Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความแตกต่างระกว่างบุคคล

ความแตกต่างระกว่างบุคคล

Published by sangrung732, 2019-11-28 09:09:21

Description: ความแตกต่างระกว่างบุคคล

Search

Read the Text Version

จิตวทิ ยาสาหรบั ครู Psychology for teacher งานนีเ้ ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษารายวิชา จิตวิทยาสาหรับครู (21055202) สอนโดย : อาจารย์ ดร.อุษา ปราบหงส์

Individual difference ความแตกตา่ งระหว่างบุคคล นาเสนอโดย นายพลู สวัสดิ์ แสงรงุ่ นายเนตพิ งศ์ ศรีกุล นายวรรธนยั ด่านลาพล รหัส 62723173106 หมู่ท่ี 1 รหัส 62723173109 หมู่ที่ 1 รหัส 62723173131 หมูท่ ่ี 1





ความแตกต่างระหว่างบุคคลในการเรียนรู้ มนุษย์ทุกคนในโลกน้ีย่อมมีความแตกต่างกัน ไม่มีมนุษย์คนใดในโลกน้ีท่ี เหมือนกันทุกประการ นั่นคือ มีลักษณะหรือแบบไม่ซ้าใครและไม่ เหมือนใครเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตน ความแตกต่างระหว่างบุคคลไม่ เพียงแต่จะมีในดา้ นรูปรา่ งหนา้ ตาซง่ึ เป็นคุณลักษณะภายนอกเท่านั้นแต่ บุคคลยังมีความแตกต่างกันในคุณลักษณะภายในที่เราจะสังเกตและ เห็นกันได้ยาก เช่น เจตคติ ความสามารถ ความสนใจ และความถนัด สติปัญญาเป็นต้น ซ่ึงความแตกต่างดังกล่าวส่งผลให้แต่ละบุคคลมี ลกั ษณะเฉพาะตนในเรื่องของการเรยี นรู้และการปรับตวั (อารีย์ พนั ธม์ ณี, 2546 : 40)

ปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ ความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล พันธุกรรม (Heredity)

เชอื้ ชาติ (Race) ไทย ฝรัง่ นิโกร จนี ฯลฯ ย่อมมลี กั ษณะเฉพาะชาติของตนเองแตกตา่ งจากชาติอ่นื ๆ ลักษณะรูปรา่ งโครงกระดูก ขนาดร่างกาย หน้า ตา ผิวพรรณ สผี ม ส้าเนียงภาษา

เพศ (Sex) โดยธรรมชาติจะมี 2 เพศ คอื หญงิ กับชายซึง่ มลี ักษณะประจา้ เพศ แตกต่าง เชน่ เพศชายจะรปู ร่างแขง็ แรง ไหล่ผาย อกกว้าง มีหนวด เพศหญิงจะมีรูปร่างกลมกลืน ตะโพกพาย เปน็ ตน้

ชนิดของกลุม่ เลอื ด โดยลกู จะมีเลือดกลุ่มเดยี วกับพ่อหรอื แม่ เชน่ พ่อเลอื ดกลมุ่ O แม่ เลือดกลมุ่ B ลูกมโี อกาสเป็น O,B

ความบกพร่องทางร่างกาย และโรคภยั ไขเ้ จ็บบางอย่าง เช่น ตาบอดสี ศีรษะล้าน โรคเบาหวาน โรค ลมชกั ผิวเผือก

ลกั ษณะรปู ทรงของร่างกาย

สติปัญญา คอื ความสามารถในการเรียนรู้สิง่ ต่างๆซ่งึ เปน็ สิ่งที่ไดร้ ับการถา่ ยทอดมากจาก พันธุกรรม ได้แก่ ความคดิ ความจา้ เชาวน์

ความสามารถที่มีมาแตก่ าเนิดหรอื ความถนดั ( Aptitude) เฉพาะตวั หรอื พรสวรรค์ แต่ละคนรบั ถา่ ยทอดมาจากผ้ใู ห้ก้าเนดิ



สงิ่ แวดลอ้ ม (Environment) สิง่ ที่อยรู่ อบๆตวั เราและท้าใหค้ นเราแตกต่างกัน ไดแ้ ก่ การอบรมเล้ยี ง ดู การคบเพอ่ื น การสงั คม ประเพณี วัฒนธรรม ศาสนา ดนิ ฟา้ อากาศ ท่ี อยูอ่ าศยั และอาหาร ลา้ ดบั การเกดิ สอ่ื มวลชน ฯลฯ ซ่งึ สงิ่ เหลา่ น้จี ะท้า ใหค้ นเราแตกต่างกัน ดงั นี้

อิทธิพลของสงิ่ แวดล้อมทม่ี ตี อ่ บุคคล สง่ิ แวดลอ้ มท่ีมีผลตอ่ บุคคลแบง่ เปน็ 3 ประเภท คอื 1. สง่ิ แวดล้อมก่อนคลอด 3. สิง่ แวดลอ้ มหลังคลอด 2. สงิ่ แวดล้อมขณะคลอด

1. สงิ่ แวดลอ้ มก่อนคลอด สง่ิ แวดลอ้ มในครรภม์ ารดา โดยเฉพาะในช่วงสามเดอื นแรกของการตั้งครรภ์ ถอื วา่ เป็นระยะวกิ ฤต ทัง้ นเ้ี พราเปน็ ระยะทเี่ นื้อเยอ่ื และสว่ นส้าคัญต่างๆของ รา่ งกายกา้ ลังพฒั นาอยา่ งรวดเรว็ ส่ิงแวดล้อมระยะน้จี ึงมผี ลต่อการเสรมิ สร้าง และทา้ ลายโครงสร้างพนื้ ฐานและระบบประสาทของร่างกายได้อยา่ งรนุ แรง ปจั จยั ทมี่ ีผลต่อทารกในขณะทอ่ี ยู่ในครรภม์ หี ลายอยา่ ง เช่น อายุของมารดา ความเก่ียวพันธท์ างสายเลือดของบดิ ามารดา คุณภาพของอาหาร ยาที่ รับประทาน รงั สี บุหร่ี สรุ า และความเจบ็ ป่วยระหวา่ งการตง้ั ครรภ์ เป็นตน้

2. ส่งิ แวดลอ้ มขณะคลอด ภาวะทีส่ มองของทารกขาดออกซิเจนขณะคลอด สมองไดร้ บั อันตรายจากการคลอด หรือการคลอกก่อนกา้ หนด ส่งผลใหบ้ ุคคล มลี ักษณะเปลย่ี นแปลงได้

3. ส่งิ แวดลอ้ มหลงั คลอด สิง่ แวดลอ้ มทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั บคุ คลในช่วงต่อๆมาของชวี ิตหลังจากท่ี คลอดออกมาจากครรภ์มารดาแล้ว สิง่ แวดลอ้ มหลงั คลอดที่ นกั จติ วิทยาเหน็ พ้องกนั วา่ มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การกา้ หนดพฒั นาการและ พฤตกิ รรมของบคุ คลในระดับสูง

การอบรมเลีย้ งดู เพอ่ื น สอื่ สารมวลชน สิ่งแวดลอ้ ม (Environment) สภาพสงั คม ประเพณี และวฒั นธรรม สภาพดนิ ฟา้ อากาศ ศาสนา สถานทอี่ ยู่อาศัย

ความสมั พันธร์ ะหว่างพนั ธุกรรมและสงิ่ แวดล้อม วิภาพร มาพบสขุ (2543) กลา่ วว่าพนั ธกุ รรมเปน็ ตวั ก้าหนดคณุ ลกั ษณะพ้ืนฐานทาง รา่ งกายและจติ ใจของมนษุ ย์ สว่ นสิง่ แวดล้อมจะเปน็ เครื่องช่วยบง่ ช้ีวา่ คุณลักษณะ พืน้ ฐานเหลา่ นน้ั จะมกี ารพัฒนาเป็นอยา่ งไร อารี พันธม์ ณี (2534) กลา่ วว่า พันธุกรรมเปน็ ตวั กา้ หนดแนวลกั ษณะจากบรรพบรุ ษุ และสง่ิ แวดลอ้ มเป็นตัวก้าหนดขอบเขตพัฒนาการของบคุ คล เยนนงิ ส์ นกั ชีววิทยา ผมู้ ีชอ่ื เสยี งคนหนึ่งกล่าวว่า ความเฉลียวฉลาด อุปนิสยั อารมณ์ ตลอดจนรูปร่างลักษณะต่างๆ ของบุคคลข้ึนอยูก่ ับพนั ธกุ รรมและ ส่งิ แวดลอ้ ม เราไมส่ ามารถแยกพันธุกรรมและส่ิงแวดล้อมออกจากกนั ได้

ความแตกตา่ ง ทางดา้ นรา่ งกาย ความแตกตา่ ง ความแตกตา่ ง ความแตกตา่ ง ทางดา้ น ระหวา่ งบคุ คลตอ่ ทางอารมณ์ สติปัญญา การเรียนการสอน ความแตกตา่ ง ทางดา้ นสงั คม

ความสา้ คัญของความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล ต่อการเรยี นการสอน อายุ เพศ สขุ ภาพ ความแตกตา่ ง ทางดา้ น รา่ งกาย

ความแตกต่างดา้ นเพศ • ผหู้ ญิงมีความสามารถดา้ นภาษา การเขียน และศลิ ปะมากกวา่ ผชู้ าย • ผชู้ ายมีความสามารถทางดา้ นคณิตศาสตร์ ภมู ิศาสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ เทอรแ์ มนและไทเลอร์ มากกวา่ ผหู้ ญิง • ผชู้ ายมีความสามารถมากกวา่ ผหู้ ญิง ในดา้ นคณิตศาสตร์ การจารูปทรง การคิดวเิ คราะห์ และการคิดรเิ รมิ่ แมค็ โคบี และแจค็ คลนิ • ผหู้ ญิงมีความสามารถในการใชถ้ อ้ ยคาไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่ มากกวา่ ผชู้ าย คาสเซิล • พบวา่ ผชู้ ายมีอารมณม์ ่นั คง มีความหนกั แน่น ม่นั ใจตวั เอง มีนิสยั กลา้ เสีย่ ง

อายุ อายุหรือวัยของคนเรา มสี ่วนเกี่ยวขอ้ ง และกอ่ ให้เกิดความแตกต่าง ในเรอื่ งตอ่ ไปน้ี คือ ความรับผดิ ชอบ ความสนใจ ความรอบรู้ ความสามารถในการแกไ้ ขปัญหา ความคิด ความมเี หตุผล และวุฒิ ภาวะดา้ นอ่นื ๆ

สุขภาพและลักษณะทางร่างกาย ความพิการของรา่ งกาย ความผดิ ปกติในลักษณะต่างๆ ขนาดของ ร่างกาย ตลอดจนลกั ษณะเดน่ - ดอ้ ยของรูปรา่ งหน้าตา มีผลต่อการ เรียนรขู้ องบุคคลทงั้ ในทางสง่ เสริมและเปน็ อปุ สรรค์ ทงั้ นร้ี วมถงึ ความ บกพร่องบางอยา่ งทางรา่ งกายดว้ ย เชน่ ความบกพร่องทางการ มองเห็น หรือการไดย้ นิ

ความแตกต่างทางดา้ นสงั คม บุคคลทีอ่ ยูใ่ นสภาพสังคมทต่ี า่ งกนั ยอ่ มมีลกั ษณะทางบคุ ลิกภาพและพฤตกิ รรมแตกต่างกัน เชน่ ทศั นคติ ความ เชอื่ ความสนใจ แรงจูงใจ และลกั ษณะอื่นๆ รวมทงั้ ลักษณะทางสติปัญญาซึ่งเปน็ องค์ประกอบสา้ คญั ในการเรียนรู้ จากผลการวิจัย แฮฟวิงเฮริด์ และแจนก้ี (Hevinghurst and janke, 1944, 1945) พบว่า เกด็ อายุ 10 และ 16 ปี ท่ีมาจากชน ช้นั สงู มีระดับสตปิ ญั ญาสูงกว่าชนชนั้ ต่า้ (การจัดกลุ่มชนชนั้ ทางสังคมพิจารณาจากฐานะทางเศรษฐกิจ ระดบั การศึกษา อาชีพของบิดามารดา และถน่ิ ท่ีอยูอ่ าศยั ) เดครอล่ี และดแี กนด์ (Decroly and Degand, 1910) พบวา่ เด็กในกล่มุ ทีม่ ฐี านะทางเศรษฐกจิ และสังคมดกี ว่า ทา้ คะแนนได้สูงกวา่ เกณฑ์ปกติ บิเนต์ แม็ค เนมา (Mc Nema, 1942) ศึกษาระดับสติปัญญาของเดก็ โดยจา้ แนกตามของอาชพี ของบิดามารดา พบวา่ ระดบั สตปิ ญั ญาแตกต่างกันอย่างเดน่ ชดั

ความแตกตา่ งทางอารมณ์ ปราณี รามสตู (2528) กลา่ ววา่ การเกิดอารมณต์ ่างๆ ให้ทง้ั ผลดแี ละผลเสียในดา้ น การเรียนรู้ ถ้าผเู้ รยี นเกดิ อารมณใ์ นระดบั ท่พี อดี จะทา้ ใหร้ ่างกายอยู่ในภาวะตนื่ ตวั พรอ้ มท่จี ะทา้ กิจกรรมต่างๆในการเรียนรู้ อารมณ์มอี ทิ ธพิ ลต่อพฤตกิ รรม และการทา้ กิจกรรมตา่ งๆของบุคคลเสมอ สา้ หรบั ในการเรียนรูน้ ้นั นกั จติ วทิ ยาและนักการศึกษามีความเห็นสอดคล้องกนั ว่า การท่ีผูเ้ รียนมีอารมณ์ ในทางท่ีดี เชน่ อารมณด์ ใี จ ร่าเริง ยนิ ดี สบายใจ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ผลดีในการเรียนรู้ ส่วนอารมณใ์ นทางทีไ่ มด่ ี เชน่ อารมณ์โกธร กลวั เศรา้ อจิ ฉา ตืน่ เต้นตกใจ มกั เปน็ ตวั รบกวนความสามารถในการเรียนรู้

ความแตกตา่ งทางด้านสติปัญญา ความสามารถทางสตปิ ญั ญาเปน็ ตัวแปรส้าคัญทส่ี ่งผลตอ่ ประสทิ ธิภาพใน การเรยี นรู้ของบคุ คล นักจิตวทิ ยาและนกั การศึกษาตน้ พบวา่ ระดบั สตปิ ญั ญาขิงคนเรามีความ แตกตา่ งกนั ตงั้ แต่ระดบั สงู (อจั ฉริยะ) จนถงึ ระดับตา่้ (ปญั ญาอ่อน)

พระสมั มาสมั พุทธเจา้ เปรียบบคุ คลที่ไดร้ ับการสอนจากพระองค์ ที่ทรงคา้ นงึ ถงึ ความ แตกตา่ งระหว่างบุคคล โดยเน้นความแตกต่างด้านสตปิ ญั ญา กลา่ วถึงวิธกี ารสอนแต่ ละบุคคลไว้อยา่ งชดั เจนและเปรียบเทยี บให้เห็นชดั เจน ด้วยดอกบัว 4 เหลา่ ดงั น้ี 1.1 อคุ ฆปฏิตญั ญู ได้แก่ ผู้มปี ญั ญาฉลาดเฉยี บแหลม(abnormal)เพยี งแค่ยกหัวข้อ ขน้ึ แสดงกส็ มารถรแู้ ละเขา้ ใจไดท้ นั ทเี ปรยี บเสมือนดอกบัวท่ีอยู่เหนอื นา้ รอคอย แสงอาทิตยพ์ ออาทติ ย์ฉายแสง ก็เบง่ บานได้ทันที 1.2 วิปจติ ัญญู ได้แก่ ผู้มีปญั ญาอย่ใู นระดบั ปานกลาง(normal)ตอ้ งอธิบาย ขยาย ความแห่งข้อนัน้ ๆแลว้ จึงจะสามารถรแู้ ละเขา้ ใจได้เปรยี บเหมือนดอกบวั ที่อยูเ่ สมอผวิ นา้ จะบานในพรุ่งนี้ 1.3 เนยยะ ได้แก่ ผู้ที่พอจะแนะน้าได้(borderline) คอื พอจะฝกึ สอนอบรมให้รู้ และเข้าใจได้อยแู่ ละจะตอ้ งยกตัวอย่างประกอบให้ชดั เจนเปรยี บเหมอื นดอกบวั ทีย่ งั โผล่ไมพ่ ้นน้า ซ่ึงจักบานในวนั ตอ่ ๆไป 1.4 ปทปรมะ ไดแ้ ก่ ผู้ด้อยปญั ญา (mentally defective)สอนใหร้ ้ไู ด้แตเ่ พียงพบ คือ พยัญชนะหรอื ถอ้ ยค้า แตไ่ มอ่ าจเขา้ ใจความหมายไดเ้ ปรยี บเหมอื นดอกบัวท่ยี งั จม อยู่ในน้า โคลนตม ซงึ่ ย่อมเปน็ ภักษาแหง่ ปลาและเต่า

เอกสารอา้ งองิ สุรางค์ โค้วตระกลู , จติ วิทยาการศึกษา, (กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั , 2544). อารี พนั ธม์ ณี. 2546. จติ วทิ ยาสรา้ งสรรคก์ ารเรียนการสอน. กรงุ เทพฯ : ใยใหม ครีเอทฟี กร๊ปุ ออนไลน์ http://www.eledu.ssru.ac.th/kalanyoo_pe/file.php/4/_3_.pdf แผนภาพปัญหาทง้ั 8 ดา้ น ตามทฤษฎีพหปุ ัญญาของการด์ เนอร์ (Spencer,1998) http://nengkung0938.blogspot.com/p/blog- page_62.html วภิ าพร มาพบสขุ . 2543. มนุษยสัมพนั ธ์. กรุงเทพฯ : ซีเอด็ ยูเคชั่น, 2543. แฮฟวิงเฮริด์ และแจนก้ี (Hevinghurst and janke, 1944, 1945) เดครอลี่ และดีแกนด์ (Decroly and Degand, 1910) บิเนต์ แมค็ เนมา (Mc Nema, 1942)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook