Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การผันอักษร

การผันอักษร

Published by Nutthaya Karun, 2019-10-22 00:34:18

Description: ไตรยางศ์

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนวชิ าภาษาไทย ๑ รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๑ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ โรงเรียน มธั ยมสาธิตฯ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั พระนคร เร่ือง อกั ษรไทยและการเขียนอกั ษรไทย จานวน ๓ คาบ ผสู้ อน อาจารยณ์ ฐั ธยาน์ การุญ ชื่อ ............................................................................................................... เลขที่ ............. ห้อง ม. ๑/......... วนั ......................................ที่................เดอื น........................................................... พ.ศ. .................................. อกั ษรไทยและการเขียนอักษรไทย ภาษาไทยเป็นภาษาทีม่ ีอกั ษรสาหรบั ใชแ้ ทนเสยี งตา่ ง ๆ ตัว อักษรไทยทใ่ี ช้สาหรบั แทนเสียงมี ๓ ชนิด คอื ตัวสระ ตัวพยัญชนะ และตัววรรณยุกต์ สระ รปู สระ ๒๑ รปู มดี ังนี้ ลาดบั รปู เรียกว่า ลาดบั รปู เรยี กวา่ ๑ ะ วสิ รรชนีย์ ๑๒ ใ ไมม้ ว้ น ๒ ไมห้ นั อากาศ ๑๓ ไ ไมม้ ลาย ๓ ็ ไมไ้ ต่คู้ ๑๔ โ ไมโ้ อ ๔ า ลากขา้ ง ๑๕ อ ตวั ออ ๕ ็ิ พนิ ทุอิ , พินทุอ์ ิ ๑๖ ย ตวั ยอ ๖ ฝนทอง ๑๗ ว ตวั วอ ๗  นฤคหิต (หยาดน้าคา้ ง) ๑๘ ฤ ตวั รึ ๘ \" ฟันหนู ๑๙ ฤๅ ตวั รือ ๙ ตีนเหยยี ด ๒๐ ฦ ตวั ลึ

๑๐ ตีนคู้ ๒๑ ฦๅ ตวั ลือ ๑๑ เ ไมห้ นา้ บนั ทกึ ชว่ ยจา ............................................................................................................... ................................................................................................................................. ....... การใชร้ ปู สระมี ๒ วธิ ี คือ ๑. ใช้สระเพียงรปู เดยี ว เช่น -ะ -า เ- ใ- ๒. ใช้รูปสระหลายรปู เช่น เ - ย - - รปู สระทงั้ ๒๑ รูป ใชแ้ ทนเสียงสระ ๒๔ เสียง และใช้แทนสระเกนิ อีก ๘ เสียง ดงั นนั้ สระในภาษาไทย ๒๑ รปู จึงใช้แทนเสียงได้ ๓๒ เสียง คือ ลาดบั เสยี งสน้ั ลาดบั เสยี งยาว ๑ อะ ๒ อา ๓ อิ ๔ อี ๕ อึ ๖ อือ ๗ อุ ๘ อู ๙ เอะ ๑๐ เอ ๑๑ แอะ ๑๒ แอ ๑๓ โอะ ๑๔ โอ ๑๕ เอาะ ๑๖ ออ ๑๗ เออะ ๑๘ เออ ๑๙ เอียะ ๒๐ เอีย ๒๑ เอือะ ๒๒ เอือ ๒๓ อวั ะ ๒๔ อวั ๒๕ อา ๒๖ ใอ ๒๗ ไอ อกั ษรไทยและการเขยี นอกั ษรไทย ~๒~ อาจารย์ ณฐั ธยาน์ การญุ

๒๘ เอา ๒๙ ฤ ๓๐ ฤๅ ๓๑ ฦ ๓๒ ฦๅ บนั ทกึ ชว่ ยจา ............................................................................................................ .............................................................................................................................. ....... .............................................................................................................................. ....... .............................................................................................................................. ....... .............................................................................................................................. ....... .....ต...า..แ..ห...น...่ง..ร..ูป...ส...ร..ะ................................................................................................ ....... ๑. เขียนไว้หนา้ พยญั ชนะ ได้แก่ เ- แ- ใ- ไ- โ- เช่น แพ ไป ใน โต ๒. เขียนไว้หลงั พยัญชนะ ได้แก่ -ะ -า -อ -ว -ย เช่น จะ กา ขอ ๓. เขียนไวเ้ หนือพยญั ชนะ ไดแ้ ก่ -ิ - - - เช่น สี มือ ๔. เขียนไว้ใต้พยัญชนะ ได้แก่ - - เช่น ดุ หู ๕. เขียนไวเ้ หนือและหลงั พยญั ชนะ ได้แก่ -ำ - ว - วะ เช่น ดา หัว ผัวะ ๖. เขียนไวห้ นา้ และหลงั พยญั ชนะ ได้แก่ เ-ะ แ-ะ โ-ะ เ-า เ-อะ เ-อ เ-าะ ๗. เขียนไวห้ น้า เหนอื และหลังพยัญชนะ ไดแ้ ก่ เ - ยะ เ - ย เ - อ เช่น เสีย เสือ ๘. เขียนไวเ้ หนือพยัญชนะเพ่ือต้องการให้รวู้ า่ เป็นสระเสียงส้ัน ได้แก่ - ็ เช่น ก็ อกั ษรไทยและการเขียนอกั ษรไทย ~๓~ อาจารย์ ณฐั ธยาน์ การญุ

