Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยา

พระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยา

Published by Maysinee Singthong, 2021-02-01 15:57:35

Description: พระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยา

Search

Read the Text Version

พระมหากษัตรยิ ์ในสมยั อยธุ ยา ผู้จดั ทา นางสาวเมสณิ ี สงิ ห์ทอง 63202010019 นางสาวศริ ิพร หมวดกอ๋ ย 63202010029 นางสาวศริ ลิ ักษณ์ ปดั ทุมมี 63202010030 ระดบั ชนั้ ปวช.1 กลมุ่ 1 สาขา การบัญชี เอกสารฉบับนี้เป็นสว่ นหน่ึงของการศกึ ษาค้นคว้าประกอบการเรยี นรายวชิ าประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย วิทยาลัยเทคนคิ ลพบุรี สังกัดสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2563



พระมหากษตั รยิ ์ในสมยั อยุธยา ผู้จดั ทา นางสาวเมสณิ ี สิงหท์ อง 63202010019 นางสาวศิรพิ ร หมวดก๋อย 63202010029 นางสาวศริ ิลกั ษณ์ ปดั ทุมมี 63202010030 ระดับชั้น ปวช.1 กลมุ่ 1 สาขา การบัญชี เอกสารฉบบั น้ีเป็นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษาคน้ คว้าประกอบการเรยี นรายวิชาประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทย วิทยาลัยเทคนิคลพบุรี สังกดั สานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

ก ชื่อเร่ือง : พระมหากษัตรยิ ์ในสมยั อยุธยา ผูจ้ ัดทา : นางสาวเมสิณี สิงหท์ อง นางสาวศริ พิ ร หมวดกอ๋ ย ที่ปรึกษา นางสาวศริ ิลกั ษณ์ ปดั ทุมมี ปกี ารศึกษา : คุณครู ศิริโสภา วิศิษฏ์วฒั นะ : 2563 บทคัดย่อ เรื่อง พระมหากษตั ริย์ในสมยั อยุธยา มจี ุดมงุ่ หมายเพ่ือศกึ ษาเกยี่ วกับรายพระนามและเหตกุ ารณ์ หรือพระราชกรณยี - กจิ สาคญั ๆ ของพระมหากษตั รยิ ใ์ นสมยั อยธุ ยา โดยทางคณะผู้จัดทาไดท้ าการศึกษาค้นควา้ ข้อมูลจากแหล่งข้อมลู ตา่ งๆ เชน่ หนังสือ ท่เี ก่ียวกับประวตั ิศาสตรใ์ นสมัยอยธุ ยา อินเทอรเ์ นต็ และผลจาการ- ศึกษาทาให้เราไดท้ ราบถึงรายพระนามของพระมหากษัตรยิ ใ์ น สมยั อยุธยา และยงั ได้ทราบถึงเหตุการณ์สาคัญๆ หรอื พระราชกรณยี กจิ สาคัญๆ ของพระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยาอีกดว้ ย เชน่ สมเดจ็ พระรามาธิบดที ่ี 1 (พระเจา้ อู่ทอง) ได้สถาปนากรุงศรีอยธุ ยาเป็นราชธานี – จดั ระเบยี บการ ปกครองแบบจตุสดมภ์ ฯลฯ

ง กิตตกิ รรมประกาศ โครงการน้เี ปน็ ส่วนหน่งึ ของรายวชิ าประวัติศาสตร์ชาติไทย เพ่ือให้ไดร้ ถู้ ึงความเปน็ มาของพระมหากษัตรยิ ์ ในสมัยอยธุ ยา และจัดทาโครงการเพ่ือเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้ที่ต้องการจะศึกษาเกี่ยวกบั ประวัตคิ วามเปน็ มาของพระ- มหากษัตรยิ ์ในสมยั อยธุ ยา ทั้งนี้ รายงานนป้ี ระกอบด้วยบทนา ทฤษฎที ่ีเกี่ยวข้องกบั พระมหากษัตรยิ ์ในสมยั อยุธยา นางสาวเมสิณี สงิ หท์ อง นางสาวศริ พิ ร หมวดก๋อย นางสาวศิริลักษณ์ ปัดทมุ มี

สารบญั จ เรอื่ ง หน้า บทคดั ย่อ ก กติ ติกรรมประกาศ ง สารบัญ จ สารบัญตาราง ช สารบญั ภาพ ซ บทท่ี 1 บทนา 1 1.1 ความเปน็ มา 1 1.2 วัตถุประสงค์ 1 1.3 ขอบเขต 1 1.4 ประโยชน์ท่ีไดร้ ับ บทที่ 2 ทฤษฎีทเี่ กยี่ วข้อง 2 2.1 ประวัติของพระมหากษัตรยิ ส์ มยั อยธุ ยา 5 2.2 การขึ้นครองราชยข์ องพระมหากษตั ริย์ 2 2.3 การทาศึกสงครามทสี่ าคัญในสมยั อยุธยา บทที่ 3 วธิ ดี าเนินงาน 3 3.1 วางแผนการดาเนินงาน 3 3.2 คน้ หาข้อมลู ทางอินเทอรเ์ น็ต 3 3.3 นาขอ้ มลู ทงั้ หมดมาประเมินคุณคา่ ของหลักฐาน 3 3.4 วิเคราะหส์ ังเคราะห์ข้อมูล บทท่ี 4 ผลการศึกษาค้นควา้ 4 4.1 ไดร้ ับความรเู้ รื่องประวตั ิของพระมหากษตั รยิ ์ในสมยั อยุธยา 4 4.2 ไดร้ ู้เหตกุ ารณต์ างๆที่สาคัญ 4 4.3 ไดร้ ูถ้ ึงพระราชกรณยี กิจของพระมหากษัตรยิ ์ในสมัยอยุธยา

สารบญั (ต่อ) หนา้ บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5 5.1 สรปุ ผล 5 5.2 ปัญหาและอุปสรรคในการศึกษาค้นคว้า 5 5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา 6 7 บรรณานกุ รม 8 ภาคผนวก ก. ประวตั ผิ ู้ศึกษา

ช สารบัญตาราง หน้า บทคดั ย่อ............................................................................................................................. .............ก กติ ตกิ รรมประกาศ............................................................................................................................ง สารบัญ............................................................................................................ .................................จ สารบัญตาราง................................................................................................... ................................ช สารบัญภาพ...................................................................................................... ................................ซ บทที่ 1 บทนา…………………………………………………………………………………………………………….........1 1.1 ความเปน็ มา.................................................................................................................1 1.2 วตั ถุประสงค.์ ................................................................................................................1 1.3 ขอบเขต........................................................................................................................1 1.4 ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั ...........................................................................................................1 บทที่ 2 ทฤษฎที เี่ ก่ียวข้อง..................................................................................................................2 2.1 ประวัติของพระมหากษตั รยิ ส์ มยั อยุธยา........................................................................2 2.2 การขึ้นครองราชย์ของพระมหากษัตริย์.........................................................................5 2.3 การทาศึกสงครามที่สาคัญในสมยั อยุธยา......................................................................7 บทท่ี 3 วธิ ดี าเนินงาน.......................................................................................................................10 3.1 วางแผนการดาเนนิ งาน................................................................................................10 3.2 ค้นหาข้อมูลทางอนิ เทอร์เนต็ ........................................................................................10 3.3 นาข้อมลู ทั้งหมดมาประเมินคุณคา่ ของหลักฐาน...........................................................10 3.4 วิเคราะหส์ ังเคราะห์ข้อมูล.............................................................................................10 บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ คว้า..............................................................................................................11 4.1 ไดร้ บั ความรู้เรื่องประวตั ขิ องพระมหากษตั รยิ ์ในสมยั อยุธยา..........................................11 4.2 ได้รเู้ หตกุ ารณ์ตางๆที่สาคัญ............................................................................................11 4.3 ได้ร้ถู ึงพระราชกรณยี กิจของพระมหากษัตริย์ในสมยั อยุธยา...........................................11

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะ................................................................................12 5.1 สรุปผล........................................................................................................................12 5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการศกึ ษาคน้ คว้า.....................................................................12 5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา......................................................................12 บรรณานกุ รม...................................................................................................................................13 ประวตั ผิ ้ศู กึ ษา.................................................................................................................................14

สารบัญภาพ ซ ภาพที่ 3-1 พระมหากษัตรยิ ใ์ นสมยั อยธุ ยา หน้า 10

บทท่ี 1 1 บทนา 1. ความเป็นมา โครงการนี้เกดิ ขนึ้ จากความสนใจของคณะผจู้ ัดทาทตี่ อ้ งการจะศกึ ษาและทราบถึงรายพระนามและพระราช- กรณยี กจิ สาคัญๆ ของพระมหากษตั ริยใ์ นสมยั อยธุ ยา 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพอ่ื ศกึ ษาประวตั ขิ องพระมหากษตั รยิ ใ์ นสมยั อยธุ ยา 2.2 เพอ่ื ศกึ ษาเหตุการณส์ าคัญ 2.3 เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ 2.4 เพื่อเปน็ แนวทางให้แก่ผู้ท่ีสนใจจะศึกษา 3. ขอบเขต 3.1 สถานท่ี วทิ ยาลัยเทคนิค 3.2 ระยะเวลา ตง้ั แตว่ นั ที่ 1 ต.ค. - 31 ม.ค. 2563 3.3 ตัวแปรต้น คอื พระมหากษตั ริยใ์ นสมัยอยุธยา 3.4 ตวั แปรตาม คือ ประวัตคิ วามเป็นมา 3.5 ตวั แปรควบคุม คือ เหตกุ ารณส์ าคญั 4. ประโยชน์ทไี่ ดร้ ับ 4.1 ไดร้ คู้ วามเปน็ มาเกีย่ วกบั พระมหากษัตริยใ์ นสมัยอยุธยา 4.2 เปน็ ประโยชนต์ ่อผู้ท่ีต้องการจะศึกษาในเรอื่ งน้ี 4.3 เปน็ การส่งเสรมิ ในการทาโครงการทางประวตั ศิ าสตร์

บทท่ี2 2 ทฤษฎีที่เก่ียวข้อง ในการศึกษาเรื่อง พระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยา ผูจ้ ดั ทาไดร้ วบรวมแนวคิดทฤษฎแี ละหลกั การต่างๆจาก เอกสารทเี่ กี่ยวข้องดงั ต่อไปน้ี 2.1 พระราชประวตั ิพระมหากษตั ริยไ์ ทยสมัยอยธุ ยา สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๑ (พระเจา้ อทู่ อง) สมเด็จพระเจ้าอูท่ อง ทรงเปน็ ปฐมกษตั รยิ ์ของกรุงศรีอยธุ ยา เสด็จพระราชสมภพ เม่ือปี พ.ศ.๑๘๗๕ ทรงสถาปนา อยธุ ยาเปน็ ราชธานี เม่อื ปี พ.ศ.๑๘๙๓ ปีขาล โทศก ณ วันศุกร์ เดอื นห้า เพลาสามนาฬิกา หา้ บาท ได้รับถวายพระนามวา่ สมเด็จพระรามาธบิ ดีศรสี นุ ทรบรมบพติ ร พระเจา้ อยหู่ วั กรุงเทพมหานครบวรทวาราวดีศรีอยุธยาฯ สมเดจ็ พระเจ้าอู่ทองทรงตง้ั กรุงศรอี ยธุ ยา ณ ชยั ภูมิท่ีเออ้ื อานวยทง้ั ในด้านความมนั่ คงปลอดภัยจากขา้ ศึกและ ความอยู่ดีกนิ ดขี องชาวอยธุ ยา คือตง้ั อยบู่ นดินดอนสามเหล่ียมทมี่ ีแม่นา้ ล้อมรอบ ตวั เมืองมลี ักษณะเป็นเกาะ สะดวกใน การปอ้ งกนั ตัวเมืองจากผเู้ ขา้ มารกุ ราน และพน้ื ท่ีเหมาะแก่การเกษตรกรรม เป็นศนู ย์กลางทางการคา้ และการคมนาคม อนั เนอื่ งจากมีแมน่ า้ สามสายคือ แมน่ า้ เจ้าพระยา แมน่ า้ ปา่ สัก และแมน่ ้าลพบุรี ไหลมาบรรจบกัน ควบคมุ เสน้ ทางคมนา- คมทางน้าของบรรดาบ้านเมอื งที่ อยู่เหนือขึน้ ไปท่ีจะออกสู่ทะเล สมเดจ็ พระราเมศวร สมเดจ็ พระราเมศวร ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอู่ทอง สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๑ (ขุนหลวงพะงั่ว) สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๑ มีพระนามเดมิ ว่า ขนุ หลวงพะงวั่ ทรงเป็นพระเชษฐาของพระมเหสใี นสมเดจ็ พระ เจา้ อทู่ อง พระองคท์ รงเปน็ นักรบท่สี ามารถ ตั้งแตใ่ นรัชสมัยพระเจ้าอทู่ อง สมเดจ็ พระเจ้าทองลนั (ทองจันทร)์ สมเด็จพระเจ้าทองลัน ทรงเป็นพระราชโอรสในขุนหลวงพะงัว่ สมเด็จพระรามราชาธริ าช สมเด็จพระรามราชาธริ าช ทรงเปน็ พระราชโอรสในสมเดจ็ พระราเมศวร เสด็จพระราชสมภพ เมอ่ื ปี พ.ศ.๑๘๙๙ ทเี่ มืองลพบรุ ี ทรงพระนามวา่ เจา้ พระยาราม สมเด็จพระนครินทราธิราช (พระนครอนิ ทร์) สมเดจ็ พระนครนิ ทร์ ฯ ทรงเป็นพระราชนดั ดาในขุนหลวงพะงว่ั เสด็จพระราชสมภพ เมอื่ ปี พ.ศ.๑๙๐๒ สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา) เจา้ สามพระยาเปน็ พระนามเดมิ ของสมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๒ พระองคเ์ ป็นพระราชโอรสองค์ที่สามในสมเดจ็ พระนครินทร์ ฯ

3 สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เสดจ็ พระราชสมภพ เมื่อปี พ.ศ.๑๙๗๔ พระองคท์ รงเปน็ พระราชโอรสสมเด็จพระบรม ราชาธิราชที่ ๒ เมอ่ื พระองค์มีพระชนม์มายุได้เจ็ดพรรษา พระราชบิดาได้พระราชทานพระนามตามพระราชประเพณีว่า สมเด็จพระราเมศวรบรมไตรโลกนาถ สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ ทรงมีพระราชสมญั ญาอีกพระนามหนึ่งว่า พระเจ้าชา้ งเผือก เน่อื งจาก เมื่อปี พ.ศ. ๒๐๑๔ พระองค์ได้ทรง รบั ชา้ งเผือกซึ่งนับเปน็ ชา้ งเผือกชา้ งแรกของกรุงศรอี ยธุ ยา สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๓ (พระอนิ ทราชา) สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๓ พระนามเดิมว่า พระอินทราชา ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเดจ็ พระบรมไตร โลกนาถ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีท่ี ๒ พระนามเดิมวา่ พระเชษฐาธิราช ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ เสดจ็ พระราชสมภพเม่ือปี พ.ศ.๒๐๑๕ ท่ีเมอื งพิษณโุ ลก สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๔ สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชท่ี ๔ หรืออกี พระนามหน่งึ วา่ สมเดจ็ พระบรมราชาหนอ่ พุทธางกรู เปน็ พระราชโอรสใน สมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ ๒ พระนามเดิมว่า พระอาทิตยวงศ์ และทรงเป็นรัชทายาท ภายหลังไดร้ บั โปรดเกลา้ ฯ สถาปนา เป็นพระบรมราชาหน่อพุทธางกูร พระรษั ฎาธริ าช พระรษั ฎาธริ าช ทรงเปน็ พระราชโอรสในสมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชท่ี ๔ พระราชชนนี ทรงมีเช้อื สายราชวงศ์เวยี ง ไชยนารายณ์ เม่ือสมเด็จพระบรมชนกนาถ เสด็จสวรรคตโดยท่มี ิได้ทรงแต่งต้งั รัชทายาท บรรดามขุ อามาตย์เสนาบดี จึง พร้อมใจกันอญั เชญิ พระรษั ฎาธริ าชกุมาร ซ่ึงมีพระชนมายุเพียงห้าพรรษา สมเด็จพระไชยราชาธริ าช สมเด็จพระไชยราชาธริ าช ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระรามาธิบดที ่ี ๒ ได้รับโปรดเกล้า ฯ ใหไ้ ปครองเมอื ง พษิ ณุโลก พระองค์มีพระราช โอรสสองพระองค์อนั ประสตู แิ ตท่ า้ วศรสี ุดาจันทร์พระสนมเอก ทรงพระนามวา่ พระยอดฟา้ และพระศรีศิลป์ สมเดจ็ พระยอดฟ้า สมเดจ็ พระยอดฟา้ หรือพระแกว้ ฟ้า ทรงเปน็ พระราชโอรสของสมเด็จพระไชยราชาธริ าช กับพระสนมเอกทา้ วศรี สดุ าจนั ทร์ ขุนวรวงศาธริ าช ขนุ วรวงศาธริ าช ตาแหนง่ เดิมคอื พนั บุตรศรเี ทพ เปน็ ผเู้ ฝ้าหอพระหน้าพระบรมมหาราชวงั สมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ ทรงพระนามเดมิ วา่ พระเฑียรราชา ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๒ และทรงเปน็ พระอนุชาตา่ งพระชนนี ในสมเด็จพระไชยราชาธิราช

4 สมเดจ็ พระมหินทราธริ าช สมเดจ็ พระมหินทราธริ าช พระนามเดิม พระมหนิ ทร์ หรือพระมหินท์ เป็นพระราชโอรสพระองค์ทส่ี อง ในสมเด็จ พระมหาจักรพรรดิกบั สมเด็จพระสุริโยทัย สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาธิราช สมเดจ็ พระมหาธรรมราชาหรอื อีกพระนามหนึ่งวา่ สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี ๑ เสด็จพระราชสมภพ เมอื่ ปี พ.ศ. ๒๐๕๘ พระราชบดิ าเป็นเชอ้ื สายราชวงศพ์ ระรว่ ง แหง่ กรงุ สุโขทัย พระราชมารดาเป็นพระญาติฝ่ายพระราชชนนี สมเดจ็ พระไชยราชาธริ าช แห่งราชวงศส์ ุวรรณภมู พิ ระองค์ทรงรับราชการเป็นที่ขนุ พิเรนทรเทพ เจ้ากรมตารวจรักษาพระองค์ หลงั จากท่เี หตุการณว์ นุ่ วายในราชสานกั ยุติลง สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช มีพระนามเดมิ วา่ พระนเรศ หรอื \"พระองค์ดา\" เปน็ พระราชโอรสในสมเดจ็ พระมหา ธรรมราชาธริ าชและพระวิสทุ ธกิ ษตั รยี ์ เสดจ็ พระราชสมภพเมื่อ พ.ศ. 2098 ท่ีพระราชวังจันทน์ เมอื งพษิ ณุโลกมีพระเชษฐา ภคนิ คี ือพระสุพรรณกัลยา มีพระอนุชาคือสมเดจ็ พระเอกาทศรถ (องค์ขาว) สมเด็จพระนารายณ์มหาราช สมเด็จพระนารายณม์ หาราช หรืออีกพระนามหนงึ่ ว่า สมเด็จพระรามาธิบดที ่ี ๓ หรอื สมเดจ็ พระรามาธิบดีศรสี รร เพชญ์ เป็นพระราชโอรส ในสมเด็จพระเจา้ ปราสาททอง มีพระเชษฐาคอื สมเดจ็ เจา้ ฟ้าไชย มพี ระอนชุ าคือ เจ้าฟา้ อภยั ทศ พระไตรภวู นาทิตยวงศ์ พระองคท์ อง และพระอนิ ทราชา สมเดจ็ พระเพทราชา สมเดจ็ พระเพทราชา เสด็จพระราชสมภพ เม่ือปี พ.ศ.๒๑๗๕ เดิมเปน็ ชาวบา้ นพลูหลวง แขวงเมืองสุพรรณบุรี เขา้ รบั ราชการเป็นจางวาง (เจา้ กรม) ในกรมพระคชบาล ในรัชสมยั สมเด็จพระนารายณ์ ฯ สมเด็จพระเจ้าเสือ สมเด็จพระเจ้าเสือ เปน็ พระราชโอรสในสมเดจ็ พระนารายณ์ ฯ เสดจ็ พระราชสมภพ เมื่อปี พ.ศ.๒๒๐๖ สมเดจ็ พระ นารายณ์ ฯ โปรดให้พระเพทราชา เลย้ี งดูเป็นบตุ รบุญธรรม ไดเ้ ข้ารับราชการในรชั สมัยสมเด็จพระนารายณ์ ฯ เปน็ หลวงสร ศกั ดิ์ ไดร้ ว่ มกบั พระเพทราชา กาจดั พระปยี ์ และเจ้าพระยาวชิ าเยนทร์ ในสมยั สมเด็จพระเพทราชา ได้รับโปรดเกลา้ ฯ เป็น กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ทีพ่ ระมหาอุปราชได้ สมเด็จพระเจ้าทา้ ยสระ สมเด็จพระเจ้าทา้ ยสระ เป็นพระราราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าเสือ เสด็จพระราชสมภพ เมือ่ ประมาณปี พ.ศ. ๒๒๒๑ พระนามเดิมเจ้าฟ้าเพชร ทรงได้รับโปรดเกลา้ ฯ ให้เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระมหาอุปราชสมเดจ็ - พระเจ้าอยู่หวั บรมโกศ สมเด็จพระเจา้ อยูห่ ัวบรมโกศ สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั บรมโกศ เปน็ พระโอรสในสมเด็จพระเจ้าเสอื พระนามเดิม เจ้าฟา้ พร เปน็ พระอนุชา สมเด็จ พระเจา้ ท้ายสระ พระองค์ได้รับโปรดเกล้า ฯ ให้เป็นกรมพระราชวังบวรสถานมงคล

5 สมเดจ็ พระเจ้าอุทุมพร สมเด็จพระเจ้าอทุ ุมพร เปน็ พระราชโอรสองคร์ องในสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวบรมโกศ พระนามเดิมเจ้าฟา้ ดอกเดื่อ ต่อมาได้ทรงกรมเป็นกรมขนุ พรพินติ มพี ระเชษฐาคือ เจ้าฟ้าเอกทศั น์ (กรมขนุ อนุรักษ์มนตรี) หลังจากเจา้ ฟ้าธรรมาธเิ บศร์ ซึ่งเปน็ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล สมเดจ็ พระทน่ี ่ังสรุ ยิ าศน์อมรินทร์ (พระเจา้ เอกทศั น์) พระเจ้าเอกทศั น์ เป็นพระราชโอรสในสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระนามเดิม เจ้าฟา้ เอกทัศน์ ต่อมาไดท้ รง- กรมเปน็ กรมขนุ อนุรักษ์มนตรี 2.2 การข้ึนครองราชย์ของพระมหากษัตรยิ ์ สมเดจ็ พระรามาธิบดีท่ี ๑ (พระเจา้ อ่ทู อง) ทรงครองราชย์ระหวา่ งปี พ.ศ.๑๘๙๓ – ๑๙๑๒ สมเดจ็ พระราเมศวร ทรงครองราชย์สองครั้งคือ ครั้งแรกต่อจากสมเด็จพระเจา้ อู่ทอง ระหวา่ งปี พ.ศ.๑๙๑๒ - ๑๙๒๓ และคร้ังที่สอง ตอ่ จากสมเด็จพระบรมราชาธิราช (ขนุ หลวงพะงว่ั ) ระหว่างปี พ.ศ.๑๙๓๑ – ๑๙๓๘ สมเด็จพระบรมราชาธริ าชท่ี ๑ (ขนุ หลวงพะง่ัว) เดิมครองเมืองสุพรรณบุรี พระองค์ทรงเปน็ นักรบทีส่ ามารถ ตั้งแต่ในรชั สมยั พระเจ้าอู่ทอง สมเดจ็ พระเจ้าทองลัน (ทองจันทร์) ครองราชย์ เม่ือปี พ.ศ.๑๙๓๑ สมเดจ็ พระรามราชาธริ าชเสดจ็ ขึ้นครองราชย์ เมอ่ื ปี พ.ศ.๑๙๓๘ พระชนมายุได้ ๔๐ พรรษา เป็นพระมหากษัตรยิ ์ องค์ทีห่ ้าของกรงุ ศรอี ยุธยา สมเดจ็ พระนครนิ ทราธริ าช (พระนครอินทร)์ ทรงครองราชย์ เมอ่ื ปี พ.ศ.๑๙๕๒ เปน็ พระมหากษัตริยอ์ งคท์ ี่หกของกรงุ ศรีอยุธยา สมเด็จพระบรมราชาธริ าชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา) เสดจ็ ขนึ้ ครองราชย์ เมื่อปี พ.ศ.๑๙๖๗ เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่เจด็ แหง่ กรุงศรีอยธุ ยา สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ สมเด็จพระราเมศวรบรมไตรโลกนาถบพิตรและเมอื่ พระชนมายไุ ด้ ๑๕ พรรษา ได้รบั โปรดเกล้า ฯ ให้เสดจ็ ไป ครองหัวเมืองฝา่ ยเหนือ โดยได้ประทบั อยูท่ เ่ี มืองพิษณโุ ลก เมือ่ สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๒ เสดจ็ สวรรคต พระองค์จึง ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ เม่ือปี พ.ศ.๑๙๙๑ เปน็ พระมหากษัตริย์พระองค์ทแ่ี ปดของกรุงศรอี ยุธยา

6 สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๓ (พระอินทราชา) เสดจ็ ขน้ึ ครองราชย์ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๐๓๑ เปน็ พระมหากษตั ริยอ์ งค์ทีเ่ ก้าของกรงุ ศรีอยธุ ยา สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒ เสด็จขึ้นครองราชย์ เมอื่ ปี พ.ศ.๒๐๓๔ เปน็ พระมหากษตั ริย์องค์ทีส่ ิบของกรงุ ศรีอยุธยา สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ ๔ เสดจ็ ขึ้นครองราชย์ เมอ่ื ปี พ.ศ.๒๐๗๒ เปน็ พระมหากษัตริย์ ลาดับที่ ๑๑ ของกรงุ ศรีอยุธยา พระรษั ฎาธริ าช เสดจ็ ข้ึนครองราชย์ เมอื่ ปี พ.ศ.๒๐๗๖ ทรงพระนามว่า พระรษั ฎาธิราช เปน็ พระมหากษัตรยิ ์องค์ที่ ๑๒ ของกรุงศรีอยธุ ยา สมเดจ็ พระไชยราชาธิราช เสดจ็ ขึ้นครองราชยเ์ มอ่ื ปี พ.ศ.๒๐๗๗ เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ ๑๓ ของกรงุ ศรีอยุธยา สมเดจ็ พระยอดฟ้า เสดจ็ ขนึ้ ครองราชยเ์ ม่ือปี พ.ศ.๒๐๘๙ เป็นพระมหากษัตรยิ ์พระองค์ท่ี ๑๔ ของกรงุ ศรีอยุธยา ขุนวรวงศาธิราช ขน้ึ ครองราชยไ์ ด้สองปี เนอ่ื งจากพระองคท์ รงพระเยาว์ ทา้ วศรสี ดุ าจนั ทร์ พระราชมารดา จึงไดร้ บั เชิญให้ เป็นผู้สาเรจ็ ราชการ เม่ือสมเด็จพระยอดฟ้าสวรรคต ทา้ วศรีสุดาจนั ทร์ในฐานะผูส้ าเร็จราชการจึงไดด้ าเนินการ จัดตง้ั พระราชพิธรี าชาภเิ ษกขุนวรวงศาธิราชเปน็ พระเจา้ แผ่นดนิ สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ทรงดารงตาแหน่งผูส้ าเร็จราชการแผน่ ดนิ คกู่ นั กับทา้ วศรีสดุ าจนั ทร์ ในรัชสมัยสมเด็จพระยอดฟ้า ต่อมาได้ เสด็จออกผนวช ณ วดั ราชประดษิ ฐาน สมเด็จพระมหินทราธริ าช ขน้ึ ครองราชยต์ อ่ จากสมเด็จพระมหาจกั รพรรดิ ซ่ึงเสดจ็ ออกผนวช สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ขึ้นครองราชยเ์ ป็นสมเดจ็ พระมหาจกั รพรรด์ิ เม่ือปี พ.ศ.๒๐๙๑ แล้วขนุ พิเรนทรเทพไดร้ ับสถาปนาขึ้นเป็นสมเด็จ พระมหาธรรมราชา แลว้ ได้รบั โปรดเกลา้ ให้ไปครองเมอื งพิษณุโลก สาเร็จราชการหวั เมอื งฝ่ายเหนือ มศี ักด์ิเทยี บเทา่ พระมหาอปุ ราช สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช เสดจ็ ขึน้ ครองราชย์เม่ือวันท่ี 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2133 ครองราชสมบัติ 15 ปี สมเดจ็ พระนารายณ์มหาราช ขน้ึ ครองราชย์ เมือ่ ปี พ.ศ.๒๑๙๙ เมื่อพระชนมายไุ ด้ ๒๕ พรรษา

7 สมเดจ็ พระเพทราชา เสด็จขนึ้ ครองราชยเ์ มือ่ ปี พ.ศ.๒๒๓๒ สมเด็จพระเจ้าเสือ เสดจ็ ขึ้นครองราชย์ เมอื่ ปี พ.ศ.๒๒๔๖ สมเด็จพระเจา้ ท้ายสระ ขนึ้ ครองราชยเ์ มอื่ ปี พ.ศ.๒๒๕๑ ทรงพระนามสมเดจ็ พระสรรเพชญท์ ่ี ๙ หรอื สมเด็จพระเจา้ ทา้ ยสระ สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวบรมโกศ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจา้ ท้ายสระ ทรงปราบดาภเิ ษกขน้ึ เป็น พระมหากษัตริย์ ทรงพระนามสมเด็จพระ บรมราชาธิราชที่ ๓ สมเดจ็ พระเจ้าอุทมุ พร ขึ้นครองราชยเ์ มอ่ื ปี พ.ศ.๒๓๐๑ ทรงพระนามว่า สมเด็จพระบรมราชาท่ี ๔ สมเดจ็ พระทีน่ ่ังสุริยาศนอ์ มรินทร์ (พระเจา้ เอกทศั น์) เสด็จขึ้นครองราชย เ์ ม่ือปี พ.ศ.๒๓๐๑ ทรงพระนาม สมเด็จพระบรมราชามหาดิศร ฯ แตค่ นส่วน ใหญม่ ักขานพระนามวา่ สมเด็จพระที่นั่งสรุ ยิ าศน์อมรนิ ทร์ สมเดจ็ พระทนี่ ่ังสุริยาบรนิ ทร และพระเจ้าเอกทัศน์ 2.3 การทาศกึ สงครามท่สี าคัญในสมัยอยธุ ยา อยุธยาตอนตน้ (๑๘๙๘ - ๑๙๙๑) ขอมสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ กษตั รยิ ์ขอมเสดจ็ สวรรคต พระราชโอรสนาม พระบรมลาพงศ์ ทรงข้ึน ครองราชย์ ทาให้ขอมไม่เปน็ ไมตรีดังแต่กอ่ น สมเดจ็ พระรามาธบิ ดที ี่ ๑ จึงมีบญั ชาใหส้ มเด็จพระราเมศวรยกทพั ไปตกี ัมพชู า และให้สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ ๑ หรอื ขนุ หลวงพะงวั่ ทรงยกทัพไปช่วย จึงสามารถตเี มอื งนครธมแตกได้ พระบรมลา พงศ์สวรรคตในศึกครั้งน้ี สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๑ จึงแต่งตัง้ ปาสตั พระราชโอรสของพระบรมลาพงศ์เป็นกษตั ริย์ขอม สงครามเมืองชากังราว สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี ๑ ทรงยกกองทัพขน้ึ ไปยังเมอื งชากังราวถงึ ๔ คร้ัง เน่ืองจาก เมืองชากังราวเป็นเมืองหนา้ ด่านของกรุงสุโขทัย โดยครงั้ แรกน้นั ทรงยกกองทัพไปเมืองปี พ.ศ. ๑๙๑๖ พระยาไสแก้วและ พระยาคาแหงเจา้ เมอื งชากังราวออกรบต่อพระองค์ การศึกในครั้งนน้ั เป็นเหตุให้พระยาไสแก้วเสียชวี ติ แต่พระยาคาแหงน้นั สามารถกลบั เขา้ เมืองได้ แล้วทรงยกทัพกลับกรงุ ศรีอยุธยา พระองคย์ กทัพข้ึนไปเมืองชากังราวคร้ังท่ี ๒ เม่ือปี พ.ศ. ๑๙๑๙ พระยาคาแหงและทา้ วผ่าคองคิดกนั วา่ จะยอทัพหลวงทามิได้ ครั้งนนั้ ทา้ วผ่าคองเลิกทัพหนีแตพ่ ระองคท์ รงยกทัพตามและ สามารถตีทัพท้าวผ่าคองแตก ไดท้ ้าวพระยาเสนาขุนหมนื่ เป็นจานวนมากแล้วทรงยกทัพหลวงกลบั พระนคร พระองค์ยกทัพ มาเมอื งชากงั ราวเป็นครั้งที่ ๓ เม่อื ปี พ.ศ. ๑๙๒๑ ครั้งน้ันพระมหาธรรมราชา (ที่ ๒) พระมหากษัตริย์แหง่ กรุงสโุ ขทัยทรง ออกรบเป็นสามารถ แต่เหน็ จะสทู้ พั จากกรุงศรีอยุธยาไม่ไหว ดงั นน้ั พระมหาธรรมราชาจึงออกมาถวายบังคม พระองค์ทรง ให้พระมหาธรรมราชาครองเมืองต่อไปในฐานะเปน็ เมืองประเทศราชของกรุงศรีอยุธยาแล้วทรงยกทัพหลวงกลบั พระนคร พระองค์ยกทัพไปเมืองชากังราวอกี ครั้งเม่ือปี พ.ศ. ๑๙๓๑ แต่ไมป่ รากฏวา่ ทรงยกทัพไปด้วยสาเหตุอนั ใด คร้งั นน้ั ทรงพระ ประชวรและเสดจ็ สวรรคตระหวา่ งการเสด็จกลบั กรงุ ศรอี ยุธยา

8 อยธุ ยาตอนกลาง (๑๙๙๑ - ๒๒๓๑) สงครามชา้ งเผือก พระเจา้ บุเรงนอง ผู้ครองราชยเ์ ปน็ กษัตริยแ์ หง่ หงสาวดตี ่อจากพระเจ้าตะเบง็ ชะเวตี้ ทราบเรอื่ ง ช้างเผอื ก จึงส่งราชทูตเชญิ พระราชสาสน์ มาขอพระราชทานชา้ งเผือกสองเชอื ก สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดทิ รงใหเ้ หตุผลเชงิ ปฏิเสธเพราะทรงเหน็ ด้วยกบั พระราเมศวร พระยาจักรี และพระสนุ ทรสงคราม พระเจ้าบุเรงนองจึงถอื สาเหตุน้ัน ยกกองทัพ มาตกี รุงศรีอยธุ ยา เมื่อพ.ศ. ๒๑๐๖ ด้วยกาลงั พลสองแสนคน จัดเปน็ ทัพกษตั รยิ ์หกทัพ ได้เตรียมทัพเรอื พร้อมปนื ใหญ่กบั จา้ งชาวโปรตุเกสอาสาสมคั ร ๔๐๐ คน เปน็ ทหารปนื ใหญ่ ใหเ้ มืองเชียงใหม่สนับสนุนเสบยี งอาหาร โดยลาเลียงมาทางเรือ เปลีย่ นเสน้ ทางเดนิ ทัพมาทางดา่ นแมล่ ะเมา เขา้ ตีหัวเมืองฝ่ายเหนอื ของไทยมาตามลาดบั เพือ่ ตัดกาลงั ที่จะยกมาชว่ ยกรุงศรี อยุธยา ฝ่ายกรงุ ศรีอยุธยาเตรียมตวั ปอ้ งกนั พระนคร โดยคาดวา่ พมา่ จะยกกาลงั มาทางด่านเจดียส์ ามองค์ ทาให้พระเจา้ บุเรง นองตเี มืองกาแพงเพชร สวรรคโลก สโุ ขทัย พิชัย และพิษณุโลกได้ คร้นั ลงมาถงึ เมืองชัยนาท กองทพั พม่าก็ได้ปะทะกบั กองทัพกรงุ ศรีอยธุ ยาของพระราเมศวร แต่ฝ่ายกรงุ ศรอี ยธุ ยาตา้ นทานไม่ได้ตอ้ งถอยกลับเข้ากรุงศรอี ยุธยา กองทัพพมา่ ได้ เข้าล้อมกรงุ ศรีอยุธยาไว้ แลว้ ระดมยงิ ปนื ใหญเ่ ข้าในพระนครทุกวนั จนราษฎรได้รับความเดือดร้อนและเสียขวญั สมเด็จ พระมหาจักรพรรดิ ต้องเสดจ็ ไปเจรจากบั พระเจา้ บุเรงนอง ทพี่ ลับพลาบรเิ วณตาบลวดั หน้าพระเมรุ กับวัดหสั ดาวาส ยอม เป็นไมตรี โดยได้มอบชา้ งเผือก ๔ เชอื ก พร้อมกับพระราเมศวร พระยาจักรี และพระสนุ ทรสงครามให้แก่พมา่ โดยสมเด็จ พระมหาจักรพรรดทิ รงต่อรองขอดินแดนของอยธุ ยาทงั้ หมดทพี่ ระเจา้ บเุ รงนองยึดไวค้ นื พระเจา้ บเุ รงนองก็ถวายคืนแต่โดยดี จากนน้ั พม่าก็ถอยกลับไปหงสาวดี การเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยาครัง้ ที่หนง่ึ เป็นสว่ นหนึ่งของความขัดแย้งระหวา่ งอาณาจักรพม่าและอาณาจกั รอยธุ ยา อันเป็น ผลมาจากความต้องการของพระเจา้ บุเรงนองซึง่ ต้องการได้กรงุ ศรีอยุธยาเป็นประเทศราชและอาจถือได้วา่ เป็นผลสืบ เนอื่ งมาจากสงครามช้างเผอื ก ในปี พ.ศ. ๒๑๐๖ท่ที รงตกี รงุ ศรอี ยุธยาไมส่ าเร็จ ความขดั แย้งภายในกรุงศรีอยธุ ยาระหว่าง สมเด็จพระมหาจักรพรรดิกบั เจา้ เมอื งพิษณุโลก พระมหาธรรมราชา ซงึ่ มพี ระทยั ฝักใฝ่พม่า ได้นาไปสู่ความพนิ าศของกรงุ ศรี อยธุ ยาในที่สุด จนกระทงั่ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชทรงประกาศอสิ รภาพใหก้ บั อาณาจักรอยธุ ยาในอกี ๑๕ ปีตอ่ มา สงครามยถุ หหัตถี ในปี พ.ศ. ๒๑๓๕ พระเจ้าหงสาวดี นันทบุเรง โปรดให้พระมหาอุปราชา นากองทัพทหารสองแสนส่ี หม่ืนคน มาตีกรุงศรีอยุธยาหมายจะชนะศกึ ในครั้งนี้ สมเด็จพระนเรศวร ทรงทราบว่า พมา่ จะยกทพั ใหญม่ าตี จึงทรงเตรียม ไพร่พล มีกาลังหน่งึ แสนคนเดินทางออกจากบ้านป่าโมกไปสุพรรณบุรี ขา้ มน้าตรงท่าท้าวอู่ทอง และตงั้ คา่ ยหลวงบรเิ วณ หนองสาหร่าย เชา้ ของวนั จันทร์ แรม ๒๒ ค่า เดือนย่ี ปีมะโรง พ.ศ. ๒๑๓๕ สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จพระ เอกาทศรถทรงเครื่องพิชัยยทุ ธ สมเดจ็ พระนเรศวรทรงช้าง นามวา่ เจ้าพระยาไชยานุภาพ สว่ นพระสมเด็จพระเอกาทศรถ ทรงชา้ งนามว่า เจ้าพระยาปราบไตรจกั ร ชา้ งทรงของทั้งสองพระองค์นน้ั เป็นชา้ งชนะงา คือช้างมีงาที่ได้รับการฝึกใหร้ ู้จกั การต่อสมู้ าแล้วหรอื เคยผ่านสงครามชนช้าง ชนะช้างตัวอ่ืนมาแลว้ ซ่งึ เปน็ ชา้ งท่ีกาลังตกมัน ในระหว่างการรบจึงว่งิ ไล่ตาม พมา่ หลงเข้าไปในแดนพม่า มเี พยี งทหารรักษาพระองค์และจาตรุ งค์บาทเทา่ น้ันที่ติดตามไปทัน สมเดจ็ พระนเรศวรทอด พระเนตรเหน็ พระมหาอุปราชาทรงพระคชสารอยู่ในรม่ ไมก้ ับเหล่าเท้าพระยา จงึ ทราบได้ว่าชา้ งทรงของสองพระองคห์ ลง ถลาเข้ามาถงึ กลางกองทัพ และตกอย่ใู นวงล้อมขา้ ศกึ แลว้ แต่ดว้ ยพระปฏิภาณไหวพริบของสมเด็จพระนเรศวร ทรงเห็นว่า เปน็ การเสียเปรียบข้าศึกจึงไสช้างเข้าไปใกล้ แลว้ ตรสั ถามด้วยคุน้ เคยมาก่อนแต่วัยเยาวว์ า่ \"พระเจ้าพี่เราจะยืนอยใู่ ยในรม่ ไม้ เลา่ เชญิ ออกมาทายุทธหัตถดี ้วยกัน ใหเ้ ป็นเกยี รตยิ ศไวใ้ นแผ่นดินเถดิ ภายหนา้ ไปไม่มีพระเจ้าแผ่นดินทจ่ี ะไดย้ ุทธหัตถแี ลว้ \" พระมหาอปุ ราชาได้ยนิ ดงั นั้น จงึ ไสช้างนามว่า พลายพทั ธกอเขา้ ชนเจา้ พระยาไชยานุภาพเสียหลัก พระมหาอปุ ราชาทรงฟนั สมเด็จพระนเรศวรดว้ ยพระแสงของ้าว แต่สมเด็จพระนเรศวรทรงเบย่ี งหลบทัน จึงฟนั ถูกพระมาลาหนังขาด จากน้นั เจา้ พระยาไชยานุภาพชนพลายพทั ธกอเสียหลัก สมเด็จพระนเรศวรทรงฟนั ดว้ ยพระแสงของา้ วถกู พระมหาอุปราชาเข้าที่ องั สะขวา สน้ิ พระชนม์อยบู่ นคอชา้ ง ส่วนสมเด็จพระเอกาทศรถทรงฟนั เจ้าเมืองจาปะโรเสียชวี ิตเช่นกัน ทหารพมา่ เห็นวา่ แพ้แน่แลว้ จึงใช้ปนื ระดมยิงใสส่ มเดจ็ พระนเรศวรไดร้ บั บาดเจ็บ ทันใดน้ัน ทัพหลวงไทยตามมาชว่ ยทัน จงึ รบั ทงั้ สอง

9 พระองค์กลับพระนคร พมา่ จึงยกทัพกลบั กรุงหงสาวดีไป นับแต่นนั้ มาก็ไม่มกี องทัพใดกล้ายกมากลา้ กรายกรงุ ศรีอยุธยาอกี เป็นระยะเวลาอกี ยาวนาน อยธุ ยาตอนปลาย (๒๒๓๑ - ๒๓๑๐) สงครามแย่งชิงราชสมบัติ เม่ือสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ท้ายสระทรงพระประชวรหนกั ใกลส้ วรรคตน้ัน พระราชทานราช สมบัติใหแ้ ก่เจา้ ฟา้ อภัย พระเจ้าบรมโกศ ซึง่ ในขณะน้นั ดารงตาแหน่งเปน็ พระมหาอปุ ราชอยไู่ ม่เต็มพระทัย เพราะปรารถนา จะใหท้ รงมอบราชสมบตั ิแก่เจ้าฟา้ นเรนทร (กรมขนุ สเุ รนทรพิทกั ษ์) ซึง่ ในขณะนน้ั ผนวชอยู่ ภายหลังการเสด็จสวรรคตของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ไดเ้ กดิ การสรู้ บกนั ระหว่างพระองค์กับพระราชโอรสของสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัวท้ายสระ คอื เจา้ ฟ้าอภยั และเจ้าฟ้าปรเมศร์ อันเนอื่ งมาจากพระองค์ทรงดารงพระอิสริยยศที่กรมพระราชวงั บวรสถานมงคลมีสทิ ธิท่ีจะข้นึ ครองราชสมบตั ิสืบต่อพระเชษฐาอย่างถูกต้อง แตเ่ ม่ือพระเชษฐาใกล้สวรรคตกลับตัดสินพระทัยยกราชสมบัตแิ ก่ เจา้ ฟ้า นเรนทร พระโอรสพระองค์ใหญ่ แต่เจ้าฟ้านเรนทรไม่เห็นด้วยชอบด้วย จึงยกราชสมบัตใิ ห้แก่เจา้ ฟ้าอภยั พระโอรสองค์รอง เป็นเหตใุ ห้เกิดการต่อสู้แยง่ ชงิ ราชบัลลังกจ์ นกลายเป็นสงครามกลางเมือง กนิ ระยะเวลาไมต่ ่ากวา่ ๑ ปี ภายหลังเหตกุ ารณ์ สงบแล้ว สมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวบรมโกศจงึ ได้ขน้ึ ครองราชย์ และประหารชวี ิตเจา้ ฟา้ ท้ัง ๑ พระองค์ การเสียกรงุ ศรอี ยธุ ยาคร้งั ที่สอง ในระหว่างทสี่ มเดจ็ พระท่ีน่ังสรุ ิยาศนอ์ มั รินทรค์ รองราชย์ พม่าได้ยกกองทพั เข้ามาตี กรุงศรีอยธุ ยา เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๓๐๓ สมเดจ็ พระเจา้ เอกทศั ได้ทรงขอให้พระเจ้าอทุ ุมพรลาผนวชมาชว่ ยบัญชาการรบ พระ เจา้ อลองพญา กษัตริย์พม่า ท่ียกทัพมาได้รับบาดเจ็บจากปืนใหญ่ ตอ้ งยกทัพกลบั และส้ินพระชนมร์ ะหวา่ งทาง ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๓๗๐ พระเจา้ มงั ระ โอรสของพระเจา้ อลองพญา ได้ข้นึ เปน็ กษัตริยพ์ ม่า และไดส้ ่งกองทัพมาตกี รงุ ศรอี ยธุ ยาอีก ให้ เกณฑ์กองทัพกวา่ ๗๐,๐๐๐ นาย ยกเขา้ ตเี มืองไทย ๒ ทาง ทางทศิ ใต้เข้าตีเข้าทางเมืองมะรดิ สว่ นทางตอนเหนือตีลงมา จากแควน้ ล้านนา และบรรจบกันท่ีกรุงศรีอยุธยาเปน็ ศกึ ขนานกนั สองข้างโดยได้ล้อมกรุงศรอี ยุธยานาน ๑ ปี ๒ เดอื น ก็เข้า พระนครได้ เมื่อวนั ท่ี ๗ เมษายน พ.ศ. ๒๓๑๐ในพงศาวดารฉบบั หอแกว้ และคองบองของพมา่ ไดบ้ รรยายให้เหน็ ว่าใน สงครามครง้ั น้ี ผู้ปกครองกรงุ ศรอี ยุธยาเองก็ไดเ้ ตรยี มการและกระทาการรบอย่างเข้มแข็ง มไิ ดเ้ หลวไหลอ่อนแอแตป่ ระการ ใด

10 บทที่3 วธิ ีศึกษาคน้ ควา้ 1. วางแผนการปฏิบตั ิงาน 2. สืบคน้ หาขอ้ มูลทางอนิ เทอรเ์ นต็ หรอื แหล่งเรียนรูต้ า่ งๆ 3. นาขอ้ มลู ที่หาได้ทง้ั หมด มาประเมนิ คุณค่าของข้อมลู 4. วิเคราะหส์ งั เคราะหข์ ้อมูล 5. นาข้อมูลทไ่ี ด้ทั้งหมดมาจดั ทาเป็นรูปเลม่ เพ่ือนาเสนอ ภาพท่ี 3-1 พระมหากษตั ริย์ในสมยั อยุธยา

11 บทที่4 ผลการศึกษาคน้ ควา้ จากการศึกษาขอ้ มลู เก่ียวกับเรื่องพระมหากษัตริย์ในสมัยอยุธยา ทาใหไ้ ด้รับความรู้ดังน้ี 1. ได้รับความรเู้ ร่ืองประวตั ิของพระมหากษัตริย์ในสมัยอยธุ ยา 2. ไดร้ ู้เหตกุ ารณ์ตางๆทสี่ าคญั 3. ได้รู้ถงึ การขนึ้ ครองราชย์สมบัติของพระมหากษตั รยิ ใ์ นสมยั อยุธยา 4. ไดร้ ู้ถึงการทาศึกสงครามในสมัยอยุธยา

12 บทที่5 สรปุ อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการทดลอง 1. เพอ่ื เปน็ แนวทางในการศึกษา 2. เพื่อศึกษาเกย่ี วกับพระมหากษตั ริยใ์ นสมยั อยธุ ยา 5.2 ปัญหาและอุปสรรคในการศกึ ษาคน้ ควา้ สอดคล้องหรอื ขดั แยง้ ในทางทฤษฎอี ยา่ งไร ขอ้ มูลท่ีได้ต้องใช้เวลาในการศึกษาค้นคว้าและประมวลผล จึงต้องใช้เวลานาน 5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา เพื่อให้ผู้ทศี่ ึกษารู้ได้ร้ถู งึ ความเปน็ มาของพระมหากษตั ริย์ในสมัยอยุธยา

13 บรรณานุกรม เว็บไซต์ 1. https://sites.google.com/site/piyachat963/sarbay-reuxng/2-3-phra-mha-ksatriy-thiy-smay- xyuthya 2. https://sites.google.com/site/prawatisastrthiyxanyawnan/sngkhram-thi-sakhay-khxng-xyuthya

14 ประวัติผ้จู ดั ทา เรอ่ื ง พระมหากษัตรยิ ์ในสมัยอยธุ ยา 1. นางสาวเมสิณี สิงหท์ อง วันท่ี 1 เดือน เมษายน ปี พ.ศ. 2548 อายุ 15 ปี ท่อี ยู่ บ้านเลขท่ี 113/4 หมู่ 3 ตาบลเขาพระงาม อาเภอเมืองลพบรุ ี จงั หวัดลพบรุ ี ประวตั กิ ารศกึ ษา ปี พ.ศ. 2559 ช้ัน ป.6 ร.ร. กองทัพบกอปุ ถัมภ์สองเหลา่ สร้าง ปี พ.ศ. 2562 ช้นั ม.3 ร.ร. พระนารายณ์ ปี พ.ศ. 2563 ชน้ั ปวช.1/1 เลขท่ี 19 2. นางสาวศริ ิพร หมวดก๋อย ประวตั สิ ่วนตวั วนั ที่ 7 เดือน สิงหาคม ปี พ.ศ. 2547 อายุ 16 ที่อยู่ บา้ นเลขท่ี 16/1 หมู่ 1 ตาบลหนองแก อาเภอพระพุทธบาท จังหวดั สระบุรี ประวตั ิการศึกษา ปี พ.ศ. 2559 ช้ัน ป.6 ร.ร. เทศบาลพระพุทธบาท ปี พ.ศ. 2562 ชั้น ม.3 ร.ร. เทศบาลพระพุทธบาท ปี พ.ศ. 2563 ชั้น ปวช.1/1 เลขที่ 29 3. นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ ปดั ทุมมี ประวตั ิส่วนตวั วันท่ี 12 เดือน พฤษภาคม ปี พ.ศ. 2548 อายุ 15 ทอ่ี ยู่ บ้านเลขท่ี 31 หมู่ 6 ตาบลหนองเมือง อาเภอบา้ นหม่ี จังหวัดลพบุรี ประวตั กิ ารศึกษา ปี พ.ศ. 2559 ชนั้ ป.6 ร.ร. หนองเมือง ปี พ.ศ. 2563 ชั้น ม.3 ร.ร. บา้ นหมว่ี ิทยา ปี พ.ศ. 2563 ช้ัน ปวช.1/1 เลขท่ี 31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook