกาหนดในตาราง (๔) ตรวจดชู นดิ ไมท้ น่ี าํ มาใช้กบั ส่วนตา่ ง ๆ ของอาคารว่าถกู ต้องคือ ๑) ไมเ้ น้ือแขง็ ใช้กับ เสา คาน ตง อะเส อกไก่ ส่วนของโครงหลงั คา จันทนั พราง สะพานรับทอ้ งจนั ทนั เชิงชาย คา้ ยัน ลกู กรงบนั ได ราวบนั ได สว่ นประกอบของบันได พื้นบวั เชิงผนงั วงกบ ประตหู นา้ ต่าง วงกบ มงุ้ ลวด วงกบชอ่ งลม บานเกล็ดไม้ กรงเก็บอาวธุ กรงเกบ็ เงิน หรอื ตาม แบบ ๒) ไม้เน้อื อ่อนใช้สรา้ งเครา่ ฝา เครา่ ฝ้าเพดาน ฝา แป ไม้ทับแนว เพดาน หรอื ตามแบบ ๓) ไมอ้ ดั PLYWOOD มคี ุณสมบัติตามผลิตภัณฑ์ไมอ้ ัดไทย หรือให้ได้ มาตรฐานตาม มอก. ปัจจบุ ัน ประตูหน้าตา่ งไม้ (๑) ตรวจดวู า่ ประตูไมเ้ ปน็ ชนดิ แผน่ เรยี บทั้งดา้ นหน้าและหลงั เปน็ ไม้สัก ของบริษัทไมอ้ ดั ไทยหรือเทียบเทา่ หรือไดม้ าตรฐานตาม มอก. ปจั จุบนั (๒) แบบ ขนาด ให้ถือตามแบบกาํ หนด (๓) อปุ กรณ์ประกอบประตหู น้าตา่ งดงั ต่อไปน้ี.- ลักษณะงาน รายการท่ตี ้องตรวจ ๑) บานพับประตตู ้องเป็นเหลก็ ไดม้ าตรฐานตาม มอก. หรอื ทองเหลือง หรอื เหล็กชบุ ( GALVANIZED ) หรือเคลือบสีของ WHITCO หรอื SANLOCKหรอื CHAMP หรอื ๕๕๕ CPS หรือได้มาตรฐานตามหรือ เคลอื บสีของ WHITCO หรือ SANLOCKหรือ CHAMP หรือ ๕๕๕ CPS หรอื ได้มาตรฐานตาม ๒) ถ้ากรอบหนา ๑ ๑/๒” ขน้ึ ไปใชข้ นาด ๕” ๓) ถา้ กรอบหนานอ้ ยกวา่ ๑ ๑/๒” ใช้ขนาด ๔”
๔๔. ประตูหนา้ ตา่ งอลูมเิ นยี ม ๔) ตดิ บานพบั บานละ ๓ อนั แต่ถ้าประตสู งู เกินกวา่ ๒.๐๐ ม. ให้ตดิ บานพบั ๔ อนั ๕) หน้าต่างตดิ บานพับบานละ ๒ อนั ขนาด ๔” ๖) ตรวจดกู ลอนวา่ ตอ้ งเปน็ โลหะเคลอื บสี หรือโลหะชุบโครเมียม หรือ อะลูมิเนยี มอลั ลอยด์ หรอื ทองเหลอื ง ๗) กลอนมาตรฐานขนาด ๙ มม. - ๖” ติดตอนลา่ งบานประตลู ะ ๑ อัน และกลอนขนาด ๙ มม. - ๘” ติดตอนบนประตบู านละ ๑ อนั ๘) กลอนหน้าต่างใช้ ๙ มม. - ๕” ตดิ บานละ ๒ อนั ( บน-ล่าง ) ๙) ตรวจดูมือจบั วา่ ตอ้ งเปน็ โลหะเคลือบสี หรือโลหะชบุ โครเมยี ม หรอื อะลูมิเนยี มอลั ลอยด์ หรอื ทองเหลือง ขนาดไม่เล็กกวา่ ๕” บานละ ๑ อัน ( เว้นแตบ่ านที่ตดิ กุญแจลูกบดิ ) ๑๐) กุญแจลกู บิดใหใ้ ช้ลูกบดิ มาตรฐานของ ALPHA , DIAMON , SEVENLOCK หรอื เทยี บเทา่ หรอื ตามแบบ ๑) การติดตง้ั กญุ แจลกู บดิ ชนดิ มกี ญุ แจตดิ ที่ประตูห้องทว่ั ๆ ไป หอ้ งละ ๑ ชดุ ๒) ตดิ ตงั้ ลกู บดิ ชนดิ ไมม่ ีกุญแจ แต่ลอ๊ คด้านในได้กบั หอ้ งนา้ํ -ส้วม หรือ ประตอู อกระเบยี งซึง่ ไมม่ ีทางไปทอ่ี ่นื ๑๑) ตรวจดวู า่ ประตทู กุ บานต้องมกี ันชนปมุ่ ยาง ๑๒) ตรวจดวู า่ ขอรบั ขอสับเปน็ โลหะเคลือบสี หรอื โลหะชุบโครเมียม หรือทองเหลอื ง ขนาด ๖ มม. - ๘” บานละ ๑ ชดุ หรอื ทย่ี ดึ ชนดิ ลูกปืน ติดสปริง ประตหู นา้ ตา่ งอลมู เิ นียม (๑) ตรวจดบู านพับสปริงชนดิ ฝังในกรอบคณุ ภาพไม่ด้อยกวา่ NEIVSTAR , JACKSON , CHAMP , NSK , ๕๕๕ CPS หรอื เทยี บเทา่ และ ปดิ เปดิ ได้ ๒ ทาง (๒) ตรวจดูกลอนวา่ เปน็ แบบฝังในกรอบบาน บานละ ๒ อนั ( บน-ล่าง ) ลกั ษณะงาน รายการทตี่ อ้ งตรวจ (๓) ตรวจดวู า่ หากเป็นประตูบานเลอ่ื นหน้าต่างบานเล่อื น ลูกลอ้ บานเลอื่ น ๔๕. ประตูหนา้ ตา่ งเหล็กรีดขนึ้ รปู ทัง้ หมดเป็นลอ้ NYLON ซึ่งมี BALL BEARING ฝังใน และเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ ( ตัวZ ) ของ DELMAR , KILLEN , DINASTY ประตูหนา้ ตา่ งเหลก็ รดี ข้ึนรปู ( ตวั Z ) (๑) ตรวจดวู า่ การรีดเหลก็ ข้นึ รูปโดยวธิ ตี ัดอัดเช่ือม ตกแตง่ รอยเชอ่ื มได้ มาตรฐาน (๒) ตรวจดูขนาดหนา้ ตา่ งเหลก็ และนาํ้ หนักตอ่ เมตร ให้ดตู ามแบบขยาย
๔๖. หน้าต่างบานเกลด็ กรอบเหล็ก DACO หรือ THAI NACO หรือ OPA NICCO หรอื A.U.M. หรอื เทยี บเทา่ ๔๗. ประตเู หลก็ มว้ น (๓) ตรวจดูบานพับวา่ ตอ้ งประกอบเสร็จจากโรงงาน (๔) ตรวจดกู ญุ แจประตูวา่ เปน็ แบบเหล็กฝังติดกรอบบานและไดข้ นาด (๕) ตรวจดูอปุ กรณ์อน่ื ๆ เชน่ มอื จับ ลอ๊ ค เปดิ -ปิด แขนคาํ้ บานกระทุ้ง ว่าถกู ต้องและไดม้ าตรฐานตามแบบ หน้าตา่ งบานเกลด็ กรอบเหลก็ (๑) ตรวจดวู ่าบานเกลด็ กรอบเหล็กเป็นเหล็กชนดิ อาบสงั กะสี ความหนา ไม่นอ้ ยกวา่ ๑.๒ มม. (๒) ตรวจดคู ันบงั คบั เป็นแบบคนั โยกเปดิ คา้ งล๊อคได้ (๓) ตรวจดกู ารตดิ ตงั้ วา่ เขา้ กบั กรอบหนา้ ต่างแนบสนิท และมีฝมี อื ทางชา่ ง ที่ดี ประตเู หลก็ มว้ น (๑) ตรวจดวู า่ ประตูเหล็กมว้ นแบบบานทบึ ทําจากเหลก็ GALVANIZED เกลด็ เป็นลอน และใบประตชู นดิ ป๊มั ข้นึ รปู (๒) ตรวจดวู า่ ใบประตูลอนเดี่ยวตอ้ งใช้กบั ประตกู วา้ งไมเ่ กิน ๔.๐๐ ม. ความหนาของใบประตูเหล็กเคลอื บสอี ย่างนอ้ ย ๐.๕ มม. (๓) ตรวจดวู า่ ใบประตูลอนเด่ยี วใบใหญใ่ ช้กับประตกู ว้างไม่เกิน ๑๐.๐๐ ม. สงู ไมเ่ กนิ ๙.๐๐ ม. ความหนาใบประตู ๑.๒ มม. (๔) ความหนาใบประตู ๑.๐ มม. ใช้กบั ประตูกวา้ งไม่เกนิ ๘.๐๐ ม. สงู ไม่เกนิ ๙.๐๐ ม. (๕) ตรวจดูระบบการปดิ -เปิด แบบมอื ดึงแบบโซ่ แบบไฟฟา้ ว่าเปน็ ไปตาม ขอ้ กําหนด (๖) คุณภาพของประตเู หลก็ มว้ นต้องไมด่ ้อยกวา่ ผลติ ภณั ฑ์ของ BANGKOK SHUTTER , KY , THAI SHUTTER , TOYO SHUTTER , RAJA SHUTTERS , SAFETY หรอื เทยี บเท่า คณุ สมบตั ไิ ด้มาตรฐานตาม มอก. ปจั จุบนั ลกั ษณะงาน รายการท่ตี อ้ งตรวจ ๔๘. งานเบด็ เตลด็ ( งานตกแตง่ ) (๗) ตรวจดวู า่ ผรู้ ับจ้างตดิ กญุ แจให้บานละ ๑ ชุด งานเบด็ เตลด็ ( งานตกแตง่ ) (๑) งานไสกบ ใหท้ าํ การไสกบกบั งานไมท้ ุกแหง่ ท่มี องเห็นดว้ ยสายตา (๒) งานมงุ กระเบือ้ งหลังคาทุกแผ่นตอ้ งทับกันแน่นสนิททุกแผน่ (๓) กอ่ นมงุ กระเบอ้ื งต้องพจิ ารณาทิศทางลม แลว้ ทําการมงุ สวนทิศทางลม (๔) มงุ กระเบือ้ งให้ชายทับซอ้ นกนั ๒๐ ซม.ทุกแผน่ (๕) การเจาะรกู ระเบ้อื งเพื่อขันสลกั เกลียวยึดต้องรโู ตกว่า ๑/๑๖ น้ิว อยา่ ขนั
๔๙. การยึดตรงึ สลกั เกลยี วแน่นมากเกินไปอาจทาให้กระเบอื้ งแตก (๖) หากกระเบอื้ ง ๑.๒๐ ม. ไมพ่ อดีควรใช้ขนาด ๑.๕๐ ม. หรอื ๑.๘๐ ม. สาํ หรบั แนวสุดท้ายไม่ควรเอากระเบอ้ื ง หากกระเบื้อง ๑.๒๐ ม. ไมพ่ อดคี วร ใชข้ นาด ๑.๕๐ ม. หรอื ๑.๘๐ ม. สาํ หรบั แนวสดุ ทา้ ยไมค่ วรเอากระเบ้อื ง (๗) ขอรับกระเบอื้ งลอนคใู่ หใ้ ชต้ ะขอ ๒ อนั ต่อ ๑ แผน่ สาํ หรบั ชายลา่ ง และ ชายบนให้ยดึ ด้วยตะปเู กลียว (๘) การเจาะกระเบอื้ งเพื่อยดึ ดว้ ยสลกั เกลียวตอ้ งเจาะโตกว่าเกลยี วครง่ึ หุน ( ๑/๑๒\" ) โดยเจาะทะลุท้ัง ๒ แผน่ เจาะหา่ งปลายชายกระเบ้อื งไมน่ อ้ ยกว่า ๕ ซม. (๙) ตะปูเกลยี วยดึ กระเบอ้ื งลอนค่ใู ห้ยดึ ทีล่ อนตวั กลาง แผน่ ละ ๑ ตวั โดย ชายกระเบอ้ื งทบั กนั ๑/๒ ลอน (๕ ซม.) (๑๐) ตะปเู กลียวยึดลูกฟกู ลอนเล็ก ขนั ยดึ ทีล่ อนท่ี ๑ แผน่ ละ ๑ ตัว โดยชาย กระเบือ้ งทบั กนั ลอนครง่ึ (๙ ซม.) (๑๑) ตะปเู กลยี วยดึ กระเบ้ืองลูกฟกู ลอนใหญใ่ หย้ ดึ ทีล่ อนที่ ๒ แผ่นละ ๑ ตวั โดยชายกระเบือ้ งซอ้ นทับกนั ๑ ลอน (๗ ซม.) (๑๒) ตะปเู กลียวยดึ กระเบื้องโปรง่ แสงลอนคู่ ใหย้ ดึ ที่หัวลอนกลาง และลอน ท่ีทบั ซอ้ นกนั ๒ ขา้ ง ( ทุกลอน ) (๑๓) ตะปเู กลียวยดึ กระเบื้องโปร่งแสง ลกู ฟูกลอนเล็ก ใหย้ ดึ ทตี่ วั ลอน กลางและลอนทที่ บั ชายทง้ั ๒ ขา้ ง (๑๔) ตะปเู กลยี วยดึ กระเบอื้ งโปรง่ แสงลูกฟกู ลอนใหญ่ ใหย้ ดึ ทต่ี วั ลอน กลาง และลอนท่ชี ายทบั กันท้ัง ๒ ขา้ ง การยดึ ตรึง (๑) การประกอบประตูหนา้ ต่าง วงกบทกุ แหง่ ตอ้ งเขา้ เดอื ย และปากไม้ อย่างดี (๒) โครงจัว่ ไมท้ ก่ี วา้ งกวา่ ๓๐ ม. ตอ้ งยึดด้วยสลักเกลียว ๑๒ มม. อยา่ ง นอ้ ยจุดละ ๑ ตวั ลกั ษณะงาน รายการท่ตี อ้ งตรวจ (๓) การต่อยึดอ่ืน ๆ เป็นไปตามขอ้ กาํ หนด ๕๐. ลวดเหล็กถกั เหลก็ ตาข่ายขนม ลวดเหล็กถกั เหล็กตาขา่ ยขนมเปียกปนู และมุ้งลวดอลมู เิ นยี ม เปยี กปนู มุ้งลวดอลูมิเนียม (๑) ตรวจดวู ่า ไดม้ าตรฐานตามแบบกาํ หนด หรอื ไม่
๕๑. ลวดหนาม (๒) ตรวจดฝู ีมอื ในการตดิ ตง้ั ต้องได้มาตรฐาน ๕๒. หนิ เกลด็ ลวดหนาม ๕๓. ปนู ซีเมนต์ขาว (๑) การขึงติดตง้ั ตอ้ งเป็นไปตามแบบ ๕๔. วสั ดกุ ่อสร้างท่ีเปน็ กระจก (๒) เป็นลวดหนามที่ทําจากลวดเหล็กอาบสังกะสี จํานวน ๒ เส้น ตเี กลยี ว ขนาดเบอร์ ๑๒ ลวดเหลก็ ทําหนามเบอร์ ๑๔ มี ๔ หนาม ระยะหา่ งระหวา่ ง ๕๕. งานทาสี หนามไม่เกิน ๑๒.๗ ซม. หนิ เกลด็ (๑) ตรวจดวู ่าหนิ เกล็ดท่ผี ูร้ ับจา้ งนาํ มาใชก้ ่อสร้างสาํ หรับงานหินขดั หนิ ลา้ ง ตอ้ งเป็นเกล็ด หนิ อ่อน ขนาดเมด็ สมํา่ เสมอ (๒) ถา้ แบบมิไดก้ าํ หนดขนาดหินเกล็ดใหใ้ ช้หนิ เกล็ดเบอร์ ๓ เบอร์ ๔ ปูนซีเมนตข์ าว (๑) ตรวจดวู ่าปูนซีเมนตข์ าวทผี่ ู้รบั จ้างนาํ มาใช้งานเป็นปนู ท่ีไม่หมดอายุ ใช้งาน ไม่เปน็ กอ้ น ฯลฯ (๒) ตรวจคณุ ภาพปนู ซเี มนตข์ าว คณุ สมบตั ใิ ห้ไดม้ าตรฐานตาม มอก. ปัจจบุ ัน วัสดุก่อสรา้ งทีเ่ ป็นกระจก (๑) กระจกสําหรบั ตดิ ตง้ั กับ ประตู-หน้าต่าง ช่องแสง ชนดิ -ขนาด และ ความหนา คณุ สมบตั ิตอ้ งให้ไดม้ าตรฐานตาม มอก. ปัจจุบัน (๒) ควบคมุ กาํ กบั ดแู ลวธิ ปี ระกอบติดตั้งโดยใกลช้ ิด (๓) ตรวจดูการยึดกระจกกบั กรอบบานไม้ใหไ้ ดม้ าตรฐานตามชนดิ ที่ ออกแบบ (๔) ตรวจดกู ารตดิ กระจกกับกรอบบานเหล็กหรอื อลมู ิเนยี มวา่ ทําได้ มาตรฐาน และใชว้ สั ดุยดึ ติดถูกตอ้ งหรือไม่ งานทาสี ให้ผู้ควบคุมงานตรวจตรา ดงั ตอ่ ไปน้ี.- (๑) พ้ืนทท่ี กุ แหง่ ทมี่ องเห็นดว้ ยตาตอ้ งใหม้ กี ารทาสี ( เว้นกระเบือ้ งมุง หลงั คาหรือที่ได้ระบุเปน็ อย่างอ่ืน )
(๒) ตอ้ งทาสีทอ่ ประปา ทอ่ น้ําท้ิง ทอ่ ลมซง่ึ ไม่มสี ง่ิ ปกปิดทกุ ๆ แหง่ (๓) กล่องสายสบู ของงานติดตั้งเครือ่ งดบั เพลงิ หัวท่อดบั เพลงิ ต้องทาสีดว้ ย (๔) ก่อนใหผ้ ้รู ับจา้ งทาสที กุ แห่ง ต้องไดร้ ับความเห็นชอบจากผคู้ วบคมุ งาน ซึ่งต้องตรวจให้เรยี บร้อย (๕) สที กุ ชนิดที่นาํ มาใชง้ าน ต้องมตี วั ยาปอ้ งกันเช้อื ราและตะไคร่ ผสมอยู่ ในปริมาณทเี่ พยี งพอสที กุ ชนดิ ทนี่ ํามาใชง้ าน ต้องมตี วั ยาปอ้ งกันเชอื้ ราและ ตะไคร่ ผสมอยูใ่ นปรมิ าณทเ่ี พียงพอ (๖) ตรวจดกู ารทาสีผสมเสร็จวา่ ผู้รับจ้างได้ปฏิบัติตามเอกสารแนะนําวธิ ใี ช้ ของบรษิ ัทผผู้ ลติ ( หา้ มนําทินเนอร์มาผสมทุกกรณี เวน้ แตบ่ รษิ ทั ผู้ผลติ จะ กาํ หนด ) (๗) ตรวจดูวา่ สรี องพืน้ ตอ้ งเป็นชนิดท่ีเหมาะสมและใชค้ ู่กนั ไดก้ บั สีทบั หน้า (๘) ตรวจดวู า่ สีทใี่ ชข้ ั้นแรกเป็นสชี นิดเดยี วกันกับสีขน้ั สุดท้ายและเป็นสียห่ี ้อ เดยี วกนั (๙) ชนิดของสี ( ก ) สอี มิ ัลชัน่ ( EMULSION PAINT )( สนี ้ําไวนลิ อะคลีลิค , สีน้าํ พลาสติก ) ถา้ แบบมิได้กาํ หนดให้ใช้สีน้าพลาสตกิ ( EMULSION PAINT ) ทม่ี ตี วั ยาปอ้ งกันเชอื้ ราหรือตะไคร่ ๑) ผนังภายนอก ให้ใชใ้ หใ้ ชผ้ ลิตภณั ฑ์สีได้ ดังตอ่ ไปนี้.- ๑. C I C รุน่ SUPER LITE ๒. I C I รุ่น DULUX PENTALITE ๓. JOTUN รนุ่ STRAX DULUX ๔. PAMMASTIC รุ่น PERMOLITE ๒) ผนงั ภายใน และฝา้ เพดาน ใหใ้ ชใ้ ห้ใช้ผลิตภณั ฑส์ ไี ด้ ดงั ต่อไปน.ี้ - ๑. C I C รุน่ INDOOR ๒. I C I รุ่น HOMEMATT ๓. JOTUN รุ่น JOTAPLAST ๔. PAMMASTIC ร่นุ VINYLMATT ( ข ) สีนาํ้ มนั ( ENAMEL PAINT ) ใช้ทาส่วนทีเ่ ป็นไม้ และโลหะ ให้ใช้ ผลติ ภณั ฑส์ ไี ด้ ดังต่อไปน.ี้ - ๑. C I C รุ่น SUPERLUX ๒. I C I รุ่น DULUX GROSS FINISH ๓. PAMMASTIC รุ่น SUPER GROSS (๑๐) สผี สมซเี มนต์ทรายสาํ เรจ็ รปู ใช้ทาไดท้ ง้ั ผนังภายใน และภายนอก อาคาร ฝ้าเพดาน และส่วนท่มี องเหน็ ดว้ ยตาทงั้ หมด
(๑๑) ตรวจดกู ารใช้นา้ํ มนั ชกั เงา ทาไมว้ งกบกรอบบาน ประตู หน้าตา่ ง หรอื ส่ิงกอ่ สรา้ งอ่ืน ๆ ท่รี ะบุใหใ้ ชผ้ ลิตภัณฑ์ของ C I C หรอื I C I ลักษณะงาน รายการที่ตอ้ งตรวจ ๕๖. สีรองพื้น ๕๗. แลคเคอร์ หรอื JOTUN หรือ PAMMASTIC ๕๘. วธิ กี ารทาสี สรี องพ้ืน (๑) ตรวจดวู า่ ตอ้ งใชส้ ีรองพนื้ อยา่ งน้อย ๑ เทยี่ ว (๒) สีรองพนื้ ปนู อครลี ิคกนั ดา่ ง ให้ใช้ผลติ ภัณฑ์สีได้ ดังต่อไปน้ี.- ๑. C I C รุน่ PRIMER # ๔๐๑๐ ๒. I C I รนุ่ ALKALI RESISTING PRIMER ๓. JOTUN รนุ่ ALKALI RESISTING PRIMER ๔. PAMMASTIC ร่นุ PRIME LIME (๓) สีรองพืน้ งานไม้ ( WOOD PRIMER ) ใหใ้ ช้ผลติ ภณั ฑส์ ีได้ ดงั ตอ่ ไปนี้.- ๑. C I C รุ่น WOOD PRIMER ๒. I C I รนุ่ WOOD PRIMER ๓. JOTUN รนุ่ WOOD PRIMER ๔. PAMMASTIC ร่นุ WOOD PRIMER (๔) สีรองพ้นื งานเหล็กตอ้ งเป็นสรี องพน้ื ชนดิ กันสนิม ใหใ้ ช้ผลิตภณั ฑ์สีได้ ดังตอ่ ไปน.ี้ - ๑. C I C รนุ่ Primer # ๕๐๑๐ ๒. I C I ร่นุ Primer # ๔๐๐ - py - ๐๐๗๖ ๓. JOTUN รนุ่ Primer # ๑๑๒๑ ๔. PAMMASTIC รนุ่ Red lead / Iron Oxide Primer แลคเคอร์ ( LACQUER ) ตอ้ งเปน็ แลคเคอรท์ ีม่ คี ณุ ภาพเทยี บเทา่ สําหรับ งานขัดเงาภายใน และครภุ ัณฑต์ ่าง ๆ ใหใ้ ชผ้ ลิตภัณฑ์แลคเคอรไ์ ด้ ดังตอ่ ไปน.ี้ - ๑. C I C ๒. I C I ๓. JOTUN ๔. PAMMASTIC วิธีการทาสี ตรวจสอบและกาํ กบั ดแู ลตามข้อกาํ หนดดงั ตอ่ ไปน้ี.- (๑) ผนงั อฐิ วสั ดปุ ูภายใน จะต้องให้กาํ แพงทีฉ่ าบปนู แหง้ อย่างน้อย ๒๐ วนั กอ่ นทาสี (๒) ผนังอฐิ ภายนอก ตรวจดูผิวพืน้ ต้องสะอาด ปราศจากเชื้อรา หรอื ปูน กอ่ ทก่ี ระเทาะ หรอื ยนื่ โผลอ่ อกมาปล่อยผวิ นอกใหแ้ ห้งอยา่ งน้อย ๒๐ วนั
๕๙. การเตรียมผวิ โลหะกอ่ นทาสี (๓) หา้ มทาสผี นงั ฉาบปนู ภายนอกขณะฝนตก หรอื ผนังเปียกชืน้ (๔) กอ่ นทาสีไม้ถ้ามี ตรวจดรู อยแตก รอยตะปู ตอ้ งอดุ ดว้ ย PUTTY ๖๐. การกาหนดสีอาคารมาตรฐาน (๕) การทาสีงานไม้ ตรวจดวู า่ ผวิ ไม้ที่จะทาสีน้นั สะอาด ปราศจากฝ่นุ ยย.ทบ. ( ใชส้ าหรบั อาคารทที่ าการ ละอองก่อนทาสี บก. คลัง โรงรถ โรงเลีย้ งและ (๖) ก่อนทาสไี มต้ ้องลงสีพนื้ กอ่ น ๑ เทยี่ ว อาคารทวั่ ไป ) (๗) งานไม้ที่จะต้องลงข้ผี งึ้ ต้องตรวจดวู า่ มีการขดั กระดาษทรายละเอียด แลว้ จึงใช้ ฟลิ เลอร์ ทาใหซ้ มึ ลงในเส้ียนไม้ (๘) งานไม้ทข่ี ัดแลคเคอร์ ต้องดใู ห้ม่ันใจวา่ ไดเ้ ตรยี มพน้ื ผิวดแี ลว้ จึงย้อมสี ตามแบบ แล้วทาแลคเคอร์ ๒ คร้งั จึงขดั ดว้ ยกระดาษทรายนา้ (๙) ตรวจดคู รง้ั สุดทา้ ยผิวไมต้ อ้ งมีความมนั ละเอียดเหมือนเปลอื กหอย การเตรยี มผวิ โลหะกอ่ นทาสี ใหต้ รวจตราและดาํ เนินการใหเ้ ปน็ ไป ดังน้ี.- (๑) เหล็กเหนียว เหล็กหล่อ และเหลก็ รปู พรรณจะตอ้ งทาํ ความสะอาดให้ ปราศจากสิง่ สกปรก สนิมขมุ รอยเปื้อนสี หรือไขมัน ฯลฯ (๒) โลหะอาบสังกะสี ผิวทองเหลืองอาบสังกะสี ต้องใหผ้ ู้รับจา้ งทาํ ความ สะอาดดว้ ยนํา้ มันกา๊ ด แลว้ ทาดว้ ยน้ายาของชดุ สี ๓๐ แกรม ผสมน้า ๑ ลิตร (๓) ท่อทองแดงที่อยู่ภายนอก กอ่ นทาสีต้องลา้ งดว้ ยน้าํ อุน่ กับสบู่ แลว้ เช็ด ใหส้ ะอาดกอ่ นทานาํ้ ยาลงพ้นื (๔) ตรวจดวู า่ การทาสีครัง้ สุดทา้ ยยงั เปน็ รอยแปรงอย่หู รือไม่ หากมใิ หส้ ่ัง ทาซา้ํ อกี การกาํ หนดสอี าคารมาตรฐาน ยย.ทบ. ( ใช้สาํ หรับอาคารทีท่ าํ การ บก. คลงั โรงรถ โรงเลย้ี งและอาคารท่วั ไป ) ดังตอ่ ไป.- (๑) SNOW WHITE ๗ - ๘๙๕ ผนังภายนอกทั่วไปทเ่ี ปน็ คอนกรตี กอ่ อิฐถือ ปนู กระเบ้อื งกระดาษ ไม้ ทางเดิน (๒) PEARL GREY ๕ - ๙๕๒ ผนังภายนอกจากส่วนฐานของอาคารถงึ ขอบใต้หน้าต่างตอนล่างทเี่ ป็นคอนกรีต ส่วนท่ีก่ออฐิ ถอื ปนู ปนู ฉาบเรียบ ปนู สลดั หรือไม้ (๓) DOVE WHITE ๗ - ๘๘๕ ผนงั ภายในทว่ั ไป ทอ่ี ยูใ่ นขอ้ กาํ หนดท่ตี อ้ ง ทาสี (๔) PURE WHITE ๙ - ๒๑๐ ฝ้าเพดานทว่ั ไป กรอบบานภายนอกของ ประตูหนา้ ตา่ ง-กระจก วงกบประตู-หนา้ ต่าง รวมท้ังวงกบกรอบบานกระจก บานมงุ้ ลวด ผนังภายในห้องนา้ -สว้ ม เชงิ ชายและหน้าจ่ัว
๖๑. การกาหนดสอี าคารมาตรฐาน (๕) MISTY GREY ๕ - ๓๑๘ ราวลกู กรงภายนอกและเสาเหลก็ ( LIGHT ยย.ทบ. ( ใช้สาหรับทพ่ี กั อาศยั ) GAGE ) หัวไม้ตา่ ง ๆ เช่น เสา คาน ตง แมบ่ ันได รวมทง้ั โครงหลังคา ลูกกรงเหล็ก และกรอบเหล็กทว่ั ไป ๖๒. ข้อกาหนด อื่น ๆ เก่ียวกบั สี (๖) DUSK GREY ๕ - ๙๙๖ บานประตูไม้ หน้าตา่ งไม้ กระเบื้องกระดาษ เหล็กทง้ั ภายนอก และภายในบวั รอบเพดาน และไม้ทับแนวฝา้ เพดาน (๗) WINTEA GREY ๕ - ๙๖๘ ลกู กรงเหลก็ และกรอบเหล็กทว่ั ไป (๘) นา้ มันวานชิ ขดั เงา ฝ้าชายคาสว่ นท่เี ปน็ ไม้ ฝา้ ภายในทเี่ ป็นไมอ้ ัด ผนัง ไม้สัก (๙) แลคเคอรช์ นดิ ดา้ น กรอบบานไม้ภายใน ขอบประต-ู หนา้ ต่างกระจก และราวบนั ไดไม้ (๑๐) ยูรเิ ทนชนดิ ดา้ น พ้ืนไม้ ลูกนอนบันได และบวั เชิงผนงั ไม้ การกาํ หนดสอี าคารมาตรฐาน ยย.ทบ. ( ใช้สําหรบั อาคารทพี่ กั อาศัย ) ตรวจดูวา่ ผรู้ ับจา้ งได้ดาํ เนินการทาสีส่วนตา่ ง ๆของอาคารและส่วนประกอบ ดงั ตอ่ ไปน.ี้ - (๑) DESIGNER GREY ๕ - ๕๐๐ ผนงั ภายนอกท่วั ไปทเี่ ป็นคอนกรีตกอ่ อิฐ ถอื ปูน กระเบอ้ื งกระดาษหรือไม้ ผนงั ห้องโถงบันไดและทางเดนิ รัว้ คอนกรีต ปล่องควนั หรอื กอ่ อิฐถอื ปนู ของรัว้ ลวดถกั ฯลฯ (๒) PEARL GREY ๕ - ๙๕๒ ผนังภายนอกตอนล่างของอาคารที่ฉาบปนู เรยี บ หรือปนู สลดั บานประตู-หนา้ ต่างไม้ หรอื กระเบื้องกระดาษ ทง้ั ภายนอกและภายในบัวรอบเพดาน และไม้ทบั แนวฝา้ เพดาน (๓) DESIGNER GREY ๕ - ๕๐๐ วงกบประต-ู หนา้ ต่าง รวมท้ังวงกบรอบ บานกระจก และบานม้งุ ลวด ราวลูกกรงภายนอกและเสาเหลก็ ( LIGHT GAGE ) งานไม้หรอื งานเหล็กตา่ ง ๆ เช่น เสา คาน ตง แมบ่ นั ได รวมท้งั โครงหลงั คา ลูกกรงเหลก็ หรือกรอบเหลก็ ทว่ั ไป (๔) PURE WHITE ๙ - ๒๑๐ ฝ้าเพดานท่ัวไป เชงิ ชายและหน้าจ่ัว กรอบ บานภายนอกของประต-ู หนา้ ต่างกระจก รัว้ ไมท้ วั่ ไป และผนงั ภายในของ ห้องน้า-ส้วม (๕) DESIGNER GREY ๕ - ๕๐๐ ลูกกรงเหล็กและกรอบเหลก็ ทั่วไป (๖) NOVA WHITE ๗ - ๘๙๑ ผนังภายในท่ัวไป (๗) COOL WHITE ๗ - ๘๗๑ ผนงั ภายในหอ้ งนอน (๘) แลคเคอร์ดา้ น กรอบบานไมภ้ ายในของประตูหนา้ ต่าง กระจก ราว บนั ได (๙) ยรู เิ ทนชนิดดา้ น พ้ืนไม้ ลกู นอนบนั ไดไม้ และบวั เชิงผนงั ไม้ (๑๐) นา้ มนั วานชิ ฝา้ ชายคาส่วนท่เี ป็นไม้ ฝ้าภายในทเี่ ป็นไมอ้ ัดลายไมส้ ัก ขอ้ กาํ หนดอนื่ ๆ เกย่ี วกบั สขี องอาคารทกุ ประเภท
ของอาคารทกุ ประเภท (๑) สว่ นอาคารทเ่ี ปน็ ผวิ ฉาบปนู คอนกรีต หรอื กระดาษใหใ้ ช้สซี เี มนต์หรอื สีน้ํา ๖๓. สุขภัณฑแ์ ละอุปกรณ์ (๒) สว่ นทเ่ี ป็นไม้ และโลหะ ให้ทาดว้ ยสนี ํา้ มัน สาํ หรบั โลหะใหท้ าสกี ัน ( SANITARY WARES & สนมิ กอ่ นทกุ ครั้ง ACCESSORIES ) (๓) ตรวจดูวา่ เชงิ ผนังอาคารทุกประเภท ถา้ แบบมไิ ดก้ าํ หนดอยา่ งอน่ื แลว้ ใหท้ าสี DUSKGREY ๕ - ๙๙๖ สงู จากพนื้ ๑๐ ซม. เป็นอย่างนอ้ ย (๔) เหล็กรูปพรรณทง้ั หมด ใหท้ าสรี องพ้นื ดว้ ยสีกนั สนิมก่อน แล้วทาสี น้ํามนั อีกสองชน้ั เสมอ (๕) งานสีเปน็ เร่ืองละเอยี ดอ่อน การใช้สอี น่ื แทนสีที่กําหนดไว้ ผ้รู บั จ้างตอ้ ง สง่ ตวั อยา่ งสใี หผ้ ้วู ่าจา้ งตรวจสอบและใหค้ วามเห็นชอบก่อนนาํ ไปใช้ทกุ คร้งั สขุ ภณั ฑ์และอุปกรณ์ ( SANITARY WARES & ACCESSORIES ) (๑) ตรวจดวู า่ เป็นผลติ ภัณฑจ์ าก AMERICAN STANDARD ( อเมรกิ ัน แสตนดารต ) , COTTO ( คอตโต้ ) , KARAT ( กะรตั ) (๒) ตรวจดเู น้ือกระเบ้อื งเคลือบ ขนาด ชนิดของอปุ กรณว์ ่าถกู ต้อง (๓) ตรวจดูมิติ ระยะ สงู /ตา่ -ห่าง/ชิด ทีส่ ุขภัณฑต์ ิดตง้ั วา่ ถกู ต้องตามแบบ หรอื ไม่ (๔) ตรวจดูวสั ดปุ ระกอบการติดต้ัง เชน่ ปนู ซีเมนต์ ปนู ยาแนววา่ ได้ มาตรฐานและทาถูกตอ้ งเรยี บร้อยหรอื ไม่ (๕) ตรวจดกู ารเชอ่ื มต่อสขุ ภัณฑก์ ับทอ่ วา่ ไมม่ รี อยนา้ ร่วั ซึม และถูกต้อง
เรียบร้อยหรอื ไม่ (๖) ตรวจดทู อ่ นา้ เข้า-ออก ท่อระบายอากาศวา่ มีการตดิ ตง้ั ให้ถกู ต้อง (๗) ต้องตรวจดจู ดุ ตดิ ตง้ั จดุ ทารูฝงั ท่อ การฝังพุกตา่ ง ๆ กอ่ นทาการเท คอนกรตี (๘) ตรวจดูการต่อเชอื่ มสขุ ภัณฑ์ อย่าใหม้ ีเศษวัสดอุ ดุ ตัน กอ่ นทาการวาง สขุ ภัณฑ์ (๙) ตรวจดแู นวการเดนิ ท่อต่าง ๆ ท่อน้าทง้ิ ให้ต่อลงอีกทอ่ หนง่ึ หา้ ม รวมกันกับท่อปัสสาวะอุจจาระ (๑๐) ตรวจดกู ารเดนิ ท่อเขา้ มมุ ตา่ ง ๆ หา้ มใชข้ ้อต่องอ ๙๐๐ ให้ใชข้ อ้ ตอ่ โค้ง ๔๕๐ ๖๔. ระบบกันนา้ ซมึ ผคู้ วบคมุ งานกาํ กบั ดแู ลการตดิ ตง้ั โดยผชู้ าํ นาญงานของ บรษิ ัทผผู้ ลิต และ ( WATERPROOFMENT ) ให้เป็นไปตามแบบรปู รายการและสัญญาทกี่ าหนด พร้อมมีใบรับประกนั จากทางบรษิ ัทผูผ้ ลิตสนิ คา้ ๖๖. เครอื่ งสบู นา้ (WATER PUMP ) เคร่ืองสบู น้าํ ( WATER PUMP ) (๑) ตรวจดู ช่อื ผลติ ภัณฑ์สนิ คา้ หรอื BRAND NAME ให้ถกู ต้องตรง ตามทีผ่ ้วู า่ จา้ ง อนมุ ตั แิ ละให้ความเหน็ ชอบแลว้ (๒) ตรวจดู ชนิด ขนาด และความสามารถ ของเครอ่ื งสูบนา้ ใหไ้ ดต้ รง ตาม Specification ตามในตารางความสามารถและคู่มอื ทม่ี ากบั ผลิตภัณฑ์สินคา้ ๖๗. ประตูน้า ( GATE VALVE ) ประตูน้ําแบบ GATE VALVE ใหต้ รวจดดู งั ตอ่ ไปน้ี.- (๑) ตอ้ งเปน็ ของใหมไ่ มเ่ คยใชง้ านมาก่อนหรอื เปน็ ของเกา่ เก็บ (๒) ตรวจดูถา้ ในกรณที ่แี บบมไิ ดร้ ะบุขนาด และชนิดไว้ ใหถ้ อื วา่ ขนาด ประตูน้ําท่ีจะตดิ ตงั้ มขี นาดเทา่ กบั ขนาดทอ่ ทต่ี อ่ บรรจบ ณ จดุ นนั้ (๓) ตรวจดวู า่ ประตูนํ้าทกุ ขนาดตอ้ งเป็นแบบลิ้นเดย่ี ว ( SOLID WEDGE ) หรอื ลน้ิ คู่ ( DOUBLE WEDGE ) ก้านลิ้นไมย่ ก ( NON-RISING STEM ) บงั คบั กา้ นลน้ิ ให้ปิด-เปิดดว้ ยพวงมาลัย ( HAND WHEEL ) (๔) ตรวจดปู ระตูนาํ้ ขนาด Ø ๕๐ มม. ( ๒\" ) และเล็กกวา่ ต้องใช้ชนดิ ตวั
๖๙. เคร่อื งยึดเหนี่ยวและอุปกรณ์ เรือน ฝาครอบเรอื น ล้นิ และกา้ นทําดว้ ยทองเหลอื ง ( BRONZE ) ช้นั ท่อ ความดนั ใชง้ าน ๑๒๕ ปอนด์ ปลาย ๒ ขา้ งสามารถตอ่ บรรจบทอ่ ทง้ั สองข้าง คุณสมบตั ไิ ดม้ าตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั (๕) ประตูนา้ํ ขนาด Ø ๘๐ มม.( ๓\" ) และใหญ่กวา่ ตรวจดวู า่ ตวั เรอื นทํา ด้วยเหลก็ หล่อ ( CAST IRON ) ปลายทงั้ สองด้านของประตนู าํ้ เปน็ แบบ หนา้ จานชั้นความดันใชง้ าน ๑๔ กก./ซม.๒ สาํ หรบั ทอ่ ขนาด Ø ๓๐๐ มม. (๔) ตรวจดทู อ่ ทีต่ ิดตั้งในแนวดิง่ ตอ้ งมกี ารยดึ หรอื รดั ท่อใหม้ ั่นคงทุกช้ัน ๗๐. วาล์วอากาศ ( AIR VALVE ) (๕) ตรวจดวู า่ เม่ือทอ่ เปน็ จากแนวดิง่ เปน็ แนวราบ มีการตดิ ต้งั เครอ่ื งรองรับ ท่อหรอื ไม่ วาล์วอากาศ ( AIR VALVE ) ตรวจดงั ตอ่ ไปน้ี.- (๑) เปน็ ของใหม่ไม่เคยถกู ใชง้ านมาก่อน และไม่เป็นของเกา่ เกบ็ จนสว่ น ใด ๆ ได้รบั ความเสยี คณุ สมบตั ิใชง้ าน (๒) ตรวจคณุ ลกั ษณะอืน่ ๆ พรอ้ มทง้ั การติดตงั้ วา่ เปน็ ไปตามแบบกําหนด
๗๑. มาตรวัดนา้ (WATER METER ) มาตรวัดน้าํ ( WATER METER ) ตรวจสอบรายละเอยี ดดงั ต่อไปน้ี.- (๑) มาตรวดั นํา้ ในโครงการ ฯ ในเขต กทม. ตอ้ งมีคณุ สมบตั ิตาม ข้อกําหนด กปน. (๒) มาตรวัดนาํ้ ในโครงการ ฯ ในส่วนภูมิภาค ตอ้ งมคี ุณสมบตั ขิ องมาตร ตามขอ้ กาํ หนด กปภ. (๓) สําหรับมาตรวัดนาํ้ ชนิด MULTI-JET TYPE มีคณุ สมบตั ิไดม้ าตรฐาน ตาม มอก.ปัจจบุ ัน หรือเทยี บเทา่ ๗๒. ฟุตวาลว์ ( FOOT VALVE ) ฟตุ วาลว์ ( FOOT VALVE ) ตรวจสอบดงั น.้ี - ๗๓. ทอ่ กนั กลนิ่ ( TRAP ) คณุ สมบัตขิ อง FOOT VALVE ดงั ต่อไปน.้ี - (๑) ต้องเป็นแบบปิดสนมิ มีอัตราการดูดผา่ นของนาํ้ เทา่ ขนาดเสน้ ท่อ (๒) กา้ นนําร่องและปลอกอดั ทาํ จากวัสดชุ นิดเดยี วกนั กบั บา่ วาล์ว และลิน้ วาลว์ (๓) บา่ วาล์วกันนา้ํ ร่วั ทําด้วย BUNA-N (๔) ตะแกรงทาํ ดว้ ยสเตนเลสชนดิ BASKETO (๕) ขนาด Ø ๓\" หรอื เล็กกว่า ทาํ ดว้ ยทองเหลอื ง (๖) ขนาด Ø ๔\" หรือใหญก่ วา่ ทําด้วยเหลก็ หลอ่ ตรวจดวู า่ ท่อกนั กลิน่ ของรูนาํ้ ท้ิงพนื้ เป็นแบบเปิดตรวจระบายตะกอนได้ (๓) ชนิดทองเหลืองใช้ตดิ ตามจดุ ต่าง ๆ ท่วั ๆ ไปตามแบบกาํ หนด (๔) ชนดิ ทองเหลืองปลายตอ่ สายยางได้ ใหใ้ ชส้ ําหรับรดน้ําหรือตดิ ตง้ั ตาม จุดท่แี บบกาํ หนด (๕) ตรวจดูคณุ ภาพ คณุ สมบตั ิใชง้ านของกอ๊ กน้าํ ทุกตัว โดยทดลองปดิ เปดิ ใชง้ านจริง ๗๖. ทอ่ เปดิ สาหรบั ทาความสะอาด ทอ่ เปดิ สําหรบั ทําความสะอาด ( CLEAN-OUT ) ( CLEAN-OUT ) (๑) ตรวจดวู า่ สําหรับทอ่ ส้วม ทอ่ ปัสสาวะ ไดใ้ ชจ้ ุดเกลยี วทองเหลือง ประกอบเกลียวท่อทองเหลอื ง ( CLEAN-OUT PLUG ) (๒) สาํ หรับทอ่ ระบายตา่ ง ๆ ใหใ้ ช้ PLUG หรอื CAP เป็นเหลก็ อาบสงั กะสี ขนาดเทา่ ท่อระบายนา้ํ (๓) ตรวจดกู ารตดิ ตงั้ CLEAN-OUT ว่าครบและตรงตามแบบกาํ หนดในผัง (๔) ถา้ พิจารณาแลว้ เห็นควรติดตั้งเพมิ่ ตามหลักวชิ าการท่ีดี ก็สามารถส่ังผู้ รบั จา้ งได้ (๕) ถา้ สิ่งแวดลอ้ มหรอื ภูมปิ ระเทศบงั คับ ทาํ ให้ไม่สามารถวางติดต้ัง CLEAN-OUT ได้ตามในผงั หรือแบบตอ้ งปรึกษาขอความเห็นชอบจากผู้ ควบคมุ งานเสยี ก่อน (๖) ตรวจดวู ่าท่อทวี่ างลึกไดต้ ามกาํ หนดในแบบ
๗๗. การวางทอ่ ท่วั ไป (๗) ทุกครัง้ กอ่ นนาํ ทอ่ ไปตดิ ตง้ั ตอ้ งใหม้ กี ารทาํ ความสะอาดท่อ และ ( การกลบท่อ ) อุปกรณ์ประกอบ (๘) ทุกครงั้ ทตี่ ดั ท่อตอ้ งตบแตง่ ปลายทอ่ ใหเ้ รียบรอ้ ย (๙) หา้ มใช้วัสดอุ ่ืนนอกจาก PIPE JOINT COMPOUND ทาเกลยี วท่อดา้ น นอกโดยรอบ หรือใช้ TAPE P.V.C. พนั เกลียวทอ่ ขนั ยดึ ใหแ้ น่นไม่ให้นํา้ รั่วซมึ ได้ (๑๐) ห้ามใชท้ อ่ ทําเกลียวยาวประกอบแปน้ เกลยี ว ( LONG SCREW-AND- NUT ) แทนยเู นียน (๑๑) ยเู นียนหน้าแปลน ยโี บลท์ และเหลก็ รดั ตอ้ งมปี ะเก็นยางกนั น้าํ ร่วั อย่างดี อดั แน่นสมํา่ เสมอ (๑๒) ตรวจดวู า่ การเจาะท่อเมน เพ่ือตอ่ ทอ่ แยกระยะต้องห่างกนั ๑.๐๐ ม. ตามความยาวของทอ่ เมน และรูท่เี จาะตอ้ งมขี นาดเทา่ กับท่อที่จะต่อแยก (๑๓) ตรวจดูข้อโค้งทุกแห่งของทอ่ ซีเมนต์ใยหินขนาด Ø ๑๐๐ มม. ข้นึ ไป ตอ้ งมีแทน่ คอนกรตี รองรับตามแบบหนาไม่นอ้ ยกวา่ ๑๕ ซม. การวางทอ่ ทว่ั ไป (๑) ตรวจดแู นวการวางท่อใหต้ รงกับแบบทก่ี าํ หนด ถา้ ภมู ปิ ระเทศบงั คับ ไมส่ ามารถวางได้ตามแบบ ผู้รับจา้ งต้องปรึกษาผูค้ วบคมุ งาน (๒) ตรวจดูความลกึ วา่ วางทอ่ ลกึ ได้ตามแบบกาํ หนด สําหรบั ทอ่ แตล่ ะ ชนดิ (๓) ตรวจดวู า่ ผู้รบั จา้ งไดท้ ําความสะอาดท่อและอุปกรณ์ กอ่ นทาํ การวาง ทอ่ ทุกชนดิ (๔) ตรวจดูเกลยี วทอ่ เหล็กสงั กะสี วา่ ไม่ชาํ รดุ และหา้ มใชว้ สั ดใุ ด ๆ พนั เกลียวทอ่ ให้ใช้ PIPE JOINT COMPOUND ทาเกลยี วดา้ นนอกโดยรอบ หรอื ใช้ TAPE P.V.C. พนั เกลยี วท่อเท่าน้ัน แลว้ จงึ ขันยึดแน่นไมม่ นี ํ้ารวั่ ซมึ ได้ (๕) การตรวจสอบความดนั นํา้ ในทอ่ ให้ผรู้ บั จา้ งทาํ การทดสอบความดันนาํ้ ในท่อด้วย HYDROSTATIC PRESSURE TEST โดยกกั นํ้าไว้ภายในทอ่ ท่ี จะทําการทดสอบลว่ งหน้าไมน่ ้อยกวา่ ๒๔ ชม. ใหใ้ ช้แรงดนั ในการทดสอบ ไม่นอ้ ยกวา่ ๖ กก./ซม.๒ และคงความดนั นไี้ ว้ไมน่ อ้ ยกวา่ ๒ ชม. การกลบทอ่ (๑) ตรวจดกู รรมวธิ กี ารกลบท่อให้เกิดความมั่นคง แขง็ แรง (๒) ทาํ การตรวจสอบความดันนา้ํ ใหไ้ ดม้ าตรฐานกอ่ นการกลบทอ่ (๓) ตรวจดูวา่ ดนิ ท่ใี ช้กลบทอ่ ตอ้ งยอ่ ยใหเ้ ปน็ ก้อนเล็ก ๆ และกลบเปน็ ช้ัน ๆ หนาไมเ่ กินชนั้ ละ ๒๐ ซม. ใหก้ ระทงุ้ แน่นจนถงึ ระดับดนิ เดมิ (๔) สาหรบั ทอ่ ซีเมนต์ใยหิน ชั้นแรกให้กลบดว้ ยทรายก่อน หนาอย่างน้อย
๗๘. ระบบบาบัดน้าเสยี ๑๐ ซม. ( WASTEWATER TREATMENT SYSTEM ) ระบบบาบดั นา้ เสยี ( WASTEWATER TREATMENT SYSTEM ) (๑) ตรวจดู PUMP นา้ และอปุ กรณป์ ระกอบ คณุ ลักษณะอ่นื ๆ พร้อมทัง้ การตดิ ตั้งวา่ เป็นไปตามแบบกาหนด (๒) ผลทดสอบของนา้ ท้ิง เมอ่ื วัดค่า “ BOD๕ ” ของนา้ เสียแล้ว ต้องไม่ เกนิ ๖๐ มก./ลิตร (๓) ตรวจดูผลทดสอบน้าทิ้ง โดยใชว้ ธิ ีวเิ คราะห์ให้ไดค้ า่ มาตรฐานตามใน ตารางตอ่ ไปนี้.- ค่ามาตรฐานควบคมุ การระบายนา้ ทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาด มาตรฐานคณุ ภาพ หน่วย เกณฑก์ าหนดสงู สุดตามประเภท วิธวี เิ คราะห์ นา้ ทิง้ มาตรฐานควบคมุ การระบายนา้ ทิง้ ก. ข. ค. ง. ๑. คา่ ความเป็นกรด มก./ดม.๓ ๕ - ๙ ๕ - ๙ ๕ - ๙ ๕ - ๙ ใชเ้ คร่ืองวัดความเป็นกรดและดา่ งของ ดา่ ง ( pH ) น้า ( pH Meter ) ๒. บี โอ ดี ( BOD ) มก./ดม.๓ ไมเ่ กิน ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ ไมเ่ กิน ใชว้ ิธกี าร Aside Modification ท่ี ๒๐ ๓๐ ๖๐ ๙๐ อุณหภมู ิ ๒๐๐C เป็นเวลา ๕ วนั ตดิ ตอ่ กันหรือวิธีการอื่นที่ คณะกรรมการควบคมุ มลพษิ ใหค้ วาม เหน็ ชอบ </TD> มาตรฐานคุณภาพ หน่วย เกณฑก์ าหนดสงู สดุ ตามประเภท วธิ ีวเิ คราะห์ น้าทง้ิ มาตรฐานควบคมุ การระบายนา้ ทิ้ง ก. ข. ค. ง. ๓. ปริมาณสาร มก./ดม.๓ ไมเ่ กนิ ไมเ่ กนิ ไมเ่ กนิ ไม่เกนิ กรองผา่ นกระดาษกรองใยแกว้ ( Glass แขวนลอย มก./ดม.๓ ( Suspended มก./ดม.๓ ๓๐ ๔๐ ๕๐ ๖๐ Fiber Filter Disc ) Solids ) ๔. ปริมาณสารท่ี ไม่เกนิ ไมเ่ กิน ไม่เกิน ไมเ่ กนิ ระเหยแหง้ ทอี่ ณุ หภมู ิ ๑๐๓ - ๑๐๕๐C ละลายที่เพมิ่ ข้นึ จาก ๕๐๐* ๕๐๐* ๕๐๐* ๕๐๐* ในเวลา ๑ ชม. นา้ ใช้ ๕. ปริมาณตะกอน ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ ไมเ่ กนิ ไมเ่ กนิ วธิ กี ารกรวยอมิ ฮอฟ์ ( Imhoff Cone ) หนัก ( Settleable ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ๐.๕ ขนาดบรรจุ ๑,๐๐๐ ซม.๓ ในเวลา ๑ Solids ) ชม.
๖. ที เค เอน็ ( TKN ) มก./ดม.๓ ไม่เกนิ ไมเ่ กิน ไม่เกนิ ไม่เกนิ วธิ กี ารเจลดาห์ล ( Kjeldahl ) ๓๕ ๓๕ ๔๐ ๔๐ ๗. ออรแ์ กนกิ – มก./ดม.๓ ไมเ่ กิน ไม่เกนิ ไม่เกิน ไมเ่ กนิ ไนโตรเจน ( Organic มก./ดม.๓ ๑๐ ๑๐ ๑๕ ๑๕ - Nitrogen ) ๘. แอมโมเนยี – มก./ดม.๓ - - ไมเ่ กิน ไม่เกนิ ไนโตรเจน มก./ดม.๓ ๒๕ ๒๕ ( Ammonia - Nitrogen ) ไม่เกิน ไมเ่ กิน ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ วิธกี ารสกดั ดว้ ยตวั ทาละลายแล้วแยก ๙. น้ามนั และไขมนั ๒๐ ๒๐ ๒๐ ๒๐ หาน้าหนักของน้ามันและไขมนั ( Fat , Oil and Grease ) ไม่เกนิ ไมเ่ กนิ ไม่เกนิ ไม่เกิน วธิ กี ารไตเตรต ( Titrate ) ๑๐. ค่าซลั ไฟต์ ๑.๐ ๑.๐ ๓.๐ ๔.๐ ( Sulfide ) ลักษณะงาน รายการท่ีต้องตรวจ ถังบาบัดนา้ เสยี ( SEWAGED ถังบาบดั น้าเสยี ( SEWAGED TREATMENT TANK / SEPTIC TANK ) TREATMENT TANK / SEPTIC (๑) ตรวจดู ชื่อผลิตภัณฑส์ นิ คา้ หรือ BRAND NAME ให้ถกู ต้องตรง TANK ) ตามทผ่ี วู้ า่ จา้ ง อนุมตั ิและให้ความเห็นชอบแล้ว (๒) ตรวจดู ชนิด ขนาด และความสามารถ ของถังบาบัดนา้ เสยี ให้ไดต้ รง ตาม Specification ตามในตารางความสามารถหรอื คมู่ ือ ท่ีมากบั ผลิตภณั ฑส์ ินคา้ (๓) ผลิตภณั ฑ์สินคา้ ตอ้ งไดม้ าตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั ( มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ ) (๖) มาตรฐานผลติ ภณั ฑ์ ( การเทยี บเทา่ วสั ดุ ) ๑) ตามมาตรฐาน ว.ส.ท. หรือ NFPA , IEC , NEC ๒) ถา้ ไม่ม่นั ใจในรายละเอยี ด ผรู้ บั จา้ งตอ้ งทํา SHOP DRAWING ให้ผู้ควบคมุ งานพิจารณาเห็นชอบก่อนดาเนินการใด ๆ ๓) แบบการตดิ ตงั้ จรงิ ผู้รับจา้ งต้องเสนอขออนมุ ตั ิก่อนส่งมอบงานงวด สดุ ท้าย ๔) วสั ดอุ ุปกรณท์ ี่กําหนดในแบบรปู รายการและสัญญาต้องมี มอก. และเป็นไปตามระเบียบสํานกั นายกรัฐมนตรีวา่ ดว้ ยการพัสดุ พ.ศ. ๒๕๓๕ ๕) วัสดอุ ุปกรณ์อื่น ๆ ใหเ้ ปน็ ไปตาม ANSI , BS , DIN , IEC , JIS , NEMA , NESC , NRDA , UL และ VDE (๗) การเทยี บเท่าวัสดุและอุปกรณ์
( การตรวจสอบและ ทดสอบไฟฟา้ ) ๑) กรณีหาวสั ดุอปุ กรณไ์ ม่ไดต้ ามแบบกําหนดตอ้ งเสนอขอใชว้ ัสดุ ( วัสดอุ ุปกรณท์ นี่ ามาใชง้ าน ) อุปกรณเ์ ทยี บเทา่ โดยชแ้ี จงเปรยี บเทยี บรายละเอยี ด ( คุณภาพ/ราคา/ ขอ้ พสิ จู น์/ขอความเห็นชอบ จาก ยย.ทบ. ) ๒) ค่าใชจ้ า่ ยในการทดสอบคณุ ภาพ ตกเปน็ ภาระของผูร้ บั จา้ ง ๓) การขออนมุ ตั ใิ ชว้ ัสดุเทยี บเทา่ ผูร้ บั จา้ งต้องคาํ นวณเวลาเพอ่ื ใหท้ ัน กับเวลาในสญั ญา จะถอื เปน็ ข้ออ้างเพ่อื เปน็ การใหท้ างราชการขยาย ระยะเวลาของสญั ญาไมไ่ ด้ (๘) การตรวจสอบและทดสอบไฟฟ้า ๑) เมอื่ ตดิ ตัง้ แลว้ เสร็จ ผูร้ ับจา้ งต้องดาเนนิ การทดสอบการทางานของ ระบบ ตามมาตรฐานท่ีระบุโดยมผี แู้ ทน ยย.ทบ. เขา้ รว่ มการทดสอบด้วย ๒) ความเสียหายทเ่ี กดิ จากการทดสอบ ให้เป็นภาระรับผิดชอบของ ผรู้ ับจา้ ง ๓) ผู้รับจา้ ง ตอ้ งจดั ใหม้ ปี า้ ยแสดงแผงควบคมุ ตามท่ีผวู้ า่ จา้ งเห็นวา่ จาเป็น ๔) ผู้รบั จา้ ง ดาเนนิ การฝกึ อบรมเจา้ หนา้ ท่ขี องผู้ว่าจ้างใหเ้ ขา้ ใจในการ ทางาน และการปรนนบิ ตั ิบาํ รงุ รักษาอปุ กรณ์ได้เปน็ อยา่ งดี ๕) การรบั ประกันวัสดอุ ุปกรณ์ ให้เปน็ ไปตามทกี่ าํ หนดในสญั ญา (๙) ขอ้ กาํ หนดงานระบบไฟฟ้าภายใน ๑) งานระบบไฟฟ้าภายในครอบคลุมเฉพาะภายในอาคาร ไฟสนาม ในบริเวณอาคาร และสายเมนท่ีเดนิ ไปยงั มาตรวดั ๒) การไฟฟ้า จะเป็นผูต้ อ่ สายเมนเขา้ กับมาตรวดั ตามรายละเอยี ด ทก่ี าํ หนดในแบบ ๓) สายไฟฟ้าท้ังหมดท่ีนามาใช้ ตอ้ งเปน็ ชนิดทองแดง หุ้มฉนวน P.V.C. ท่ไี ด้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจุบัน เชน่ BANGKOK CABLE , THAI YAZAKI , PHELPS DODGE ๔) สายไฟทองแดงหุ้มฉนวนครอสลงิ คโ์ พลีเอสทีลนี ๖๐๐ V ๙๐๐ C ที่ไดม้ าตรฐานตาม มอก.ปจั จุบนั ๕) การเลอื กใช้สายไฟใหใ้ ชส้ ตี ามทก่ี ําหนด ดงั ตอ่ ไปนี้.- ๑. เฟส A ใช้ สีแดง ๒. เฟส B ใช้ สเี หลอื ง ๓. เฟส C ใช้ สนี า้ เงนิ ๔. ตวั นาศนู ย์ N ใช้ สขี าว หรอื เทา ๕. สายดนิ G ใช้ สเี ขียว หรือ สีเขียวคาดเหลอื ง ๖) ชนดิ ของสายไฟฟ้าหากมิไดก้ ําหนดอยา่ งอนื่ ใหใ้ ช้ ดงั ตอ่ ไปนี้.- ๑. วงจร ระบบ ๑ เฟส ๒ สาย ๒๒๐ V ใหใ้ ชส้ ายไฟแรงดนั
๓๐๐ V ๗๐๐ C ๒. วงจร ระบบ ๓ เฟส ๔ สาย ๒๒๐/๓๘๐ V ให้ใชส้ ายไฟแรงดนั ๗๕๐ V ๗๐๐ C ๓. สายไฟฟ้าเดินลอยใชส้ าย VAF ๔. สายไฟฟ้ารอ้ ยท่อ หรือรางเดนิ สาย ( CABLE TRAY ) ใชส้ าย THW. ๕. สายไฟฟ้ารอ้ ยท่อฝังดนิ หรอื ฝงั ดนิ โดยตรงใชส้ าย NYY หรอื XLPE ๖. สายวงจรยอ่ ยใช้ขนาด ๒.๕ มม.๒ ใชก้ ับสวทิ ช์ ๑๕ AT ๗. สายย่อยขนาด ๔ มม.๒ ใชก้ บั สวิทชอ์ ตั โนมตั ิ ๒๐ AT ๘. ในกรณีเดนิ สายร้อยทอ่ สายแยกจากวงจรยอ่ ยเขา้ เตา้ รับ ดวงโคมไฟฟ้า พัดลมใหใ้ ชส้ ายขนาด ๑.๕ มม.๒ ๙. ในกรณเี ดนิ สายลอย สายแยกจากวงจรเขา้ เตา้ รับดวงโคม ไฟฟา้ พดั ลม ให้ใชส้ ายขนาด ๒.๕ มม.๒ (๑๐) ทอ่ รอ้ ยสายไฟฟา้ และวัสดเุ ดินสายอ่ืน ๆ ๑) ทอ่ เหล็กอาบสงั กะสีใชท้ ไ่ี ด้มาตรฐานตาม มอก.ปัจจบุ ัน เช่น MARUICHI , MATSUSHITA , TAS , CDC , NATIONAL ๒) ทอ่ เหลก็ ชบุ สงั กะสีหนาและหนาปานกลาง ขนาดเสน้ ผา่ ศนู ยก์ ลาง ไมเ่ ล็กกวา่ ๑/๒\" ๓) ท่อโลหะบางขนาดเส้นผ่าศนู ยก์ ลางไม่เลก็ กวา่ ๑/๒\" ๔) ทอ่ โลหะออ่ นชนดิ โค้งงอไดห้ ากใชใ้ นทมี่ ีความชืน้ ตอ้ งมปี ลอก พลาสตกิ หมุ้ ภายนอกอีกช้ันหน่ึง ๕) ทอ่ P.V.C. ร้อยสายต้องใช้ทีไ่ ด้มาตรฐานตาม มอก.ปจั จุบัน ๖) ท่อ PE. และทอ่ PB. ตอ้ งได้รบั ความเห็นชอบจาก ผู้ออกแบบ ก่อนนํามาใช้ แผงสวิทช์ไฟฟ้า ตรวจดดู งั นี้.- (๑) แผงสวทิ ชแ์ รงต่าํ ต้องไดม้ าตรฐาน S.I.M. , ABB , SQUAR D , MERLIN GERIN , TIC และอ่ืน ๆ (๒) แผงสวทิ ชแ์ รงต่าํ แรงดนั ไฟฟ้าไมน่ อ้ ยกว่า ๔๑๖/๒๔๐ โวลท์ ๓ เฟส ๔ สาย (๓) ถา้ ในแบบรูปมิไดก้ าํ หนดแผงสวทิ ชแ์ รงต่าํ ให้ใชพ้ กิ ัดกระแสลดั วงจร ไม่นอ้ ยกวา่ ๕๐ KA ท่ีพิกดั แรงดนั ใช้งาน (๔) ตแู้ ผงสวิทชแ์ รงตา่ํ ต้องใชแ้ บบโมดูลลาร์ซิสเตม็ โดยโมดลู ๒๐๐ มม. ท้งั ด้าน กว้าง สูง ลกึ (๕) ตวั ตแู้ ผงสวิทชแ์ รงตาํ่ ทาํ จากเหลก็ หนา ๓ มม. ส่วนฝาตใู้ ชเ้ หล็กขนาด
๑.๖ มม. ๘๐. แผงสวิทชไ์ ฟฟา้
๘๒. เซฟตี้สวทิ ช์ ( SAFETY เซฟตีส้ วิทช์ ( SAFETY SWITCH ) SWITCH ) (๑) เซฟตส้ี วทิ ชท์ ่ตี ดิ ตั้งภายใน ตอ้ งมคี ่าระดบั การป้องกนั IP๓๑ ( สวิทช์ และเตา้ รับ ) (๒) เซฟต้สี วิทช์ทต่ี ดิ ต้งั ภายนอก ต้องมคี า่ ระดับการป้องกนั IP๓๔ (๓) การผลิตตอ้ งไดม้ าตรฐาน อาทเิ ชน่ SQUARE D , ABB , Cutler- Hammer และอืน่ ๆ (๔) ตรวจดวู า่ ฟิวส์และขว้ั รับฟวิ สต์ อ้ งรวมอยใู่ นกล่องเดียวกนั (๕) ตรวจดวู า่ พิกัด และกระแสของฟิวสต์ ้องไมส่ ูงกว่าขวั้ รบั ฟวิ ส์ (๖) ตรวจดคู อนแทคเตอร์วา่ ไดม้ าตรฐาน อาทเิ ช่น Telemechanique , ABB , Cutler-Hammer (๗) คอนแทคเตอร์สาํ หรับคาพาซเิ ตอรต์ อ้ งมคี ุณสมบตั ิดงั นี้ ประเภทการใช้ งาน ACI , พิกัดแรงดัน ๓๘๐ V ๕๐ Hz , แรงดันคอยล์ ๒๒๐ V หรอื ๓๘๐ V ๕๐ Hz , พกิ ัดของคอนแทคเตอร์ไม่ต่าํ กวา่ ๑.๕ เทา่ ของกระแสคาพาซิ เตอร์ (๘) ตรวจดูคอนแทคเตอร์สําหรับไฟฟา้ แสงสว่าง หรอื เครอื่ งทาํ นาํ้ ร้อนตอ้ ง ไดต้ ามเกณฑก์ าํ หนด (๙) ตรวจดคู อนแทคเตอรส์ ําหรบั มอเตอรส์ ตารท์ เตอร์ ต้องมีคุณสมบัติตาม แบบท่กี าํ หนด
๘๕. การเดนิ สายไฟและการตดิ ตัง้ การเดนิ สายไฟและการติดตง้ั ระบบไฟฟา้ ภายใน ระบบไฟฟา้ ภายใน (๑) การเดินสายลอย ( SURFACE WIRING ) ใชส้ ายไฟหมุ้ ดว้ ย P.V.C. ๘๖. กล่องตอ่ สาย /กลอ่ งดงึ สาย ชนดิ VAF ทนแรงดนั ๓๐๐ V ๗๐๐C ท่ีได้มาตรฐานตาม มอก.ปจั จุบัน ๘๗. ขนาดสายไฟแยกเขา้ ดวงโคม/ เต้ารบั (๒) ดวู ่าการเดนิ สายต้องตึง และตรง หักเล้ยี วมุมฉาก วางชน้ั แนวเดยี ว ๘๘. ระยะสงู ของการตดิ ตง้ั อุปกรณ์ ไฟฟ้า หา้ มทับซอ้ นกนั และมเี ขม็ ขดั รัดระยะไม่เกนิ ๑๐ ซม. ๘๙. การตดิ ตง้ั และเดนิ สายไฟฟา้ (๓) การตอ่ สายไฟให้ทําทสี่ วทิ ช์ และเต้ารับ แรงต่าภายนอกอาคาร (๔) การเดินสายไฟ บนฝา้ เพดาน ฝังในผนังและพื้น ตอ้ งใชส้ ายไฟฟา้ ทองแดงหมุ้ ดว้ ยฉนวน P.V.C. ชนิด THW. ทนแรงดัน ๗๕๐ V ๗๐๐ C ที่ ได้มาตรฐานตาม มอก.ปจั จบุ นั (๕) ตรวจขนาดทอ่ ทใ่ี ชร้ อ้ ยสาย วา่ มขี นาดตรงตามทกี่ ําหนด (๖) การยึดทอ่ , การยดึ ทอ่ อ่อนกบั โครงสร้าง ถกู ตอ้ งตามระยะทก่ี ําหนด กลอ่ งตอ่ สาย / กลอ่ งดงึ สาย ใหท้ าสีดังน.้ี - (๑) ระบบไฟฟา้ สสี ้ม (๒) ระบบโทรศพั ท์ สีเขียว (๓) ระบบสัญญาณอคั คีภยั สแี ดง (๔) ระบบอืน่ ๆ ตามระบบกาหนด ขนาดสายไฟแยกเขา้ ดวงโคม/เตา้ รบั สายไฟแยกเขา้ ดวงโคมหรอื สวทิ ช์ ปิด-เปิด ใหใ้ ช้ขนาด ๑.๕ มม.๒ตอ่ ๑ จุด ตอ่ ๑๐๐ วัตต์ และสายแยกใต้ เต้ารับไฟฟา้ ใหใ้ ชส้ ายขนาด ๒.๕ มม.๒ ตอ่ ๑ จดุ เวน้ แตแ่ บบระบเุ ปน็ อยา่ ง อ่นื ระยะสูงของการตดิ ตงั้ อปุ กรณไ์ ฟฟ้า (๑) ดวงโคมสาํ หรบั ห้องพกั สงู จากพ้นื ๒.๕๐ ม. (๒) สวทิ ช์ปิด-เปดิ สงู จากพืน้ ๑.๓๐ ม. (๓) เต้ารับไฟฟ้าสงู จากพ้นื ๓๐ ซม. (๔) แผงควบคมุ ไฟฟา้ ประจาํ อาคารสูงจากพืน้ ๒.๐๐ ม. (๕) มเิ ตอรว์ ัดจาํ นวนหนว่ ยไฟฟ้าสงู จากพ้นื ๒.๐๐ ม. (๖) ดกู ารเดนิ สายดินเขา้ ดวงโคมใหถ้ กู ต้อง (๗) ตรวจตราใหม้ สี ายเมนรอการเชอื่ มโยงกบั เมนภายนอกทเ่ี สาไฟฟา้ ด้วย สายขนาด และชนดิ เดียวกันกับสายเมนรวมของอาคาร (๘) หากอาคารหา่ งจากเสาเมนไฟฟ้าภายนอกเกิน ๓๐ ม. ต้องปกั เสา คอนกรีตตามมาตรฐานของการไฟฟา้ เพมิ่ (๙) ขนาดสายดินหากแบบไม่กาํ หนดให้มีขนาดตามตาราง (๑๐) รายการอ่นื ๆ ควบคุมให้ไดม้ าตรฐานและตามแบบทก่ี ําหนด การตดิ ตง้ั และเดินสายไฟฟ้าแรงตาํ่ ภายนอกอาคาร ให้ใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์และ วิธีการตดิ ตงั้ ดงั ต่อไปนี้
๙๐. ขอ้ กาหนดการเดนิ สายไฟฟ้า (๑) ใช้สายไฟฟา้ ทองแดงเด่ียวหมุ้ P.V.C. แรงดัน ๗๕๐ V ๗๐๐ C ท่ไี ด้ แรงต่านอกอาคาร มาตรฐานตาม มอก.ปัจจุบนั และตามแบบ (๒) เสาไฟฟา้ คอนกรีตอัดแรงตามมาตรฐานการไฟฟา้ ๙๑. การติดตง้ั และเดนิ สาย (๓) ชดุ โยงยดึ เสาดว้ ยแรงตํา่ ตามมาตรฐานการไฟฟ้า ไฟฟ้าแรงสงู (๔) ดวงไฟโคมถนน โดยตามกาํ หนดในแบบดวงไฟใช้ฟลูออเรสเซนต์ ๔๐ วัตต์ หลอดบลั ลาสต์สตารท์ เตอร์ทีไ่ ดม้ าตรฐานตาม มอก.ปจั จบุ นั (๕) สวิทชไ์ ฟถนนใช้ PHOTO ELECTRIC CELL หรือแบบนาฬกิ าตง้ั ตามแบบกําหนด (๖) D-FUSE บริเวณดวงโคมไฟถนนตอ้ งเป็นชนิดกันนาํ้ ข้อกาํ หนดการเดินสายไฟแรงตํ่าภายนอกอาคาร (๑) ก่อนปักเสาตอ้ งตรวจดูวา่ เปน็ ไปตามกาํ หนดในผงั หรือไม่ ( ถอื ผงั เปน็ สงั เขปแตเ่ วลาปกั จรงิ ให้ยดึ ถอื พนื้ ท่กี ่อสร้างกาํ หนดจดุ แนน่ อน ) (๒) ดวู ่าเสาไฟทกุ ต้นไดม้ กี ารเทคอนกรีตห้มุ โคนหา่ งจากเสา ๐.๒๕ ม. ลึก ไปในดนิ ๐.๕๐ ม. (๓) ให้สายไฟเดีย่ วเดินพาดสายไปบนลูกถ้วย พนั ยึดดว้ ยลวดมัดสาย เรียบร้อย (๔) เมื่อตอ่ สายไฟฟ้าแลว้ ตรวจดูวา่ พันสายเรยี บรอ้ ยหรอื ไม่ (๕) ไมย่ อมใหม้ ีการตอ่ สายไฟระหว่างกลางช่วงเสา แตใ่ หต้ อ่ สายไฟเข้ากบั ลกู ถ้วย แลว้ จงึ ตอ่ ตามแบบมาตรฐาน ยย.ทบ. หมายเลข ๒.๔๒๓๐ (๖) การตอ่ สายแยก การยดึ เสาเข้ากบั ลูกถว้ ย การต่อสายเชื่อมโยงจาก อาคารเข้าสายเมน ต้องเปน็ ไปตามกาหนดและมาตรฐานตามแบบ (๗) การตกท้องชา้ งของสายไฟฟ้า ( SAG ) ระหวา่ งเสาตามมาตรฐาน ของการไฟฟา้ (๘) สาํ หรบั ไฟฟ้า ๓ เฟส ต้องควบคมุ ในการต่อไฟให้ปรับให้ BALANCE PHASE โดยแตล่ ะเฟสจะแตกตา่ งกันไม่มากกว่า ๑๐% เว้นแต่แบบกําหนด เปน็ อย่างอื่น การตดิ ต้ังและการเดนิ สายไฟฟ้าแรงสงู (๑) ตรวจวา่ สายไฟฟ้าอลมู ิเนยี มเกลียวเปลือยมคี ุณภาพมาตรฐานตาม มอก.ปจั จบุ ัน หรอื ไม่ (๒) ตรวจว่าสายไฟฟา้ อลมู เิ นียมตเี กลียวเปลอื ยแกนเหลก็ มคี ณุ ภาพ มาตรฐานตาม มอก.ปัจจบุ นั หรอื ไม่ (๓) ตรวจเสาไฟฟา้ คอนกรีตอดั แรงไดม้ าตรฐานของการไฟฟ้า ขนาดความ ยาวตามแบบ (๔) ตรวจไมค้ อนต้องเปน็ ไมเ้ นอื้ แข็งมาตรฐานตามแบบ (๕) ตรวจเหล็กยึดคอน ลกู ถว้ ยไดม้ าตรฐานตามแบบ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107