การนาสระไปใช้ สระในภาษาไทย เมอ่ื นาไปประสมกับพยญั ชนะเพอ่ื ใหเ้ กิดเปน็ พยางคห์ รือคา จะมวี ธิ ีใช้ ๓ แบบ ๑. มีการนาไปใช้ได้ทนั ที (สระคงรูป) เชน่ จะ พา ไป เที่ยว สวน เงาะ ๒. มีการเปลี่ยนรูปเมือ่ มตี ัวสะกด (สระเปลีย่ นรูป) ได้แก่ ะ เปลี่ยนเปน็ เช่น ทบั กดั ชัด เ-ะ เปลย่ี นเป็น ็ เช่น เดก็ เป็ด เหน็ เ-อ เปลี่ยนเป็น เ -ิ เช่น เกดิ เชิญ เติม แ-ะ เปลยี่ นเปน็ แ - เช่น แขง็ ๓. มีการลดรูปเม่ือมีตัวสะกด (สระลดรูป) ไดแ้ ก่ โ-ะ เช่น ตบ ชง นก ดล กฎ เ-อ เช่น เคย เงย เสย เลย ออ เชน่ พร จร กร อุทร อาวรณ์ เ-าะ เช่น ก*็ บล็อก ล็อค -ว เช่น สวน ตรวจ กวน *ข้อสงั เกต สระ ออ จะลดรปู เฉพาะคาทใี่ ช้ ร สะกด และจะเหน็ ว่า ไมใ่ ช่คาไทยแท้ นอกจากนสี้ ระลดรูปทีไ่ มม่ ีตวั สะกดอยู่อีก ๑ คา คือ ก็ ลดจากรูป เ-าะ (คาไทย) พยญั ชนะ อกั ษรไทยและการเขยี นอกั ษรไทย ~๔~ อาจารยณ์ ฐั ธ ณฐั ธยาน์ การญุ

คือ อกั ษรทใี่ ชแ้ ทนเสยี งพยญั ชนะ พยญั ชนะในภาษาไทยมี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง หนา้ ทีข่ องพยัญชนะ ๑. ใชเ้ ปน็ พยญั ชนะตน้ แบ่งได้ ๒ ลกั ษณะ ดังน้ี ๑.๑ เปน็ พยัญชนะต้นเดย่ี ว เช่น นก สอน บุญ หา ฯลฯ ๑.๒ เปน็ พยญั ชนะต้นคู่ ไดแ้ ก่  พยัญชนะตน้ เป็นอักษรควบแท้ คอื ออกเสียงพยัญชนะ ๒ ตวั พรอ้ มกัน เช่น กรงุ ครอบครวั เปลี่นแปลง คลาน กว้าง ปรบั ปรุง ฯลฯ  พยัญชนะต้นเป็นอกั ษรควบไม่แท้ คือ ออกเสียงพยัญชนะ ตวั แรกตวั เดียว เช่น ไซร้ เศร้า สร้อย ทราบ ทรดุ โทรม จริง มัทรี แสรง้ ฯลฯ ๒. ใชเ้ ปน็ อักษรนา ดังน้ี  อกั ษรกลางนา เช่น อยา่ จมกุ ตลาด ปรอท ตลก ฯลฯ  อกั ษรสงู นา เช่น สนาม เฉลิม ฉลาม สนิม ขนม (ห นา) ๓. ใชเ้ ปน็ ตวั สะกด เชน่ ฉัน ว่งิ มาก จน เหนื่อย ฯลฯ ๔. ทาหนา้ ทรี่ กั ษารปู ศพั ท์เดมิ ซึ่งบางทอี าจไม่ออกเสยี ง โดยมี เครอื่ งหมายทัณฑฆาต ( ตัวการันต์) กากบั ไว้ เชน่ เพชร บาตร สมคั ร ภัทร อนันต์ ธรรม์ ฯลฯ ๕. ทาหนา้ ทเี่ ปน็ อกั ษรยอ่ เชน่ พ.ศ. ยอ่ มาจาก พทุ ธศักราช กทม. ย่อมาจาก กรุงเทพมหานคร พ.ร.บ. ย่อมาจาก พระราชบัญญตั ิ ฯลฯ วรรณยกุ ต์ อกั ษรไทยและการเขียนอกั ษรไทย ~๕~ อาจารยณ์ ฐั ธ ณฐั ธยาน์ การญุ

คือ เครื่องหมายทใ่ี ชแ้ ทนเสยี งสงู ๆ ต่า ๆ ของตวั อกั ษร เสยี งของ วรรณยุกตท์ าให้มีความหมายต่างกัน แบ่งเปน็ รูปวรรณยุกต์ และ เสยี ง วรรณยุกต์ ดังนี้ รปู วรรณยกุ ต์ ใชเ้ ขยี นไว้ข้างบนตวั อักษร มี ๔ รปู ดงั น้ี เรียกวา่ ไม้เอก เรียกว่า ไม้โท เรยี กว่า ไม้ตรี เรยี กว่า ไมจ้ ตั วา เสยี งวรรณยุกต์ มดี งั น้ี เสียงสามญั เช่น นาย ก็ ความ ไป จา ฯลฯ เสยี งเอก เช่น ปาก ตบ อก แจก ข่า ปา่ แหวก ฯลฯ เสียงโท เช่น ป้า ห้า คา่ ลวก มาก แยก มีด ฯลฯ เสียงตรี เชน่ คะ เงาะ พระ แพะ พรกิ ฯลฯ เสียงจัตวา เช่น หาว ขาว หวงแหน ฝงั ศรี ฯลฯ จาไว้นะ คาไทยทุกคาตอ้ งมีเสียงวรรณยกุ ตจ์ ะมีรูป หรือไม่มีรูปกได้ สาหรับวรรณยกุ ตท์ ่ีมีรูป รูปกบั เสียงอาจไม่ตรงกนั กได้ อกั ษรไทยและการเขียนอกั ษรไทย ~๖~ อาจารยณ์ ฐั ธ ณฐั ธยาน์ การญุ

แบบฝึ กหัด ๑. ใหข้ ดี เสน้ ใตร้ ปู สระตามทกี่ าหนด ก. ขดี เสน้ ใต้คาทใี่ ช้สระ ๒ รปู  พี่หมกึ อย่าเอะอะ  นอ้ งเผลอทาเตาแตก  เขากลัวผจี นน่าขา  เป็นเดก็ อย่าด้อื เลย  โยโกะหรอื แม่ของเธอท่ีกลบั ค่า ข. ขดี เสน้ ใตค้ าทใี่ ชส้ ระ ๓ รปู  แมต่ ฉี นั ดงั ผวั ะ  แปะ๊ แกแ่ กขีย้ ัวะ อกั ษรไทยและการเขยี นอกั ษรไทย ~๗~ อาจารย์ ณฐั ธยาน์ การญุ

 เพราะเจอะเธอจงึ ดีใจ  เขาแกะห่อของขวัญ  เธอเยาะเย้ยเขาทาไม ค. ขดี เสน้ ใตค้ าทใี่ ช้สระ ๔ รปู  ของเหลอื ไม่เป็นไร  อย่าเสียใจกบั ความผิดหวัง  เรอื เกลอื กาลังมา  โรงเรยี นเปดิ แลว้ หรือ  เขาชอบกินเกี๊ยวเหลอื เกนิ ง. ขดี เสน้ ใตค้ าทใ่ี ชส้ ระ ๕ รปู  เขาสวมเก๊ียะเดินกกึ กัก  ขนมเปย๊ี ะใชไ้ หว้พระจันทร์  เขาเดินตามเธอเดยี ะ  เขาสวมกางเกงฟติ เปรี๊ยะ  เขาซ้ือกอเอี๊ยะมาปิดแผล ๒. เขียนรูปสระและเสียงสระของคาต่อไปนี้ รูปสระ เสียงสระ ๑. สวน ...................................................... ...................................................... ๒. คลอง ...................................................... ...................................................... ๓. ตรวจ ...................................................... ...................................................... ๔. เดียว ...................................................... ...................................................... ๕. เผลอ ...................................................... ...................................................... อกั ษรไทยและการเขยี นอกั ษรไทย ~๘~ อาจารย์ ณฐั ธยาน์ การญุ

๖. เลอื ก ...................................................... ...................................................... ๗ ชยั ...................................................... ...................................................... ๘. ณ ...................................................... ...................................................... ๙. ผล ...................................................... ...................................................... ๑๐. ศร ...................................................... ...................................................... ๓. เลอื กหวั ขอ้ คาตอบทีถ่ ูกตอ้ งและเหมาะสม ๑. ขอ้ ใดมคี าทใ่ี ช้เฉพาะสระรปู เดียว ก. ปรียามาหาฉัน ข. พิมดูดจุ ริงนะ ค. คณุ ครบู อกเธอหรอื ง. ครใู หญใ่ จดจี งั ๒. ขอ้ ใดมคี าทใี่ ชส้ ระ ๒ รปู ทกุ คา ก. แกงจดื จงึ รู้คณุ เกลอื ข. ดืม่ นา้ ได้ประโยชน์ ค. ดึกดน่ื แลว้ พี่แต้ว ง. เลอื กทางานที่ชอบ ๓. ขอ้ ใดมคี าทใ่ี ชส้ ระ ๓ รปู มากที่สดุ ก. แมแ่ กะกาลงั กนิ หญา้ ข. ชาวนาเพาะเห็ดขาย ค. โอยัวะอยา่ กนิ เยอะ ง. เพราะเขาเราจงึ รู้ ๔. ขอ้ ใดมคี าทใ่ี ชส้ ระ ๔ รปู มากทส่ี ดุ ก. อย่าเกลียดกลัวความทกุ ข์ ข. ใครทาดยี ่อมได้ดี ค. เคาะโต๊ะน้นั ไม่เหมาะ ง. นา้ เดือดล้นเสียเปลา่ ๕. ขอ้ ใดมคี าทใ่ี ชส้ ระ ๕ รปู ก. คนจีนชอบสวมเกีย๊ ะ ข. ใครซื้อเกีย๊ วมาฝากนะ ค. เพลย้ี จักจ่นั กนิ พืชไร่ ง. เธอเทียวไปเทยี วมา อกั ษรไทยและการเขยี นอกั ษรไทย ~๙~ อาจารย์ ณฐั ธยาน์ การญุ

แบบทดสอบ ใหเ้ ลือกคาตอบทถี่ กู ทสี่ ดุ เพยี งข้อเดยี ว ๑. สระ ถา้ แบง่ ตามสระเสียงสน้ั และสระเสยี งยาวมีทงั้ หมดก่ีเสียง ก. ๒๐ เสียง ข. ๒๑ เสยี ง ค. ๒๔ เสียง ง. ๓๒ เสยี ง ๒. เครอ่ื งหมายทใ่ี ชแ้ ทนเสียงแทค้ อื ขอ้ ใด ก. สระ ข. พยญั ชนะ ค. วรรณยกุ ต์ ง. ตวั การันต์ ๓. วธิ กี ารใชร้ ปู สระใชไ้ ดอ้ ยา่ งไร ก. ใชไ้ ดเ้ พยี งรูปเดยี ว ข. ใช้ได้หลายรปู ค. ใชไ้ ด้ต้งั แต่ ๒ รูปข้นึ ไป ง. ถูกเฉพาะข้อ ก และ ข ๔. ขอ้ ใดคอื การวางตาแหนง่ รปู สระทไ่ี มถ่ กู ตอ้ ง ก. เขียนไว้หนา้ พยัญชนะ ข. เขียนไว้ใตพ้ ยัญชนะ ค. เขียนไวเ้ หนือและใตพ้ ยัญชนะ ง. เขยี นไว้เหนือและหลัง พยญั ชนะ ๕. ขอ้ ใดมใิ ชห่ นา้ ท่ีของพยญั ชนะ ก. เปน็ ตวั กาหนดหน้าท่แี ละชนดิ ของคา ข. เปน็ พยัญชนะต้นและ ตวั สะกด ค. ใชเ้ ปน็ อกั ษรควบและอกั ษรนา ง. ใชเ้ ป็นตวั การันต์เพ่อื รักษารูป ศพั ท์เดิมไว้ ๖. คาในขอ้ ใดประกอบดว้ ยรปู สระ ๓ รปู ทกุ พยางค์ ก. มีเรอื ร่ัวเยอะ ข. บา้ นเมอื งเลอะเทอะ ค. เพลงไทยไพเราะ ง. เกาะเงาะเยอะแยะ ๗. คาวา่ “พกั ตร”์ ตวั ใดเปน็ ตวั การนั ต์ ก. ก ข. ตร ค. ต ง. ร ๘. คาในขอ้ ใดประสมดว้ ยอกั ษร ๔ ส่วนทงั้ หมด ก. เป็ดอบเนย ข. ปลาแป๊ะซะ อกั ษรไทยและการเขยี นอกั ษรไทย ~ ๑๐ ~ อาจารย์ ณฐั ธยาน์ การญุ

ค. กุง้ แช่น้าปลา ง. ไกก่ ระเทียม ๙. “คนื เดอื นหงาย” รปู สระใดไมม่ ใี นขอ้ ความน้ี ก. ไมห้ น้า , ลากข้าง , ฟนั หนู ข. ไมห้ นา้ , พินท์ุอิ , ลากข้าง ค. ฟันหนู , พินท์ุอิ , ลากขา้ ง ง. ฝนทอง , วิสรรชนยี ์ , ตัว ยอ ๑๐. ขอ้ ใดมจี านวนพยางคเ์ ทา่ กบั “วนาล”ี ก. อาชญา ข. ปรัชญา ค. อินทนนท์ ง. กหาปณะ ๑๑. คาในขอ้ ใดสามารถผนั วรรณยกุ ต์แลว้ ไดค้ าทม่ี ี ความหมายมากทส่ี ดุ ก. พา ข. มา ค. ขา ง. ปา ๑๒. ข้อใดมใิ ชว่ ธิ กี ารประสมอกั ษรแทน เสยี ง ก. การประสม ๓ ส่วน ข. การประสม ๔ ส่วนพิเศษ ค. การประสม ๕ สว่ น ง. การประสม ๕ ส่วนพเิ ศษ ๑๓. ข้อใดมคี าทปี่ ระสมอกั ษร ๔ สว่ น พเิ ศษทกุ คา ก. ฤทธ์ิ วัฒน์ เทห่ ์ ข. ลกั ษณ์ พักตร์ จนั ทร์ ค. เท่ห์ เล่ห์ เสนห่ ์ ง. พันธ์ุ มหาหิงค์ุ สินธุ์ ๑๔. ขอ้ ใดเรยี งลาดบั เสยี งแท้ เสยี งแปร เสยี งดนตรี ไดถ้ กู ต้อง ก. า ง ข. ง า ค. า ง ง. า ง ๑๕. คาในขอ้ ใดมตี วั สะกดในแมก่ น ทัง้ หมด ก. สัญญาณ กาฬสินธุ์ วญิ ญาณ ข. บรรดาล ไพรวลั ย์ อุทยาน ค. ผสม วายปราณ สีขาว ง. สงั ขาร วิญญู สนิ ธู ๑๖. ข้อใดไมถ่ ูกต้อง อกั ษรไทยและการเขียนอกั ษรไทย ~ ๑๑ ~ อาจารย์ ณฐั ธยาน์ การญุ

ก. “เกย” เป็นคาท่ีประสมด้วยสระเออลดรปู ข. “สมหมาย” ย เปน็ สระ ค. “โจร” ใช้สระตวั เดยี วกบั คาวา่ “โดย” ง. “รัก” เปน็ คาที่ใชส้ ระ แปลงรูป ๑๗. คาในขอ้ ใดประสมดว้ ยสระ ๔ รปู ทกุ คา ก. เกี๊ยะ เกอื ก ข. เพื่อน แพ้ว ค. เผอื แปะ๊ ง. เถ่ือน เพลีย้ ๑๘. ข้อใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ งเกีย่ วกบั วรรณยกุ ต์ ก. คาในภาษาไทยบางคาไมม่ รี ูปวรรณยกุ ต์ ข. คาบางคาอาจไมม่ ีเสยี งวรรณยุกต์ก็ได้ ค. วรรณยุกตช์ ่วยให้มีคาหลากหลายพอใช้ ง. เสียงวรรณยุกต์อาจไม่ตรงกบั รปู วรรณยุกต์ท่ีกากับอยู่ ๑๙. คาในขอ้ ใดออกเสยี งวรรณยกุ ตไ์ ม่ ตรงกบั รปู วรรณยกุ ต์ท่ีกากบั อยู่ ก. เรไร ข. คัดเคา้ ค. เกง๋ จนี ง. โต๊ะแกว้ ๒๐. คาใดเปน็ คาทบ่ี อกเสยี งวรรณยกุ ต์ ไม่ตรงกบั รปู วรรณยุกตท์ ก่ี ากบั อยู่ทุกคา ก. แผ่นฟ้ากวา้ ง ข. แมเ้ ลือกได้ ค. ดอกซอ่ นกลน่ิ ง. รเู้ รือ่ งแล้ว อกั ษรไทยและการเขยี นอกั ษรไทย ~ ๑๒ ~ อาจารย์ ณฐั ธยาน์ การญุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook