Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงาน5-6กลุ่มที่6!

รายงาน5-6กลุ่มที่6!

Published by 40.น.ส.อลิสดา อาดหมาด, 2020-10-25 07:36:44

Description: รายงาน5-6กลุ่มที่6!

Search

Read the Text Version

รายงาน วชิ าวทิ ยาการคาํ นวณ รหัส ว30118 1. นางสาวพาขวัญ คงถาวร จัดทาํ โดย เลขท่ี 23 2. นายกันทรากร อยูย่ ืน เลขท่ี 30 3. นายนิติธร ทองไซร้ เลขท่ี 38 4. นางสาวอลิสดา อาดหมาด เลขท่ี 40 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี 5/6 เสนอ ครูจิรายุ ทองดี รายงานเลม่ น้ีเป็นสว่ นหน่ึงของรายวชิ าวทิ ยาการคาํ นวณ รหัส ว30118 โรงเรียนนวมินทราชินูทศิ เตรียมอุดมศกึ ษาน้อมเกลา้ ภาคเรียนท่ี 1 ปี การศกึ ษา 2562 สังกัดกระทรวงศกึ ษาธิการ

ก คาํ นํา รายงานเลม่ น้ีเป็นสว่ นหน่ึงของวชิ าวทิ ยาการคาํ นวณ รหัส ว30118 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปี ท่ี5 เพ่ือ ให้เป็นประโยชน์ตอ่ ผูศ้ กึ ษาในหน่วยวชิ าน้ี และเพ่ือให้ผูท้ ่ีเขา้ มาอา่ นรายงานเลม่ น้ีไดศ้ กึ ษา หาความรู้จากรายงานเพ่ือพัฒนาหรือตอ่ ยอดทักษะในดา้ นตา่ งๆของตนเอง และสามารถนํา ขอ้ มูลตา่ งๆไปศกึ ษาคน้ ควา้ หาความรู้เพิม่ เติมในสงิ่ ท่ีตนเองสนใจหรืออยากทาํ ตอ่ ได้ นางสาวอลิสดา อาดหมาด ผูจ้ ัดทาํ รายงาน

ข สารบั ญ เร่ือง หน้า คาํ นํา ก สารบั ญ ข วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ 3 เทคโนโลยีประยุกต์ 7 พ้ืนฐานของภาษาซี 12 กระบวนการเทคโนโลยี 19 บรรณานุ กรม 27 ภาคผนวก 28

3 วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ หมายถึง ศาสตร์ท่ีเรียนรู้เก่ียวกับการศกึ ษาทฤษฎีการคาํ นวณสาํ หรั บ คอมพิวเตอร์ และทฤษฎีการประมวลผลสารสนเทศ ประกอบดว้ ย ฮาร์ดแวร์และซอฟตแ์ วร์ ซ่ึงในปั จจุบันมีการพัฒนาไปอยา่ งรวดเร็วทัง้ ดา้ นอุปกรณ์และซอฟตแ์ วร์ รวมถึงเทคโนโลยี อ่ืนๆท่ีเก่ียวขอ้ ง เชน่ เทคโนโลยีดา้ นการส่อื สาร เพ่ือตอบสนองการใชง้ านดา้ นตา่ งๆท่ีพบเหน็ ในชีวติ ประจาํ วัน เชน่ การจัดทาํ รายงานดว้ ยโปรแกรมMicrosoft Word การคาํ นวณยอด ขายดว้ ยโปรแกรมMicrosoft Excel การคน้ หาขอ้ มูลจากGoogle Chrome ปั จจุบันคอมพิวเตอร์ท่ีใชใ้ นชีวติ ประจาํ วัน และใชง้ านไดง้ า่ ยข้ึนอยูก่ ับลักษณะและ วัตถุประสงคก์ ารใชง้ าน เชน่ การใชง้ านพิมพ์ การจัดเกบ็ ขอ้ มูล

4 Internet of Things (IoT) อินเทอร์เน็ตเพ่ือทุกสรรพสงิ่ หรืออินเทอร์เน็ตในทุกสงิ่ คือ การนําอุปกรณ์ตา่ งๆมาเช่ือมโยง กับเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ซ่ึงสามารถส่อื สารและควบคุมการใชง้ านผา่ นอุปกรณ์เคล่ือนท่ี เชน่ Smart phone หรือ Tablet การนําเทคโนโลยี Internet of Things ประยุกตใ์ ชใ้ นดา้ นตา่ งๆ -Smart Industry การนําเทคโนโลยี Internet of Things มาประยุกตใ์ ชเ้ พ่ือชว่ ยเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการผลิต แกป้ ั ญหา และลดความผิดพลาดในการผลิต ชว่ ยแกป้ ั ญหาเร่ืองการ ขาดแคลนคนงาน ชว่ ยเพิม่ ผลผลิต ลดตน้ ทุนการผลิต เพิม่ คุณภาพของสนิ คา้ และลดความ เส่ยี งจากการใชง้ านของอุปกรณ์เคร่ืองจักรท่ีมีอันตรายสูง -Smart City การนําเทคโนโลยี Internet of Things มาประยุกตใ์ ชเ้ พ่ือชว่ ยปรั บใชก้ ับ โครงสร้างพ้ืนฐานและระบบตา่ งๆ ของเมืองท่ีเน้นการอนุรั กษ์สงิ่ แวดลอ้ ม และการพัฒนาอยา่ ง ยั ่งยืนครบวงจร -Smart Life การนําเทคโนโลยี Internet of Things มาประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาํ วันเพ่ือ ตอบสนองรูปแบบการใชช้ ีวติ ในยุคปั จจุบัน ทาํ ให้สามารถจัดการกับอุปกรณ์เคร่ืองมือตา่ งๆให้ ทาํ งานผา่ นระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต ซ่ึงอุปกรณ์เคร่ืองมือตา่ งๆ จะมีชิปประมวลผลฝั งตัวอยู่ ซ่ึงสามารถแลกเปล่ียนขอ้ มูลกันผา่ นระบบอินเตอร์เน็ต ทาํ ให้สามารถควบคุมอุปกรณ์เหลา่ นั น้ ได้

5 ปั ญญาประดิษฐ์ ปั ญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence : AI) ปั ญญาประดิษฐ์เป็นระบบคอมพิวเตอร์ท่ีถูกพัฒนาให้มีความสามารถในการเรียนรู้ ใชเ้ หตุผล พัฒนาและปรั บปรุงขอ้ บกพร่องให้ดีข้ึน การทาํ งานใกลเ้ คียงกับระบบประมวลผลและการตอบ สนองของมนุษยแ์ ตล่ ะสถานการณ์ เพ่ือให้คอมพิวเตอร์ปฏิบัติงานแทนมนุษยไ์ ดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธิภาพ ปั ญญาประดิษฐ์สามารถแยกไดห้ ลายประเภทดังน้ี 1. การประมวลผลภาษาธรรมชาติ (Natural Language Processing) เป็นการพัฒนาให้ระบบคอมพิวเตอร์เขา้ ใจภาษามนุษยท์ ่ีใชใ้ นชีวติ ประจาํ วัน 2. ระบบการรั บรู้ภาพ (Vision System) ถูกพัฒนาข้ึนเพ่ือเลียนแบบการมองเหน็ ของบุคคลโดยมีสว่ นรั บสัญญาณภาพ การประมวลผล และรายงานผลตามท่ีถูกกาํ หนดไว้ 3. โครงขา่ ยประสาทเทียม (Articial Neutral Network) เป็นระบบคอมพิวเตอร์ท่ีพัฒนาให้มีการจาํ ลองการทาํ งานของสมองและระบบเสน้ ประสาทของ มนุษย์ ซ่ึงจะมีความสามารถในการสังเกตการเรียนรู้ การจดจาํ การทาํ ซาํ้ และการแยกแยะสงิ่ ตา่ งๆได้ 4. หุน่ ยนต์ (Robotics) เป็นการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ เพ่ือจาํ ลองการทาํ งานของมนุษยโ์ ดยทาํ การออกแบบ อุปกรณ์ และกาํ หนดคาํ สัง่ ให้หุน่ ยนตป์ ฏิบัติงานนั น้ ๆ ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ปั จุบันหุน่ ยนต์ ไดม้ ีการพัฒนาอยา่ งรวดเร็วและสามารถนําไปใชง้ านแทนมนุษยไ์ ด้ 5. ระบบผูเ้ ช่ียวชาญ (Expert System) ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีถูกพัฒนาให้สามารถรั บรู้และทาํ งานเฉพาะดา้ นไดอ้ ยา่ งผูเ้ ช่ียวชาญ

6 ปั ญญาประดิษฐ์มีประโยชน์ตอ่ เทคโนโลยีกับชีวติ ประจาํ วันเป็นอยา่ งมาก โดยแบง่ ดา้ นตา่ งๆท่ี มีการนําระบบน้ีมาใช้ ดังน้ี 1. ดา้ นการคมนาคมอัจฉริยะ เป็นการใชร้ ะบบปั ญญาประดิษฐ์ควบคุมการทาํ งานของรถหรือ ยานดู เพ่ือให้เกิดเป็นจักรกลอัจฉริยะท่ีสามารถควบคุมความช้ืนภายในรถยนตห์ รืออุณหภูมิ ภายในรถยนตเ์ พ่ือให้เกิดความเหมาะสมกับตัวของผูข้ ับข่ี 2. ดา้ นการประมวลผลภาษา เป็รการใชร้ ะบบปั ญญาประดิษฐ์ประมวลผลทางดา้ นภาษา จะ แปลงภาษาจากภาษาหน่ึงเป็นอีกภาษาหน่ึง เพ่ือให้ผูฟ้ ั งหรือผูท้ ่ีตอ้ งการรั บขา่ วสารไดเ้ ขา้ ใจ ถึงขอ้ ความท่ีตอ้ งการจะแปลงของขอ้ ความนั น้ ๆ 3. ดา้ นระบบเครือขา่ ยตา่ งๆ เชน่ ในการคน้ หาขอ้ มูลหรือขา่ วสารขอ้ ความท่ีตอ้ งการอยากรู้บน ระบบเครือขา่ ย โดยใชค้ ียเ์ วริ ์ดในการคน้ หากจ็ ะสามารถหาไดโ้ ดยไมย่ าก 4. ดา้ นการแพทยห์ รือดา้ นสุขภาพตา่ งๆ เป็นการใชร้ ะบบปั ญญาประดิษฐ์วัดความดันของผู้ ป่ วยหรือผูท้ ่ีมารั บบริการนั น้ ๆ 5. ดา้ นการคา้ ในเชิงธุรกิจพาณิชย์ เป็นการใชร้ ะบบปั ญญาประดิษฐ์วเิ คราะหแ์ ละประมวลผล ไดร้ วดเร็วกวา่ มนุษย์ 6. ดา้ นระบบรั กษาความปลอดภั ย เป็นการใชร้ ะบบปั ญญาประดิษฐ์สแกนหรือตรวจจับสงิ่ ผิด ปกติ เพ่ือหาวัตถุตอ้ งสงสัยหรือไมพ่ ึงประสงค์

7 เทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา(TECHNOLOGY IN EDUCATION) หมายถึง การใชเ้ ทคโนโลยีสมัยใหมห่ ลายอยา่ งสอนดว้ ยส่อื อุปกรณ์ท่ีทันสมัย ห้องเรียนสมัย ใหมม่ ีอุปกรณ์วดิ ีโอโปรเจคเตอร์ (Video Projector)มีเคร่ืองคอมพิวเตอร์มีระบบการอา่ น ขอ้ มูลอิเลก็ ทรอนิกสแ์ บบตา่ ง ๆ รูปแบบของส่อื ท่ีนํามาใชใ้ นดา้ นการเรียนการสอนกม็ ีหลาก หลายข้ึนอยูก่ ับความเหมาะสมในการนํามาใช้ เชน่ คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน อิเลก็ ทรอนิกสบ์ ุค วิ ดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ระบบวดิ ีโอออนดีมานด์ การสบื คน้ ขอ้ มูลในคอมพิวเตอร์ และระบบ อินเทอร์เน็ต เป็นตน้

8 เทคโนโลยีประยุกตห์ มายถึง!? เทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นเคร่ื องมือในการจั ดการและการกระจายสารสนเทศ ไปยังผูใ้ ชไ้ ดอ้ ยา่ งทั่วถึงและมีประสทิ ธิภาพ อีกทัง้ ผูใ้ ชส้ ามารถนําสารสนเทศไปใชป้ ระโยชน์ ในการตัดสนิ ใจไดเ้ ป็นอยา่ งดี ดังนั น้ ในทุกสาขาอาชีพจาํ เป็นตอ้ งไดร้ ั บขอ้ มูลและสารสนเทศ จากแหลง่ ตา่ ง ๆ ท่ีน่าเช่ือถือ เพ่ือใชใ้ นการพัฒนาตนเอง พัฒนาอาชีพ รวมทัง้ พัฒนาสังคม และประเทศชาติ ดังนั น้ งานดา้ นตา่ ง ๆ จึงมีการประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ​การประยุกตใ์ ช้ งานเทคโนโลยีสารสนเทศในปั จจุบันไดม้ ีการนํามาใชใ้ นหลายสาขาวชิ าชีพ ทัง้ ในดา้ นการ ศกึ ษา ดา้ นธุรกิจอุตสาหกรรม ดา้ นการแพทย์ ดา้ นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพ่ืออาํ นวย ความสะดวกในการประกอบธุรกิจ การทาํ งาน การศกึ ษาหาความรู้ ทาํ ให้คุณภาพชีวติ ของ คนในสังคมปั จจุบันดีข้ึน นอกจากน้ีหน่วยงานราชการตา่ งๆ กน็ ําเทคโนโลยีสารสนเทศและ ระบบคอมพิวเตอร์ เขา้ มาอาํ นวยความสะดวกให้กับประชาชน ในการติดตอ่ ประสานงานกับ ทางราชการ และในธุรกิจเอกชนทางดา้ นการโรงแรม และการทอ่ งเท่ียว กใ็ ห้บริการขอ้ มูล ขา่ วสาร และบริการลูกคา้ ผานทางระบบอินเทอร์เน็ต ทาํ ไดอ้ ยา่ งสะดวกรวดเร็วทันเหตุการณ์

9 เทคโนโลยีประยุกตท์ ่ีใชใ้ นดา้ นการศกึ ษา 1) วีดิทัศน์ตามอัธยาศัย (Video on Demand : VOD) เป็นระบบท่ีนําภาพวดิ ีโอมาบันทึก เป็นไฟลใ์ นระบบคอมพิวเตอร์และนําไฟลด์ ังกลา่ วมาเผยแพร่ผา่ นระบบเครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต เพ่ือให้ผูเ้ รียนท่ีอยูห่ า่ งไกลมีโอกาสเรียนรู้ไดใ้ นเวลาท่ีสะดวก อีกทัง้ ยังจัดทาํ เป็นลักษณะของ ส่อื ผสม (multimedia) ซ่ึงสามารถกระตุน้ ให้ผูเ้ รียนสนใจเรียนอยูต่ ลอดเวลา รวมทัง้ ยัง จาํ ลองสภาพจริงท่ีชว่ ยให้เกิดการเรียนรู้อยา่ งชัดเจน ดังนั น้ ในทอ้ งถิน่ หา่ งไกลท่ีขาดบุคลากร ทางการศกึ ษาเฉพาะทาง ขาดอุปกรณ์การทดลองหรืออุปกรณ์ทางการศกึ ษาตา่ ง ๆ กย็ ังคง สามารถเรียนรู้ไดเ้ ทา่ เทียมกับเดก็ ในเมือง ตัวอยา่ งเวบ็ ไซตท์ ่ีนําเสนอวีดิทัศน์ตามอัธยาศัย 2) หนั งสอื อิเลก็ ทรอนิกส์ (e-books) เป็นหนั งสอื ท่ีอยูใ่ นรูปแบบของไฟลอ์ ิเลก็ ทรอนิกสท์ ่ี ไมต่ อ้ งใชก้ ระดาษ หนั งสอื อิเลก็ ทรอนิกสส์ ามารถอา่ นไดโ้ ดยใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ประเภท พกพาและซอฟตแ์ วร์ท่ีใชอ้ า่ น เชน่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์โน้ตบุก๊ เคร่ืองพีดีเอ และโทรศัพทม์ ือ ถือบางรุ่นท่ีมีระบบปฏิบัติการ Microsoft Mobile นอกจากน้ีหนั งสอื อิเลก็ ทรอนิกสย์ ัง สามารถดาวน์โหลดหรืออา่ นไดจ้ ากเวบ็ ไซดท์ างอินเทอร์เน็ต 3) ห้องสมุดอิเลก็ ทรอนิกส์ (e-library) หมายถึง แหลง่ รวมความรู้ท่ีมีระบบการทาํ งานของ ห้องสมุดให้อยูใ่ นรูปแบบอัตโนมัติ เชน่ ระบบบริการยืม–คืนทรั พยากรดว้ ยรหัสบาร์โคด้ ระบบบริการสบื คน้ ขอ้ มูลทรั พยากร และระบบตรวจเชค็ สถิติการยืม-คืนทรั พยากร เป็นตน้ ดัง นั น้ ห้องสมุดอิเลก็ ทรอนิกสจ์ ะเกบ็ ขอ้ มูลไวใ้ นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ และให้บริการขอ้ มูลผา่ น เครือขา่ ยอินเทอร์เน็ต 4) การเรียนรู้แบบออนไลน์ (e-learning) เป็นการจัดการเรียนการสอนให้ผูเ้ รียนไดเ้ รียน ผา่ นเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต (internet) หรืออินทราเน็ต (intranet) ผูเ้ รียน สามารถเลือกเรียนรู้ไดต้ ามความสามารถและความสนใจ โดยเน้ือหาในบทเรียนซ่ึงอาจ ประกอบดว้ ย ขอ้ ความ รูปภาพ เสยี ง วดิ ีโอ และมัลติมีเดียอ่ืน ๆ ซ่ึงผูเ้ รียนจะตอ้ งมีโปรแกรม เวบ็ เบราวเ์ ซอร์ (web browser) ในการแสดงผลการเรียน การเรียนรู้แบบออนไลน์จะทาํ ให้ ผูเ้ รียน ผูส้ อน และเพ่ือนร่วมชัน้ เรียนทุกคน สามารถติดตอ่ ปรึกษา แลกเปล่ียนความคดิ เหน็ ระหวา่ งกันไดเ้ ชน่ เดียวกับการเรียนในชัน้ เรียนปกติ การเรียนรู้ออนไลน์จึงเป็นการเรียน สาํ หรั บทุกคนท่ีสามารถเรียนรู้ไดท้ ุกเวลา และทุกสถานท่ี

10 เทคโนโลยีในงานธุรกิจ(BUSINESS TECHNOLOGY) หมายถึง การประยุกตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในสาขาธุรกิจ พาณิชย์ และสาํ นั กงาน มี วัตถุประสงคเ์ พ่ือเพิม่ ประสทิ ธิภาพในการผลิตและการบริการ ประยุกตเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศ กับระบบงานในองคก์ รและงานดา้ นบริหารในโลกยุคใหมม่ ีการแขง่ ขันกันอยา่ งรุนแรง ทาํ ให้ การคา้ และการดาํ เนินธุรกิจมีการเปล่ียนแปลงองคก์ รตา่ งๆเริ่มพยายามเปล่ียนแปลงให้กา้ วทัน สูย่ ุคของการคา้ รูปแบบใหม่ โดยผา่ นเคืรอขา่ ยอินเตอร์เน็ต เพ่ือเพิม่ ชอ่ งทางการคา้ ขายการ ตลาดและการบริการไปสูก่ ลุม่ ลูกคา้ ทัง้ เกา่ และใหม่

11 เทคโนโลยีประยุกตท์ ่ีนํามาใชใ้ นดา้ นการแพทย์ 1) ระบบแพทยท์ างไกล (telemedicine) เป็นโครงการของรั ฐบาลท่ียกระดับการให้บริการ รั กษาผูป้ ่ วยในทอ้ งถิน่ ทุรกันดารผา่ นเครือขา่ ยโทรคมนาคม โดยเริ่มจากสง่ ขอ้ มูลผูป้ ่ วยดว้ ย การถา่ ยทอดสดผา่ นทางดาวเทียมในการประชุมทางไกลผา่ นเครือขา่ ย (video conference system) ขณะตรวจอาการผูป้ ่ วยจากสถานีอนามัยเช่ือมไปยังเคร่ืองปลายทางท่ีโรงพยาบาล ประจาํ อาํ เภอ เพ่ือให้แพทยผ์ ูเ้ ช่ียวชาญของโรงพยาบาลปลายทางไดด้ ูภาพลักษณะของผูป้ ่ วย กอ่ นทาํ การวนิ ิจฉั ยอาการผา่ นจอมอนิเตอร์อยา่ งละเอียดอีกครั ง้ พร้อมกับให้คาํ แนะนําในการ รั กษากลับมายังเจา้ หน้าท่ีสถานีอนามัย เพ่ือให้การรั กษาพยาบาลเป็นไปอยา่ งถูกตอ้ งและถูก วธิ ีท่ีสุด 2) ระบบการปรึกษาแพทยท์ างไกล (medical consultation) เป็นระบบการปรึกษา ระหวา่ งโรงพยาบาลชุมชนกับโรงพยาบาลท่ีมีแพทยผ์ ูเ้ ช่ียวชาญผา่ นสัญญาณดาวเทียม ซ่ึง สามารถสง่ ไดท้ ัง้ ขอ้ มูล ภาพ ภาพเคล่ือนไหว และเสยี ง 3) ระบบเช่ือมเครือขา่ ยขอ้ มูลและโทรศัพท์ (Data and Voice Network)ระบบเช่ือมเครือ ขา่ ยขอ้ มูลเป็นระบบการใชง้ านเช่ือมตอ่ จากโรงพยาบาลตา่ ง ๆ ซ่ึงเป็นจุดติดตัง้ ของโครงการฯ มายังสาํ นั กเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือให้สามารถใชบ้ ริการทางดา้ นเครือขา่ ยขอ้ มูลตา่ ง ๆ คือ ระบบ Internet ระบบ CD-ROM Server ระบบ ฐานขอ้ มูลกระทรวงสาธารณสุข 4) การพัฒนาเคร่ืองมือและอุปกรณ์ โดยอาศัยความรู้ดา้ นวศิ วกรรมเป็นหลักในการผลิต เคร่ืองมือและอุปกรณ์ตา่ ง เชน่ เพ่ือการตรวจและวนิ ิจฉั ยโรค เพ่ือการรั กษาพยาบาล เพ่ือการ ป้ องกันโรค 5) การพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการผลิตยา สาร หรือวธิ ีการท่ีใชใ้ นทางการแพทย์ ในการพัฒนา บางครั ง้ ตอ้ งอาศัยเทคโนโลยี เทคนิค และวธิ ีการตา่ งๆ เชน่ เทคโนโลยีชีวภาพ และเทคนิค ทางดา้ นวศิ วกรรม ไดแ้ ก่ - การพัฒนาวธิ ีการเพาะเล้ียงเช้ือซ่ึงเกบ็ ตัวอยา่ งมาจากผูป้ ่ วย - การสร้างเดก็ หลอดแกว้ - การหาสาเหตุและการรั กษาโรคท่ีเกิดจากความบกพร่องทางพันธุกรรม - อุตสาหกรรมการผลิตยา - การผลิตเซรุ่ม - การผลิตวัคซีนป้ องกันโรค

12 ภาษา C ไดร้ ั บการออกแบบและพัฒนาข้ึนโดย Dennis Ritchie เม่ือปี ค.ศ. 1972 ณ ห้องปฏิบัติการ เบลล์ (Bell Laboratory) โดยออกแบบเพ่ือใชง้ านบนระบบปฏิบัติการ Unixบนเคร่ือง เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ DEC PDP-11ในความเป็นจริงภาษา C ไดส้ บื สานมาจากภาษา B ท่ีพัฒนาข้ึนโดย Ken Thompson ซ่ึงภาษา B น้ีตัง้ อยูบ่ นภาษา BCPL ซ่ึงพัฒนาโดย Martin Richards ในยุคแรกภาษา C ไดถ้ ูกกาํ หนดมาตรฐานท่ีสร้างข้ึนเองในกลุม่ คณะ De Facto Standard ซ่ึงเป็นเวอร์ชั่นท่ีนํามาใชง้ านบนเคร่ือง Unix System V จน กระทั่งปี ค.ศ. 1978 Brian Kernighan และ Dennis Ritchie ไดเ้ สนองานเขียน \"The C Programming Language\" จัดพิมพโ์ ดยสาํ นั กพิมพ์ Prentice-Hall ประ เทศหรั ฐอเมริกา ในชว่ งแรกมาตรฐานภาษา C ในบางสว่ นถูกกาํ หนดไวค้ ลุมเครือ ไม่ ชัดเจนนั ก สง่ ผลให้ผูผ้ ลิตคอม ไพลน์ ํามาตีความหมายแตกตา่ งกันไป จนกระทั่งในราวปี ค.ศ. 1983 ทางสถาบัน ANSI (American National Institute)เขา้ มาแกไ้ ขปั ญหาน้ี ดว้ ยการนําภาษา C มาบรรจุไวเ้ ป็นมาตรฐานท่ีรั บรองโดย ANSIจึงเป็นท่ีมาของ ANSI C ในท่ีสุด และในปี ค.ศ. 1988 น้ีเอง Brian Kernighan และ Dennis Ritchie กไ็ ดม้ ีการ ปรั บปรุงหนั งสกื ท่ีเขาเขียนอีกครั ง้ ซ่ึงเป็นฉบับ Second Edition ภายใตช้ ่ือวา่ \"The C Programming Language\"โดยมีการประทับคาํ วา่ \"ANSI C \"ลงไปดว้ ย ตอ่ มาในปี ค.ศ . 1990 น้ีเองทาง ANSI ไดก้ าํ หนดมาตรฐานของภาษา C เสร็จสมบูรณ์ เพ่ือให้ผูพ้ ัฒนา คอมไพลเ์ ลอร์ทัง้ หลายนําไปสร้างคอมไพลเ์ ลอร์มาตรฐาน แตอ่ ยา่ งไรกต็ ามคอมไพลเ์ ลอร์ท่ี ถูกพัฒนาข้ึนมาโดยสว่ นใหญแ่ ลว้ มักมิไดพ้ ัฒนาตามมาตรฐาน ANSI อยา่ งเคร่งครั ดเสยี ท่ี เดียว ถึงแมน้ วา่ ปั จจุบันภาษา C ไดถ้ ูกนําไปตอ่ ยอดและพัฒนาปรั บปรุงให้มี ประสทิ ธิภาพยงิ่ ข้ึน ในเร่ืองของชุดคาํ สัง่ ท่ีสนั บสนุนการโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming) ไมว่ า่ จะเป็นBorland C++ หรือ MS-Visual C++ กต็ าม แตท่ ัง้ น้ีมาตรฐานชุดคาํ สัง่ ของ ANSI C สว่ นใหญแ่ ลว้ จะสามารถนํามาใชง้ าน ร่วมกันไดอ้ ยา่ งไมม่ ีปั ญหา

13 เขียนโปรแกรม (Source code) ใช้ editor เขียนโปรแกรมภาษาซีและทาํ การบันทึกไฟลใ์ ห้มีนามสกุลเป็น .c เชน่ work.c เป็ นตน้ editor คือ โปรแกรมท่ีใชส้ าํ หรั บการเขียนโปรแกรม โดยตัวอยา่ งของ editor ท่ีนิยมนํา มาใชใ้ นการเขียนโปรแกรมไดแ้ ก่ Notepad,Edit ของ Dos ,TextPad และ EditPlus เป็นตน้ ผูเ้ ขียนโปรแกรมสามารถเลือกใชโ้ ปรแกรมใดในการเรียนโปรแกรมกไ็ ด้ แลว้ แตค่ วามถนั ดของแตล่ ะบุคคล

14 คอมไพลโ์ ปรแกรม (Compile) นํา source code จากขัน้ ตอนท่ี 1 มาทาํ การคอมไพล์ เพ่ือแปลจากภาษาซีท่ีมนุษยเ์ ขา้ ใจ ไปเป็นภาษาเคร่ืองท่ีคอมพิวเตอร์เขา้ ใจได้ ในขัน้ ตอนน้ีคอมไพเลอร์จะทาํ การตรวจสอบ source code วา่ เกิดขอ้ ผิดพลาดหรือไม่ · หากเกิดขอ้ ผิดพลาด จะแจง้ ให้ผูเ้ ขียนโปรแกรมทราบ ผูเ้ ขียนโปรแกรมจะตอ้ งกลับ ไปแกไ้ ขโปรแกรม และทาํ การคอมไพลโ์ ปรแกรมใหมอ่ ีกครั ง้ · หากไมพ่ บขอ้ ผิดพลาด คอมไพเลอร์จะแปลไฟล์ source code จากภาษาซีไป เป็นภาษาเคร่ือง(ไฟลน์ ามสกุล .obj) เชน่ ถา้ ไฟล์ source code ช่ือ work.c กจ็ ะถูกแปล ไปเป็นไฟล์ work.obj ซ่ึงเกบ็ ภาษาเคร่ืองไวเ้ ป็นตน้ compile เป็นตัวแปลภาษารูปแบบหน่ึง มีหน้าท่ีหลักคือการแปลภาษาโปรแกรมท่ี มนุษยเ์ ขียนข้ึนไปเป็นภาษาเคร่ือง โดยคอมไพเลอร์ของภาษาซี คือ C Compiler ซ่ึงหลัก การท่ีคอมไพเลอร์ใช้ เรียกวา่ คอมไพล์ (compile) โดยจะทาํ การอา่ นโปรแกรมภาษาซี ทัง้ หมดตัง้ แตต่ น้ จนจบ แลว้ ทาํ การแปลผลทีเดียว นอกจากคอมไพเลอร์แลว้ ยังมีตัวแปลภาษาอีกรูปแบบหน่ึงท่ีเรียกวา่ อินเตอร์พรี เตอร์ การอา่ นและแปลโปรแกรมทีละบรรทัด เม่ือแปลผลบรรทัดหน่ึงเสร็จกจ็ ะทาํ งานตาม คาํ สัง่ ในบรรทัดนั น้ แลว้ จึงทาํ การแปลผลตามคาํ สัง่ ในบรรทัดถัดไป หลักการท่ีอินเตอร์พรี เตอร์ใชเ้ รียกวา่ อินเตอร์เพรต (interpret)

15 ขอ้ ดีและขอ้ เสยี ของตัวแปลภาษาทัง้ สองแบบ!! คอมไพเลอร์ ขอ้ ดี · ทาํ งานไดเ้ ร็ว เน่ืองจากทาํ การแปลผลทีเดียว แลว้ จึงทาํ งานตามคาํ สัง่ ของโปรแกรมใน ภายหลั ง · เม่ือทาํ การแปลผลแลว้ ในครั ง้ ตอ่ ไปไมจ่ าํ เป็นตอ้ งทาํ การแปลผลใหมอ่ ีก เน่ืองจาก ภาษาเคร่ืองท่ีแปลไดจ้ ะถูกเกบ็ ไวท้ ่ีหน่วยความจาํ สามารถเรียกใชง้ านไดท้ ันที ขอ้ เสยี · เม่ือเกิดขอ้ ผิดพลาดข้ึนกับโปรแกรมจะตรวจสอบหาขอ้ ผิดพลาดไดย้ าก เพราะทาํ การ แปลผลทีเดียวทัง้ โปรแกรม อินเตอร์พรีเตอร์ ขอ้ ดี · หาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรมไดง้ า่ ย เน่ืองจากทาํ การแปลผลทีละบรรทัด · เน่ืองจากทาํ งานทีละบรรทัดดังนั น้ จึงสัง่ ให้โปรแกรมทาํ งานตามคาํ สัง่ เฉพาะจุดท่ี ตอ้ งการได้ · ไมเ่ สยี เวลารอการแปลโปรแกรมเป็นเวลานาน ขอ้ เสยี · ชา้ เน่ืองจากท่ีทาํ งานทีละบรรทัด

16 เช่ือมโยงโปรแกรม (link) การเขียนโปรแกรมภาษาซีนั น้ ผูเ้ ขียนโปรแกรมไมจ่ าํ เป็นตอ้ งเขียนคาํ สัง่ ตา่ ง ๆ ข้ึนใชง้ านเอง เน่ืองจากภาษาซีมีฟั งกช์ ัน้ มาตรฐานให้ผูเ้ ขียนโปรแกรมสามารถเรียกใชง้ านได้ เชน่ การ เขียนโปรแกรมแสดงขอ้ ความ “Lumpangkanyanee” ออกทางหน้าจอ ผูเ้ ขียนโปรแกรม สามารถเรียกใชฟ้ ั งกช์ ั่น printf() ซ่ึงเป็นฟั งกช์ ั่นมาตรฐานของภาษาซีมาใชง้ านได้ โดยสว่ น การประกาศ (declaration) ของฟั งกช์ ั่นมาตรฐานตา่ ง ๆ จะถูกจัดเกบ็ อยูใ่ นเฮดเดอร์ไฟล์ แตล่ ะตัว แตกตา่ งกันไปตามลักษณะการใชง้ าน ดว้ ยเหตุน้ีภาษาเคร่ืองท่ีไดจ้ ากขัน้ ตอนท่ี 2 จึงยังไมส่ ามารถนําไปใชง้ านได้ แตต่ อ้ งนํา มาเช่ือมโยงเขา้ กับ library กอ่ น ซ่ึงผลจากการเช่ือมโยงจะทาํ ให้ได้ executable program (ไฟลน์ ามสกุล.exe เชน่ work.exe) ท่ีสามารถนําไปใชง้ านได้ อินเตอร์เพรต (interpret) ประมวลผล (run) เม่ือนํา executable program จากขัน้ ตอนท่ี 3 มาประมวลผลกจ็ ะไดผ้ ลลัพธ์ (output) ของโปรแกรมออกมา (ถา้ มี) คาํ สัง่ พ้ืนฐานการรั บและแสดงผลขอ้ มูล คาํ สัง่ ในการแสดงผลออกทางหน้าจอ การแสดงผลขอ้ มูลออกทางหน้าจอสามารถทาํ ไดง้ า่ ย โดยเรียกใชค้ าํ สัง่ หรือฟั งกช์ ัน มาตรฐานท่ีภาษาซีเตรียมไวใ้ ห้ใช้

17 คาํ สัง่ printf () คาํ สัง่ printfถือวา่ เป็นคาํ สัง่ พ้ืนฐานท่ีสุดในการแสดงผลขอ้ มูลทุกชนิดออกทางหน้าจอ ไมว่ า่ จะเป็นจาํ นวนเตม็ ( int ) , ทศนิยม ( float ) , ขอ้ ความ ( string ) หรืออักขระ นอกจากน้ีคาํ สัง่ ยังมีความยืดหยุน่ สูง โดยเราสามาถกาํ หนดหรือจัดรูปแบบการแสดงผลให้มีระเบียบหรือ เหมาะสมตามความตอ้ งการไดอ้ ีกดว้ ย รูปแบบการเรียกใชค้ าํ สัง่ printfแสดงไดด้ ังน้ี printf(“ format ” , variable); format :ขอ้ มูลท่ีตอ้ งการแสดงออกทางหน้าจอโดยขอ้ มูลน้ีตอ้ งเขียนไวใ้ น เคร่ืองหมาย “ ” ขอ้ มูลท่ีสามารถแสดงผลไดม้ ีอยู่ 2 ประเภท คือ ขอ้ ความธรรมดา และคา่ ท่ี เกบ็ ไวใ้ นตัวแปร ซ่ึงถา้ เป็นคา่ ท่ีเกบ็ ไวใ้ นตัวแปรตอ้ งใสร่ หัสควบคุมรูปแบบให้ตรงกับชนิด ของขอ้ มูลท่ีเกบ็ ไวใ้ นตัวแปรนั น้ ดว้ ย variable :ตัวแปรหรือนิพจน์ท่ีตอ้ งการนําคา่ ไปแสดงผลให้ตรงกับรหัสควบคุม รูปแบบท่ีกาํ หนดไว้ รหัสควบคุมรูปแบบการแสดงผลคา่ ของตัวแปรออกทางหน้าจอ แสดงไดด้ ังน้ี

18 คาํ สัง่ putchar () ในการแสดงผลตัวอักษรหรืออักขระ ( char ) ออกทางหน้าจอ นอกจากใชค้ าํ สัง่ printfพร้อมกับกาํ หนดรหัสควบคุมรูปแบบ %c แลว้ เราสามารถเรียกใชค้ าํ สัง่ สาํ หรั บแสดง ตัวอักษรหรืออักขระโดยเฉพาะไดอ้ ีกดว้ ย โดยคาํ สัง่ นั น้ คือ คาํ สัง่ putchar() ซ่ึงมีรูปแบบ การเรียกใชค้ าํ สัง่ ดังแสดงตอ่ ไปน้ี คาํ สัง่ scanf () ในภาษาซี การรั บขอ้ มูลจากคียบ์ อร์ดสามารถทาํ ไดโ้ ดยการเรียกใชฟ้ ั งกช์ ัน scanf() ซ่ึงเป็น ฟั งกช์ ันมาตรฐานสาํ หรั บรั บขอ้ มูลจากคียบ์ อร์ด โดยสามารถรั บขอ้ มูลไดท้ ุกประเภท ไมว่ า่ จะ เป็นจาํ นวนเตม็ ( int ) , ทศนิยม ( float ) ,อักขระ ( char ) หรือขอ้ ความกต็ าม รูปแบบการ เรียกใชค้ าํ สัง่ scanf() คลา้ ยกับการเรียกใชค้ าํ สัง่ printf() ดังแสดงตอ่ ไปน้ี คาํ สัง่ gets () นอกจากคาํ สัง่ ในการรั บขอ้ มูลชนิดอักขระหรือตัวอักษรแลว้ การรั บขอ้ ความจากคียบ์ อร์ดกม็ ี คาํ สัง่ ให้เรียกใชเ้ ชน่ กัน คือ คาํ สัง่ gets() ซ่ึงมีรูปแบบการเรียกใชด้ ังตอ่ ไปน้ี

19 กระบวนการเทคโนโลยี บทบาทและความสาํ คัญของการจัดการขอ้ มูล * ขอ้ มูล (Data) เป็นขอ้ เทจ็ จรืงท่ีเกิดข้ึนในเหตูการณ์ตา่ งๆ แตข่ อ้ มูลน้ีตอ้ งไมม่ ีการประมวล ผลและวเิ คราะห์ หรือท่ีเรียกวา่ ขอ้ มูลดิบ โดยยังไมส่ ามารถนําไปใชป้ ระโยชได้ * การจัดการขอ้ มูล(Data Management) เป็นกลยุทธห์ น่ึงในการบริการองคก์ ารให้มี ประสทิ ธิภาพโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ในยุคของเทคโนโลยีขา่ วสาร การจัดการขอ้ มูลให้มี ประสทิ ธิภาพเพ่ือนําไปสูก่ ารตัดสนิ ใจท่ีถูกตอ้ งจะชว่ ยให้องคก์ ารอยูร่ อดไดใ้ นการแขง่ ขันกับ องคก์ รอ่ืนๆ หลักในการจัดการขอ้ มูล * การเขา้ ถึงขอ้ มูล (Data Access) คือ ความสามารถในการเขา้ ถึงขอ้ มูลไดง้ า่ ย รวดเร็ว และถูกตอ้ ง จะตอ้ งมีการกาํ หนดสทิ ธิในการเรียกใชข้ อ้ มูลตามลาํ ดับความสาํ คัญของผูใ้ ช้ * ความปลอดภั ยของขอ้ มูล (Data Security) คือ ขอ้ มูลท่ีจัดเกบ็ ไวจ้ ะตอ้ งมีความปลอดภั ย เพ่ือป้ องกันการจารกรรมขอ้ มูล * การแกไ้ ขขอ้ มูล (Data Edit) คือ ความสามารถในการเปล่ียนแปลง แกไ้ ขขอ้ มูลในอนาคต ได้ * การปรั บปรุงขอ้ มูล (Data Update) คือ ขอ้ มูลท่ีจัดเกบ็ อยูอ้ าจจะมีการจัดแบง่ เป็นสว่ น หรือสร้างเป็นตาราง เพ่ืองา่ ยแกก่ ารปรั บปรุงขอ้ มูล

20 พิจารณาจากแหลง่ ท่ีมา * ขอ้ มูลปฐมภูมิ(Primary Data) เป็นขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการเกบ็ รวบรวมโดยผูศ้ กึ ษาหรือผูว้ จิ ัย ทาํ การเกบ็ รวบรวมดว้ ยตนเอง มีทัง้ ขอ้ มูลท่ีเป็นขอ้ เทจ็ จริง (Fact) และขอ้ มูลท่ีเป็นความรู้ (Knoeledge) * ขอ้ มูลทุติยภูมิ(Secondary Data) เป็นขอ้ มูลท่ีผา่ นการเกบ็ รวบรวมมาแลว้ โดยบุคคล หรือองคก์ ารหน่ึง อาจเป็นขอ้ มูลภายในองคก์ รธุรกิจหรือขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากสถาบันหรือองคก์ ร ภายนอก พิจารณาจากหลักเกณฑค์ ุณลักษณะ * ขอ้ มูลเชิงปริมาณ(Quantitative Data) เป็นขอ้ มูลท่ีเป็นตัวเลขหรือหน่วยนั บได้ * ขอ้ มูลคุณภาพ(Qualitative Data) เป็นขอ้ มูลท่ีไมส่ ามารถระบุเป็นตัวเลขหรือหน่วยนั บ ได้

21 พิจารณาจากหลักเกณฑล์ ักษณะของการจัดทาํ * ขอ้ มูลดิบ(Raw Data) เป็นขอ้ มูลท่ียังไมผ่ า่ นการประมวลผลหรือการเปล่ียนแปลงใดๆ ทัง้ สน้ิ ทาํ ให้ไมส่ ะดวกตอ่ การนําไปใชป้ ระโยชน์ * ขอ้ มูลจัดกลุม่ (Groupped Data) เป็นขอ้ มูลท่ีผา่ นการประมวลผลแลว้ สะดวกตอ่ การนํา ไปคาํ นวณเป็นคา่ ทางสถิติตา่ งๆ จึงเป็นประโยชใ์ นการใชห้ าความจริงพิจารณาจากการจัดเกบ็ ส่อื ในอิเลก็ ทรอนิกส์ * ขอ้ มูลตัวอักษร(Text Data) เชน่ ตัวหนั งสอื ตัวเลข และสัญลักษณ์ มักมีนามสกุลตอ่ ทา้ ย ไฟลเ์ ป็น .txt ,dox .docx * ขอ้ มูลภาพ(Image Data) เชน่ ภาพถา่ ย ภาพกราฟฟิก มักมีนามสกุลตอ่ ทา้ ยไฟลเ์ ป็น .bmp .jpg .png .gif * ขอ้ มูลเสยี ง(Sound Data) เชน่ เสยี งพูด เสยี งดนตรี มักมีนามสกุลตอ่ ทา้ ยไฟลเ์ ป็น .wav .mp3 * ขอ้ มูลภาพเคล่ือนไหว(Video Data) เชน่ ภาพยนต์ คลิปตา่ งๆ มักมีนามสกุลตอ่ ทา้ ยไฟล์ เป็น .avi .mov .mp4 พิจาารณาตามระบบคอมพิวเตอร์

22 * ของมูลเชิงจาํ นวน(Number Data) มีลักษณะเป็นตัวเลขสามารถนํามาคาํ นวณดว้ ยคอม พิวตอร์ได้ * ขอ้ มูลอักขระ(Character Data) มีลักษณะเป็นตัวอักษร ตัวหนั งสอื และสัญลักษณ์ สามารถนําเสนอแบะเรียงลาํ ดับไดแ้ ตไ่ มส่ ามารถนํามาคาํ นวณได้ * ขอ้ มูลกราฟฟิก(Graphical Data) เป็นขอ้ มูลท่ีเกิดจากจุดพิกัดทางคอมพิวเตอร์ทาํ ให้เกิด รูปภาพหรือแผนท่ี * ขอ้ มูลภาพ(Image Data) เป็นขอ้ มูลแสดงสแี ละความเขม้ ของรูปภาพจากการสแกนหรือ จากการถา่ ยรูป สามารถนํามายอ่ ขยาย หรือตัดตอ่ ได้ แตไ่ มส่ ามารถนํามาคาํ นวณไดก้ ารนําขอ มูลเขา้

23 * การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล(Data Collections) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากแหลง่ ตา่ งๆ เชน่ แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ รายงานยอดขาย ใบสัง่ ซ้ือ เป็นตน้ * การเปล่ียนสภาพขอ้ มูล(Data Conversion) เป็นการจัดเตรียมขอ้ มูลท่ีรวบรวมมาไดแ้ ลว้ ให้อยูใ่ นรูปท่ีสามาร๔นําไปประมวลผลสะดวกยงิ่ ข้ึน * การจัดระเบียบขอ้ มูล(Data tabulation) เป็นการนําขอ้ มูลไปคาํ นวณหรือวเิ คราะหท์ าง สถิติ เพ่ือแบง่ ขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชน์ตอ่ * การแปรสภาพขอ้ มูล(Data Tranforming) เป็นการเปล่ียนรูปแบบของขอ้ มูลเพ่ือให้ สะดวกในการวเิ คราะหห์ รือประมวลผลการประมวลผล * การจัดแบง่ กลุม่ ขอ้ มูล(Data Classify) คือ การจัดขอ้ มูล โดยการแยกออกเป็นกลุม่ หรือ ประเภทตา่ งๆ * การจัดเรียงขอ้ มูล(Data Surting) คือ การเรียงขอ้ มูลจากน้อยไปหามากหรือมากไปหา น้อย เพ่ือทาํ ให้ดูงายข้ึน คน้ หาขอมูลไดเ้ ร็วข้ึน * การสรุปผลขอ้ มูล(Data Summarizing) คือ การสรุปผลหรือสร้างรายงานยอ่ ท่ีส่อื ความ หมายไดด้ ีกวา่ เพ่ือนนําไปใชป้ ระโยชน์ * การคาํ นวณขอ้ มูล(Data Calculation) คือ การนําขอ้ มูลท่ีเป็นตัวเลขมาทาํ การบวก ลบ คูณ หาร เชน่ คาํ นวณภาษีการแสดงผลลัพธ์

24 * การดึงขอ้ มูล(Retrieving) คือ การคน้ หา และการนําขอ้ มูลท่ีตอ้ งการมาจากแหลง่ เกบ็ เพ่ือ นําไปใชง้ าน * การทาํ รางาน(Reporting) คือ การนําขอ้ มูลาจัดพิมพร์ ายงานรูปแบบตา่ งๆ * การบันทึก(Recording) คือ การจดบันทึกขอ้ มูลโดยทาํ การคัดลอกขอ้ มูลจากตน้ ฉบับ แลว้ จัดเกบ็ เขา้ ไฟล์ * การปรั บปรุงรั กษาขอ้ มูล(Updating) คือ การเพิม่ ลบ เปล่ียนคา่ ขอ้ มูลท่ีอยูใ่ นไฟลใ์ ห้ทัน สมัยอยูเ่ สมอ การวเิ คราะหข์ อ้ มูล เป็นงานท่ีมีความสาํ คัญมากของการหาขอ้ มูลทางการตลาด สามารถแบง่ ออกได้ 2 ลักษณะ คือ * การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเชิงปริมาณ คือ การนําวธิ ีการทาสถิติมาใชว้ เิ คราะห์ โดยขอ้ มูลจะเป็น ตั วเลข * การวเิ คราะหข์ อ้ มูลเชิงคุณภาพ คือ การแปลความดว้ ยหลักการและเหตุผล โดยขอ้ มูลจะ เป็นการแสดงคามคดิ เหน็ แผนภาพแบบแทง่ เป็นการนําเสนอขอ้ มูดว้ ยแผนภาพโดยใชก้ ราฟแทง่ ทัง้ แนวนอนและแนวตัง้ ใชใ้ นการ เปรียบเทียบความแตกตา่ แตล่ ะขอ้ มูลอยา่ งชัดเจน

25 แผนภาพเชิงเสน้ เป็นแผนภูมิท่ีแสดงลักษณะของขอ้ มูลเป็นรายลัเอียดสว่ นยอ่ ยของขอ้ มูลให้เหน็ การ เปล่ียนแปลงของขอ้ มูลไปตามเวลา แผนภูมิรูปภาพ เป็นการนําเสนอขอ้ มูลในลักษณะท่ีไมเ่ ป็นทางการมากเกินไป และเอ้ือตอ่ การวาดรูป ประกอบให้เหน็ ชัดยงิ่ ข้ึน

26 แผนภูมิวงกลม เป็นแผนภูมิท่ีใชส่ ัดสว่ นของพ้ืนท่ีวงกลมท่ีแง่ จากจุดศูนยก์ ลางของรูปวงกลมนั น้ เพ่ือ เปรียบเทียบสัดสว่ นเป็นเปอร์เซน็ ต์ แผนภูมิกระจาย เป็นแผนภูมิท่ีใชแ้ สดงความสัมพันธร์ ะหวา่ งตัวเลขหลายชุด เพ่ือดูการแบง่ กลุม่ หรือจัด กลุม่ ของขอ้ มูล

27 บรรณานุ กรม 1.นางสาวพาขวัญ คงถาวร(Live) https://sites.google.com/s/1AIjxk63sdyGCtsRLL_9QzHmmQILPL9u k/edit?userId=116903918659016236310 2.นายกันทรากร อยูย่ ืน(Live) https://sites.google.com/u/1/d/1tHK8Ae-S613KchVN5A-fPRnhAG7G 34Kp/p/14qEexukR3OdJBj7NgkaFHM8n3aTuxWCj/preview?authuse r=1 3.นายนิติธร ทองไซร้(Admin) https://sites.google.com/ntun.ac.th/miomocom/home 4.นางสาวอลิสดา อาดหมาด(ปกรายงาน) https://sites.google.com/d/1NZRMl5MjH35bQqcH763C-BWm5IcTRc xs/p/18bYO6yaZnL7apS2iE9Sl8vBV-ZUwY-zc/edit

28 ภาคผนวก 1.ภาพสถิติผูเ้ ขา้ ชมหรือยอดแชร์การไลฟ์ สดนําเสนองาน https://www.facebook.com/100003259742498/videos/328153542196508 4/?app=fbl

29 2.ยอดผูเ้ ขา้ ชมเวบ็ ไซตข์ องAdmin https://sites.google.com/ntun.ac.th/miomocom/home


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook