Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมผลงานการสร้างสรรค์

รวมผลงานการสร้างสรรค์

Published by Karuna Panumes, 2021-03-25 11:39:53

Description: รวมผลงานการสร้างสรรค์
โดย กรุณา บุญธรรม (ภาณุเมศ)

Search

Read the Text Version

สารบัญ ชื่อเร่ือง หน้า Resume a-b ประวตั ิ (Eng) c-e ประวตั ิ f-g โครงการ 1-21 ผลงานปี 2535-2540 22-41 ผลงานปี 2541-2549 42-81 ผลงานปี 2550 82-129 ผลงานปี 2551 130-200 ผลงานปี 2552 201-230 ผลงานปี 2553-2555 231-267 ภาคผนวก 268-309

1 ชื่อโครงการ สภาวะความสงบในมิตแิ สงเงา TITLE The State of Peace in the Dimensions of Light and Shadow วตั ถุประสงค์ของโครงการ 1. เพื่อศึกษารปู ทรงท่ีสะท้อนถงึ ความสงบ ผา่ นรูปทรงใบหน้าคนจากปฏิสมั พทั ธก์ ับแสงและเงา 2. เพือ่ สร้างสรรคผ์ ลงานจิตรกรรมด้วยเทคนิคสีน้ำมันบนผ้าใบ เพอื่ นำเสนอเนอื้ หาและรูปแบบศิลปะ (Art Content & Art Form) ซึ่งสะท้อนภาวะความสงบท่ีปรากฏบนใบหน้าผสู้ รา้ งสรรค์ ในฐานะภาพตวั แทนใบหนา้ มนษุ ย์ แนวคดิ ในการสรา้ งสรรค์ผลงาน ผลงานชดุ นีม้ ีแนวความคิด ในการนำเสนอความเข้าใจชีวติ ด้วยการตอ้ นรับท้งั ความทุกข์และความสุขด้วยความสงบ นำมาถา่ ยทอด ผา่ นรปู ทรงใบหนา้ คนทส่ี งบ ขณะทมี่ แี สงและเงาซ่งึ เปรียบเทียบเป็นความสุขและทุกข์ ตกกระทบบน ส่วนต่างๆของใบหน้า อีกนัยหนง่ึ เปรยี บเหมอื นการเชิดหนังตะลงุ ทม่ี ใี บไมเ้ ปน็ ตัวหนงั อยบู่ นจอซึ่งเป็นหน้าคนแสดง อาการสงบรับได้กับบทสุขและโศกด้วยความเข้าใจชีวิต ความเป็นมา ในการดำรงอยขู่ องชีวิตมนุษย์ มีธรรมชาติท่ีต้องประสบกบั ท้งั ความทุกข์และความสขุ ในดา้ นของความสุขเปน็ ด้านทีน่ ่าชืน่ ชมยนิ ดี เปน็ ท่นี ่าเสาะแสวงหาน่าครอบครอง นำมาซ่งึ ความพอใจ สุขใจใน รปู แบบต่าง ๆ ขณะเดียวกันในดา้ นของความทุกข์ เปน็ ด้านทไ่ี ม่น่ายินดี ไมอ่ ยากพบ ผู้คนพยายามหลกี เลีย่ งการ เผชิญกบั ความทุกข์ ด้วยวิธีการต่าง ๆ แต่กเ็ ปน็ กฎอันแนน่ อนของธรรมชาติ ที่ทกุ อยา่ งต้องเปลี่ยนแปลง ไมแ่ นน่ อน มีได้มา มเี สยี ไป มเี กดิ มีตาย เป็นธรรมดา การเรียนรทู้ ี่จะเข้าใจธรรมชาติของชีวิต เรียนรู้ที่จะยอมรับ ความไมแ่ นน่ อน การเปลย่ี นแปลง ยอมรับท้ัง สุขและทกุ ข์ดว้ ยความสงบ นบั เป็นหนทางพัฒนาจิตใจใหม้ คี วามสุขอยา่ งแท้จรงิ ดัง โอโช ปราชญ์อนิ เดยี ผไู้ ด้รับการ ยกยอ่ งจากหนังสือพมิ พ์ซนั เดย์ไทม์วา่ เป็นบุคคลสำคัญแห่งศตวรรษที่ 20 โอโช เป็นทร่ี ้จู ักท่ัวไปในการบรู ณาการพลงั ภมู ปิ ญั ญาตะวนั ออกกับพลงั ทางวทิ ยาศาสตรน์ ำมาสู่การฝึกสมาธิแบบต่ืนตัว (Active Meditation)โอโชได้กล่าวไว้ ใน หนังสือเร่อื ง วฒุ ภิ าวะ ไว้วา่

2 จงมองการเลื่อนไหลน้ีด้วยความสบายใจ อย่ไู ด้กับสงิ่ ที่มาเปน็ คู่ เมือ่ ความทุกขม์ าก็ต้อนรบั มัน เมื่อความสขุ มากต็ ้อนรบั มนั รวู้ ่าในเกมสน์ มี้ นั มาคกู่ นั ส่งิ ทีต่ อ้ งจำไวเ้ สมอกค็ อื ต้องทำให้มนั กลายเปน็ เครือ่ งเตอื นใจไว้เสมอว่า ใน ชีวิตทา่ น จะมีกล่นิ หอมหวานใหม่ๆ เข้ามา มนั เปน็ กล่นิ หอมของอสิ รภาพ กลน่ิ หอมของการไม่ยดึ ติด กล่นิ หอมของ การไม่เกาะติด อะไรกต็ ามทม่ี ันเขา้ มา ทา่ นตอ้ งอยใู่ นความสงบ นง่ิ เงียบ และยอมรับมนั ใครก็ตามท่ีสามารถสงบ นง่ิ เงยี บ ยอมรบั ความเจ็บปวด ความหงดุ หงิด และความทุกขใ์ จได้ จะทำให้คุณสมบัตเิ ดิมของความทกุ ข์ เปลย่ี นไปดว้ ยตัวของมนั เอง สำหรับพวกเขาแล้วความทกุ ข์ กลายเป็นขมุ ทรัพย์ ความเจ็บปวดทำให้พวกเขา ปราดเปรื่อง สำหรบั พวกเขา ในความมดื นัน้ มคี วามสวยงาม มคี วามลกึ และมสี ิง่ ท่เี รียกวา่ นิรนั ดร์ (โอโช. 2549 : 54) ดาไลลามะท่ี 14 และโฮเวิร์ด ซี คัทเลอร์ไดก้ ล่าวถึงความทกุ ข์และความสขุ ไว้ในหนังสือเรื่อง “ศิลปะแห่ง ความสขุ ” ซง่ึ เขียนขึ้นเพอ่ื เสนอทศั นะของดาไลลามะ ในการใช้ชวี ิตอยา่ งมคี วามสขุ เพ่ือยังประโยชน์ไปสมู่ นษุ ยชาติ ได้กลา่ วถึงทศั นะต่อความทกุ ข์และความสุขดว้ ยการฝกึ ให้เกดิ การยอมรบั ทั้งความทกุ ข์และความสุข ไว้ว่า คุณอาจฝึกยอมรบั ความทกุ ขว์ ่าเปน็ ส่วนหน่งึ ของชีวติ ประจำวนั โดยเร่ิมจากการตรวจสอบปจั จัยตา่ ง ๆ ท่ี โดยปกติแลว้ เป็นตัวกอ่ เกิดความร้สู ึกไม่พอใจ หรือความไม่สบายใจ กล่าวโดยทว่ั ไปคือ คุณรสู้ ึกเป็นสุขถ้าคุณหรือคน ใกล้ตัวได้รบั คำสรรเสริญเยินยอ มีชอ่ื เสยี งหรือทรพั ย์สินเงินทอง และสิง่ อนั นา่ ยินดีทงั้ หลาย และคุณร้สู ึกไม่พอใจไม่ เป็นสุข ถา้ คุณไขว่คว้าสิ่งเหลา่ นไ้ี มไ่ ด้ หรือถ้าศัตรขู องคณุ กลบั ไดม้ ันมา หากคณุ ลองมองชวี ติ โดยปกตใิ นแตล่ ะวนั คุณ จะพบวา่ มเี หตุปัจจยั และสภาวะต่าง ๆ นา ๆ ทสี่ ร้างความเจบ็ ปวด ความทกุ ข์ และความรสู้ ึกไม่พอใจ ขณะท่ีสภาวะ ทชี่ ักนำให้เกดิ ความสุขและความรนื่ เริงเบิกบานนั้น เมือ่ เทยี บกนั แล้วหาได้ยากเหลือเกนิ จะชอบหรอื ไมช่ อบเรากต็ ้อง เผชญิ กบั สภาวะดังกล่าว เนอื่ งจากน่คี อื ความจริงของการดำรงชีวติ เราจงึ จำเป็นต้องปรบั เปลีย่ นทัศนะที่มีต่อความ ทกุ ข์ ท่าทีทเี่ รามตี อ่ ความทุกขก์ ลายเปน็ เร่อื งสำคัญ เพราะมนั จะส่งผลวา่ เราจะต่อส้กู ับความทกุ ขอ์ ย่างไร ทนี ท้ี า่ ทขี อง เราอย่างทเี่ คยเป็นมานนั้ ประกอบด้วยความไมช่ อบพออย่างรนุ แรง ไม่อดทน อดกลั้นต่อความทุกข์ความเจบ็ ปวด อย่างไรกต็ ามถ้าเราปรบั เปลี่ยนทัศนะท่เี รามีต่อความทุกขแ์ ละนำเอาทัศนะท่ีเอื้อให้เราอดทน อดกลั้นมากขึ้น นี่ สามารถชว่ ยเราไดม้ ากในการต้านทานและลดทอนความรสู้ ึกทกุ ขใ์ จ ความไมพ่ อใจและความไมอ่ ิ่มเอิบใจ (ดาไล ลา มะที่ 14 และโฮเวริ ด์ ซี คัทเลอร.์ 2547 : 147) วรรณกรรมเร่อื งการฝึกปฏบิ ตั พิ ลงั แหง่ จิตปัจจบุ ัน ไดแ้ นะนำการฝกึ จติ ให้เกดิ ความสงบด้วยอุบายที่งา่ ย สอดคลอ้ งกบั โลกปัจจบุ นั ได้กลา่ วถงึ การยอมรับชีวติ ทงั้ ทกุ ขแ์ ละสุขไว้วา่ การไม่ตอ่ ตา้ นชีวติ คือการอยู่ในสภาพของความงดงาม ความเกษม และความเบาสบาย สภาพที่ไมข่ นึ้ กบั สงิ่ ตา่ ง ๆ อีกตอ่ ไปไมว่ ่าดหี รอื เลว ฟังดูเหมือนขัดแย้งกัน แต่เมอื่ คุณเลกิ ยดึ ม่ันถอื ม่ันกบั รูปชีวติ สภาวะต่าง ๆ ในชีวิต และโลกภายนอกมแี นวโนม้ ทีจ่ ะดขี ้นึ มนุษยแ์ ละสรรพสง่ิ หรือเงือ่ นไขทค่ี ุณตั้งขึน้ เพราะคิดว่ามันจะทำให้คุณมคี วามสขุ ได้น้นั บัดนี้มันเดินเขา้ มาหาคุณ โดยที่คุณไม่ตอ้ งดิน้ รนค้นหา คุณเปน็ อสิ ระท่จี ะมีความสุข และชื่นชมกบั มัน ตราบท่ี

3 มนั ยงั อยู่ ส่ิงเหลา่ นั้นแนน่ อนวนั หนึง่ ต้องตายจากไป มันเป็นวฏั จกั รชวี ติ มาแลว้ ก็ไป แต่คณุ ไม่กลัวการสูญเสียอกี แลว้ ชีวิตดำเนินไปอย่างสุขเกษม ความสุขทไ่ี ดจ้ ากแหล่งภายนอกอ่นื ไม่เคยอยลู่ ึก มนั เป็นเพยี งภาพสะท้อนบางเบาของ ความปิติของส่งิ ท่เี ป็นอยจู่ ริง ความสงบที่ส่นั ไหวอยภู่ ายใน ขณะที่คุณกา้ วสู่ภาวะไร้การต่อต้าน ส่ิงทเี่ ป็นอยู่จริงนำคุณ ไปไกลกวา่ ขัว้ สองขว้ั ของสิ่งตรงข้ามในความคิด และปลดปลอ่ ยคุณใหเ้ ปน็ อสิ ระจากรูปลักษณ์ แม้ทกุ สิง่ รอบกายคุณฟงั ทลายลง คุณยังร้สู กึ ถึงความสงบอยภู่ ายใน คุณอาจไม่มคี วามสุขทางภายนอก แต่คุณจะสงบสขุ ภายใน (เอท็ คฮ์ าร์ท โทลเลอ. 2548 : 89) จากวรรณกรรมข้างตน้ ของโอโช , ดาไล ลามะ และเอ็ทคฮ์ ารท์ โทลเลอ ได้สะทอ้ นความเข้าใจชวี ิตผ่าน ถ้อยคำที่ตา่ งกัน ขณะเดยี วกันก็นำไปสูค่ ำตอบเดียวกนั คือความสงบสุขภายใน ผา่ นหนทางของการเรยี นรู้ เข้าใจกฎ ของธรรมชาติ ทีไ่ ด้สรา้ งทง้ั ความทกุ ขแ์ ละความสุข ผา่ นการฝึกฝนอันเปน็ การฝนื สญั ชาติญาณเดิมทีต่ ้องการแต่ความสุขและปฏเิ สธความทกุ ข์ ไปสกู่ ารยอมรับโดยสงบ อนั นำมาซึงความสุขทแี่ ทจ้ รงิ อันเปน็ เป้าหมาย เปน็ คณุ ค่าของการมีชวี ติ อย่างแท้จริง นอกจากได้ศึกษาวรรณกรรม ในแนวพัฒนาจิตใจดว้ ยความสงบดังกล่าวข้างต้นแล้ว ผู้สร้างสรรค์ไดศ้ ึกษารปู ทรงใบหน้าคนซ่งึ สามารถสะท้อนอารมณ์ความร้สู กึ จากภายใน ได้ศึกษาธรรมชาตขิ องใบไม้ การเกิดแสงเงาของใบไม้ การเกิดแสงลอดผา่ นชอ่ งรูเล็กๆของใบไม้ ไดน้ ำความคดิ เรื่องการเขา้ ใจชีวติ ดว้ ยความสงบ โดยการยอมรับท้งั ความทกุ ข์และสขุ นำมาเชื่อมโยงกับรปู ทรงใบหนา้ คน ซ่ึงมีแสงเงาตกทอดจากใบไม้ มรี อยปรทุ ะลุ อนั เกิดจากการกดั กนิ ของแมลง ทำให้แสงสามารถสอ่ งผ่านชอ่ งเล็กๆ เกิดแสงในรปู ทรงเล็กๆกระจายอย่ใู นพืน้ ท่ีของเงา ซึ่งทอดพาดอยบู่ นหนา้ คน ในมิติด้านศิลปะทำให้เห็นความงามของแสงเงาท่พี าดอยู่บนใบหน้าคน เงาใบไมส้ รา้ ง น้ำหนักเขม้ ซึง่ มขี อบเขตเปน็ รอยหยักของใบไมต้ ดั กบั พน้ื ทข่ี องแสงเกิดความงามแปลกตา ในพ้ืนทขี่ องเงาใบไม้บน ใบหน้าเกดิ แสงรปู ทรงเลก็ ๆกระจายอยู่โดยทวั่ ทำให้เกิดแสงพรา่ งพรายสดใสตดั กับเงาชัดเจน ขณะเดยี วกนั ก็สรา้ ง เอกภาพระหว่างพื้นท่ขี องแสงนอกขอบเขตของเงาใบไม้กับแสงในเงาใบไมเ้ ข้าด้วยกนั อย่างกลมกลืน ไดน้ ำพน้ื ท่ีของแสง เงาบนใบหน้าคนเปรยี บเทยี บส่วนทเ่ี ปน็ เงาเสมือนด้านมดื ของชีวติ เป็นด้านที่เป็นทุกข์ และสว่ นที่เป็นแสงเสมอื นดา้ น สวา่ งของชีวิตเป็นด้านที่เป็นสุข โดยวางรปู แบบใหแ้ สงเงาของใบไม้ พาดปรากฏบนใบหน้าท่ีสงบนิ่ง เพ่ือสื่อถึงความ สงบทดี่ ำรงอยทู่ ัง้ ในยามมืดและยามสวา่ ง ความสงบอนั เกิดจากการเขา้ ใจชีวติ ดว้ ยการยอมรบั ความทกุ ข์และความสุข ด้วยความสงบ อันเปน็ กฎของธรรมชาติ จากการได้สมั ผัสทั้งทกุ ข์และสขุ ในชวี ติ ประจำวัน ทำใหต้ ระหนกั ถึงกฎอันผนั แปรไม่ แน่นอนของธรรมชาติ เกดิ ขึ้นกบั ทกุ ผูค้ นไม่อาจหลีกหนี ทำให้เกดิ คำถามถงึ คุณคา่ ของชวี ติ วา่ มี ชวี ติ อยู่เพอ่ื อะไร ตอ้ งการอะไรมากที่สดุ จากคำถามนำไปส่กู ารต้ังเป้าหมายชวี ติ ผู้สร้างสรรคม์ ี ความเชอ่ื วา่ เปา้ หมายทีส่ ำคัญท่สี ุดในการมชี ีวิตคือการดำรงสติอย่ใู นความสงบสุข ไมห่ ว่ันไหว กับทั้งความทุกขแ์ ละความสุข มีชวี ิตอยา่ งเขา้ ใจโลก โดยใชว้ รรณกรรมเปน็ เคร่ืองนำทางในการฝึก พัฒนาจติ ใจ การเขา้ ไปสัมผัสธรรมชาติ เฝ้าดูการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติ นำประสบการณ์

4 ดงั กล่าวมาสร้างงานศลิ ปะ โดยใช้ใบหน้าของผู้สรา้ งสรรคเ์ ปน็ ตวั แทนของมนษุ ย์ แสดงอารมณ์ สงบนิ่ง ภายใต้เงาใบไมท้ มี่ ีแสงลอดผา่ น เพื่อถ่ายทอดให้เหน็ ถงึ ความสงบความเข้าใจในชีวติ ทั้ง สองดา้ น คือด้านของแสงทสี่ ื่อถงึ ความสุข และด้านของเงาทสี่ อื่ ถงึ ความทุกข์ จากความคิดเร่ืองความสงบดว้ ยการเรียนรูใ้ นการยอมรบั ชีวิตทั้งสองด้าน สะทอ้ นผ่านรูปทรงหนา้ คน ซ่ึงมี แสงเงาจากใบไม้ตกทอด พาดอยู่บนใบหน้าที่สงบ ได้ถา่ ยทอดผ่านรปู แบบ เหมือนจริง ซง่ึ ผู้สรา้ งสรรคม์ ีความประทบั ใจในรูปแบบความงามตามความเปน็ จริงที่เรยี บง่าย ดว้ ย เทคนิคสนี ้ำมนั บน ผา้ ใบ ซงึ่ เปน็ เทคนคิ ท่ผี ู้สรา้ งสรรคม์ ีความสนใจ มีความชนื่ ชม เป็นส่วนตัว มีความเหมาะสมในการสรา้ งงานลกั ษณะ เหมอื นจรงิ สามารถตอบสนองงานในแนวความคิด ความสงบในมติ แิ สงเงาได้เปน็ อยา่ งดี รวมถงึ มคี วามคงทน สามารถติดตั้งเคล่อื นยา้ ยไดส้ ะดวก จากเหตุผลดังกล่าวผสู้ รา้ งสรรค์ไดเ้ กิดแรงบนั ดาลใจ ในการสรา้ งผลงานทัศนศิลป์ ประเภทจติ รกรรมใน แนวความคิด ความสงบในมิติแสงเงา เพ่อื นำเสนอรปู แบบงานศลิ ปะซงึ่ มีความงามอยา่ งเรยี บง่าย ในรปู แบบเหมอื น จรงิ ผ่านรปู ทรงใบหนา้ คน อันมเี นอ้ื หาของแสงเงาจากใบไมพ้ าดอยบู่ นใบหน้า ดว้ ยเทคนิคสนี ำ้ มันบนผา้ ใบ เพื่อ สะทอ้ นถงึ แนวคดิ เร่อื งความสงบอันเกิดจากการเรียนรู้ เข้าใจชวี ิต ยอมรับความทุกขแ์ ละความสุขด้วยความสงบ นอกจากน้ผี สู้ ร้างสรรค์ ยงั หวังใหผ้ ลงานเป็นส่วนหน่ึงของการเรยี นรู้ พัฒนาขัดเกลาจิตใจของตนเองและผชู้ มงาน ศลิ ปะ ใหต้ ระหนักถึงความสขุ อันแท้จริงจากความสงบ ความดีงาม อันเป็นหวั ใจ เปน็ หน้าที่สำคัญของงานศลิ ปะ ผลงานท่ีจะสรา้ งสรรค์ ผลงานท่จี ะสรา้ งสรรค์ เปน็ ประเภทงานจิตรกรรมสนี ้ำมันบนผา้ ใบแคนวาส ขนาด 120 x 160 ซม . จำนวน 6ช้นิ ขน้ั ตอนและระยะเวลาในการสร้างสรรคผ์ ลงาน การสร้างสรรคผ์ ลงานขนั้ ท่ี 1

5 1. การรา่ งภาพ โดยรา่ งภาพ ตามต้นแบบภาพรา่ งที่คดั เลือกไว้ โดยใชภ้ าพถ่ายตน้ แบบประกอบ ภาพประกอบ การร่างภาพ การสร้างสรรคผ์ ลงานขนั้ ท่ี 2

6 การลงสีภาพโดยรวมมขี ั้นตอนดงั นี้ 1. ลงสภี าพโดยรวม โดยลงสภี าพรวมใหเ้ ตม็ ภาพ เพือ่ ให้สามารถคมุ โทนสีภาพรวมไดช้ ดั เจน 2. ลงสีในส่วนน้ำหนกั เข้มถึงนำ้ หนักเขม้ สดุ เพอ่ื ใหเ้ ห็นพ้นื ทข่ี องรปู ทรงไดช้ ัดเจน 3. ลงสีในส่วนนำ้ หนกั กลางเนน้ ความชดั เจนและรายละเอยี ดบางส่วน ภาพประกอบ การลงสีภาพโดยรวมลำดับท่ี 1

7 ภาพประกอบ การลงสีภาพโดยรวมลำดบั ท่ี 2

8

9 ภาพประกอบ การลงสีภาพโดยรวมลำดบั ท่ี 3

10 ภาพประกอบ การลงสภี าพโดยรวมลำดับที่ 4 การสร้างสรรคผ์ ลงานข้ันท่ี 3 การเก็บรายละเอียดผลงาน โดยมีขน้ั ตอนดังน้ี 1. เก็บรายละเอียดในส่วนของพ้นื หลงั (Back ground) และสว่ นทมี่ ีน้ำหนกั เข้ม หรอื สว่ นของเงา เช่น ผม ตา ร่วงจมูก มุมปาก เปน็ ตน้ 2. เก็บรายละเอียดในพ้นื ที่ ท่มี ีนำ้ หนกั กลาง เช่น พ้ืนทสี่ ่วนใหญ่ของใบหนา้ ตา จมกู ปาก เป็นต้น 3. เกบ็ รายละเอยี ดในพื้นที่ ท่มี ีนำ้ หนกั เบา หรอื สว่ นของแสง เช่น แววตา แสงทกี่ ระทบตา จมูก ปาก สว่ นของแสงที่ลอดผ่านใบไม้ ภาพประกอบ การลงสีเกบ็ รายละเอียดลำดับที่ 1

11 ภาพประกอบ การลงสีเก็บรายละเอยี ดลำดับท่ี 2

12 ภาพประกอบ การลงสีเก็บรายละเอยี ดลำดับท่ี 3

13 การสร้างสรรค์ผลงานขัน้ ที่ 4 1. ตรวจดคู วามเปน็ เอกภาพ ความกลมกลนื ของสี แสง เงา รปู ทรง 2. ตกแตง่ เกบ็ รายละเอยี ดของแสงเงาจนลงตัวเหมาะสม 3. นำผลงานไปเขา้ กรอบเพ่อื พรอ้ มในการนำเสนอตอ่ ไป ภาพประกอบ รายละเอยี ดของผลงาน

14 ภาพประกอบ รายละเอยี ดของผลงาน การสร้างสรรค์ผลงานได้ดำเนนิ ตามข้นั ตอนต่าง ๆ อย่างเป็นระบบระเบียบ เริ่มจากการจดั กระทำภาพรา่ ง จากขอ้ มูลทไ่ี ด้ศึกษามา การเตรียมอุปกรณ์ท่ีใช้ในการสร้างสรรค์ การสรา้ งผลงานโดยการร่างภาพ การลงสภี าพรวม ข้นั ตอนการเก็บรายละเอียดจนภาพผลงานมคี วามสมบูรณ์ ตามแนวความคดิ ข้างตน้ ทไี่ ด้ต้ังไว้ ระยะเวลาในการดำเนินสร้างสรรค์ การสรา้ งสรรคผ์ ลงาน ในโครงการความสงบในมิตแิ สงเงา โดยสร้างสรรค์เปน็ ผลงาน จติ รกรรม สีนำ้ มันบนแคนวาส ขนาด 120 x 160 ซม.จำนวน 6 ช้นิ ใชเ้ วลา 3 เดือน

15 ภาพต้นแบบ ภาพต้นแบบท่ี 1

16 ภาพต้นแบบท่ี 2

17 ภาพต้นแบบท่ี 3

18 ภาพต้นแบบท่ี 4

19 ภาพต้นแบบท่ี 5

20 ภาพต้นแบบท่ี 6

21 ภาพต้นแบบท่ี 7

22 ภาพผลงานของ กรณุ า ภาณุเมศ ปี 2535 - 2540

23 “untitled” ,oil on canvas , 100 x 150 cm

24 “untitled” ,oil on canvas , 100 x 150 cm

25 “untitled” ,oil on canvas , 100 x 120 cm

26 “untitled” ,oil on canvas , 100 x 150 cm

27 “untitled” ,oil on canvas , 100 x 120 cm

28 “untitled” ,oil on canvas , 80 x 120 cm

29 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 50 cm

30 “untitled” ,oil on canvas , 50 x 70 cm

31 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

32 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

33 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

34 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

35 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

36 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

37 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

38 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

39 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

40 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

41 “untitled” ,oil on canvas , 40 x 60 cm

42 ภาพผลงานของ กรณุ า ภาณุเมศ ปี 2541 – 2549

43 บรรยากาศห้องทางาน ณ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาร้อยเอด็

44 “พทุ ธทาส” สีน้ามนั บนแคนวาส 150 x 200 cm

45 “หลวงป่ ทู วดวดั ชา้ งไห้” สีน้ามนั บนแคนวาส 150 x 200 cm

46 “ทา่ นพทุ ธทาส” สีชอลค์ 50x70cm

47 “หลวงตาบวั ” สีชอลค์ 50x70cm

48 “หลวงป่ เู กษม” สีน้ามนั บนแคนวาส 150 x 200 cm


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook