Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปกรายงาน5-6-กลุ่ม1

ปกรายงาน5-6-กลุ่ม1

Published by Frank Pattarapon, 2021-02-14 08:57:36

Description: ปกรายงาน5-6-กลุ่ม1

Search

Read the Text Version

1 รายงาน วชิ าวทิ ยาการคาํ นวณ รหัส ว30118   จัดทาํ โดย เลขท่ี 2 1.นาย ภั ทรพล บุญสง่ เลขท่ี 37 2.นาย ปั ฐวีเกียรติ์ ประศรี เลขท่ี 42 3.นาย วราวุธ โรจนดาํ รงค์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 5/6 เสนอ ครูจิรายุ ทองดี รายงานเลม่ น้ีเป็นสว่ นหน่ึงของรายวชิ าวทิ ยาการ คาํ นวณ รหัส ว30118 โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ เตรียมอุดมศกึ ษาน้อม เกลา้

2 ภาคเรียนท่ี 2 ปี การศกึ ษา 2562 สังกั ดกระทรวง ศกึ ษาธิการ   คาํ นํา รายงานฉบับน้ีเป็นสว่ นหน่ึงของรายวชิ าวทิ ยาการคาํ นวณ รหัส ว30118 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 5 โดยมีจุดประสงคเ์ พ่ือศกึ ษา เก่ียวกับหลักการเขียนโปรแกรม ขัน้ ตอนการเขียนโปรแกรม โครงสร้างภาษาคอมพิวเตอร์ กระบวนการเขียนโปรแกรม ในการจัดทาํ รายงานประกอบส่อื การเรียนรู้ในครั ง้ น้ี ผูจ้ ัดทาํ ขอขอบคุณ ครูจิรายุ ทองดี ผูใ้ ห้ความรู้ และแนวทางการศกึ ษา และเพ่ือนๆ ท่ีให้ความชว่ ยเหลือมาโดยตลอด คณะผูจ้ ัดทาํ หวัง เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ รายงานฉบับน้ีจะอาํ นวยประโยชน์ตอ่ ผูท้ ่ีสนใจ และศกึ ษาเน้ือหาเพิม่ เติม และพัฒนาศักยภาพ และบรรลุตามเป้ า หมาย นาย ภั ทรพล บุญสง่ ผูจ้ ัดทาํ

3 สารบั ญ เร่ือง หน้า คาํ นํา 2 สารบั ญ 3 1. วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 2. กระบวนการเทคโนโลยี 4 3. พ้ืนฐานของภาษาซี 7 18 4.เทคโนโลยีประยุกต์ 25 5.บรรณานุ กรม 31 6.ภาคผนวก 32

4 วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ วทิ ยาการคอมพิวเตอร์(Computer Science )เป็น ศาสตร์เก่ียวกับการศกึ ษาคน้ ควา้ ทฤษฎีการคาํ นวณสาํ หรั บ คอมพิวเตอร์และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศทัง้ ดา้ น ซอฟตแ์ วร์ฮาร์ดแวร์และเครือขา่ ยซ่ึงวทิ ยาการคอมพิวเตอร์นั น้ ประกอบดว้ ยหลายหัวขอ้ ท่ีเก่ียวขอ้ งกับคอมพิวเตอร์ตัง้ แตร่ ะดับ นามธรรมหรือความคดิ เชิงทฤษฎีเชน่ การวเิ คราะหแ์ ละสังเคราะห์ ขัน้ ตอนวธิ ีไปจนถึงระดับรูปธรรม วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ในชีวติ ประจาํ วัน

5 Internet of Things (IoT)​ ห​ มายถึง การท่ีอุปกรณ์ ตา่ งๆ สงิ่ ตา่ งๆ ไดถ้ ูกเช่ือมโยงทุกสงิ่ ทุกอยา่ งสูโ่ ลกอินเตอร์เน็ต ทาํ ให้มนุษยส์ ามารถสัง่ การควบคุมการใชง้ านอุปกรณ์ตา่ งๆ ผา่ น ทางเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต เชน่ การเปิด-ปิด อุปกรณ์เคร่ืองใช้ ไฟฟ้ า     Articficial Intelligence (AI)A​ I : Artificial Intelligence หรือปั ญญาประดิษฐ์เป็นศาสตร์แขนงหน่ึงของ วทิ ยาศาสตร์ คอมพิวเตอร์ ท่ีเก่ียวขอ้ งกับวธิ ีการทาํ ให้ คอมพิวเตอร์ มีความ สามารถ คลา้ ยมนุษย์ หรือเลียน แบบ พฤติกรรม มนุษย์ โดย เฉพาะความสามารถในการคดิ เองได้ หรือมีปั ญญานั่นเอง ปั ญญา น้ีมนุษยเ์ ป็นผูส้ ร้างให้คอมพิวเตอร์ จึงเรียกวา่ ปั ญญาประดิษฐ์

6 Clond Computing​ ระบบเกบ็ ขอ้ มูลท่ีนําเอาขอ้ มูล ทัง้ หมดข้ึนไปเกบ็ ไวบ้ นระบบอินเทอร์เน็ต หรือเรียกงา่ ยๆวา่ เกบ็ ขอ้ มูลไวบ้ นอากาศ ท่ีสามารถเรียกออกมาใชง้ านไดต้ ลอดเวลาท่ี เราตอ้ งการ โดยอาศัยการใชง้ านผา่ น Browser และระบบ อินเทอร์เน็ต โดยมีผูเ้ ช่ียวชาญคอยดูแล และบริหารจัดการแทนผู้ ประกอบการทุกอยา่ ง ซ่ึงสง่ ผลดีตอ่ นายจา้ งในดา้ นการจา้ ง บุคลากรในการดูแล Server อยา่ งท่ีเป็นมา ส่อื ดิจิทัล ในชีวติ ประจาํ วัน ส่อื ดิจิทัล (Digital Media) หมายถึง ส่อื ท่ีมีการนํา ขอ้ ความ กราฟิก ภาพเคล่ือนไหว เสยี ง มาจัดรูปแบบ โดยอาศัย

7 เทคโนโลยีความเจริญกา้ วหน้าทางดา้ นคอมพิวเตอร์ ส่อื สาร ทาง ออนไลน์ หรือตัวกลางท่ีถูกสร้างข้ึนโดยอาศัยความกา้ วหน้าทาง เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ท่ีนําขอ้ ความ กราฟิก ภาพเคล่ือนไหว เสยี ง และวดิ ีโอ มาจัดการตามกระบวนการ และวธิ ีการผลิตโดย นํามา เช่ือมโยงกัน เพ่ือให้เกิดประโยชน์ในการใชง้ าน เชน่ การ พิมพ์ รายงานจากโปรแกรมประมวลผลคาํ การนําเสนอผลงาน จากโปรแกรมนําเสนอขอ้ มูล การถา่ ยภาพหรือวดิ ีโอ จากกลอ้ ง ดิจิทัล ซ่ึงในปั จจุบันจะทาํ การสร้างส่อื และจัดเกบ็ ในรูปแบบ ดิจิทั ล ส่อื ดิจิทัลท่ีใชใ้ นชีวติ ประจาํ วัน โดยทั่วไปบุคคลจะรั บรู้ เน้ือหาดา้ นตา่ งๆ จากส่อื รูปแบบตา่ งๆ เชน่ โทรทัศน์ วทิ ยุ หนั งสอื พิมพ์ ซ่ึงในปั จจุบันระบบคอมพิวเตอร์เขา้ มาพัฒนา กระบวนการดา้ นตา่ งๆ ของส่อื ตัง้ แตก่ ารผลิตเน้ือหา (Content) ส่อื กลางในการส่อื สาร (Media) ชอ่ งทางการส่อื สาร (Channel) รูปแบบการส่อื สารท่ีสามารถ ทาํ ให้ผูส้ ง่ สารและผูร้ ั บ สารสามารถโตต้ อบกันไดง้ า่ ยข้ึน รวดเร็วข้ึน เชน่ facebook

8 กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขัน้ ตอนการแกไ้ ขปั ญหาเพ่ือตอบสนองความตอ้ งการการใช้ ชีวติ มนุษย์ ระบบของเทคโนโลยีประกอบดว้ ย การรวบขอ้ มูล การ จัดเกบ็ ขอ้ มูล การมวลผลขอ้ มูล การจับเกบ็ ขอ้ มูล การคดิ วเิ คราะห์ และการนําขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชน์ตามท่ีมนุษยต์ อ้ งการ และเปล่ียนแปลงการเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการทาํ กิจกรรมตา่ งๆ ของมนุ ษย์ การจัดการขอ้ มูล บทบาทและความสาํ คัญของการจัดเกบ็ ขอ้ มูล ขอ้ มูล (Data) ขอ้ มูลเป็นองคป์ ระกอบท่ีสาํ คัญสว่ นหน่ึงของระบบสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ ขอ้ เทจ็ จริงท่ีเกิดข้ึนในเหตุการณ์ตา่ งๆท่ีไดจ้ ากการ สังเกตการจดบันทึก การสัมภาษณ์ และการตอบคาํ ถาม แตข่ อ้ มูล น้ีตอ้ งไมม่ ีการประมวลผล ไมม่ ีการคดิ วเิ คราะหเ์ รียกวา่ \"ขอ้ มูล ดิบ\"โดยท่ียังไมส่ ามารถนําไปใชป้ ระโยชน์ไดใ้ นทันที การจัดการขอ้ มูล (Data Management) การบริหารการจัดเกบ็ ขอ้ มูล การประมวลขอ้ มูลให้ไดม้ าซ่ึงขอ้ มูล ท่ีมีประโยชน์และพร้อมท่ีจะนํามาใชไ้ ดใ้ นทันที

9 หลักในการจัดการขอ้ มูล 1.การเขา้ ถึงขอ้ มูล = ความสามารถในการเขา้ ถึงขอ้ มูลไดง้ า่ ย รวดเร็วและถูกตอ้ ง 2.ความปลอดภั ยขอขอ้ มูล = ขอ้ มูลท่ีจัดเกบ็ ไวจ้ ะตอ้ งมีระบบ รั กษาความปลอดภั ยเพ่ือป้ องกันการจารกรรมขอ้ มูล 3.การแกไ้ ขขอ้ มูล = ความสามารถในการเปล่ียนแปลง แกไ้ ขในอนาคตไดท้ ัง้ น้ีเน่ืองจากแผนท่ีวางไวอ้ าจจะตอ้ งมีการ เปล่ียนแปลงตามสถานจึงทาํ ให้ตอ้ งมีการจัดระเบียบขอ้ มูล แกไ้ ข ขอ้ มูลพร้อมทัง้ จัดหาขอ้ มูลเพิม่ เติม 4.การปรั บปรุง = ขอ้ มูลท่ีจัดเกบ็ อยูอ่ าจจะมีการจัดแบง่ เป็นสว่ น หรือสร้างเป็นตาราง เพ่ืองา่ ยแกก่ ารปรั บปรุง ประเภทของขอ้ มูล หลักเกณฑใ์ นการแบง่ 1.พิจารณาจากแหลง่ ขอ้ มูล 1.1 ขอ้ มูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็นขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการเกบ็ รวบรวมจากหน่อยศกึ ษาโดยตรง โดย ผูศ้ กึ ษาหรือผูว้ จิ ัยทาํ การรวบรวมดว้ ยตนเอง โดยการสาํ รวจ

10 สัมภาษณ์ สังเกตและทดลอง ลักษณะของขอ้ มูลปฐมภูมิมีทัง้ ขอ้ มูลท่ีเป็นเทจ็ จริง (Fact) และขอ้ มูลท่ีเป็นความรู้ (Knowledge) ท่ีเป็นสว่ นบุคคลท่ีอาจเป็นจริงหรือไมจ่ ริง และ อาจน่าเช่ือถือหรือไมน่ ่าเช่ือถือกไ็ ด้ 1.2 ขอ้ มูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นขอ้ มูลท่ีผา่ นการเกบ็ รวบรวมมาแลว้ โดยบุคคลหรือองคก์ ร หน่ึงๆ ขอ้ มูลทุติยภูมิอาจเป็นขอ้ มูลภายในองคก์ รธุรกิจ เชน่ ยอด ขาย กาํ ไร-ขาดทุน รายงานตา่ งๆ แลว้ ขอ้ มูลการตลาด หรือขอ้ มูล ท่ีไดจ้ ากสถาบันหรือองคก์ รภายนอก เชน่ ขอ้ มูลประชาชน ขอ้ มูล การตลาด ขอ้ มูลเศรษฐกิจดา้ นตา่ งๆ เป็นตน้ 2.พิจรณาจากคุณลักษณะของขอ้ มูล 2.1 ขอ้ มูลเชิงปริมาณ (Quantitative) เป็นขอ้ มูลท่ีเป็นตัวเลขหรือหน่อยนั บได้ เชน่ ขอ้ มูลจาํ นวน ประชากร รายได้ ยอดขายในแตล่ ะเดือน

11 2.2 ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เป็นขอ้ มูลท่ีบรรยายลักษณะหรือคุณสมบัติของสงิ่ ตา่ งๆท่ีไม่ สามารถระบุเป็นหน่วยนั บหรือตัวเลขได้ เชน่ เพศ เช้ือชาติ ศาสนา ทัศนคติ ความคดิ เหน็ ขอ้ แนะนํา 3.พิจรณาจากลักาณะของการจัดทาํ ขอ้ มูล 3.1 ขอ้ มูลดิบ (Raw Data) เป็นขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการเกบ็ รวบรวม ซ่ึงยังไมผ่ า่ นการประมวลผล หรือเปล่ียนแปลงใดๆ จึงทาํ ให้ขอ้ มูลมีลักษณะกระจัดกระจาย ปะปนกัน ทาํ ให้ไมส่ ะดวกตอ่ การคาํ นวณหรือนําไปใชป้ ระโยชน์ 3.2ขอ้ มูลจัดกลุม่ (Groupped ) เป็นขอ้ มูลท่ีผา่ นระบบหรือกระบวนการประมวลขอ้ มูลแลว้ เพ่ือ ให้ขอ้ มูลอยูใ่ นรูปแบบท่ีเป็นหมวดหมู่ มีการแจกแจงความถ่ี กะทัดรั ด มีความหมาย สะดวกตอ่ การนําไปคาํ นวณเป็นคา่ สถิติ ตา่ งๆจึงเป็นประโยชน์ในการคน้ หาความจริง และนําไปเผยแพร่ 4.พิจรณาจากการเกบ็ ในส่อื อิเลก็ ทรอนิกส์ 4.1 ขอ้ มูลตัวอักษร (Text Data)

12 เชน่ ตัวหนั งสอื ตัวเลข สัญลักษณ์ มักมีนามสกุลไฟลเ์ ป็น .txt .doc docx 4.2 ขอ้ มูลภาพ (Image Data) เชน่ ภาพกราฟิกตา่ งๆ ภาพถา่ ยดิจิทัล มักมีนามสกุลไฟลเ์ ป็น .bmp .jpg .png .gif 4.3 ขอ้ มูลเสยี ง (Sound Data) เชน่ เสยี งพูด เสยี งดนตรี มักมีนามสกุลไฟลเ์ ป็น .wav .mp3 4.4 ขอ้ มูลภาพเคล่ือนไหว (Video Data) เชน่ ภาพยนตร์ คลิปวดิ ีโอ มักมีนามสกุลไฟลเ์ ป็น .avi .mov .mp4 5.พิจรณาตามระบบคอมพิวเตอร์ 5.1 ขอ้ มูลเชิงจาํ นวน (Numeric Data) เป็นตัวเลขท่ีสามาาถนํามาคาํ นวณดว้ ยคอมพิวเตอร์ได้ 5.2 ขอ้ มูลอักขระ (Character Data)

13 เป็นตัวอักษร ตัวหนั งสอื หรือสัญลักษณ์ตา่ งๆ สามารถนํามานํา เสนอขอ้ มูลและเรียงลาํ ดับได้ 5.3 ขอ้ มูลกราฟิก (Graphical Data) เกิดจากจุดพิกัดทางคอมพิวเตอร์ทาํ ให้เกิดรูปภาพหรือแผนท่ี 5.4 ขอ้ มูลภาพ (Image Data) แสดงความเขม้ และสขี องภาพท่ีเกิดจากเคร่ืองสแกนเนอร์หรือ กลอ้ งดิจิทัล สามารถนําเสนอขอ้ มูลยอ่ ขยาย และตัดตอ่ ได้ การประมวลผลขอ้ มูล การประมวลผลขอ้ มูล ​หมายถึง การนําเอาขอ้ มูลท่ีเกบ็ รวบรวมมาจากแหลง่ ตา่ งๆมาจัดประเภท หมวดหมู่ และคาํ นวณ เพ่ือให้ไดผ้ ลลัพธท์ ่ีเหมาะสมและมีรูปแบบตรงตามความตอ้ งการ

14 ของผูใ้ ชง้ าน โดยอาจอยูใ่ นรูปของผลสรุปท่ีเป็นผลลัพธท์ ่ีไดจ้ าก การประมวลผลในการนําไปใชง้ านไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ และนํา ไปใชต้ ัดสนิ ใจดาํ เนินงานธุรกิจ ขัน้ ตอนการประมวลผลขอ้ มูล ขัน้ ตอนท่ี 1 การนําขอ้ มูลเขา้ (Input Data) 1.การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล(Data Collections) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากแหลง่ ตา่ ง เชน่ แบบสอบถาม การ สัมภาษณ์ งานทะเบียน รายงานยอดขายของบริษั ท ใบสัง่ ซ้ือ เป็ นตน้ -การรวบรวมขอ้ มูล (Data Merging) หมายถึงการนําขอ้ มูลตัง้ แตส่ องชุดข้ึนไปมารวมกันให้เป็นชุด เดียว เชน่ การนําประวัติสว่ นตัวของพนั กงานขายและประวัติการ ศกึ ษามารวมกันให้เป็นชุดเดียว 1.1 ความถูกตอ้ งแมน่ ยาํ (Accuracy) สามารถควบคุมความคลาดเคล่ือนให้น้อยท่ีสุด 1.2ความทันเวลา (Timeliness)

15 ขอ้ มูลท่ีทันสมัย และทันตอ่ ความตอ้ งการของผูใ้ ช้ 1.3ความสมบรูณ์ครบถว้ น (Completeness) ขอ้ มูลท่ีให้ขอ้ เทจ็ จริง ครบถว้ นสมบูรณ์ไมข่ าดสว่ นใดไป 1.4ความกะทัดรั ด (Conciseness) ขอ้ มูลท่ีสะดวกตอ่ การนําไปใช้ และมีความเขา้ ใจไดใ้ นทันที 1.5ความตรงกับความตอ้ งการของผูใ้ ช้ (Relevance) ขอ้ มูลตรงตอ่ การใชง้ าน 1.6ความตอ่ เน่ือง (Continuity) ดาํ เนินการอยา่ งสมา่ํ เสมอ 2.การเปล่ียนแปลงสภาพขอ้ มูล (Data Conversion) เป็นการจัดเตรียมขอ้ มูลท่ีรวบรวมมาไดแ้ ลว้ ให้อยูใ่ นรูปท่ีสามารถ นําไปประมวลไดส้ ะดวกยงิ่ ข้ึน 2.1 การบรรณาธิกร (Editing)

16 การตรวจสอบความถูกตอ้ งสมบูรณ์ของแบบสอบถามแตล่ ะชุด ตัง้ แตก่ ารตรวจนําจาํ นวนแบบสอบถาม จัดเรียงหมายเลขแบบ สอบสอบถามแตล่ ะชุด หลังจากนั น้ จึงเริ่มตรวจสอบความสมบูรณ์ คือ คอบครบและตามเง่ือนไขท่ีตอ้ งการ 2.2 การลงรหัส (Coding) การลงรหัสสามารถทาํ ไดท้ ัง้ ในขัน้ ท่ีตรวจสอบขอ้ มูลเสร็จ เรียบร้อยแลว้ หรือจะทาํ ไปหร้อมกับการตรวจสอบขอ้ มูลกไ็ ด้ รหัสท่ีใชอ้ าจอยูใ่ นรูปของตัวเลขหรือตัวอักษรกไ็ ด้ การลงรหัส เป็นการเปล่ียนคาํ ตอบท่ีเป็นคาํ พูดหรือตัวอักษรให้อยูใ่ นรูปของ ซ่ึงรหัสจะใชร้ หัสบันทึกขอ้ มูลไดน้ ั น้ จะตอ้ งมีการกาํ หนดไวล้ ว่ ง หน้าวา่ จะใชก้ ลุม่ เลขหรือตัวอักษรเป็นรหัส โดยทั่วไปมักนิยมใช้ ตั วเลขเป็ นรหั สเพราะสะดวกในการบั นทึก ขัน้ ตอนท่ี 2 การประมวลผล (Process) 1.การจัดแบง่ กลุม่ ขอ้ มูล (Data Classify) แยกขอ้ มูลออกเป็นกลุม่ หรือประเภทตา่ งๆ 2.การจัดเรียงขอ้ มูล (Data Surting) จัดเรียงขอ้ มูลจากน้อยไปมาก หรือมากไปน้อย เพ่ือให้ดูงา่ ยข้ึน คน้ หาขอ้ มูลท่ีตอ้ งการเร็วข้ึน

17 3.การสรุปผลขอ้ มูล (Data Summarizing) สรุปสว่ นตา่ งๆของขอ้ มูล โดยยอ่ เอาเฉพาะสว่ นท่ีเป็นใจความ สาํ คัญ 4.การคาํ นวณขอ้ มูล (Data Calculation) การนําขอ้ มูลท่ีเป็นตัวเลขมาทาํ การบวก ลบ คูณ หาร ยกกาํ ลัง 5.การวเิ คราะหข์ อ้ มูล (Data Analysis) 1. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลขัน้ ตน้ เป็นการหาคา่ สถิติพ้ืนฐาน เชน่ คา่ เฉล่ีย 2. การวเิ คราะหข์ อ้ มูลขัน้ สูง มีความซับซอ้ น เชน่ วเิ คราะหค์ วาม ถดถอย ความแปรปรวน ขัน้ ตอนท่ี 3 แสดงผลลัพธ์ (Output Information) ผลลัพธข์ องขอ้ มูลน้ีเรียกวา่ สารสนเทศ (Information) เม่ือ ขอ้ มูลท่ีเกบ็ รวบรวมมาผา่ นกระบวนการท่ีเรียกวา่ ประมวลผล

18 ขอ้ มูลแลว้ ควรจะดทาํ หรือหาผลลัพธท์ ่ีไดร้ ูปแบบท่ีเขา้ ใจงา่ ย สะดวกตอ่ การใชง้ าน เชน่ รูปแบบรายงาน 1.กาารดึงขอ้ มูล (Retrieving) นําขอ้ มูลท่ีตอ้ งการมาจากแหลง่ เกบ็ เพ่ือนํามาใชง้ าน 2.การทาํ รายงาน (Reporting) นําขอ้ มูลมาจัดพิมพร์ ายงานในรูปแบบตา่ งๆ 3.การบันทึก (Recording) คัดลอกขอ้ มูลจากตน้ ฉบับเขา้ แฟ้ มแลว้ จัดเขา้ แฟ้ ม 4.การปรั บปรุงรั กษาขอ้ มูล (Updating) เพิม่ (Add) หรือ ลบ (Delete) และเปล่ียนคา่ (Change) ให้ ขอ้ มูลทันสมัยอยูเ่ สมอ เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการประมวลผลขอ้ มูล เม่ือผา่ นการรวบรวมและเตรียมขอ้ มูลแลว้ สามารถใชว้ ธิ ีการ ประมวลผลวธิ ีใดวธิ ีหน่ึง หรือ หลายวธิ ีดังท่ีไดก้ ลา่ วมาแลว้ เชน่ การคาํ นวณ

19 1.การประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยมือถือ (Manual Data Processing) ใชม้ นุษยเ์ ป็นหลัก โดยมีอุปกรณ์ชว่ ย 2.การประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยเคร่ืองจักรกล (Mechanical Data Processing) ใชแ้ รงงานมนุษยแ์ ละเคร่ืองจักรกลร่วมกัน 3.การประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยเคร่ืองอิเลก็ ทรอนิกส์ (Electronic Data Processing) ใชค้ อมพิวเตอร์ มีขัน้ ตอนซับซอ้ นหรือใชก้ ารคาํ นวณจาํ นวนมาก การเปรียบเทียบวธิ ีการประมวลผล -การประมวลผลในแตล่ ะวธิ ีนั น้ มีขอ้ ดีขอ้ เสยี ท่ีแตกตา่ งกัน ผู้ รวบรวมตอ้ งตัดสนิ ใจเลือกวธิ ีใดวธิ ีหน่ึง การวเิ คราะหแ์ ละการตีความหมายขอ้ มูล (Analysis and Interpretation of Data) -การแยกประเภท การจัดชัน้ การสังเขป การหาขอ้ สรุปเก่ียวกับ ลักษณะตา่ งๆของขอ้ มูล การพิจรณาขอ้ มูล

20 ภาษาซี ภาษาซี ​เป็นภาษาท่ีถือวา่ เป็นทัง้ ภาษาระดั บสูงและระดั บตา่ํ ถูก พัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis Ritche) แหง่ ห้องทดลอง เบลล์ (Bell Laboratories) ท่ีเมอร์รีฮิล มลรั ฐนิวเจอร์ซ่ี โดย เดนนิสไดใ้ ชห้ ลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซ่ึงพัฒนาข้ึนโดย

21 เคน ทอมสัน (Ken Tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซี ของเดนนิส ริดชี มีจุดมุง่ หมายให้เป็นภาษาสาํ หรั บใชเ้ ขียน โปรแกรมปฏิบัติการระบบยูนิกซ์ และไดต้ ัง้ ช่ือวา่ ซี (C) เพราะ เหน็ วา่ ซี (C) เป็นตัวอักษรตอ่ จากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซีถือวา่ เป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับตา่ํ ทัง้ น้ีเพราะ ภาษาซีมีวธิ ีใชข้ อ้ มูลและมีโครงสร้างการควบคุมการทาํ งานของ โปรแกรมเป็นอยา่ งเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอ่ืนๆ จึง ถือวา่ เป็นภาษาระดับสูง ในดา้ นท่ีถือวา่ ภาษาซีเป็นภาษาระดับตา่ํ เพราะภาษาซีมีวธิ ีการเขา้ ถึงในระดับตา่ํ ท่ีสุดของฮาร์ดแวร์ ความ สามารถทัง้ สองดา้ นของภาษาน้ีเป็นสงิ่ ท่ีเก้ือหนุนซ่ึงกันและกัน ความสามารถระดับตา่ํ ทาํ ให้ภาษาซีสามารถใชเ้ ฉพาะเคร่ืองได้ และความสามารถระดับสูง ทาํ ให้ภาษาซีเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถสร้างรหัสภาษาเคร่ืองซ่ึงตรงกับชนิดของขอ้ มูลนั น้ ไดเ้ อง ทาํ ให้โปรแกรมท่ีเขียนดว้ ยภาษาซีท่ีเขียนบนเคร่ืองหน่ึง สามารถนําไปใชก้ ับอีกเคร่ืองหน่ึงได้ ประกอบกับการใชพ้ อยน์

22 เตอร์ในภาษาซี นั บไดว้ า่ เป็นตัวอยา่ งท่ีดีของการเป็นอิสระจาก ฮาร์ดแวร์ ผูพ้ ัฒนาภาษา – ค.ศ. 1970 มีการพัฒนาภาษา B โดย Ken Thompson ซ่ึง ทาํ งานบนเคร่ือง DEC PDP-7 ซ่ึง ทาํ งานบนเคร่ืองไมโคร คอมพิวเตอร์ไมไ่ ด้ และยังมีขอ้ จาํ กัดในการใชง้ านอยู่ (ภาษา B สบื ทอดมาจาก ภาษา BCPL ซ่ึงเขียนโดย Marth Richards) – ค.ศ. 1972 Dennis M. Ritchie และ Ken Thompson ไดส้ ร้างภาษา C เพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพ ภาษา B ให้ดียงิ่ ข้ึน ใน

23 ระยะแรกภาษา C ไมเ่ ป็นท่ีนิยมแกน่ ั กโปรแกรมเมอร์โดยทั่วไป นั ก – ค.ศ. 1978 Brian W. Kernighan และ Dennis M. Ritchie ไดเ้ ขียนหนั งสอื เลม่ หน่ึงช่ือวา่ The C Programming Language และหนั งสอื เลม่ น้ีทาํ ให้บุคคล ทั่วไปรู้จักและนิยมใชภ้ าษา C ในการเขียน โปรแกรมมากข้ึน – แตเ่ ดิมภาษา C ใช้ Run บนเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 8 bit ภายใต้ ระบบปฏิบัติการ CP/M ของ IBM PC ซ่ึงในชว่ งปี ค. ศ. 1981 เป็นชว่ งของการพัฒนาเคร่ืองไมโครคอมพิวเตอร์ ภาษา C จึงมี บทบาทสาํ คัญในการนํามาใชบ้ นเคร่ือง PC ตัง้ แตน่ ั น้ เป็นตน้ มา และมีการพัฒนาตอ่ มาอีกหลาย ๆ คา่ ย ดังนั น้ เพ่ือกาํ หนดทศิ ทาง การใชภ้ าษา C ให้เป็นไปแนวทางเดียวกัน ANSI (American National Standard Institute) ไดก้ าํ หนดขอ้ ตกลงท่ีเรียกวา่ 3J11 เพ่ือสร้างภาษา C มาตรฐานข้ึนมา เรียนวา่ ANSI C

24 – ค.ศ. 1983 Bjarne Stroustrup แหง่ ห้องปฏิบัติการเบลได้ พัฒนาภาษา C++ ข้ึนรายละเอียดและความสามารถของ C++ มี สว่ นขยายเพิม่ จาก C ท่ีสาํ คัญ ๆ ไดแ้ ก่ แนวความคดิ ของการ เขียนโปรแกรมแบบกาํ หนดวัตถุเป้ าหมายหรือแบบ OOP (Object Oriented Programming) ซ่ึงเป็นแนวการเขียน โปรแกรมท่ีเหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมขนาดใหญท่ ่ีมีความ สลับซับซอ้ นมาก มีขอ้ มูลท่ีใชใ้ นโปรแกรมจาํ นวนมาก จุดเดน่ -จุดดอ้ ย ของภาษา จุดเดน่ เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ท่ีมีการพัฒนาข้ึนใชง้ านเพ่ือเป็นภาษา มาตรฐานท่ีไมข่ ้ึนกับโปรแกรมจัดระบบงานและไมข่ ้ึนกับ ฮาร์ดแวร์ - เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ท่ีอาศัยหลักการท่ีเรียกวา่ \"โปรแกรม โครงสร้าง\" จึงเป็นภาษาท่ีเหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ

25 - เป็นคอมไพเลอร์ท่ีมีประสทิ ธิภาพสูง ให้รหัสออบเจก็ ตส์ ัน้ ทาํ งานไดร้ วดเร็ว เหมาะกับงานท่ีตอ้ งการ ความรวดเร็วเป็น สาํ คัญ - มีความคลอ่ งตัวคลา้ ยภาษาแอสแซมบลี ภาษาซีสามารถเขียน แทนภาษาแอสแซมบลีไดด้ ี คน้ หาท่ีผิดหรือ แกโ้ ปรแกรมไดง้ า่ ย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงท่ีทาํ งานเหมือนภาษา ระดับตา่ํ - มีความคลอ่ งตัวท่ีจะประยุกตเ์ ขา้ กับงานตา่ งๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี การ พัฒนาโปรแกรม เชน่ เวริ ์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใชภ้ าษาซีเป็นภาษาสาํ หรั บการพัฒนา - เ​ ป็นภาษาท่ีมีอยูบ่ นเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน มีในเคร่ือง ไมโครคอมพิวเตอร์ตัง้ แต่ 8 บติ ไปจนถึง 32 บติ เคร่ืองมินิ คอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม

26 - เป็นภาษาท่ีรวมขอ้ ดีเดน่ ในเร่ืองการพัฒนา จนทาํ ให้ป็นภาษาท่ี มีผูส้ นใจมากมายท่ีจะเรียนรู้หลักการของภาษา และวธิ ีการเขียน โปรแกรม ตลอดจนการพัฒนางานบนภาษาน้ี จุดดอ้ ย - เป็นภาษาท่ีเรียนรู้ยาก - การตรวจสอบโปรแกรมทาํ ไดย้ าก - ไมเ่ หมาะกับการเขียนโปรแกรมท่ีเก่ียวขอ้ งกับการออกรายงาน ท่ีมีรูปแบบซับซอ้ นมากๆ การประยุกตก์ ารใชภ้ าษา

27 ภาษาซีเป็นภาษาระดับสูงท่ีสามารถทาํ งานแบบภาษาระดับ ตา่ํ (assembly language)ได้ ดว้ ยลักษณะการใชง้ านของ ภาษา และตัวแปลภาษาท่ีมีความสามารถแปลงโปรแกรมได้ อยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ การประยุกตใ์ ชง้ านภาษาซีเพ่ือเขียนโปรแกรม จึง สามารถทาํ ไดอ้ ยา่ งหลากหลายเชน่ การคาํ นวณทางคณิตศาสตร์ การจัดการแฟ้ มขอ้ มูล การเขียนโปรแกรมระบบปฏิบัติการ การ ควบคุมอุปกรณ์ตอ่ พว่ งกับคอมพิวเตอร์ หรือใชส้ ร้างโปรแกรม ประยุกตอ์ ่ืนๆ ทัง้ น้ีตอ้ งมีการพิจารณาถึงฟั งกช์ ันการใชง้ านของ ภาษาและตัวแปลภาษาดว้ ย การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาซี ไม่ เพียงตอ้ งรู้รูปแบบภาษา(syntax) เทา่ นั น้ แตจ่ าํ เป็นตอ้ งรู้ขัน้ ตอนการสร้างโปรแกรมดว้ ย เพ่ือให้โปรแกรมสามารถทาํ งานได้ ครบ ตามความตอ้ งการอยา่ งถูกตอ้ ง ขัน้ ตอนการพัฒนาโปรแกรม สามารถแบง่ ขัน้ ตอนตา่ งๆ ไดเ้ ป็น 1.1 การระบุความตอ้ งการใชง้ าน เป็นขัน้ ตอนการอธิบาย ลักษณะของงานท่ีตอ้ งการนําโปรแกรมใช้ 1.2 การระบุรายละเอียดการทาํ งานของโปรแกรม เป็นขัน้ ตอน ท่ีอธิบายวา่ จะใชโ้ ปรแกรมไปทาํ อะไรบา้ งในงานท่ีไดร้ ะบุ ความ ตอ้ งการนั น้ 1.3 การออกแบบโปรแกรม เป็นขัน้ ตอนท่ีนํารายละเอียดการ ทาํ งานของโปรแกรมมาออกแบบโดยการเขียนalgorithms หรือ ลักษณะขอ้ มูลท่ีจะตอ้ งใชใ้ นโปรแกรม

28 1.4 การเขียนโปรแกรม เป็นขัน้ ตอนท่ีนําการออกแบบ โปรแกรมไวม้ าเขียนเป็นคาํ สัง่ ในภาษาคอมพิวเตอร์ เพ่ือสร้าง เป็ นโปรแกรมท่ีสมบูรณ์ 1.5 การทดสอบโปรแกรม เป็นขัน้ ตอนเพ่ือทดสอบ โปรแกรม เพ่ือหาขอ้ ผิดพลาด และหน้าท่ีของโปรแกรม 1.6 การแกไ้ ขโปรแกรม เป็นขัน้ ตอนท่ีใชแ้ กไ้ ขสว่ นผิด พลาด จากการทดสอบให้ถูกตอ้ ง และนําไปทดสอบอีกครั ง้ 1.7 การนําโปรแกรมไปใชง้ าน เป็นขัน้ ตอนการนําโปรแกรม ท่ี ผา่ นจากการทดสอบแลว้ ไปใชง้ านยังระบบงานท่ีตอ้ งการ 1.8 การบาํ รุงรั กษาโปรแกรม เป็นขัน้ ตอนการนําโปรแกรมท่ี มี ขอ้ ผิดพลาดท่ีพบจากการใชง้ านจริงไปแกไ้ ข 1.9 การปรั บปรุงและเปล่ียนแปลงโปรแกรม เป็นขัน้ ตอน การนําโปรแกรมท่ีผา่ นการใชง้ านแลว้ และตอ้ งการ เปล่ียนแปลง บางอยา่ ง เชน่ เพิม่ เติมหน้าท่ี , เปล่ียนขัน้ ตอน วธิ ีของโปรแกรม เพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพการทาํ งาน เป็นตน้

29 เทคโนโลยีประยุกต์ เทคโนโลยีประยุกต์ หมายถึงนําเอาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้ และกอ่ ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติแกม่ วลมนุษย์ กลา่ วคือ เทคโนโลยีเป็นการนําเอาความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้ ในการ ประดิษฐ์สงิ่ ของตา่ ง ๆ ให้เกิดประโยชน์สูงสุด และมีการประยุกต์ มาใชใ้ นสาขาวชิ าตา่ งๆดังนั น้ ในทุกสาขาอาชีพจาํ เป็นตอ้ งไดร้ ั บ ขอ้ มูลและสารสนเทศจากแหลง่ ตา่ ง ๆ ท่ีน่าเช่ือถือ เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา (Technology in Education)​ ​หมายถึง การนําเทคโนโลยีดา้ นตา่ ง ๆ เขา้ มา ประยุกตใ์ ชเ้ พ่ือประโยชน์ในการจัดการศกึ ษา การจัดการเรียน

30 การสอนเพ่ือให้การศกึ ษาการสอนการเรียนมีคุณภาพ และมี ประสทิ ธิภาพ เทคโนโลยีท่ีนํามาใชใ้ นการศกึ ษาไดแ้ กเ่ ทคโนโลยี ตา่ ง ๆ 1.) เทคโนโลยีส่อื สารโทรคมนาคม คือ เทคโนโลยีท่ีเก่ียวกับ การส่อื สารทางไกลโดยผา่ นระบบการส่อื สารคมนาคมตา่ ง ๆ 2.) เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ซ่ึงใชค้ อมพิวเตอร์ในการรั บขอ้ มูล ประมวลผลขอ้ มูลและนําเสนอขอ้ มูลตามท่ีผูใ้ ชต้ อ้ งการ 3.) เทคโนโลยีเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ ซ่ึงแบง่ เป็นประเภทใหญ่ ๆ ไดแ้ ก่ เครือขา่ ยเฉพาะท่ี (LocalArea Network-LAN) เป็น ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ขนาดเลก็ ท่ีตอ่ เช่ือม คอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ไมม่ ากนั กมักอยูใ่ นอาคารหลังเดียว เครือขา่ ยบริเวณกวา้ ง (Wide Area Network-WAN)เป็น ระบบเครือขา่ ยท่ีมีคอมพิวเตอร์กระจายอยา่ งกวา้ งขวางทั่ว ประเทศชว่ ยให้สาํ นั กงานในจังหวัดติดตอ่ ส่อื สารและทาํ งานร่วม กับสาํ นั กงานใหญท่ ่ีอยูใ่ นเมืองหลวงได้

31 4.) ระบบสาํ นั กงานอัตโนมัติเป็นแนวคดิ ท่ีนําระบบเครือขา่ ยมา ใชเ้ ช่ือมโยงคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์สาํ นั กงาน เชน่ ระบบ ไปรษณียอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ ระบบประชุมทางไกล 5.) เทคโนโลยีระบบสารสนเทศ เป็นการประมวลผลขอ้ มูลใน ลักษณะตา่ ง ๆ เพ่ือชว่ ยในการจัดการและบริหารงาน 6.) ระบบมัลติมีเดีย เป็นเทคโนโลยีท่ีผสมผสานภาพ ภาพ เคล่ือนไหว เสยี งและขอ้ ความเขา้ ดว้ ยกันโดยใชร้ ะบบ คอมพิวเตอร์ชว่ ยในการแสดงผล นําไปประยุกตใ์ ชใ้ นการสอน เชน่ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (CAI) กิจกรรมเพ่ือการศกึ ษาท่ีใชเ้ ทคโนโลยีเขา้ มาชว่ ย ในปั จจุบันน้ี ไดแ้ ก่ วทิ ยุกระจายเสยี งเพ่ือการศกึ ษา วทิ ยุโรงเรียน โทรทัศน์ เพ่ือการศกึ ษา การสอนทางไกลผา่ นดาวเทียม

32 เทคโนโลยีดา้ นการแพทย(์ MEDICAL TECHNOLOGY)​หมายถึง วทิ ยาการท่ีเก่ียวกับศลิ ปะใน การนําเอาวทิ ยาศาสตร์นํามาประยุกตใ์ ช้ เพ่ือให้เกิดประโยชน์ตอ่ มนุษยใ์ นดา้ นการแพทย์ เชน่ การตรวจ การรั กษาพยาบาล และ การป้ องกันโรค ดว้ ยวธิ ีการตา่ งๆ เทคโนโลยีการแพทยจ์ ึงเปรียบ เสมือนเคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการปรั บตัวในการดาํ รงเผา่ พันธุ์ เป็นการ ตอบสนองตอ่ สงิ่ เร้าผา่ นทางอุปกรณ์ท่ีทันสมัย เพ่ือความอยูร่ อด 1) ระบบแพทยท์ างไกล (Telemedicine) ระบบแพทยท์ าง ไกลเป็นการนําเอาความกา้ วหน้าดา้ นการส่อื สารโทรคมนาคมมา ประยุกตใ์ ชก้ ับงานทางการแพทย์ โดยการสง่ สัญญาณผา่ นส่อื ซ่ึง อาจจะเป็นสัญญาณดาวเทียม (Satellite) หรือใยแกว้ นําแสง (Fiber optic) แลว้ แตก่ รณีควบคูไ่ ปกับเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ แพทยต์ น้ ทางและปลายทางสามารถติดตอ่ กันดว้ ยภาพ เคล่ือนไหวและเสยี ง ทาํ ให้สามารถแลกเปล่ียนขอ้ มูลคนไข้ ระหวา่ งกันได้ 2)ระบบการปรึกษาแพทยท์ างไกล (Medical Consultation) ระบบการปรึกษาแพทยท์ างไกลเป็นระบบการปรึกษาระหวา่ งโรง

33 พยาบาลกับ โรงพยาบาล(One to One) ซ่ึงจะสามารถใชง้ าน พร้อม ๆ กันได้ เชน่ ในขณะท่ีโรงพยาบาลท่ี 1 ปรึกษากับโรง พยาบาล ท่ี 2 อยู่ โรงพยาบาลท่ี 3 สามารถขอคาํ ปรึกษาจากโรง พยาบาลท่ี 4 และโรงพยาบาลท่ี 5 สามารถขอคาํ ปรึกษาจาก โรง พยาบาลท่ี 6 ได้ 3) ระบบเช่ือมเครือขา่ ยขอ้ มูลและโทรศัพท์ (Data and Voice Network)ระบบเช่ือมเครือขา่ ยขอ้ มูลเป็นระบบการใชง้ านเช่ือม ตอ่ จากโรงพยาบาลตา่ ง ๆ ซ่ึงเป็นจุดติดตัง้ ของโครงการฯ มายังสาํ นั กเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือให้สามารถใชบ้ ริการทาง ดา้ นเครือขา่ ยขอ้ มูลตา่ ง ๆ คือระบบ Internet ระบบ CD-ROM Server ระบบ ฐานขอ้ มูลกระทรวงสาธารณสุข เทคโนโลยีในงานธุรกิจ(BUSINESS TECHNOLO)ห​ มายถึง การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศในสาขาธุรกิจ พาณิชย์ และสาํ นั กงาน มีวัตถุประสงค์ เพ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการผลิตและการบริการ ตัวอยา่ งการ

34 ประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศดา้ นธุรกิจ พาณิชย์ และ สาํ นั กงาน จาํ แนกได้ 2 อยา่ งGY) การพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ (e-commerce) คือ การทาํ กิจกรรมทางธุรกิจผา่ นชอ่ งทางอิเลก็ ทรอนิกส์ ในทุก ชอ่ งทางเชน่ อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์ วทิ ยุ แฟกซ์ เป็นตน้ ทัง้ ใน รูปแบบขอ้ ความ เสยี ง และภาพ โดยกิจกรรมทางธุรกิจจะเน้นการ ขายสนิ คา้ หรือบริการซ่ึงเริ่มตัง้ แตส่ ว่ นของผูช้ ่ือ สามารถดาํ เนิน การเลือกซ้ือสนิ คา้ หรือบริการ คาํ นวณเงนิ ชาํ ระเงนิ รวมถึงการ ไดร้ ั บบริการหลังการขายไดโ้ ดยอัตโนมัติ สว่ นของผูข้ าย สามารถ นําเสนอสนิ คา้ รั บเงนิ ชาํ ระคา่ สนิ คา้ ตัดสนิ คา้ จากคลังสนิ คา้ และ ประสานงานไปยังผูจ้ ัดสง่ สนิ คา้ รวมถึงการบริหารหลังการขายได้ โดยอั ตโนมั ติ กิจกรรมทางธุรกิจดังกลา่ วในปั จจุบันนิยมจัดทาํ รูปแบบของ เวบ็ ไซต์ เชน่ www. amazon.com เป็นเวบ็ ไซตก์ ารคา้ ปลีก ออนไลน์ท่ีใหญท่ ่ีสุด โดยในชว่ งแรกจะขายหนั งสอื แตป่ ั จจุบัน

35 กาํ ลังพัฒนาการขายสนิ คา้ เพิม่ เติมโดยลูกคา้ สามารถดาวน์โหลด เพลง ภาพวดิ ีโอ ประโยชน์ของการพาณิชยอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์ ไดแ้ ก่ 1. เพิม่ ชอ่ งทางการขายจากชอ่ งทางปกติ ไดแ้ ก่ การขายหน้าร้าน คา้ เป็นการขายผา่ นเวบ็ ไซต์ 2. ลดคา่ ใชจ้ า่ ย เชน่ ทาํ เลท่ีตัง้ อาคารประกอบการ โกดังเกบ็ สนิ คา้ 3. สามารถให้บริการขายไดต้ ลอด 24 ชั่วโมง ทุกวันและตลอด เวลา 4. สามารถให้บริการหลังการขายและแกไ้ ขปั ญหาท่ีเกิดข้ึนกับ สนิ คา้ ไดร้ วดเร็ว สาํ นั กงานอัตโนมัติ (office automation)

36 เป็นการนําเอาเทคโนโลยีสมัยใหม่ ไดแ้ ก่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ซอฟตแ์ วร์ โทรศัพท์ เทเลเทก็ ซ์ เคร่ืองเขียนตามคาํ บอกอัตโนมัติ (dictating machines) เคร่ืองถา่ ยเอกสารแบบหน่วยความจาํ เคร่ืองโทรสาร ฯลฯ มาใชช้ ว่ ยให้การปฏิบัติงานในสาํ นั กงาน เกิด ประสทิ ธิภาพและความสะดวกรวดเร็วมากข้ึน การใชอ้ ุปกรณ์คอมพิวเตอร์จะชว่ ยในเร่ืองการประมวลผลขอ้ มูล ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว การติดตอ่ ส่อื สารภายในสาํ นั กงานเป็นไปอยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ

37 บรรณานุ กรม   https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%9 7%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A 3%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B 4%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%A 3%E0%B9%8C https://nuttinan7006.wordpress.com/category/%E0%B8%81%E0%B 8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B 8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B 8%84%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B9%82%E 0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B5/ https://sites.google.com/a/moeipit.ac.th/kheiyn-porkaerm-phasa-si/ prawati-phasa-si?fbclid=IwAR0S_WHMIDFYX4qCuRjaJRWY3lLwsa LawZy94bziLwqIECk5o9klycfmo20 https://sites.google.com/site/rattikan581031029/kar-prayukt-chi-nga n-thekhnoloyi-sarsnthes?fbclid=IwAR14hKb8HIG9tiHKxqSLS3c2pF 2t6TgxIxAkxLQZw4aofDBfsQeUNOzQOkE

38 ภาคผนวก   1)ภาพสถิติเก่ียวกั บผูเ้ ขา้ ชมการ(Live)หรือนําเสนอ ออนไลน์ https://www.facebook.com/1000217688 56001/videos/886088442126776/

39 2)ยอดผูเ้ ขา้ ดูเวป็ ไซตข์ อง Admin https://m.facebook.com/story.php?stor y_fbid=1823583487805374&id=1000046 12213502


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook