Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore AMERICAN-CAR-LOVER-LIFESTYLE-CONNECTION-CENTER-2

AMERICAN-CAR-LOVER-LIFESTYLE-CONNECTION-CENTER-2

Published by a_u.s.army25, 2017-11-08 13:55:37

Description: AMERICAN-CAR-LOVER-LIFESTYLE-CONNECTION-CENTER-2

Search

Read the Text Version

โครงการศกึ ษาและออกแบบศูนย์กลางเชื่อมโยงคนท่สี นใจรถอเมริกนั มนสั วี สภุ าพไว วิทยานิพนธเ์ ล่มนี้เปน็ ส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักศตู รสถาปตั ยกรรมศาสตร์บัณฑติ สาขาวิชาเทคโนโลยสี ถาปัตยกรรม คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 2017





contents จบทคดั ยอ่ ก 02กิตติกรรมประกาศ คสารบญั จ หลกั การออกแบบและทฤษฎีสารบัญภาพ ช ทเี่ ก่ยี วขอ้ งสารบัญตาราง ฐสารบญั แผนภมู ิ น ความหมายคำ�จำ�กดั ความและ 2 - 2 ประวัตความเป็นมา 2-3 แนวทางการแกป้ ัญหาทผี่ ่านมา 2 - 8 หลกั การออกแบบในเรอ่ื งทเี่ กยี่ วขอ้ ง 2 - 9 กฎหมายทีเ่ กี่ยวข้อง 2-14 การศึกษาโครงการตวั อย่าง01 03บทนำ� วิเคราะห์รายละเอียดท่ีต้ัง โครงการความเปน็ มาและความสำ�คญั ของโครงการ 1-2วัตถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา 1-5ขอบเขตการศึกษาโครงการ 1-6 ทต่ี ั้งโครงการ ข้อมลู พืน้ ฐาน 3-3วธิ กี ารดำ�เนนิ การและขั้นตอนการดำ�เนินงาน 1-7 การพิจารณาทตี่ ัง้ โครงการ 3-8ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ ับ 1-8 รายละเอยี ดโครงการ 3-11

จ04 06การศกึ ษารายละเอียดโครงการ บทสรุปเพ่อื การออกแบบ บทสรุปความเปน็ มาของโครงการ 4-2 ข้อเสนอแนะการกำ�หนดโครงสร้างการบริหารงาน 4-4รายละเอยี ดผใู้ ชโ้ ครงการ 4-5การกำ�หนดพน้ื ท่ใี ชส้ อยโครงการ 4-8การคาดการงบประมาณการลงทุน 4-14เทคโนโลยีทเ่ี กยี่ วข้อง 4-1605 บรรณานุกรม ป-1 ประวตั ิผ้จู ดั ทำ� พผลงานการออกแบบ ภาคผนวก ภ STATEMENT ภแนวคิดในการออกแบบ MAGAZINE ภการสร้างทางเลือกในการออกแบบ ตารางสอบ ภผลงานออกแบบ สรปุ ผลการประเมิน ภภาพบรรยากาศการนำ�เสนอผลงาน

LIST Of ILLUSRATION สารบญั รูปภาพ01 03บทนำ� วเิ คราะหร์ ายละเอยี ดทตี่ งั้ โครงการ1.1 Chevrolet bel air 1-1 3.1 วเิ คราะห์ราละเอียดทีต่ ัง้ โครงการ 3-11.2 พระรปู ทรงม้า ร.5 1-2 3.2 พื้นท่สี ำ�คญั ในกรงุ เทพมหานคร 3-31.3 ผชู้ ืน่ ชอบรถอเมรกิ ัน 1-3 3.3 แผนท่บี ริเวณเขตหลกั ส่ี 3-61.4 วนั วานลานพระรูป 1-4 3.4 แผนท่ีกรงุ เทพฯ 3-71.5 AMERICARS CAR MUSEUM 1-5 3.5 การแบ่งแขวงในเขตหลกั ส่ี 3-71.6 The Coliseum at Columbus Circle 1-6 3.6 หลังคาเรอื น 3-71.7 The 42nd National Autobile 1-8 3.7 ถนนในเขตหลกั ส่ี 3-7Show at the New York Coliseum 3.8 Site selection 3-8 3.9 มมุ มองออกจากท่ตี ั้งโครงการด้านท1ี่ 3 - 9 3.10 มุมมองออกจากท่ีต้งั โครงการดา้ นท2่ี 3 - 9 3.11 มมุ มองออกจากท่ีต้ังโครงการดา้ นท่ี3 3-10 3.12 มมุ มองออกจากท่ตี ั้งโครงการด้านที่4 3-10 3.13 รายละเอียดทีต่ งั้ โครงการ 3-1102หลักการออกแบบและทฤษฎีที่เกีย่ วข้อง2.1 Chevrolet corvette 2-12.2 Henry Ford 2-32.3 Vintage Car Club of Thailand 2-6

04 05 06การศึกษารายละเอียดโครงการ ผลงานการออกแบบ บทสรปุเพอ่ื การออกแบบ4.1 กิจกรรมประกวดรถ 4-14.2 รสนยิ ม 4-24.3 รสนยิ มการฟังเพลง 4-24.4 รสนยิ มการแตง่ ตวั 4-24.5 รสนิยมการเต้นรำ� 4-24.6 รสนยิ มเกย่ี วกบั รถ 4-24.7 รสนิยมเกี่ยวทรงผม 4-34.8 บรรยากาศส่วนผูใ้ ชโ้ ครงการหลกั 4-44.9 บรรยากาศสว่ นผู้ใชโ้ ครงการรอง 4-54.10 คอนกรีตเสรมิ เหลก็ 4-164.11 โครงถัก 4-174.12 คอนกรีตเสรมิ เหลก็ 4-184.13 ระบบไฟฟา้ 4-194.14 ระบบสุขาภิบาล 4-204.15 ระบบดบั เพลงิ 4-21

LIST Of tables สารบญั ตาราง02หลักการออกแบบและทฤษฎีท่ีเก่ยี วขอ้ ง2.1 วเิ คราะห์เปรยี บเทยี บอาคารตัวอย่าง 3 2-18โครงการ ไทยและต่างประเทศ03วเิ คราะหร์ ายละเอยี ดทต่ี ง้ั โครงการ3.1 Site selection 3-1004การศึกษารายละเอียดโครงการเพอื่ การออกแบบ4.1 พน้ื ท่ีสว่ นขยาย 4-84.2 พ้นื ท่ีจดั แสดง 4-94.3 พน้ื ท่ีสว่ นสาธารณะ 4-104.4 พืน้ ที่สว่ นบริหาร 4-114.5 พื้นท่ีสว่ นสนบั สนุนโครงการ 4-124.6 พืน้ ที่จอดรถ 4-124.7 พ้นื ที่สว่ นบรกิ ารอาคาร 4-134.8 ราคาคา่ กอ่ สรา้ ง 4-14

LIST Of CHART สารบญั ตาราง01บทนำ�1.1 แสดงวธิ แี ละขนั้ ตอนการดำ�เนินงาน 1 - 702หลักการออกแบบและทฤษฎีท่ีเก่ียวขอ้ ง2.1 แสดงวธิ ีและขั้นตอนการดำ�เนินงาน 2 - 404การศึกษารายละเอียดโครงการเพือ่ การออกแบบ4.1 แสดงปริมาณผู้ใช้โครงการ 4-64.2 แสดงเวลาการใชง้ าน 4-7

ภาพท่ี 1.1 Chevrolet bel air

1-1 01 บทนำ�ที่มา : http://thehillsclassiccars.com.au

1-21.1 ความเป็นมาและความสำ�คญั ของโครงการ เนื่องจากในช่วงประมาณปี 2530 มี กลุ่มคนท่ีสะสมรถอเมริกันท้ังจักรยานยนต์และภาพท่ี 1.2 พระรูปทรงมา้ ร.5 รถยนตจ์ ะมาพบปะพดู คยุ แลกเปลย่ี นขอ้ มลู เกย่ี ว กบั รถของทพี่ วกเขาใช้ ณ ลานพระบรมรูปทรง ที่มา : https://www.flickr.com ม้า ในเรอ่ื งของการใช้งาน การบูรณะตกแตง่ และ การตดิ ตอ่ ขอซอ้ื รถกนั ซง่ึ เปน็ เรอื่ งยากทเี ดยี วใน ยคุ ที่ อินเทอร์เนต็ และโทรศัพท์มือถอื ยังไมค่ อ่ ย มีบทบาท ทำ�ให้การจะซื้อต่อรถกันแต่ละคร้ังจะ ต้องเดินทางไปคุยกันตลอด และด้วยจำ�นวนรถ อเมริกันในประเทศไทยน้ันก็มีอยู่น้อยมาก บาง รนุ่ มอี ยไู่ มถ่ งึ 3 คนั ทำ�ใหก้ ารทเ่ี จา้ ของรถจะยอม ขายรถท่ีตัวเองรักและหามาอย่างยากลำ�บากนั้น มักจะไม่ใช่เพียงแค่เรื่องราคา แต่จะมีเร่ืองความ สนิทสนมกันเขา้ มาเก่ียวขอ้ งด้วย ทำ�ใหก้ ารจะได้ รถตอ้ งใชเ้ วลานาน แ ต่ อ า จ ไ ด้ ม า ใ น ร า ค า ถู ก ก ว่ า ท่ี คิ ด แ ล ะ ยั ง ไ ด้ มิตรภาพ ที่จะสามารถร่วมทริปเดินทางหรือ ปรึกษาปญั หาเกย่ี วกบั รถได้ และต่อมาลานพระบรมรูป ก็เป็นสถานท่ีรวมตัว ของเหลา่ รถซงิ่ กลมุ่ ต่างๆ ไปดว้ ย

1-3ภาพท่ี 1.3 ผู้ช่ืนชอบรถอเมริกนั ทำ�ให้ในบางครั้งมีการร้องเรียนถึงการกระทำ�อันไม่ น้อยอทู่ ีจ่ ะสามารถทำ�ได้ เหมาะสม ทมี่ วี ยั รนุ่ มขี ่ี จกั รยานยนตย์ กลอ้ ในบรเิ วณ จากปัญหาดังกล่าวเพ่ือเป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์ นี้ ทำ�ใหช้ ว่ งนนั้ มกี ารห้ามใช้พ้นื ทบี่ ริเวณน้ีในการรวม รถเก่าท้ังเพ่ือจอดโชว์และนำ�มาใช้งาน จึงควรมีการ ตัวของเหล่าคนรักรถไป การพบปะกันก็น้อยลงจะ ก่อตั้งศูนย์กลางเชื่อมโยงคนที่สนใจรถอเมริกัน ท่ีจะ มีแค่การนัดกันเองของกลุ่มคนที่อยู่ใกล้กันซึ่งก็มีอยู่ ส่งเสริมอาชีพเกี่ยวข้องโดยตรงและทางอ้อมเกี่ยวกับ นอ้ ยมาก ต่อมาประมาณปี 2555 กม็ ีการกลับมาจัด รถอเมริกนั กจิ กรรมรวมคนทสี่ นใจอเมรกิ นั ขนึ้ อกี ครงั้ และจดั เปน็ ปีละคร้ัง หรือ 2 ปีครงั้ ซ่ึงก็ยงั ถอื ว่าน้อยมาก ทำ�ให้ มกั เหน็ ซากรถเหลา่ น้จี อดทง้ิ กลายเป็นขยะไป มากข้นึ เพราะขาดคนแนะนำ�ในการท่ีจะทำ�การบูรณะเพราะมีท่ีมา : https://kaukolaukaus.wordpress.com

1-4ภาพท่ี 1.4 วนั วานลานพระรปู ที่มา : วเิ คราะหโ์ ดย นายมนสั วี สภุ าพไว อ า จ จ ะ ไ ม่ ส า ม า ร ถ จั ด กิจกรรมเช่นนี้ท่ีลานพระรูปทรงม้า ได้บ่อยๆเช่นที่เคย แต่หากมีสถานท่ีๆ เหมาะสม และมีกิจกรรมท่ีเก่ียวข้อง เข้ามารองรับแล้วก็จะทำ�ให้เกิดเป็น สถานที่ๆน่าสนใจสำ�หรับคนที่หลงไหล ในไลฟ์สไตล์แบบอเมริกัน ให้มาผัก ผ่อน จับจ่ายสินค้าแฟช่ัน ฟังดนตรี และชมศลิ ปะการตกแตง่ รถในแบบตา่ งๆ

1-51.2วัตถปุ ระสงคข์ องการศึกษา 1.2.1 เพือ่ ศึกษาประเภทรูปแบบพืน้ ทจัดแสดงรถทผี่ ลิตจากประเทศอเมรกิ า 1.2.2 เพ่ือศกึ ษาทฤษฎกี ารออกแบบอาคารประเภทพพิ ธิ ภัณฑ์ภาพที่ 1.5 AMERICARS CAR MUSEUM 1.2.3 เพ่ือศกึ ษารปู แบบสถาปตั ยกรรมทเ่ี หมาะสมกบั กจิ กรรมท่ีมา : https://www.chambersbaygolf.com

ภาพท่ี 1.6 The Coliseum at Columbus Circle 1-6 1.3ขอบเขตการศกึ ษาโครงการ โ ค ร ง ก า ร ศึ ก ษ า แ ล ะ อ อ ก แ บ บ ศูนย์กลางเช่ือมโยงคนที่สนใจรถอเมริกัน เป็นโครงการที่จะส่งเสริมให้คนที่ไม่มีข้อมูล พอทจี่ ะสามารถหารถมาครอบครองได้ หรอื มอี ยแู่ ลว้ แตไ่ มส่ ามารถจะบรู ณะกลบั มาใชง้ าน ใหม่ได้ และยังครอบคุมไปถึงกิจกรรมต่างๆ ที่เป็นไลฟ์สไตล์ของคนท่ีชื่นชอบรถอเมริกัน โดยมีขอบเขตการศึกษาดงั น้ี ทม่ี า : http://assets.nydailynews.com 1.ศกึ ษาลกั ษณะการจดั ทว่ี า่ งทใ่ี ชจ้ ดั แสดงรถ ทจี่ ะทำ�ใหต้ วั รถเกิดความน่าสนใจ 2.ศึกษางานระบบที่จะควบคุมสภาพภายใน หอ้ งเก็บรถที่จะคงสภาพใหร้ ถยงั คงสมบรู ณ์ เหมอื นใหมอ่ ยตู่ ลอด 3.ศึกษาพ้ืนท่ีสำ�หรับเจ้าของรถที่เอารถมา โชว์ ที่จะไม่กีดขาวงคนท่ีมาชมรถแต่ยังคง เห็นรถตนเองได้เพ่ือความสบายใจของท้ัง สองฝา่ ย 4.เพื่อศึกษารูปแบบสถาปัตยกรรมที่เหมาะ สมกบั กจิ กรรมและไลฟ์สไตล์

1-7 แผนภมู ทิ ี่ 1.1 แสดงวธิ ีและขั้นตอนการดำ�เนนิ งาน1.4ขั้นตอนและวธิ ีการศึกษา ล-?--?EMCกั ?xaaษ?fhrะ?kขi?beอ?itt?งiaoโ?ค?rneร?sa?งaก??rาe?รa? ก?า?ร?พ?ฒั ??น??า?แบ? บ ข?น้ั ??ต?อ??น?ก??า?ร?น??ำ�?เส??น?อ??ผ?ลงาน ท่ีมา : วเิ คราะห์โดย นายมนัสวี สภุ าพไว 2560

1-8 ภาพที่ 1.7 The 42nd National Autobile Show at the New York Coliseum1.3ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รับ ที่มา : http://assets.nydailynews.com1.3.1 ได้ทราบถึงลกั ษณะการจดั ท่ีว่างทใี่ ชจ้ ดั แสดงรถท่จี ะทำ�ให้ตวั รถเกิดความน่าสนใจ1.3.2 เขา้ ใจงานระบบทจ่ี ะควบคมุ สภาพภายในหอ้ งเกบ็ รถทจ่ี ะคงสภาพให้รถยังคงสมบรู ณ1.3.3 ได้ทราบถึงพ้ืนที่สำ�หรับเจ้าของรถท่ีเอารถมาโชว์ ท่ีจะไม่กีดขาวงคนที่มาชมรถแต่ยังคงเห็นรถตนเองได้เพื่อความสบายใจของทั้งสองฝ่าย1.3.4 ได้ทราบถึงรูปแบบสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับกิจกรรมและไลฟส์ ไตล์

ภาพท่ี 2.1 Chevrolet corvette 2-1 02 หลักการออกแบบและ ทฤษฎีท่เี กี่ยวขอ้ ง ท่มี า : https://www.admcars.com

2-22.1 ความหมายและคำ�จำ�กดั ความ2.1.1 ความหมาย 2.1.2 คำ�จำ�กดั ความศนู ยก์ ลาง หมายถงึ จุดกลางซึง่ เปน็ ทีร่ วม โครงการพฒั นาศูนยก์ ลางเชอ่ื มโยงคนที่สนใจรถอเมรกิ ันเช่อื ม หมายถงึ ทำ�ใหต้ ่อติดเป็นเน้อื เดียวกัน เช่น เช่ือมเหล็ก,ทำ�ให้ประสานกัน เช่น เชอื่ มสมั พันธไมตรี จะช่วยสง่ เสริมใหค้ นที่มีความสนใจในวิถชี ีวติ (Lifestyle) อเมริกันโยง หมายถึง ผูกให้ติดกนั เพือ่ ลากหรอื จงู ไป เช่น โยงเรอื เก่ยี วเน่อื ง เชน่ ใหก้ ารโยงไปถึงอกี คนหน่งึ ได้มาแลกเปล่ียนความรู้ซึ่งกันและกันเพ่ือเป็นจุดเร่ิมต้นของผู้ที่สนใจสนใจ หมายถึง ต้งั ใจจดจอ่ อยู่กบั สิง่ ใดเรื่องใดเปน็ พเิ ศษ เชน่ เขาสนใจวิชาคณิตศาสตรม์ าก ใฝ่ใจใคร่รู้ แตข่ าดแหลง่ ข้อมูล ใครเ่ ห็นเปน็ ตน้ เช่น เขาสนใจการเมืองมาตัง้ แต่เดก็รถ หมายถึง ยานท่มี ีลอ้ สําหรับเคลื่อนไป เชน่ รถม้า รถยนต์ รถไฟ (กฎ) ยานพาหนะทกุ ชนิด ทใ่ี ชใ้ นการขนส่งทางบกซ่งึ เดนิ ด้วยกําลังเครอื่ งยนต์ กําลังไฟฟา้ หรอื พลงั งานอ่ืน และหมายความ รวมตลอดถงึ รถพว่ งของรถน้ันดว้ ย ทัง้ นีเ้ วน้ แต่รถไฟ. (ป.).[รด ระถะ–] น. ยานที่มลี อ้ สําหรับเคลอื่ นไป เช่น รถม้า รถยนต์ รถไฟอเมริกัน หมายถึง ชอื่ ชาวประเทศสหรัฐอเมริกา

2-32.2 ประวตั คิ วามเป็นมาภาพที่ 2.2 Henry Ford ถึงแม้รถยนต์คันแรกจะผลิตในเยอรมัน พ.ศ. 2446 เขาริเร่ิม นำ�ระบบสายพานมาใช้ใน ที่มา : https://upload.wikimedia.org โดย (Karl Friedrich Benz) การผลิต โดยให้อุปกรณ์ไหลไปตามสายพานและ แต่รถยนต์อเมริกันเป็นเจ้าเเรกท่ีประยุกต์ระบบ ให้คนงานประกอบรถยนตท์ ีละส่วน และทำ�ใหผ้ ลิต สายพานการผลิตเข้ากับการผลิตยานยนต์ในจำ� รถยนตห์ นง่ึ คนั เพยี งชวั่ โมงครงึ่ เขาผลติ รถยนต์ ฟ นวนมากๆ โดย (Henry Ford) ฟอรด์ เปน็ วศิ วกร อรด์ โมเดล ที จากเดิมราคา 850 ดอลลาร์ เหลอื ของบริษทั เอดิสัน ในเมอื งดีทรอยต์ เขาได้รบั มอบ เพียง 360 ดอลลาร์ ออกจำ�หน่ายเป็นคร้ังแรก หมายให้ศึกษาและพัฒนาเครื่องยนต์ที่ใช้เชื้อเพลิง ปรากฏว่าได้รับการตอบรับจากอเมริกันชนเป็น จากน้ำ�มนั จนกระทัง่ สามารถพัฒนารถยนตส์ ีล่ ้อ อย่างดี เพราะเป็นรถยนต์ที่สวยงาม มีความแข็ง คันแรกสำ�เร็จในปี 2439 เขาต้ังชอ่ื ว่า “ฟอร์ด ค แรงทนทาน และมีราคาถูกกว่ารถยนต์ย่ีห้ออ่ืนใน วอดรไิ ซเคลิ ” (Ford Quadricycle) ต่อมา ในปี ตลาดเกือบครง่ึ รถยนตร์ ุน่ นผี้ ลิตจนถึงปี 2470 2446 เขาได้ตัง้ “บริษัท ฟอร์ด มอเตอร”์ (Ford จำ�หน่ายไดท้ ้ังหมดราว 15 ลา้ นคัน Motor Company) รว่ มกบั เพื่อน ๆ นักประดษิ ฐ์

2-42.2.1 รายชื่อผู้ผลติ รถยนต์ของสหรฐั อเมริกา มีผผู้ ลิตรถยนตก์ ว่า 1,800 รายในสหรฐั อเมรกิ าต้งั แตป่ ี ค. ศ. 1896 ถึง 1930 หลังจากนี้มเี พยี งไมก่ ี่รายท่ยี งั ผลติ อยู่ และมีเพยี งไมก่ ร่ี ายท่ีเร่มิ ตน้ หลงั จากน้ีแผนภมู ทิ ี่ 2.1 แสดงวิธแี ละข้ันตอนการดำ�เนนิ งานLincoln (1920–ปจั จบุ นั ) Continental (1956–1958) Mercury (1939–2011) Edsel (1958–1960)Ford (1903–ปัจจุบนั ) Fiat Chrysler Automobiles General Motors (1908–ปัจจบุ นั ) Viking (1929–1931) Marquette (1930) Oldsmobile (1897–2004) Buick (1903–ปจั จบุ ัน) Elmore (1893–1912) Cadillac (1902–ปัจจุบัน) LaSalle (1927–1940)

2-5Dodge (1914–ปจั จบุ ัน) Imperial (1955–1975, 1981–1983) Ram (2009–ปัจจบุ ัน) Chrysler (1925–ปจั จบุ ัน) Jeep (1963–ปัจจบุ นั ) SRT (2013–2014)Tesla (2003–ปัจจุบัน) Geo (1988–1998)Cartercar (1906–1916) Chevrolet (1911–ปจั จุบนั ) Scripps Booth (1913–1923) Saturn (1990–2010)Rainier (1905–1911) Oakland (1907–1931) GMC (1912–ปัจจุบนั ) Sheridan (1920–1921) Hummer (1992–2010) Pontiac (1926–2009) ทมี่ า : วเิ คราะห์โดยนายมนัสวี สภุ าพไว 2560

2-62.2.2 ความเปน็ มาของการอนรุ ักษณ์รถโบราณ ในสมัยรชั กาลท่ี 5 ถือว่าเป็นยคุ แรกทีใ่ ช้รถยนต์กนั อย่างแพรห่ ลายตามท้องถนนเมืองไทยเคยี งคไู่ ปกับ ภาพที่ 2.3 Vintage Car Club of Thailandรถลาก รถมา้ โดยมชี าวตา่ งชาติเปน็ ผู้นำ�เข้าและจดั จำ�หนา่ ย แต่พอมาสมยั รชั กาลท่ี 7 รถถูกส่งกลบั ไปต่างประเทศหมด อยา่ งเช่น เดอลาเฮย์ (DELAHAYE) ,อวีอองส์ (AVISIN ) ,ววั แซง (VOISIN ) เมอื งไทยนิยมใช้กนั มาก แต่หลังจากน้นั จอดทิง้ ไวก้ ็ไมม่ ีใครอยากได้ แต่ด้วยใจรกั ของคนกลุ่มหนง่ึ ที่เหน็ คณุ ค่าของรถโบราณ จึงเสาะแสวงหาซากรถเกา่ มาบูรณะใหม่ โดยควกั เงินจากกระเปา๋ ของตนเอง เพอื่ จะชบุ ชวี ติ ใหร้ ถคนั น้ันกลบั มามสี ภาพเหมือนเดิมท้ังนีเ้ พอ่ื ใหค้ นร่นุ หลังไดม้ ีโอกาสเหน็ และสัมผสั คันจรงิ ๆ ไม่ใช่เห็นแต่รูปถา่ ยในนติ ยสาร นอกเหนือจากความชอบสว่ นตวั พรอ้ มกนั กลมุ่ คนเหลา่ นไี้ ดจ้ ดั ตงั้ สมาคมรถโบราณขน้ึ มา ดว้ ยวตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ กระตนุ้ ใหท้ ง้ั ผทู้ เ่ี ปน็ เจา้ ของรถโบราณอย่แู ล้ว ตลอดจนผู้ทน่ี ยิ มชมชอบแต่ยังมไิ ด้เปน็ เจา้ ของเกดิ ความตระหนกั ในคณุ คา่ ทางประวตั ิศาสาตร์ของรถโบราณ และกระตอื รือรน้ ทจี่ ะบำ�รงุ รกั ษารถยนตอ์ ย่างถกู วิธี ทีม่ า : https://www.motorexpo.co.th

2-7 ในปี พศ. 2514 คณุ วิลาศ บุนนาค รองประธานแหลมทองมอเตอรส์ ปอรท์ คลบั พรอ้ มด้วย มร. การเ์ ล ฮาร์เตวา ผหู้ ลงใหลรถโบราณ และ มร. ฟอน เบิห์ม-เบซิง ผซู้ ง่ึ เคยเป็นเจ้าของรถ เบนท์ลีย์ 1924 อันน่าภาคภูมิ ได้ร่วมมือกันจัดงานประกวดรถโบราณข้ึนเป็นคร้ังแรกในประเทศไทย ความสำ�เร็จจากการจัดงานดังกล่าว ทำ�ให้เกิดแนวความคิดท่ีจะกอ่ ต้ังองคก์ ร เพื่อส่งเสริมใหม้ ีการปกปักรักษามรดกดา้ นรถยนตใ์ นประเทศไทย ดังนน้ั ในวันท่ี 25 กรกฎาคม พศ. 2516 จงึ มกี ารจดทะเบยี น “สมาคมรถโบราณลฟุ ทฮ์ นั ซา” หรอืLUFTHANSA VINTAGE CAR CLUB (LHVCC) อย่างเป็นทางการกบั กรมวฒั นธรรม โดยมีสายการบนิ ลุฟท์ฮนั ซา เยอรมนี เปน็ ผู้สนบั สนนุ รายแรก ในปี พศ. 2527 บรษิ ัท คาสตรอล (ประเทศไทย) จำ�กดั ไดร้ ับเปน็ ผูอ้ ุปถัมภร์ ว่ มอกี รายหนึ่ง จึงไดเ้ ปลย่ี นชือ่ สมาคมเป็น “สมาคมรถโบราณลุฟท์ฮันซา-คาสตรอล” และเมอ่ื วันท่ี 1 มกราคม พศ. 2537 ไดเ้ ปลย่ี นชื่อสมาคมเปน็ “สมาคมรถโบราณคาสตรอล” เน่อื งดว้ ยขอ้ จำ�กดั ดา้ นเงนิ ทนุ ทำ�ให้ลฟุ ท์ฮันซาจำ�ตอ้ งยตุ กิ ารสนับสนนุ สมาคม ฯ จึงเหลอื คาสตรอล เปน็ ผ้อู ุปถมั ภ์เพยี งรายเดียว ต่อมาเมื่อวันที่ 4 มิถุนายน พศ. 2546 กระทรวงวฒั นธรรม และสำ�นกั งานตำ�รวจแห่งชาติ ไดร้ บั รองการเปลีย่ นชื่อใหม่ของสมาคม ฯ อย่างเป็นทางการวา่ “สมาคมรถโบราณแหง่ ประเทศไทย”นบั แต่ปี พศ. 2516 เปน็ ต้นมา สมาคมรถโบราณ ฯ ได้จดั งานประกวดรถโบราณขึน้ เปน็ ประจำ�ทุกปี โดยมอบรางวลั ใหแ้ กร่ ถท่ีดที ่ีสดุ ในแตล่ ะรุน่ รางวลั ขบั รถดี และรางวลั เครอื่ งแตง่ กายงามสมสมยั งานประกวดรถโบราณดังกล่าวไดร้ บั ความนยิ มจากสาธารณชน และเป็นท่ียอมรับของบรรดาสอ่ื มวลชนเป็นอย่างดี ปจั จบุ นั งานประกวดรถโบราณ จึงบรรจุไว้ในปฏิทินกจิ กรรมของกรุงเทพมหานคร เปน็ ประจำ�ทุกปีปัจจบุ ัน สมาคมรถโบราณแห่งประเทศไทยตั้งอยู่เลขท่ี 1143/1 ซอยสุทธิพร ถนนรัชดาภิเษก แขวง/เขตดนิ แดง กรงุ เทพ ฯ 10400 โทรศัพท์ 0-2641-8399, 0-2641-8444 โทรสาร 0-2641-8480มสี มาชกิ สามญั และวสิ ามัญประมาณ 450 คน มี ฯพณฯ พลเอก พจิ ติ ร กลุ ละวณชิ ย์ เป็นประธานทปี่ รึกษากิตติมศักดิ์ และ นายขวญั ชยั ปภัสรพ์ งษ์ เปน็ นายกสมาคมฯ

2-82.3 แนวทางการแกป้ ัญหาทผี่ ่านมา หลังจากไม่มีการรวมตัวทุกสัปดาห์ท่ีบรเิ วณลานพระรปู ทรงมา้ แลว้ สมาชกิ กลมุ่ กใ็ ช้การนดั พบกนั เองตามตลาดหรอื รา้ นอาหารทอี่ ยู่ใกล้ๆกัน และตามสถานท่ีท่องเทย่ี วทอ่ี าจจะไกลออกไป ของแต่ละกลุ่มยอ่ ย ส่วนผูท้ ส่ี นใจแต่ยงัไม่มีรถน้ันก็เป็นเร่ืองยากท่ีจะเข้าถึงการนัดพบกนั ของสมชกิ กลมุ่ ทมี่ รี ถ ทำ�ใหม้ ผี สู้ นใจไมม่ กี ารเพม่ิ จำ�นวนขนึ้ จนกระทง่ั มกี ารรวมตวั ครง้ั ใหญ่ทำ�ใหเ้ ปน็ ทส่ี นใจของคนทพี่ บเหน็ และสนใจมากขึ้น ทางประธานกลุ่มจึงมีการต้ังกลุ่มในFaceBook ขึ้นมาเพ่ือแนะนำ�แลกเปลี่ยนกันทั้งคนท่ีมีรถเเละยังไม่มีรถจึงเกิดกิจกรรม และธุรกิจต่างๆท่ีเกี่ยวกับไลฟ์สไตล์แบบอเมริกันข้ึน แต่อยู่กระจายกนั ออกไป ทำ�ให้ไมเ่ กิดความชัดเจนและไม่สะดวกในการรองรับคนที่สนใจ ดังนั้นโครงการศึกษาและออกแบบศูนย์กลางเช่ือโยงคนท่ีสนใจรถอเมรกิ นั จะรวบรวมนำ�ไลฟ์สไตล์ในแบบอเมรกิ นั มนั รวมไวใ้ นทเ่ี ดยี วกนั หรอื ไกล้กนั มากท่สี ดุ

2.4 หลกั การออกแบบในเร่อื งท่เี ก่ยี วขอ้ ง 2-9 นทิ รรศการคอื การแสดงการใหก้ ารศกึ ษาอยา่ งหนง่ึ ดว้ ยการ แสดงงานให้ชม อาจมผี ูบ้ รรยายให้ฟังหรอื ไมต่ อ้ งมีก็ได้ การแสดงอาจ แสดงในอาคารหรือนอกอาคารก็ได้ ซึ่งประกอบด้วยของจริง ส่ิงของ ภาพถ่าย และแผนภูมิ สิ่งของต่าง ๆ ที่จะนำ�ออกมาแสดง ในการจัด เตรียมจะต้องจัดอย่างมีระเบียบเรียบร้อยดูง่ายและคำ�นึงถึงความแจ่ม ชัดรวมทั้งก่อให้เกิดความรู้ ช่วยให้ผู้ชมเข้าใจข้อมูล(information) โดยใชข้ อ้ ความสน้ั ๆ อธบิ ายประกอบ ซงึ่ ควรจะมคี วามนา่ ดนู า่ ชมดว้ ย รปู แบบการจดั นทิ รรศการในพพิ ธิ ภณั ฑ์ พิพิธภณั ฑม์ ีลักษณะ 3 รปู แบบ คอื 1. นทิ รรศการถาวร เปน็ นทิ รรศการในหอ้ งใดหอ้ งหนงึ่ อยา่ งถาวร ไมม่ ี การย้ายเปลีย่ นแปลง จงึ ต้องพิจารณากนั อย่างรอบคอบวา่ จะจัดเร่อื ง ราวอะไร อยา่ งไร เพอื่ อะไร ฯลฯ 2. นทิ รรศการเพอ่ื การศกึ ษาคน้ ควา้ เปน็ นทิ รรศการเชน่ เดยี วกบั แบบ แรกแตร่ ปู แบบการจดั ตา่ งกนั ตรงทวี่ า่ ไมเ่ นน้ ความสวยงามประทบั ใจ แต่ จะเนน้ เกยี่ วกบั ระเบยี บของการจดั และความสะดวกในการศกึ ษาและให้ ข้อเทจ็ จริงแบบจรงิ ที่สุด 3. นิทรรศการช่ัวคราว พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครใช้คำ� ศัพท์ในความหมายของนิทรรศการชั่วคราวว่านิทรรศการพิเศษ นิทรรศการประเภทนี้เป็นกิจกรรมท่ีพิพิธภัณฑ์จัดขึ้น เพื่อดึง ประชาชนให้เข้ามาหาความรู้ในพิพิธภัณฑ์ ถือว่าเป็นกิจกรรมหลัก ประการหนง่ึ ของพพิ ธิ ภณั ฑเ์ ชน่ กนั การจดั แตล่ ะครงั้ อาจเปลยี่ นแปลง เรอ่ื งไปตามเหตกุ ารณป์ ัจจบุ นั ในต่างประเทศหลายๆพิพธิ ภณั ฑใ์ ช้วธิ ี การจัดแบบนิทรรศการสัญจรหมนุ เวียนไป ตามพิพธิ ภณั ฑท์ ใี่ หญ่ๆ ตามเมอื งต่างๆในมลรฐั เด่ยี วกัน หรือทั่วประเทศ

2 - 102.4.1 องคป์ ระกอบของพพิ ิธภัณฑศ์ ลิ ปะและหอศิลป์ร่วมสมยัการดำ�เนินกิจกรรมของพิพิธภัณฑ์ศิลปะและหอศิลป์ร่วมสมัยใด ๆ นั้น ย่อมจัดทำ�ขึ้นเพ่ือตอบสนองวัตถุประสงค์การจัดตั้งขององค์กรหรือสถาบัน โดยอยู่ภายใต้หลักปรัชญาของพิพิธภัณฑ์ศิลปะ 3 ประการได้แก่ หน้าที่ในการสร้างประสบการณ์สุนทรียะแก่สังคม หน้าที่ให้การศึกษาศิลปะและหน้าท่ีต่อสังคม ทั้งน้ีในการดำ�เนินงานตามแผนงานและนโยบายของพพิ ธิ ภณั ฑจ์ ะถกู กำ�หนด โดยผบู้ รหิ ารและคณะกรรมการ ซง่ึ ในปจั จบุ นั ไดม้ กี ารนำ�เอาชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ มมากขนึ้ ในการวางแผนและดำ�เนนิ กจิ กรรมของพพิ ธิ ภณั ฑ์ เพอ่ื ใหพ้ พิ ธิ ภณั ฑ์สามารถทำ�หนา้ ท่ีตอบสนองและส่ือสารความเข้าใจไดเ้ หมาะสมกับสงั คมได้มากข้ึน โดยมอี งคป์ ระกอบของพพิ ธิ ภณั ฑศ์ ิลปะและหอศลิ ป์ร่วมสมัย 2สว่ นท่สี ำ�คัญ ไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบด้านระบบบรหิ ารและการจัดการ องคป์ ระกอบดา้ นกายภาพ2.4.2 ประเภทของผ้เู ข้าชมงานหอศิลปะสามารถจำ�แนกออกไดห้ ลายลักษณะ ตามความมงุ่ หมายและปัจจัยท่ีใชป้ ระกอบการพจิ ารณา การแบง่ ประเภทผู้เขา้ ชมหอศิลปะตามแนวคิดทางพิพธิ ภณั ฑสถานวทิ ยา (Museology)อาจแบง่ ไดด้ ังตวั อยา่ งต่อไปน้ี2.4.2.1 ทศั นะของผเู้ ชยี่ วชาญการพพิ ธิ ภณั ฑข์ ององคก์ าร UNESCO ผเู้ ชยี่ วชาญการพพิ ธิ ภณั ฑข์ ององคก์ าร UNESCO ไดแ้ บง่ ชนดิ ของผเู้ ขา้ ชมออกเปน็ 3 กลมุ่ ตามระดบั ทางความคดิการศกึ ษาและรสนิยม (นคิ ม มูสกิ ะคามะ และคณะ, 2521, หนา้ 36-37) ดงั นี้2.4.2.1.ก นกั เรยี น กลุ่มผูช้ มทเ่ี ป็นนกั เรียนเป็นกลุ่มผชู้ มทต่ี ้องการความเพลดิ เพลนิ มคี วามพอใจกับการจดั แสดงในแบบง่าย ๆ เพื่อการเรียนรจู้ ดจำ�และค้นหาประสบการณ์และมกั มคี วามตน่ื เตน้ ในการเรียนรูแ้ ละสนใจความงามของวตั ถใุ นห้องจัดแสดง2.4.2.1.ข ผู้เข้าชมทวั่ ไป กลมุ่ ผู้ชมทัว่ ไป ไดแ้ ก่ กล่มุ ของผ้ชู มที่เป็นผูใ้ หญซ่ ึ่งจัดเป็นกลุ่มผูช้ มส่วนใหญท่ ่ีสดุ ผู้เขา้ ชมกลมุ่ นม้ี ีความตอ้ งการคำ�แนะนำ�ในดา้ นความสำ�คัญของวตั ถุและความปรับใจในวัตถุท่จี ดั แสดง ตลอดจนตอ้ งการคำ�อธบิ ายประกอบและการจัดแสดงตลอดจนตอ้ งการคำ�อธิบายประกอบและการจดั แสดงทมี่ ีความสัมพันธร์ ะหว่างวัตถุท่จี ัดแสดง2.4.2.1.ค ผสู้ นใจพิเศษหรือผู้เช่ียวชาญ กลุม่ ผูช้ มทเี่ ปน็ ผู้สนใจพิเศษหรอื ผเู้ ช่ียวชาญ เป็นกล่มุ ผูช้ มทีม่ ีความตอ้ งการดวู ัตถทุ ่ีจดั แสดงอย่างละเอยี ดถถ่ี ้วน เพื่อประโยชน์ในทางศึกษาหรอื การคน้ คว้าวจิ ยั2.4.2.2 ทศั นะของพอตต์ (P.H.Pott) ไดเ้ สนอความคดิ เหน็ เรอ่ื งประเภทของผเู้ ขา้ ชมในคราวประชมุ กจิ การพพิ ธิ ภณั ฑท์ กี่ รงุ เฮก ประเทศเนเธอรแ์ ลนด์ เมอ่ื เดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ. 2506 ดว้ ยการแบง่ ประเภทของผเู้ ข้าชมตามลักษณะและรสนิยม

2 - 112.4.3 แนวคดิ เก่ียวกบั หลกั การออกแบบสากลUniversal Design เปน็ คำ�ภาษาองั กฤษทพ่ี บบอ่ ยในวงการดา้ นการออกแบบสงิ่ แวดลอ้ มสถานทแี่ ละสงิ่ ของตา่ ง ๆ รวมถงึ ในกลมุ่ คนทำ�งานดา้ นผสู้ งู อายุ คนพกิ าร และผดู้ อ้ ยโอกาสตา่ ง ๆ ทมี่ ีขอ้ จำ�กดั ในการใชห้ รอื เขา้ ถงึ สง่ิ แวดลอ้ ม สถานท่ี สงิ่ ของเครอื่ งใชท้ วั่ ๆ ไปในชมุ ชน และสงั คมการออกแบบสากล ในวงการดา้ นคนสงู อายุ คนพกิ าร หมายถงึ การออกแบบดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มสถานทแ่ี ละสงิ่ ของเครอ่ื งใชท้ เี่ ปน็ สากล และใชไ้ ดท้ ว่ั ไปอยา่ งเทา่ เทยี มกนั สำ�หรบั ทกุ คนในสงั คม โดยไมต่ อ้ งมกี ารออกแบบดดั แปลงพเิ ศษ หรอื เฉพาะเจาะจงเพอ่ื บคุ คลกลมุ่ หนงึ่ กลมุ่ โดยเฉพาะสำ�หรบั ในการศกึ ษานีจ้ ะใช้คำ�ภาษาไทยวา่ “การออกแบบสากล” แทนคำ�ภาษาองั กฤษว่า UniversalDesign แนวคิดการออกแบบสากล เป็นแนวคดิ เรอ่ื งการออกแบบสิ่งแวดลอ้ ม การสรา้ งสถานที่ และสิง่ ของตา่ ง ๆ เพ่อื ให้ทกุ คนที่อยู่ในสงั คมสามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากสิ่งเหลา่ น้นั ไดอ้ ยา่ งเต็มทีแ่ ละเทา่ เทียมกัน โดยไม่ต้องมกี ารออกแบบดดั แปลงพเิ ศษหรอื เฉพาะเจาะจงเพื่อบคุ คลกลมุ่ หนึง่ กลุม่ โดยเฉพาะ ไม่ว่าบุคคลนน้ั จะเป็นหญิงหรอื ชาย ใช้ขาเดินหรือใชร้ ถเข็น ตามองเหน็ หรอื มองไม่เห็นเดก็ หรือผู้ใหญ่ อ่านหนังสอื ออกหรือไมอ่ อก ฯลฯ การออกแบบสากลเป็นการออกแบบทค่ี ำ�นงึ ถงึ การใชง้ าน การใช้ให้ค้มุ ค่าสมประโยชนค์ รอบคลมุ สำ�หรับทุกคน โดยเรม่ิ ตน้ จากการคิดว่าทำ�อยา่ งไรคนประเภทต่าง ๆ จึงจะมีโอกาสมาใช้ไดอ้ ยา่ งเท่าเทยี มกนั เช่น คนสูงอายุ คนปว่ ย สตรีตง้ั ครรภ์ คนแคระ เดก็ เล็กท่ีมากับรถเขน็ เด็ก คนพกิ ารประเภทตา่ งๆ ไม่วา่ ตาบอด หหู นวก แขนขารา่ งกายพิการคนพกิ ารทางปัญญา ทางจติ คนทอี่ า่ นหนังสอื ไมอ่ อก ฯลฯ แต่ถึงแม้บุคคลเหล่านั้นจะมีข้อจำ�กัดทางรา่ งกาย ทางปัญญา ทางจิตใจอย่างไรกต็ ามเมอื่ เทยี บกบั คนทวั่ ไปสว่ นใหญใ่ นสงั คม สงั คมกค็ วรรบั ผดิ ชอบดแู ลเขา ใหเ้ ขาสามารถอยใู่ นสงั คมรว่ มกบั บคุ คลทว่ั ไปไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ตามอตั ภาพของแตล่ ะคน ในสงั คมทเ่ี จรญิท้ังทางวัตถแุ ละจติ ใจ และมีความม่นั คงพอเพยี งสำ�หรับสมาชกิ ทุกคนในสังคม สังคมนัน้ ๆ ตอ้ งปรบั สภาพแวดล้อม สถานท่แี ละสง่ิ ของเครอื่ งใชท้ ีส่ ามารถรองรับและใชง้ านได้สำ�หรับทุกคนด้วย (ธีระชยั สุขสด, 2552)

2 - 122.4.4 หลกั การของการออกแบบสากล2.4.4.1 เสมอภาค ใชง้ านได้กบั ทกุ คนในสงั คมอย่างเท่าเทยี มกนั ไมม่ ีการแบ่งแยกและเลือกปฏบิ ัติ เชน่ การตดิ ตงั้ ตู้โทรศพั ทส์ าธารณะสองระดบั ระดบั ท่ัวไปสำ�หรับผูใ้ หญ่ หรอื คนทีน่ ั่งรถเขน็ ใช้ได้2.4.4.2 ยดื หยนุ่ ใช้งานไดก้ ับผูท้ ีถ่ นดั ซ้าย และขวาหรือปรบั สภาพความสงู ตำ่ �ขึ้นลงได้ตามความสงู ของผใู้ ช้2.4.4.3 เรียบงา่ ยและเข้าใจไดด้ ี เช่น มีภาพหรอื คำ�อธบิ ายท่ีเรียบงา่ ย สำ�หรบั คนทุกประเภทไมว่ ่าจะมคี วามรรู้ ะดบั ไหน อา่ นหนังสอื ออกหรอื ไม่ อ่านภาษาตา่ งประเทศไดห้ รือไม่ หรอื อาจใชร้ ปู ภาพเปน็ สญั ลกั ษณ์สากล สื่อสารให้เข้าใจได้งา่ ย ฯลฯ2.4.4.4 มขี อ้ มูลพอเพียง มขี ้อมลู ง่ายสำ�หรบั ประกอบการใชง้ านท่พี อเพยี ง2.4.4.5 ทนทานตอ่ การใช้งานทีผ่ ิดพลาด เชน่ มีระบบป้องกนั อนั ตรายหากมกี ารใช้ผิดพลาด รวมทง้ั ไมเ่ สียหายไดโ้ ดยงา่ ย2.4.4.6 ท่นุ แรงกาย สะดวกและไม่ต้องออกแรงมาก เชน่ ใชท้ ่ีเปดิ ก๊อกน้ำ�แบบยกข้นึ -กดลง แทนการใช้มือขนั ก๊อกแบบเปน็ เกลียว สวิทช์ไฟฟา้ แบบตวั ใหญท่ ีก่ ดเบา ๆ กส็ ามารถทำ�งานได้แทนสวทิ ชเ์ ลก็ ท่ีต้องใช้นิว้ มือออกแรงงดั อยา่ งแรง ฯลฯ2.4.4.7 ขนาด และสถานที่ท่เี หมาะสมและใชง้ านในเชงิ ปฏิบัตไิ ด้ โดยคดิ ออกแบบเผื่อสำ�หรับคนรา่ งกายใหญ่โต คนท่เี คล่อื นไหวร่างกายยาก เช่น ขนาดของหอ้ งน้ำ� โถส้วมใหญเ่ พยี งพอสำ�หรบั คนทีท่ รี่ า่ งกายใหญ่โต คนพิการทม่ี รี ถเข็นคนั ใหญ่ รวมถงึ คำ�นงึ ถงึ คนพิการทมี่ ีรถเข็นคนั ใหญต่ อ้ งมพี ้ืนทส่ี ำ�หรับหมนุ รถกลบั ไปมาในบรเิ วณห้องน้ำ� การออกแบบทมี่ คี ุณภาพ การออกแบบท่ีมีคุณภาพจะต้องคำ�นึงถึงปัจจัยสำ�คัญท่ีถือเป็นมาตรฐานของโลกให้สอดคล้องกับการใช้สอยสำ�หรับคนทุกประเภท ทุกวัย ทุกสถานะ คำ�นึงความปลอดภัยสูงสดุ ซง่ึ สามารถเป็นแรงผลกั ดนั ให้เกดิ เปน็ แลนด์มารค์ ของเมืองและประเทศนน้ั ดว้ ย โดยมหี ลกั คดิ รวมดังน้ี1 ออกแบบให้ครอบจักรวาล “UNIVERSAL DESIGN” มีความเป็นสากลเหมาะสมกับคนทุกเพศ ทุกวยั ทุกลักษณะ ทง้ั คนพกิ าร คนสงู อายุ เด็ก คนป่วย คนปรกติ ให้สามารถใช้สอยได้สะดวกอย่างเทา่ เทียมกนั (เอกพงษ์ ตรตี รง, 2552)2 มีสัญลกั ษณบ์ อกทางและภาษาแบบสากล ทง้ั ภาษาองั กฤษและภาษาท้องถน่ิ หรอื ภาษาประจำ�รฐั หลักการออกแบบไม่ควรใชภ้ าษาทคี่ นตา่ งชาติ ตา่ งภาษาอ่านไม่รเ้ ู รื่องและควรมีสญั ลกั ษณ์ บอกตำ�แหนง่ ต่าง ๆ ที่อา่ นงา่ ยไม่ยุง่ ยากและมคี วามสวยงาม3 การเลอื กวัสดุ ควรคำ�นึงถงึ ความปลอดภัย ไมต่ ิดไฟงา่ ย ทนทาน ดแู ลรกั ษาง่ายไมเ่ ก่าเร็ว4 ความเขา้ ใจเรือ่ งการสัญจร และการระบายคน โดยใช้หลกั สากลของการออกแบบประเภทน้ี อีกทงั้ การออกแบบทค่ี ำ�นงึ ถึงการเขา้ และออกอาคาร ความไม่ทับซ้อนกนั ของเสน้ ทางสัญจร การคำ�นวณปริมาณของคนทีม่ ากสุด เร่งรบี สุด ไปจนถงึ นอ้ ยสุด มาเป็นปัจจัยในการออกแบบพืน้ ทต่ี า่ ง ๆ เพอื่ ไมใ่ ห้เกดิ การคอขวด ตดิ ขัดหรอื ไมส่ ะดวกตอ่ การใช้พน้ื ที่

2 - 132.5) ความปลอดภยั มรี ะบบป้องกันภัยทกุ ประเภท เชน่ การติดตง้ั ระบบสัญญาณเตอื นภยั ต่าง ๆ ระบบกลอ้ งวงจรปิดมากจดุ ป้องกันการเกดิ อาชญากรรมระบบการออกแบบที่ทำ�ให้การข้ึนยานพาหนะปลอดภัยท่ีสุด โดยคำ�นึงถงึ พฤตกิ รรมของคนทุกประเภททม่ี าอยูร่ วมกนั มากท่สี ดุ2.6) มีการแบ่งโซนลำ�ดับการเดนิ ทาง เพอ่ื ความเป็นระเบียบและสอดคลอ้ งกับพฤติกรรมมนษุ ยม์ ากทสี่ ุด ทัง้ ขนสง่ คนและสมั ภาระ โดยแบง่ เปน็ โซนและกั้นตามตำ�แหน่งและลำ�ดบั ในการเดนิ ทาง มีการตรวจตราต้งั แต่คนเขา้ และทยอยออกสูย่ านพาหนะอยา่ งสะดวกทส่ี ุด

2 - 142.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง2.5.1 การใชป้ ระโยชน์ทดี่ นิทตี่ ้ังโครงการอยใู่ นเขตพ้ืนที่ พ.3 ทกี่ ำ�หนดไว้เป็นสีแดง ใหเ้ ป็นทดี่ ินประเภทพาณิชยกรรมและท่อี ยู่อาศยั หนาแน่นมากการใชป้ ระโยชน์ท่ีดนิ ประเภทพาณิชยกรรมและทีอ่ ยอู่ าศัยหนาแน่นมาก ให้ใชป้ ระโยชน์ทีด่ ินเพอ่ื พาณิชยกรรม การอย่อู าศยั สถาบนัราชการ การสาธารณปู โภคและสาธารณปู การเปน็ สว่ นใหญ่ สำ�หรบั การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ เพอื่ กจิ การอนื่ ใหใ้ ชไ้ ดไ้ มเ่ กนิรอ้ ยละยีส่ ิบของทด่ี ินประเภทนีใ้ นแต่ละบริเวณขอ้ ห้ามการใช้ประโยชน์(1) โรงงานทุกจำ�พวกตามกฎหมายว่าดว้ ยโรงงาน เว้นแตโ่ รงงานตามประเภท ชนดิ และจำ�พวกท่กี ำ�หนดใหด้ ำ�เนนิ การได้ตามบัญชีทา้ ยกฎกระทรวงนี้(2) สถานที่บรรจกุ ๊าซ สถานท่ีเกบ็ กา๊ ซ และหอ้ งบรรจุกา๊ ซตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการบรรจกุ ๊าซปิโตรเลียมเหลว แตไ่ ม่หมายความรวมถงึ ร้านจำ�หน่ายกา๊ ซ สถานท่ใี ช้ก๊าซ และสถานทจ่ี ำ�หน่ายอาหารที่ใชก้ า๊ ซ(3) สถานทที่ ใ่ี ชใ้ นการเกบ็ น้ำ�มนั เชอ้ื เพลงิ เพอ่ื จำ�หนา่ ยทต่ี อ้ งขออนญุ าตตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการควบคมุ น้ำ�มนั เชอื้ เพลงิ(4) เลยี้ งมา้ โค กระบือ สกุ ร แพะ แกะ หา่ น เป็ด ไก่ งู จระเข้ หรือสตั ว์ป่าตามกฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสตั ว์ปา่ เพอื่ การคา้(5) สุสานและฌาปนสถานตามกฎหมายว่าดว้ ยสุสานและฌาปนสถาน(6) โรงฆ่าสัตว์ เว้นแต่เปน็ การประกอบการโดยหนว่ ยงานของรฐั(7) ไซโลเกบ็ ผลติ ผลทางการเกษตร(8) กำ�จดั มลู ฝอย(9) ซอ้ื ขายหรือเก็บเศษวัสดุ

2 - 152.5.2 กฎกระทรวงอาคารสาธารณะ หมายความวา่ อาคารทใ่ี ช้เพอ่ื ประโยชนใ์ นการชุมนุมคนไดโ้ ดยทัว่ ไปเพือ่ กิจกรรมทางราชการ การเมอื ง การศึกษา การศาสนา การสังคม การนนั ทนาการ หรือการพาณชิ ยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชุม โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมดุ สนามกฬี ากลางแจ้ง สนามกีฬาในร่ม ตลาด หา้ งสรรพสินค้า ศนู ย์การคา้ สถานบรกิ าร ท่าอากาศยาน อโุ มงค์สะพาน อาคารจอดรถ สถานรี ถ ทา่ จอดเรือ โป๊ะจอดเรือ สุสาน ฌาปนสถาน ศาสนสถาน เป็นต้น-ขอ้ 15 เสา คาน พนื้ บันได และผนังของอาคารทส่ี ูงต้งั แตส่ ามชนั้ ขึน้ ไป โรงมหรสพ หอประชมุ โรงงาน โรงแรม โรงพยาบาล หอสมุด ห้างสรรพสินค้า อาคารขนาดใหญ่ สถานบรกิ ารตามกฎหมายว่าดว้ ยสถานบริการ ทา่ อากาศยาน หรืออุโมงค์ ต้องทำ�ด้วยวสั ดถุ าวรที่เปน็ วัสดุทนไฟดว้ ย-ขอ้ 21 ชอ่ งทางเดนิ ในอาคาร ตอ้ งมีความกวา้ งไม่นอ้ ยกว่าตามท่กี ำ�หนดไว้ ก. อาคารอยู่อาศยั รวม หอพักตามกฎหมายวา่ ด้วยหอพกั สำ�นกั งานอาคารธารณะ อาคารพาณิชย์โรงงาน อาคารพิเศษ 1.50 เมตร-ขอ้ 22 ห้องหรอื ส่วนของอาคารท่ีใชใ้ นการทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ตอ้ งมรี ะยะดิง่ ไมน่ ้อยกว่าตามทีก่ ำ�หนดไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ก. หอ้ งท่ีใช้เป็นสำ�นักงาน หอ้ งเรยี น ห้องอาหารหอ้ งโถงภตั ตาคาร โรงงาน 3.00 เมตร ข. ห้องขายสนิ ค้า หอ้ งประชุมห้องคนไขร้ วม คลังสินคา้ โรงครัว ตลาดและอ่นื ๆ ทีค่ ล้ายกนั 3.50 เมตร-ข้อ 24 บนั ไดของอาคารอยู่อาศยั รวม หอพักตามกฎหมายว่าดว้ ยหอพกั สำ�นกั งาน อาคารสาธารณะ อาคารพาณชิ ย์ โรงงาน และอาคารพเิ ศษ สำ�หรับทใี่ ช้กบั ชั้นทม่ี ีพน้ื ทีอ่ าคารชั้นเหนอื ขน้ึ ไปรวมกนั ไม่เกนิ ๓๐๐ ตารางเมตร ตอ้ งมคี วามกว้างสุทธิไมน่ ้อยกว่า 1.20 เมตร แตส่ ำ�หรบั บนั ไดของอาคารดังกลา่ วท่ีใช้กับชัน้ ทม่ี ีพนื้ ทีอ่ าคารชัน้ เหนือข้นึ ไปรวมกันเกนิ 300ตารางเมตร ตอ้ งมคี วามกว้างสทุ ธิไม่นอ้ ยกวา่ 1.50 เมตร ถา้ ความกว้างสทุ ธขิ องบนั ไดนอ้ ยกว่า 1.50 เมตร ตอ้ งมีบนั ไดอย่างน้อยสองบนั ได และแต่ละบันไดต้องมีความกวา้ งสทุ ธไิ ม่น้อยกวา่ 1.20 เมตร บนั ไดของอาคารทีใ่ ชเ้ ปน็ ท่ีชมุ นมุ ของคนจำ�นวนมาก เชน่ บันไดห้องประชุมหรอื หอ้ งบรรยายทม่ี พี ้นื ที่รวมกันตง้ั แต่ 500 ตารางเมตรขน้ึ ไป หรือบนั ไดห้องรับประทานอาหารหรอื สถานบริการทม่ี พี ืน้ ทรี่ วมกันตัง้ แต่ 1,000 ตารางเมตรข้ึนไป หรอื บนั ไดของแตล่ ะชัน้ ของอาคารนน้ั ท่มี พี ้ืนทีร่ วมกนั ตัง้ แต่ 2,000 ตารางเมตรขึน้ ไป ต้องมคี วามกว้างไม่นอ้ ยกวา่ 1.50 เมตร อยา่ งนอ้ ยสองบันได ถา้ มบี ันไดเดียวต้องมคี วามกวา้ งไม่น้อยกวา่ 3 เมตร บันไดที่สูงเกนิ 4 เมตร ตอ้ งมีชานพักบนั ไดทุกชว่ ง 4 เมตร หรือนอ้ ยกว่าน้นั และระยะด่ิงจากขนั้ บนั ไดหรอื ชานพักบนั ไดถงึ ส่วนตำ่ �สุดของอาคารท่ีอยู่เหนือข้นึ ไปต้องสงู ไมน่ ้อยกว่า 2.10 เมตร ชานพักบันไดและพืน้ หน้าบันไดต้องมีความกว้างและความยาวไมน่ อ้ ยกวา่ ความกวา้ งสทุ ธขิ องบนั ได เว้นแตบ่ นั ไดที่มีความกว้างสุทธเิ กนิ 2 เมตร ชานพกั บนั ไดและพ้ืนหนา้ บันไดจะมีความยาวไมเ่ กิน 2 เมตรกไ็ ด้ บันไดตามวรรคหน่งึ และวรรคสองต้องมลี ูกต้ังสงู ไม่เกิน 18 เซนตเิ มตร ลกู นอนเม่อื หักสว่ นทขี่ ัน้ บันไดเหลื่อมกันออกแลว้ เหลือความกว้างไมน่ อ้ ยกว่า 25 เซนติเมตร และตอ้ งมรี าวบันไดกันตกบนั ไดท่มี คี วามกวา้ งสทุ ธเิ กนิ 6 เมตร และช่วงบนั ไดสงู เกนิ 1 เมตร ตอ้ งมรี าวบนั ไดท้ังสองขา้ งบริเวณจมูกบนั ไดต้องมีวัสดกุ ันลน่ื-ขอ้ 25 บนั ไดตามข้อ 24 จะตอ้ งมรี ะยะห่างไม่เกนิ 40 เมตร จากจุดที่ไกลสุดบนพนื้ ชน้ั นั้น-ขอ้ 26 บนั ไดตามข้อ 24 ท่เี ปน็ แนวโคง้ เกนิ 90 องศา จะไม่มีชานพกั บันไดกไ็ ด้ แตต่ อ้ งมีความกวา้ งเฉลี่ยของลูกนอนไม่นอ้ ยกวา่ 22 เซนตเิ มตร

2 - 16-ข้อ 27 อาคารที่สูงตั้งแต่ส่ชี ้ันข้ึนไปและสงู ไม่เกิน 23 เมตร หรืออาคารที่สงู สามช้นั และมดี าดฟา้ เหนอื ชน้ั ทีส่ ามท่มี พี ืน้ ท่ีเกิน 16 ตารางเมตร นอกจากมีบันไดของอาคารตามปกตแิ ล้ว ต้องมบี นั ไดหนีไฟทที่ ำ�ดว้ ยวสั ดุทนไฟอยา่ งน้อยหน่งึ แห่ง และตอ้ งมที างเดินไปยังบนั ไดหนีไฟนั้นได้โดยไม่มีสงิ่ กดี ขวาง-ข้อ 28 บันไดหนไี ฟตอ้ งมคี วามลาดชันนอ้ ยกว่า 60 องศา เวน้ แตต่ กึ แถวและบา้ นแถวทส่ี งู ไมเ่ กินส่ชี ้ัน ใหม้ ีบนั ไดหนีไฟท่ีมีความลาดชันเกนิ 60 องศาได้ และต้องมชี านพักบนั ไดทุกชน้ัขอ้ 29 บันไดหนีไฟภายนอกอาคารตอ้ งมีความกว้างสทุ ธไิ ม่น้อยกวา่ 60 เซนตเิ มตรและต้องมีผนงั สว่ นทบี่ ันไดหนไี ฟพาดผา่ นเปน็ ผนงั ทบึ ก่อสร้างด้วยวสั ดุถาวรทเ่ี ป็นวสั ดทุ นไฟบันไดหนีไฟตามวรรคหนึง่ ถา้ ทอดไม่ถงึ พื้นช้นั ลา่ งของอาคารต้องมีบนั ไดโลหะท่ี สามารถเลื่อนหรอื ยดึ หรือหยอ่ นลงมาจนถงึ พ้ืนชน้ั ล่างได้-ข้อ 30 บันไดหนีไฟภายในอาคารต้องมีความกว้างสุทธิไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตรมีผนังทึบก่อสร้างด้วยวัสดุถาวรที่เป็นวัสดุทนไฟก้ันโดยรอบ เว้นแต่ส่วนท่ีเป็นช่องระบายอากาศและช่องประตูหนีไฟ และต้องมีอากาศถ่ายเทจากภายนอกอาคารได้โดยแต่ละชั้นต้องมีช่องระบายอากาศที่เปิดสู่ภายนอกอาคารได้มีพ้ืนท่ีรวมกันไม่น้อยกว่า 1.4 ตารางเมตร กับต้องมีแสงสวา่ งให้เพียงพอท้ังกลางวนั และกลางคนื-ข้อ 31 ประตูหนีไฟต้องทำ�ด้วยวสั ดทุ นไฟ มคี วามกวา้ งสทุ ธไิ มน่ อ้ ยกว่า 80 เซนตเิ มตร สงู ไม่น้อยกวา่ 1.90 เมตร และต้องทำ�เป็นบานเปดิ ชนดิ ผลักออกสู่ภายนอกเท่านนั้ กับตอ้ งตดิอปุ กรณช์ นดิ ทบี่ ังคบั ให้บานประตปู ิดได้เอง และตอ้ งสามารถเปิดออกไดโ้ ดยสะดวกตลอดเวลา ประตูหรือทางออกส่บู ันไดหนไี ฟต้องไมม่ ีธรณีหรือขอบก้นั-ขอ้ 32 พน้ื หนา้ บันไดหนไี ฟตอ้ งกวา้ งไม่น้อยกว่าความกว้างของบันไดและอกี ดา้ นหนง่ึ กว้างไม่นอ้ ยกวา่ 1.50 เมตร-ขอ้ 33 อาคารแตล่ ะหลังหรือหนว่ ยตอ้ งมที วี่ ่างตามที่กำ�หนด ดังต่อไปน้ีห้องแถว ตึกแถว อาคารพาณชิ ย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ และอาคารอ่ืนซึง่ ไม่ไดใ้ ช้เป็นทอ่ี ยู่อาศัย ต้องมีทีว่ ่างไมน่ อ้ ยกวา่ 10 ใน 100 สว่ นของพ้นื ท่ีชัน้ ใดชน้ั หนึ่งที่มากท่ีสดุ ของอาคาร

2 - 17ข้อ 40 การกอ่ สรา้ งหรือดัดแปลงอาคารหรอื สว่ นของอาคารจะตอ้ งไม่ลำ้ �เข้าไปในทีส่ าธารณะ เวน้ แต่จะไดร้ บั อนุญาตจากเจา้ พนกั งานซง่ึ มีอำ�นาจหนา้ ทดี่ แู ลรกั ษาทสี่ าธารณะน้นัข้อ 41 อาคารท่กี อ่ สรา้ งหรือดดั แปลงใกลถ้ นนสาธารณะท่ีมคี วามกว้างนอ้ ยกว่า 6 เมตร ให้ร่นแนวอาคารหา่ งจากกงึ่ กลางถนนสาธารณะอย่างน้อย 3 เมตร อาคารที่สูงเกินสองชัน้ หรอื เกนิ 8 เมตร หอ้ งแถว ตกึ แถว บ้านแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ ปา้ ยหรือสิ่งท่สี รา้ งขึ้นสำ�หรับตดิ หรือตง้ั ป้ายหรือคลงั สินค้าท่ีก่อสรา้ งหรอื ดดั แปลงใกล้ถนนสาธารณะ(3) ถ้าถนนสาธารณะนน้ั มีความกวา้ งเกิน 20 เมตรขึ้นไป ใหร้ น่ แนวอาคารหา่ งจากเขตถนนสาธารณะอย่างน้อย 2 เมตร-ขอ้ 42 อาคารทีก่ ่อสรา้ งหรือดดั แปลงใกลแ้ หล่งน้ำ�สาธารณะ เช่น แม่นำ้ � คู คลอง ลำ�รางหรอื ลำ�กระโดง ถา้ แหลง่ น้ำ�สาธารณะนนั้ มคี วามกว้างนอ้ ยกว่า 10 เมตร ตอ้ งร่นแนวอาคารใหห้ า่ งจากเขตแหลง่ นำ้ �สาธารณะนน้ั ไมน่ อ้ ยกว่า 3 เมตร แต่ถา้ แหลง่ น้ำ�สาธารณะนนั้ มคี วามกวา้ งตัง้ แต่ 10 เมตรข้ึนไป ต้องรน่ แนวอาคารให้หา่ งจากเขตแหลง่ นำ้ �สาธารณะนน้ั ไมน่ ้อยกว่า 6 เมตรสำ�หรับอาคารท่กี อ่ สรา้ งหรอื ดดั แปลงใกลแ้ หล่งนำ้ �สาธารณะขนาดใหญ่ เชน่ บงึ ทะเลสาบ หรอื ทะเล ตอ้ งรน่ แนวอาคารให้ห่างจากเขตแหลง่ น้ำ�สาธารณะนั้นไมน่ อ้ ยกวา่ 12 เมตร ทงั้ น้ี เวน้แต่ สะพาน เขอื่ น รว้ั ทอ่ ระบายน้ำ� ทา่ เรือ ป้าย อเู่ รือ คานเรอื หรือท่ีว่างทใี่ ช้เปน็ ทจี่ อดรถไม่ตอ้ งรน่ แนวอาคาร-ข้อ 43 ให้อาคารทสี่ ร้างตามขอ้ 41 และขอ้ 42 ตอ้ งมสี ว่ นต่ำ�สุดของกันสาดหรือส่วนยนื่ สถาปัตยกรรมสูงจากระดบั ทางเทา้ ไม่นอ้ ยกวา่ 3.25 เมตร ท้งั น้ี ไม่นบั ส่วนตบแตง่ ท่ีย่นื จากผนังไม่เกิน 50 เซนติเมตร และต้องมที ่อรับน้ำ�จากกนั สาดหรอื หลงั คาต่อแนบหรอื ฝงั ในผนังหรอื เสาอาคารลงสทู่ ่อสาธารณะหรือบ่อพัก-ขอ้ 44 ความสงู ของอาคารไม่วา่ จากจดุ หนึ่งจดุ ใด ตอ้ งไม่เกินสองเทา่ ของระยะราบ วัดจากจุดน้ันไปตั้งฉากกบั แนวเขตด้านตรงขา้ มของถนนสาธารณะทอ่ี ยใู่ กล้อาคารนั้นท่ีสุดความสูงของอาคารใหว้ ดั แนวดิง่ จากระดับถนนหรอื ระดับพื้นดนิ ทกี่ ่อสร้างขึ้นไปถงึ สว่ นของอาคารท่สี ูงทส่ี ดุ สำ�หรับอาคารทรงจว่ั หรอื ปนั้ หยาให้วัดถงึ ยอดผนงั ของชัน้ สงู สดุ-ข้อ 45 อาคารหลังเดียวกันซึ่งมีถนนสาธารณะสองสายขนาดไม่เท่ากันขนาบอยู่เม่ือระยะระหว่างถนนสาธารณะสองสายน้ันไม่เกิน 60 เมตร และส่วนกว้างของอาคารตามแนวถนนสาธารณะทก่ี วา้ งกวา่ ไมเ่ กนิ 60 เมตร ความสงู ของอาคาร ณ จดุ ใดตอ้ งไมเ่ กนิ สองเทา่ ของระยะราบทใ่ี กลท้ สี่ ดุ จากจดุ นน้ั ไปตงั้ ฉากกบั แนวเขตถนนสาธารณะดา้ นตรงขา้ มของสายทก่ี วา้ งกวา่-ข้อ 46 อาคารหลังเดยี วกนั ซง่ึ อยู่ทมี่ ุมถนนสาธารณะสองสายขนาดไมเ่ ทา่ กนั ความสงู ของอาคาร ณ จดุ ใดตอ้ งไมเ่ กนิ สองเท่าของระยะราบทีใ่ กล้ท่ีสดุ จากจดุ นนั้ ไปต้งั ฉากกบั แนวเขตถนนสาธารณะดา้ นตรงขา้ มของสายที่กวา้ งกว่า และความยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะทแี่ คบกว่าตอ้ งไม่เกิน 60 เมตร สำ�หรับอาคารซงึ่ เปน็ ห้องแถวหรือตกึ แถว ความยาวของอาคารตามแนวถนนสาธารณะทแ่ี คบกว่าตอ้ งไม่เกิน 15 เมตร-ขอ้ 47 รวั้ หรือกำ�แพงทสี่ รา้ งขึ้นตดิ ต่อหรือห่างจากถนนสาธารณะนอ้ ยกว่าความสงู ของรั้วให้ก่อสร้างได้สงู ไม่เกนิ 3 เมตร เหนือระดบั ทางเทา้ หรือถนนสาธารณะ-ข้อ 48 การกอ่ สร้างอาคารใกลอ้ าคารอ่ืนในทดี่ ินเจา้ ของเดียวกนั พ้นื หรือผนงั ของอาคารสงู ไมเ่ กิน 9 เมตร ตอ้ งหา่ งอาคารอ่นื ไมน่ ้อยกว่า 4 เมตร และสำ�หรับอาคารทสี่ ูงเกิน 9 เมตรแต่ไมถ่ งึ 23 เมตร ตอ้ งหา่ งอาคารอื่นไม่น้อยกว่า 6 เมตร ความในวรรคหนึง่ มใิ หใ้ ช้บงั คับแกท่ ่ีว่างทใี่ ชเ้ ปน็ ทจี่ อดรถ

2 - 182.6 การศึกษาโครงการตัวอย่างตารางที่ 2.1 วิเคราะห์เปรียบเทยี บอาคารตัวอยา่ ง 3 โครงการ ไทยและต่างประเทศCase Study Location Area Attraction ElementPetersen Automotive MuseumLos angeles CA USA 12,541.00 sqm. Contemporary building MuseumLeMay Museum Tacoma Wach 15,329.00 sqm. Contemporary building MuseumJesada Technik Museum อ. นครชยั ศรี จ. นครปฐม 4,800.00 sqm. Contemporary building Museum

2 - 19Approach Area Lighting Interoir โครงสร้างไม้ เปลือกอาคารปิดโดยรอบมีแสงผ่าน ตะวันตก ได2้ ทาง หน้า-หลงั ของอาคาร คอนกรีตเสรมิ เหล็ก เปลือกอาคารปิดโดยรอบอาคารไม่มี ช่องแสงขนาดใหญเ่ ลย แต่ตวั อาคาร ตอนกลางคืนจะเปิดไฟ ท่ัวเปลือก อาคาร อาคารไม่ปิดโดยรอบแสงเข้าได้รอบ โครงสร้างเหล็กถกั ขา้ งของอาคาร ที่มา : วเิ คราะห์โดยนายมนัสวี สุภาพไว 2560

ภาพที่ 3.1 วิเคราะห์ราละเอยี ดท่ตี ง้ั โครงการ 3-2ภาพที่ 3.1 วิเคราะหร์ าละเอียดทต่ี ง้ั โครงการ

3-2 03 วิเคราะห์ราละเอียด ทต่ี ้ังโครงการท่มี า : วเิ คราะหโ์ ดยนายมนสั วี สุภาพไว 2560

3-33.1 กรงุ เทพมหานครขอ้ มูลพื้นฐานภาพท่ี 3.2 พื้นทสี่ ำ�คัญในกรงุ เทพมหานคร ที่มา : http://ichef.bbci.co.uk/p03s8b3l.jpg กรงุ เทพฯ เมอื งหลวงของประเทศและเปน็ “มหานคร” ทเี่ ปน็ ศนู ยก์ ลางความเจรญิ ทกุ ดา้ น โดยแนวนโยบาย การพฒั นาระดบั ประเทศของภาครฐั มงุ่ เนน้ ขยายการพฒั นาดา้ นตา่ งๆ ไปในเขตจงั หวดั ปรมิ ณฑลใกลเ้ คยี ง 5 จงั หวดั คอื นนทบรุ ี ปทุมธานี สมทุ รปราการ สมทุ รสาคร และนครปฐม เนอ่ื งจากพื้นท่ีของความเป็น เมอื งหลวงและกิจกรรมตา่ งๆ มคี วามต่อเนอ่ื งกนั จนเรยี กไดว้ า่ เปน็ เมืองเดียวกนั ในทุกดา้ น

3-4 ดา้ นเศรษฐกิจ ด้านสงั คมกรุงเทพฯ และปริมณฑลมีการพัฒนาจนเป็นฐานเศรษฐกิจหลักของประเทศ ทั้งการเป็นศูนย์ กรงุ เทพฯ มสี ิง่ อำ�นวยความสะดวกทางสงั คม มีบริหารทางเศรษฐกิจ การเมือง และวัฒนธรรม สาธารณปู โภคตา่ งๆ อยา่ งครบสมบรู ณ์ การเป็นตลอดท้ังการติดต่อกับนานาชาติมาโดยตลอด ศูนย์กลางอุตสาหกรรมและการค้า การบริการจนพัฒนาเป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจและการ ของกรุงเทพฯ นำ�มาซึ่งปัญหาการปรับตัวของคา้ การบรกิ ารของภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ แรงงานอพยพ โดยแรงงานท่ีอพยพเข้ามาหางาถูกจัดลำ�ดับใหเ้ ปน็ มหานครทม่ี ขี นาดใหญ่อันดับ นท าในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ได้สร้างปญั หาท่ี 15 ของโลก อีกท้ังยังเป็นศูนย์กลางทางการ ด้านท่ีอยู่อาศัยและชุมชนแออัด มีผู้อาศัยในเงินนานาชาติที่ใหญ่ท่ีสุดในภูมิภาคเอเชียตะวัน แหลง่ เสอ่ื มโทรมถงึ ประมาณ 2 ลา้ นคน รวมทงั้ กอ่ออกเฉียงใต้ ส่งผลให้กรุงเทพฯ และปริมณฑล ให้เกิดปัญหาด้านคณุ ภาพชีวติ จงึ จำ�เปน็ ตอ้ งมีมีบทบาทหรือสัดส่วนในการผลิตถึงร้อยละ 51 มาตรการช่วยเหลือด้านการจัดหาท่ีอยู่อาศัยของผลผลิตรวมของประเทศ และในอนาคตจะ การเพิ่มพูนทักษะความรู้ ความสามารถในการเป็นศูนย์กลาง การส่งเสริมเศรษฐกิจการค้า ประกอบอาชีพตลอดจนการขยายบริการพื้นของประเทศให้สามารถเปิดเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ ฐานทางสังคม เพือ่ ยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของคนนานาชาติ ยากจนในเขตเมืองใหด้ ขี น้ึ

ด้านจราจร ด้านสง่ิ แวดล้อม 3-5จากการมีกิจกรรมกระจุกตัวอยู่อย่าง กรุงเทพฯ ต้องประสบปัญหาจากการ ดา้ นบริหารจัดการหนาแน่และแรงงานที่อพยพเข้ามาสู่ภาค เกิดน้ าท่วมมาอย่างต่อเนื่องและทวีความมหานคร ทำ�ให้เกิดปัญหาระบบโครงข่าย รุนแรงเพิ่มมากข้ึนทุกปีนอกจากน้ันยัง กรุงเทพมหานครเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปคมนาคมขนส่งไม่สามารถรองรับการ เกิดปัญหาทางสิ่งแวดล้อม อ่ืนๆ ตามมา แบบพิเศษที่มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ มีเจริญเติบโตและการเพ่ิมจำ�นวนประชากร อีก เช่น ความหนาแน่นของการจราจร บุคลากรเป็นข้าราชการ ลูกจ้างประจำ�และลูกจ้างช่ัวคราวอย่างรวดเร็ว และตอบสนองอย่างเพียง ทำ�ให้เกิดมลพิษทางอากาศ การเพิ่มขึ้น กรงุ เทพมหานคร 78,722 คน ข้าราชการครสู งั กัดโรงเรียนพอต่อความต้องการของประชาชนที่ ของประชากรในกรงุ เทพฯ และการอพยพ กรงุ เทพมหานคร 16,133 คน มีรายไดจ้ ากการจดั เก็บภาษีเดินทางถึง 18 ล้านเท่ียวต่อวัน การ เขา้ มาของผมู้ ภี มู ลิ ำ�เนาในจงั หวดั อนื่ ๆ หรอื บำ�รุงท้องที่ ภาษีโรงเรือนและท่ีดิน ภาษีป้าย อากรค่าสัตว์เปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินจาก ประชากรแฝง ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาด ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต ค่าปรับ ค่าบริการ รายได้จากแปลงเกษตรกรรมขนาดใหญ่มาเป็นการ จิตส านึกสาธารณะ (Public Mind) ต่อ ทรพั ยส์ ิน การพาณิชย์ สาธารณูปโภคและรายไดเ้ บ็ดเตล็ดใช้ประโยชน์ท่ีดินแบบเมือง โดยไม่มีการ ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการรักษา ส่วนรายได้ทส่ี ว่ นราชการอ่ืนจดั เก็บให้ ได้แก่ ภาษมี ลู ค่าเพ่ิมวางแผนรองรับอย่างเหมาะสม ส่งผลให้ สิ่งแวดล้อมเมือง อีกทั้งยังมีอุปสรรค ภาษีสรรพสามิต ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์ หรือล้อพ้ืนที่ถนนในกรุงเทพฯ มีปริมาณต่ า ด้านต้นทุนในการจัดการสิ่งแวดล้อม เลื่อน ภาษีสรุ า บุหรี่ การพนนั ภาษคี า่ จดทะเบียนสทิ ธแิ ละกว่ามาตรฐานของความเป็นเมืองท่ีมีการ เมือง เนื่องจากปัจจุบันกรุงเทพมหานคร นิติกรรม ภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นต้น นอกจากน้ียังมีรายได้เดินทางอย่างสะดวก (กรุงเทพฯ มีพ้ืนท่ี ยังมิได้น าหลักการท่ีว่าผู้ก่อมลพิษต้อง จากเงนิ อดุ หนนุ รฐั บาล ไดแ้ ก่ เงนิ งบประมาณแบบสมดลุ โดยถนนประมาณ ร้อยละ 10 พื้นท่ีทั้งเมือง เป็นผู้จ่าย (Polluter PaysPrinciple : กำ�หนดวงเงนิ งบประมาณรายจา่ ยเทา่ กบั ประมาณการรายรบัท้ังหมด ในขณะที่มหานครโตเกียว มี PPP) มาใช้อย่างเป็นรูปธรรม จึงทำ�ให้พืน้ ท่ีถนนคิดเป็นรอ้ ยละ 23 และมหานคร กรุงเทพมหานครต้องเป็นผู้รับภาระค่าใช้นิวยอร์ก มีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ38) อีก จ่ายในการรักษาส่ิงแวดล้อมที่เกิดข้ึนจากทั้งประชาชนส่วนมากยังมีความต้องการ การท่ีทกุ ภาคสว่ นร่วมกันกอ่ในการใช้รถยนต์ส่วนตัว ระบบขนส่งมวลชนส่วนใหญ่ยังใช้เส้นทางร่วมกับรถยนต์สว่ นบคุ คล สว่ นการเดนิ ทางดว้ ยระบบขนสง่ มวลชนบนรางมเี พยี งรอ้ ยละ 3ของปรมิ าณการเดนิ ทางทง้ั หมด เนอื่ งจากโครงข่ายยังไม่ครบสมบูรณ์และขาดการวางแผนการจดั การแบบบรู ณาการกบั การเดนิ ทางประเภทอนื่ ๆ

ภาพที่ 3.3 แผนท่บี ริเวณเขตหลกั สี่ 3-6 ที่มา : https://www.google.co.th/maps/ ประวตั คิ วามเป็นมา เดมิ พนื้ ทเ่ี ขตหลักสอ่ี ยใู่ นเขตการ ปกครองของ สานักงานเขตบางเขน ตอ่ มา บรเิ วณนไี้ ดร้ บั การโอนยา้ ยไปอยใู่ นเขตการ ปกครองของ สานักงานเขตดอนเมือง ซึ่ง ไดร้ ับการจัดตงั้ ข้นึ ในปี พ.ศ. 2532 ต่อมา ในพ้ืนท่ีเขตดอนเมืองมีประชากรหนาแน่น มากขึ้น เพ่ือความสะดวกในการปกครอง และการบริหารงานราชการ จึงไดม้ ีประกาศ กระทรวงมหาดไทย เปล่ยี นแปลงพื้นทเี่ ขต ดอนเมืองและ จัดตั้งเขตหลักสี่ เม่ือวันที่ 14 ตุลาคม 2540 โดยแบง่ พน้ื ที่ทางทิศใต้ ของเขตดอนเมอื งมาจดั ตง้ั เปน็ พนื้ ทขี่ องเขต ที่มาของชื่อเขต ในสมัย พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว มกี ารขดุ คลอง ต่าง ๆ เพื่อเป็นทางลัดสู่จังหวัดต่าง ๆท่ี อยู่รอบนอกพระนคร โดยจะกาหนดหลัก บอกระยะทางของคลองที่ขุดทุกระยะ 100 เสน้ หนึ่งในคลองเหลา่ นัน้ ได้แก่ คลองเปรม ประชากร ซึ่งขุดเชื่อมไปยังอาเภอบางประ อิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ชุมชนท่ี ตัง้ อยทู่ ่ีหลกั บอกระยะท่ี 4 ของคลองน้ี จงึ มีชื่อเรียกว่า “บ้านหลักสี่” ซึ่งช่ือหลักส่ีน้ี ไดน้ ามาใชเ้ ปน็ ช่ือสถานทอี่ ื่น ๆ ในบรเิ วณ นั้นอีก คือ วัดหลักสี่สถานีรถไฟหลักสี่ และ ส่ีแยกหลักสี่ (จุดตัดระหว่างถนน วิภาวดีรังสิตและถนนแจ้งวฒั นะ)

ภาพท่ี 3.4 แผนท่กี รุงเทพฯ ภาพที่ 3.5 การแบง่ แขวงในเขตหลกั สี่ ภาพท่ี 3.6 หลงั คาเรอื น ภาพที่ 3.7 ถนนในเขตหลักส่ี 3 - 7ท่ีมา : วิเคราะห์โดยนายมนัสวี สุภาพไว 2560 ท่ีมา : วิเคราะหโ์ ดยนายมนัสวี สภุ าพไว 2560 ท่มี า : วเิ คราะห์โดยนายมนัสวี สภุ าพไว 2560 ทมี่ า : วิเคราะหโ์ ดยนายมนัสวี สภุ าพไว 2560พน้ื ทอ่ี าณาเขต การแบ่งเขตการปกครอง ขอ้ มลู พื้นท่ี ประชากร 25.06 ตร.กม. ถนนในพืน้ ที่ พนื้ ทเี่ ขตหลักสี่ตั้งอยู่บริเวณทางฝ่ังตะวันออกของแม่น้ำ� เขตหลักส่ีแบ่งเขตการปกครองย่อยออก จำ�นวนบ้านเรอื น 46,504 หลัง ถนนสายหลกั มจี ำ�นวน 3 สาย ไดแ้ ก่เจ้าพระยา หรอื ฝง่ั พระนคร เป็น 2 แขวง (khwaeng) ไดแ้ ก่ จำ�นวนประชากร - ถนนวิภาวดีรังสิต (ทางหลวงแผ่นดิน-ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กบั เขตดอนเมอื ง มคี ลอง 1. แขวงทงุ่ สองหอ้ ง (Thung Song Hong) - ชาย 51,813 คน หมายเลข 31)ตาอูฐ คลองเปรมประชากร และคลองวัด 2. แขวงตลาดบางเขน (Talat Bang Khen) - หญงิ 56,597 คน - ถนนงามวงศว์ าน (สว่ นหนง่ึ ของทางหลวงหลกั สเี่ ป็นเส้นแบง่ เขต โดยแบง่ ตามประกาศกรงุ เทพมหานคร เรอ่ื ง รวมทั้งสน้ิ 108,410 คน แผ่นดนิ หมายเลข 302)-ทิศตะวันออก ติดต่อกับ เขตบางเขน มี พนื้ ทแ่ี ขวงทงุ่ สองหอ้ ง และเปลย่ี นแปลงพน้ื ที่ จำ�นวนผูม้ ีสิทธิเลอื กต้ัง - ถนนแจง้ วัฒนะ (ส่วนหน่ึงของทางหลวงคลองถนนเปน็ เส้นแบ่งเขต แขวงตลาดบางเขน เขตหลกั ส่ี ไดใ้ ช้ คลอง - ชาย 40,665 คน แผน่ ดนิ หมายเลข 304)-ทิศใต้ ติดต่อกับ เขตจตุจักร มีคลอง เปรมประชากร ฝ่ังตะวันออกเป็นเส้นแบ่งบางเขนและคลองลาดยาวเปน็ เส้นแบง่ เขต เขตการปกครองระหว่าง 2 แขวงดังกล่าว - หญงิ 46,321 คน- ทิ ศ ต ะ วั น ต ก ติ ด ต่ อ กั บ อำ � เ ภ อ รวมท้ังส้นิ 86,986 คนเมืองนนทบุรี และ นครปากเกร็ด จังหวัด จำ�นวนหนว่ ยเลือกตงั้นนทบุรี มีคลองประปาเป็นเส้นแบง่ เขต มจี ำ�นวน 128 หน่วย

3.2 การพจิ ารณาท่ตี งั้ โครงการ 3-8ภาพท่ี 3.8 Site selection ท่มี า : https://www.google.co.th/maps/ราคาทด่ี ิน ลกั ษณะเฉพาะ รูปทรง-ขนาดท่ีดนิ การเข้าถงึ สาธารณูปโภค สภาพแวดลอ้ มราคาท่ีดินไม่สูงเกินไป ท่ี ดิ น อ ยู่ ใ ก ล้ ส ถ า น ที่ ท่ีดินมีรูปทรงที่สวยงาม ท่ีดินอยู่ในจุดที่เข้าถึงได้ ท่ี ดิ น อ ยู่ ใ ก ล้ แ ห ล่ ง ท่ีดินมีสภาพแวดล้อมท่ีคุม้ ค่าในการลงทุน เกีย่ วขอ้ งกับรถอเมริกัน และไม่ยุ่งยากในการออก หลายรูปแบบ และเข้าถึง สาธารณปู โภค หรอื มเี เห ไม่ขัดกับโครงการ และ แบบโครงการ ได้สะดวก ลง่ สาธารณปู โภครองรบั สามารถสง่ เสรมิ โตรงการ อยา่ งเพียงพอ ได้ หรือโครงการต้อง ไม่กระทบต่อสภาพเเว ดล้อม

70.53104.40 รายละเอียด 41.45 114.93 14.15 3-977.45 104.55 อยใู่ กล้สถานีตำ�รวจ และโชวร์ ูมฮาเล่ย์ อย่ตู ดิ ถนนใหญ่ มรี ถไฟฟา้ 88.593616.75 รายละเอียด ขนาดที่ดิน 4.9 ไร่ 27.97 อย่ใู กล้สำ�นักงานราชการ และโชวร์ ูมฮาเล่ย์ หรอื 7,909.39 ตารางเมตร อยูต่ ดิ ถนนใหญ่ มรี ถไฟฟ้า เเละใกลช้ มุ ชน เจ้าของกรรมสทิ ธิท่ดี นิ เอกชน 107.61 ขนาดที่ดิน 7 ไร่ เขตพื้นทส่ี แี ดง หรอื 11,249.82 ตารางเมตร ลักษณะทางกายภาพ ป่า เจา้ ของกรรมสทิ ธิทดี่ ิน รฐั บาล เขตพนื้ ทสี่ นำ้ �เงนิ ลักษณะทางกายภาพ ทโ่ี ลง่90.65 103.08 รายละเอียด อยู่ใกลส้ ถานศึกษา วัด อยใู่ นซอย อยูใ่ กล้44.7823.55 82.6216.10 ป้ัมนำ�้มัน 42.20 39.80 ขนาดที่ดิน 6 ไร่ หรือ 9,638.71 ตารางเมตร เจ้าของกรรมสิทธทิ ดี่ ิน เอกชน เขตพื้นท่สี ีส้ม ลกั ษณะทางกายภาพ ท่โี ล่ง