Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อกลาง61

สื่อกลาง61

Published by khanthana06022545, 2020-06-27 03:46:17

Description: สื่อกลาง61

Search

Read the Text Version

อุปกรณ์ ในการเชือ่ มตอ่ ระบบ เครือขา่ ย

อปุ กรณแ์ ละการเชอื่ มต่อ ในระบบเครือข่าย ในการรับส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์ใน เครอื ขา่ ยนน้ั จาเปน็ ทจี่ ะต้องมอี ุปกรณร์ ะบบเครอื ข่าย เพื่อใชเ้ ปน็ ตวั กลางในการรบั สง่ ข้อมูล ซง่ึ อุปกรณ์ ระบบเครือข่ายดังกล่าวมหี ลายชนดิ ดว้ ยกัน แต่ละ อยา่ งก็จะทางานตา่ งหนา้ ทกี่ ัน krunok

เครอ่ื งทวนสัญญาณ (Repeater) เปน็ อุปกรณ์ทท่ี าหน้าที่ขยายหรอื เพมิ่ ระยะ ทางการสื่อสารของเครือข่ายในการสง่ ข้อมูลในระบบ เครอื ข่ายตามมาตรฐานต่าง ๆ เช่น ในมาตรฐานการสง่ ข้อมลู ในระบบเครือข่ายใช้ 10 Baset ซงึ่ มขี อ้ กาหนด ของมาตรฐานการเชอ่ื มตอ่ ระบบไดใ้ นระยะทางไมเ่ กนิ 100 เมตร ถา้ ความยาวของระบบมากกว่า 100เมตร ตอ้ งมีเครือ่ งทวนสญั ญาณในการขยายสัญญาณเพอ่ื ให้ เปน็ ระบบเครือข่ายเดยี วกัน krunok

บริดจ์ (Bridge) เปน็ อปุ กรณ์ท่ใี ช้เชอ่ื มต่อระบบ LAN เขา้ ดว้ ยกัน โดยออกแบบมาเพอ่ื ใช้ติดต่อระหว่างเครอื ขา่ ยท้องถิ่น LAN จานวน 2 เครอื ขา่ ย ที่มโี ปรโตคอลเหมอื นกนั หรอื ตา่ งกัน เพือ่ ใหส้ ามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไป ได้ โดยประสิทธิภาพในทางรวมลดลงไมม่ ากเนอื่ งจาก การติดต่อของเคร่อื งอยูใ่ นเซกเมนดเ์ ดยี วกนั จะไม่มกี าร ส่งผ่านตา่ งเซกเมนด์ (Segment) krunok

ฮับ (Hub) เป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าท่ีกระจายช่องทางการ สื่อสารขอ้ มูลไดห้ ลายชอ่ งทางในระบบเครือข่าย โดยการ ขยายสัญญาณที่ส่งผ่านมา ทาให้สามารถเชื่อมต่อ อุปกรณ์ต่างๆ ผ่านสายเคเบิลได้ใกล้ข้ึน และใช้กับระบบ เครือข่ายแบบ Star ในปัจจุบันHub มีความเร็วในการ ส่ือสารแบบ 10 และ 100 Mbps ลักษณะการทางาน ของ Hub จะแบ่งความเร็วตามจานวนช่องสัญญาณ (Port) ท่ีใช้งานตามมาตรฐานความเร็วเช่น ระบบ เครือข่ายใชม้ าตรฐานความเร็วเปน็ แบบ 10 Mbpsและมี เครื่องคอมพิวเตอร์ท่ีต่อในระบบ 5 เคร่ืองแต่ละเคร่ือง สามารถส่ือสารกันภายในระบบโดยใช้ความเร็วเท่ากับ 10/5 คือ 2Mbps krunok

สวติ ช์ (Switch) สวติ ซ์ เป็นอุปกรณ์ท่ีทาหนา้ ทกี่ ระจายชอ่ ง ทางการส่ือสารขอ้ มลู หลายช่องทางในระบบเครอื ข่าย คล้ายกับ Hubตา่ งกันตรงท่ีลกั ษณะการทางานและ ความสามารถในเรอ่ื งของความเรว็ การทางานของ Switch ไม่ได้แบง่ ความเรว็ ตามจานวนช่องสญั ญาณ (port)ตามมาตรฐานความเรว็ เหมือน Hub โดยแต่ละ ช่องสญั ญาณ (port)จะใช้ความเร็วเปน็ อิสระต่อกันตาม มาตรฐานความเร็ว krunok

เราทเ์ ตอร์ (Router) เป็นอุปกรณ์ทที่ าหนา้ ทเี่ ช่ือมต่อระบบเครือขา่ ยต่าง ชนิดกันหรือใช้โปรโตคอลต่างกนั เขา้ ด้วยกัน คลา้ ย ๆ กบั Bridge แตล่ ักษณะการทางานของ Router นั้นจะซบั ซอ้ น กวา่ เพราะนอกจากจะเชื่อมต่อแลว้ ยงั เก็บสภาวะของ เครอื ข่ายแต่ละสว่ น (Segment) ด้วย และสามารถทาการ กรอง (Filter)หรอื เลอื กเฉพาะชนดิ ของข้อมูลทีร่ ะบไุ วว้ ่าให้ ผ่านไปได้ทาใหช้ ว่ ยลดปญั หาการจราจรที่คบั ค่ังของขอ้ มูล และเพม่ิ ระดับความปลอดภัยของเครือขา่ ย krunok

เกตเวย์ (Gateway) เป็นอุปกรณ์ท่ีทาให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกว่าที่มีลักษณะไม่เหมือนกันสามารถ ติดต่อกันได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดียวกันเปรียบเสมือน เ ป็ น ป ร ะ ตู ท า ง ผ่ า น ใ น ก า ร ส่ื อ ส า ร ข้ อ มู ล ร ะ ห ว่ า ง คอมพิวเตอร์ต่างชนิดกัน เช่น ระหว่างเคร่ือง ไมโครคอมพิวเตอร์ทั่ว ๆไปกับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ หรือเมนเฟรมซ่ึงเป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ เป็นต้น อปุ กรณ์ที่ทาหน้าที่เปน็ Gateway นั้นอาจจะใช้ คอมพิวเตอร์เคร่ืองใดเครอ่ื งหน่ึงทาหน้าท่ีก็ได้ krunok

สื่อกลางในการสื่อสารข้อมลู สอ่ื กลางในการสอื่ สารข้อมลู หมายถงึ การสอ่ื สาร ขอ้ มลู ทุกชนดิ ต้องอาศัยส่อื กลางในการส่งผา่ นขอ้ มลู เพ่อื นา ขอ้ มลู ไปยังจุดหมายปลายทาง เชน่ การคุยโทรศัพทอ์ าศยั สายโทรศัพทเ์ ป็นส่อื กลางในการสง่ สัญญาณคล่ืนเสียงไปยงั ผรู้ บั เปน็ ตน้ สอื่ ทีใ่ ช้สง่ ขอ้ มูลในระบบเครอื ขา่ ยในปัจจบุ ัน สามารถแบ่ง สือ่ กลางได้เปน็ 2 ประเภท คือ 1.สื่อกลางทก่ี าหนดเส้นทางได้ (Guided media) หรอื ระบบใชส้ าย (Wired system) 2. สือ่ กลางที่กาหนดเส้นทางไม่ได้ (Unguided media) krunok

สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair Cable) เป็นส่ือ หรือตัวกลางท่ีมีราคาถูกที่สุดและนิยมใช้มากที่สุด ภายใน ประกอบด้วยลวดทองแดง 2 เส้น แต่ละเส้นมีฉนวนหุ้มแล้ว นามาพันกันเป็นเกลยี ว สายคบู่ ดิ เกลยี วแบ่งเป็น 2 ชนดิ คือ สายคบู่ ดิ เกลยี วไมห่ มุ้ ฉนวน (Unshielded Twisted Pair หรอื UTP) หรือสายยทู ีพี หรอื สายโทรศพั ท์ มีทงั้ หมด 8 เส้น ซ่ึงแตล่ ะเสน้ กจ็ ะมสี ี แตกตา่ งกันไปตลอดท้งั สายจะถูกหุม้ ด้วยพลาสติก ลกั ษณะสายเป็นเกลียว เพอ่ื ชว่ ย ป้องกนั สัญญาณรบกวนจากอปุ กรณ์ไฟฟา้ อ่ืนๆ เช่น เครื่องถ่ายเอกสารทอ่ี ยใู่ กล้ๆ ปจั จบุ ันยทู ีพเี ปน็ สายทไ่ี ด้รับความนยิ มมากท่ีสุด เนื่องจากราคาถกู และตดิ ตงั้ ได้ง่าย krunok

สายคูบ่ ิดเกลียวห้มุ ฉนวน (Shielded Twisted Pair หรือ STP) หรือสายเอสทีพีเป็นสายคู่ มีลักษณะคลา้ ยกบั สายยูทีพี มฉี นวนป้องกนั สญั ญาณรบกวนได้มากกว่า สายยทู ีพีสายคบู่ ดิ เกลียวหุ้มฉนวนจะมโี ลหะถกั เป็นตา ขา่ ยโลหะ ซ่ึงมคี ุณสมบตั ิเป็นเกราะในการปอ้ งกัน สัญญาณต่างๆ krunok

สายโคแอก็ เชยี ล (Coaxial Cable) นิ ย ม เ รี ย ก กั น สั้ น ๆ ว่ า ส า ย โ ค แ อ็ ก เ ป็ น ส่ื อ ห รื อ ตัวกลางที่มีส่วนของสายส่งข้อมูลเป็นลวดทองแดงอยู่ตรง กลาง หุ้มด้วยพลาสติก ส่วนชั้นนอกหุ้มด้วยโลหะหรือ ฟอยล์ถักเป็นร่างแหเพ่ือป้องกันสัญญาณรบกวน สาย โคแอ็กมี 2 แบบ ได้แก่ แบบหนาและแบบบาง ส่วนใหญ่ใช้ เชื่อมต่อระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยตรง ไม่ต้องใช้ อุปกรณ์รวมสายหรือฮับ (Hub) แต่ปจั จบุ ันมีการใช้น้อยลง เน่ืองจากถูกแทนที่ด้วยสายยูทีพีที่มีราคาถูกกว่า และ สามารถติดตั้งได้ง่ายกว่า krunok

สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic Cable) เป็นส่ือหรือตัวกลางที่ใช้ส่งข้อมูลในรูปของแสง โดยเปลี่ยนสัญญาณข้อมูลหรือสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นคล่ืน แสงก่อน แล้วส่งผ่านใยนาแสงไปยังปลายทางลักษณะ เส้นใยนาแสงจะส่งสัญญาณเพื่อป้องกันความเสียหายและ การสูญเสียของสัญญาณ การส่งข้อมูลผ่านใยนาแสงมี ข้อดีตรงท่ีส่งสัญญาณได้ในระยะทางไกลโดยไม่มีสัญญาณ รบกวน มีความคุ้มค่าสูงเพราะส่งข้อมูลได้มากกว่าการ ส่งผา่ นสายคู่บิดเกลียวและสายโคแอก็ เชียล สามารถติดตั้ง ไดใ้ นบรเิ วณที่มีไฟฟ้าแรงสูงหรือเกิดฟ้าผา่ ข้ึนหลายครั้ง และ ข้อมูลร่ัวไหลได้ยากจึงทาให้การลักลอบขโมยสัญญาณทา ได้ยาก krunok

ส่อื กลางที่กาหนดเสน้ ทางไมไ่ ด้ (Unuided media) เป็นระบบทไ่ี ม่ใชส้ ายสญั ญาณเป็นตวั นาข้อมูล เช่น ระบบไมโครเวฟ ระบบดาวเทยี ม ระบบอนิ ฟราเรด ระบบวทิ ยุ เป็นต้น อนิ ฟราเรด (Infrared) เป็นสื่อสารท่ีใช้คลื่นแสงที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า สามารถส่งข้อมูลด้วยคล่ืนอินฟราเรดต้องส่งในแนวเส้นตรง และไม่สามารถทะลสุ ิ่งกดี ขวางทม่ี คี วามหนาได้ นิยมใช้ในการส่ง ถ่ายโอนข้อมูลสาหรับอุปกรณ์แบบพกพา เช่น โน้ตบุ๊ก คอมพิวเตอร์ หรือเครื่องพีดีเอไปยังคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เป็นต้น คล่ืนวทิ ยุ (Radio Wave) เป็นการสื่อสารโดยใช้คลื่นวิทยุจากอุปกรณ์ไร้สายต่างๆ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนที่ หรืออุปกรณ์ที่สามารถเปิดเข้าถึงเว็บไซต์ ได้ เป็นตน้ ผใู้ ชบ้ างรายใช้โทรศพั ทเ์ คลื่อนทใ่ี นการเชื่อมต่อเพื่อใช้ บริการอินเทอรเ์ นต็ krunok

ไมโครเวฟ (Microwave) เป็นการสื่อสารโดยใช้คลื่นวิทยุความเร็วสูง สามารถส่งสัญญาณเป็นทอดๆ จากสถานีหนึ่งไปยัง อีกสถานีหนึ่งในแนวเส้นตรง ไม่สามารถโค้งหรือหัก เลี้ยวได้ สามารถรับ ส่งได้ในระยะทางใกล้ๆ นิยมใช้ สาหรับการสอ่ื สารระหว่างอาคารที่อยู่ในเมืองเดียวกัน สาหรับระยะทางไกลๆ ต้องใช้สถานีรับส่งสัญญาณ เป็นทอดๆ โดยติดต้ังในพ้ืนท่ีสูง เช่น ยอดเขา หอคอย ตกึ เป็นต้น krunok

ดาวเทียม (Satellite) เป็นการสื่อสารโดยคล่ืนไมโครเวฟแต่ เน่ืองจากเป็นคล่ืนที่เดินทางในแนวตรง ทาให้พื้นท่ีท่ีมีลักษณะภูมิ ประเทศเป็นภูเขาหรือตึกสูงมีผลต่อการบดบังคลื่น จึงมีการ พัฒนาดาวเทียมให้เป็นสถานีไมโครเวฟท่ีอยู่เหนือพ้ืนผิวโลก ทา หน้าท่ีเป็นสถานีส่งและรับข้อมูล ถ้าเป็นลักษณะการส่งข้อมูล จากภาคพ้ืนดินไปยังดาวเทียม ระบบเทคโนโลยีที่นิยมและอาศัย การทางานของดาวเทียมเป็นหลัก คือ ระบบจีพีเอส (Global Positioning System : GPS) ที่ช่วยตรวจสอบตาแหน่งที่อยู่บน พ้ืนผิวโลก เช่น การติดต้ังอุปกรณ์จีพีเอสไว้ในรถและทางาน ร่วมกับแผนที่ ผู้ใช้สามารถขับรถไปตามระบบนาทางได้ น อ ก จ า ก นี้ ยั ง ไ ด้ น า อุ ป ก ร ณ์ จี พี เ อ ส ม า ติ ด ตั้ ง ใ น ร ะ บ บ โทรศัพทเ์ คลือ่ นทด่ี ว้ ย krunok

รูปแบบการเช่อื มต่อเครอื ข่าย ( Topologies ) รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายหรือมักเรียกสั้น ๆ ว่า โทโพโลยี เป็นลักษณะท่ัวไปที่กล่าวถึงการเช่ือมต่อ คอมพิวเตอร์ทางกายภาพว่ามีรูปแบบหน้าตาอย่างไร เพ่ือให้สามารถสื่อสารร่วมกันได้และด้วยเทคโนโลยี เครือข่ายท้องถิ่นจะมีรูปแบบของโทโพโลยีหลายแบบ ด้วยกัน ดังน้ัน จึงเป็นสิ่งสาคัญท่ีจะต้องเรียนรู้และทา ความเข้าใจแต่ละโทโพโลยีว่ามีความคล้ายคลึง หรือ แตกต่างกันอย่างไร รวมถึงข้อดีและข้อเสียของแต่ละ โทโพโลยี และโดยปกติโทโพโลยีท่ีนิยมใช้กันบนเครือข่าย ทอ้ งถ่ินจะมอี ยู่ 3 ชนดิ ดว้ ยกนั คอื •โทโพโลยแี บบบสั •โทโพโลยแี บบดาว •โทโพโลยีแบบวงแหวน krunok

แบบบัส ( BUS Topology ) เป็ น ก า ร เ ช่ื อ ม ต่ อ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ ทุ ก เ ค ร่ื อ ง บ น สายสัญญาณหลักเส้นเดียว ที่เรียกว่า BUS ทีปลายท้ังสองด้าน ปิดด้วยอุปกรณ์ท่ีเรียกว่า Teminator ไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องใด เคร่ืองหน่ึงเป็นศูนย์กลางในการเช่ือมต่อ คอมพิวเตอร์เครื่องใด หยดุ ทางาน กไ็ ม่มผี ลกบั คอมพวิ เตอร์เครอ่ื งอ่ืน ๆ ในเครือขา่ ย krunok

แบบดาว ( Star topology ) เป็นการเชื่อมต่อสถานีหรือจุดต่าง ๆ ออก จากคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือคอมพิวเตอร์แม่ข่ายท่ี เรียกว่า File Server แต่ละสถานีจะมีสายสัญญาณ เชื่อมต่อกับศูนย์กลาง ไม่มีการใช้สายสัญญาณ ร่วมกัน เม่ือสถานีใดเกิดความเสียหายจะไม่มี ผลกระทบกับสถานีอื่น ๆ ปัจจุบันนิยมใช้อุปกรณ์ HUB เป็นตัวเช่ือมต่อจากคอมพิวเตอร์แม่ข่ายหรือ คอมพิวเตอรศ์ นู ยก์ ลาง krunok

แบบวงแหวน ( Ring Topology ) เป็นการเชือ่ มต่อเครอื ข่ายเป็นรปู วงแหวนหรอื แบบวนรอบ โดยสถานีแรกเชอื่ มต่อกับสถาน สุดทา้ ย การรับส่งขอ้ มลู ในเครือข่ายจะต้องผา่ นทกุ สถานี โดยมี ตัวนาสารวิ่งไปบนสายสญั ญาณของแต่ละสถานี ตอ้ ง คอยตรวจสอบขอ้ มลู ทสี่ ง่ มา ถา้ ไมใ่ ช่ของตนเองต้อง ส่งผ่านไปยงั สถานีอ่นื ตอ่ ไป krunok

อา้ งองิ https://sites.google.com/site/brrcngiphone http://www.chakkham.ac.th/technology/network/equ.html https://9mza.blogspot.com/2017/06/device-network.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook