Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Coucil Report 2561-2564_compressed

Coucil Report 2561-2564_compressed

Published by Idsaratt Rinthaisong, 2021-11-02 19:31:26

Description: Coucil Report 2561-2564_compressed

Search

Read the Text Version

รายงานผลการดาํ เนินงานของสภามหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561-2564 สาํ นกั งานสภามหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์

รายงานผลการดาํ เนินงานของสภามหาวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2561-2564



สารจากนายกสภามหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ Video provides a powerful way to help you prove your point. When you click Online Video, you can paste in the embed code for the video you want to add. You can also type a keyword to search online for the video that best fits your document. To make your document look professionally produced, Word provides header, footer, cover page, and text box designs that complement each other. For example, you can add a matching cover page, header, and sidebar. Click Insert and then choose the elements you want from the different galleries. Themes and styles also help keep your document coordinated. When you click Design and choose a new Theme, the pictures, charts, and SmartArt graphics change to match your new theme. When you apply styles, your headings change to match the new theme. Save time in Word with new buttons that show up where you need them. To change the way a picture fits in your document, click it and a button for layout options appears next to it. When you work on a table, click where you want to add a row or a column, and then click the plus sign. Reading is easier, too, in the new Reading view. You can collapse parts of the document and focus on the text you want. If you need to stop reading before you reach the end, Word remembers where you left off - even on another device. signature

ประโยชน์ของเพอื่ นมนุษย์เปน็ กิจท่หี นึ่ง Our Soul is for the Benefit of Mankind

สารบญั รายงาน ตอนท&ี 1 สภามหาวทิ ยาลัย คําขวญั ปรัชญา วิสยั ทศั น์ ยทุ ธศาสตร์มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ คณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ โครงสร้างกรรมการสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ อํานาจหน้าทีCสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ บทบาทหน้าทCีและโครงสร้างของสาํ นกั งานสสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ การประชมุ สภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ งบประมาณรายจา่ ยมหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดําเนินงานของหนว่ ยงานภาครัฐ (ITA) พระราชบญั ญตั มิ หาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ พ.ศ.2559 และข้อบงั คบั ทีCเกีCยวข้องกบั สภามหาวิทยาลยั สงขลา ตอนท&ี 2 ผลการดาํ เนินงานของสภามหาวทิ ยาลัย ผลการประชุม ผลลัพธ์การดาํ เนินงานของสภามหาวทิ ยาลัย บทบาทกําหนดนโยบายและแผนพฒั นาของมหาวิทยาลยั บทบาทในการเป็นคลงั สมองเพCือการปรับเปลยCี นมหาวิทยาลยั บทบาทในการขบั เคลอCื นงานวิชาการวิชาการ บทบาทในด้านการเงินและทรัพย์สนิ การกําหนดทิศทางการบริหารและจดั การทรัพยากรมนษุ ย์ การนํานวตั กรรมการตดิ ตามและประเมินผลสบู่ ริบทองค์กรทีCมีความซบั ซ้อน ออกแบบ ขบั เคลอืC นและพฒั นามหาวิทยาลยั โดยผา่ นข้อบงั คบั ระเบียบ และประกาศ การกํากบั ดแู ลความโปร่งใสและคณุ ธรรมในองค์กร การตดิ ตามผลกระทบของสถานการณ์วิกฤติ COVID-19

ตอนท'ี 1 : สภามหาวิทยาลยั o ประวตั มิ หาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ o คําขวญั ปรัชญา วิสยั ทศั น์มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ o คณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ o โครงสร้างกรรมการสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ o อํานาจหน้าทีAสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ o คณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั o โครงสร้างองค์กรกรรมการสภามหาวิทยาลยั o โครงสร้างความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสภามหาวิทยาลยั กบั มหาวิทยาลยั o การประชมุ และวิธีดําเนินงานของสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ o งบประมาณรายจา่ ยมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ Our Soul is for the Benefit of Mankind

ประวัตมิ หาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ เมืCอปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลมีนโยบายจดั ตงัe มหาวิทยาลยั ขนึ e ทีCภาคใต้ โดยเรCิมต้นจากการจดั ตงัe \"วิทยาลยั ศิ ลปศาสตร์ และวิ ทยาศาสตร์ \" เพืCอรอการพัฒนาขึนe เป็ นระดับมหาวิทยาลัย ต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๕๐๘ คณะรัฐมนตรีได้มีการอนมุ ตั หิ ลกั การในการจดั ตงัe มหาวิทยาลยั ในภาคใต้ขนึ e ทCี ตําบลรูสะมิแล อําเภอเมือง จงั หวดั ปัตตานี โดยจะใช้เป็นทCีตงัe ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ และใช้ชCืออย่างไม่เป็นทางการวา่ \"มหาวิทยาลยั ภาคใต\"้ ซงึC มีสํานักงานชัCวคราวของมหาวิทยาลยั อยู่ทีCอาคารคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั แพทยศาสตร์ (อาคารคณะ เภสชั ศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหิดล ในปัจจบุ นั )หลงั จากนนัe คณะกรรมการพฒั นาภาคใต้ โดย พนั เอก (พิเศษ) ดร. ถนัด คอมนั ตร์ นําความกราบบงั คมทูลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ขอพระราชทานชCือ ให้แก่มหาวิทยาลยั เพืCอเป็นสิริมงคลแก่มหาวิทยาลยั ซึCงพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชได้ พระราชทานนามมหาวิทยาลยั ว่า \"มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์\" เมืCอวนั ทCี ๒๒ กันยายน พ.ศ. 2510 ตามพระ นามทรงกรมของสมเดจ็ พระมหิตลาธิเบศร อดลุ ยเดชวิกรม พระบรมราชชนก คือ กรมหลวงสงขลานครินทร์ ดงั นนัe มหาวิทยาลยั จงึ ถือวา่ วนั ทีC 22 กนั ยายน ของทกุ ปีเป็น \"วนั สงขลานครินทร์\" ในปี พ.ศ. 2510 มหาวิทยาลัยทCีจังหวัดปัตตานีก่อสร้ างเสร็จในบางส่วนแล้วนันe ศาสตราจารย์ ดร. สตางค์ มงคลสขุ และคณะ ได้เดินทางไปตรวจการก่อสร้าง พบว่า บริเวณดงั กล่าวไม่เหมาะสมสําหรับเป็นทCีตงัe ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ ดงั นนัe จึงมีความเห็นว่า มหาวิทยาลยั ทีCจงั หวดั ปัตตานีนนัe ควรใช้เป็นอาคารของคณะ ศกึ ษาศาสตร์ และคณะทางศิลปศาสตร์ และได้ย้ายคณะวิศวกรรมศาสตร์ไปตงัe ทีCตําบลคอหงส์ อําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ต่อมา วันทีC 12 มีนาคม พ.ศ. 2511 ได้ มีพระบรมราชโองการประกาศใช้ พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ขึนe มหาวิทยาลัยจึงกําหนดให้วันทีC 13 มีนาคม ของทุกปี เป็น \"วันสถาปนา มหาวิทยาลยั \" ในวนั ทCี 21 มิถนุ ายน พ.ศ. 2559 ได้มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 ซงึC มีสาระสําคญั คือได้ยกเลิก พ.ร.บ. ฉบบั ปี พ.ศ. 2522 และฉบบั แก้ไขเพิCมเติมปี พ.ศ. 2541 และได้ กําหนดให้มหาวิทยาลยั เป็นนิติบุคคล มีฐานะเป็นหน่วยงานในกํากับของรัฐ ซCึงไม่ใช่ส่วนราชการและไม่เป็น รัฐวิสาหกิจ โดยพระราชบญั ญัติฉบบั นีมe ีผลบงั คบั ใช้เมืCอพ้นกําหนดสามสิบวนั นับแต่วนั ประกาศในราชกิจจา นเุ บกษาคือวนั ทีC 21กรกฎาคม พ.ศ. 2559 เป็นต้นไป

คตพิ จน์ ปรัชญาการศกึ ษา ค่านิยมหลัก วสิ ัยทศั น์ พนั ธกจิ และ ยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ คตพิ จน์ Motto ขอให้ถือประโยชน์สว่ นตนเป็นที8สอง ประโยชน์ของเพ8ือมนษุ ย์เป็นกิจท8ีหนงึ8 ปรัชญาการศกึ ษา Philosophy ปรัชญาการศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จึงเป็นการจัดการศึกษาตามแนวทาง พิพัฒนาการนิยม (Progressivism) คือ การพฒั นาผ้เู รียนในทกุ ด้าน เพื8อให้พร้อมท8ีจะอย่ใู นสงั คมได้อย่างมีความสขุ และปรับตวั ได้ ดีตามสถานการณ์ท8ีเปลี8ยนไป โดย ใช้กระบวนการจดั การเรียนรู้เป็นเครื8องมือในการพฒั นาผ้เู รียนโดยให้ผ้เู รียน เป็นศนู ย์กลาง ของการเรียนรู้ และพฒั นาจากความต้องการของผ้เู รียน ค่านิยมหลัก Core Value ความเป็ นมืออาชีพ ความรับผิดชอบต่อสังคม ความเป็ นเอกภาพเป็ นหน=ึงเดยี ว วสิ ัยทศั น์ Vision มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ เป็นมหาวิทยาลยั เพื8อนวตั กรรมและสงั คม ท8ีมีความเป็นเลศิ ทางวิชาการ และเป็นกลไกหลกั ในการพฒั นาภาคใต้และประเทศ พนั ธกจิ Mission พฒั นามหาวิทยาลยั ให้เป็นสงั คฐานความรู้ บนพืน^ ฐานพหวุ ฒั นธรรมและหลงั เศรษฐกิจพอเพียง โดยให้ผ้ใู ฝ่รู้ได้ มีโอกาสเข้าถงึ ความรู้ในหลากหลายรูปแบบ สร้างความเป็นผ้นู ําทางวชิ าการ ในสาขาท8ี สอดคล้องกบั ศกั ยภาพพืน^ ฐานของภาคใต้ และเช8ือมโยงสเู่ ครือขา่ ย สากล ผสมผสานและประยกุ ต์ความรู้บนพืน^ ฐาน ประสบการณ์การปฏิบตั สิ กู่ ารสอนเพ8ือสร้าง ปัญญาคณุ ธรรม สมรรถนะและโลกทศั น์สากลให้แก่บณั ฑิต โครงสร้างคณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์

โครงสร้างของคณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั สงขลา เป็นไปตามองค์ประกอบตาม มาตรา 20 แหง่ พรบ. มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 สามารถเขียนโครงสร้างได้ดงั นี ^ นายกสภามหาวิทยาลยั อุปนายกสภามหาวทิ ยาลยั กรรมการสภา กรรมการสภา กรรมการสภา กรรมการสภา มหาวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั โดย มหาวิทยาลยั ทCีมาจาก มหาวทิ ยาลยั ทCีมาจาก ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ ผู้ปฏิบตั งิ าน จํานวน 15 คน ตําแหนง่ ตําแหนง่ บริหาร คณาจารย์ประ 1 คน อธิการบดี รองอธิการบดีวิทยา พนกั งามหาวิทยาลยั ประธานกรรมการ เขต 1 คน ทCไี ม่ใชค่ ณาจารย์ สง่ เสริมกิจการสภา รองอธิการบดีอนCื 1 ประจาํ 1 คน มหาวทิ ยาลยั คน ประธานสภาอาจารย์ คณบดี 4 คน ประธานสภาพนักงาน ผู้อาํ นายการหรือ นายกสมาคมศิษย์เกา่ เทียบเทา่ 1 คน อาํ นาจหน้าท<สี ภามหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ บทบาทของสภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ที8ผ่านมาตามพระราชบญั ญัติมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 แต่อย่างไรก็ตามบทบาทตามพระราชบญั ญัติฯ พ.ศ. 2559 ถ้ายึดตามตวั อกั ษร ทําให้ขยบั บทบาทหน้าท8ีท8ี จะเคลื8อนไปตามทิศทางที8คาดหวังไว้ อาจจะมีข้ อจํากัด นอกจากบทบาทตามพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 แล้ว บทบาทหน้าที8ท8ีคาดหวงั ท8ีจะนํามหาวิทยาลยั ไปสภู่ าพอนาคตท8ีพงึ ประสงค์นัน^ เป็นอย่างไร โดยหลัก ๆ บทบาทหน้าที8ตามพระราชบัญญัติฯ พ.ศ. 2559 ตามมาตรา 23 สภา มหาวิทยาลยั มีอํานาจหน้าท8ีควบคมุ ดแู ลกิจการทวั8 ไปของมหาวิทยาลยั อํานาจหน้าที8เช่นว่านีใ^ ห้กําหนดนโยบาย และแผนของมหาวิทยาลยั ข้อบงั คบั ระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลยั อนุมตั ิการจดั การด้านการศึกษา อนมุ ตั ิเก8ียวกบั โครงสร้างขององค์กร อนมุ ตั ิการตงั^ งบประมาณรายรับ งบประมาณรายจ่ายและการหารายได้ มี อํานาจในการแต่งตงั^ และถอดถอนผ้บู ริหาร มีการติดตามประเมินผลการดําเนินงานของมหาวิทยาลยั และหน้าที8 อ8ืน ๆ สามารถสรุปเป็นแผนภาพ ดงั นี ^

อํานาจหน้าทส+ี ภามหาวทิ ยาลยั ตามมาตรา 23 แห่ง พรบ. มหาวทิ ยาลยั ฯ พ.ศ. 2559 1 2 34 5 6 กาํ หนดนโยบาย ออกข้อบงั คบั ระเบียบ อนมุ ตั ิ พิจารณาแตง่ ตงัZ และถอด ติดตามและ ปฏบิ ตั ิหน้าทอี+ น+ื และแผน และประกาศ ถอน ประเมนิ ผล (1) กาํ หนดนโยบาย (2) ออกข้อบงั คบั (6) การรับเข้าสมทบ (14)นายกสภา (16) การปฏบิ ตั ิ (19) ปฏบิ ตั ิหน้าทอี น+ื และแผนพฒั นา ระเบียบ และประกาศเพอ+ื การจัดการศกึ ษาร่วม มหาวทิ ยาลยั กรรมการ หน้าที+ของอธกิ ารบดี เกี+ยวกับกจิ การ ของมหาวิทยาลยั โประยชนใ์ นการ หรือยกเลิกการสมทบ สภามหาวทิ ยาลยั ผู้ทรง (17) รับรองรายงาน (11) กําหนด ปฏิบตั ิงานของ ยกเลกิ การจดั ควุ ุฒิ อธกิ ารบดี มหาวิทยาลยั ที+มไิ ด้ นโยบายและวธิ กี าร มหาวิทยาลยั การศึกษาร่วม ศาสตราจารย์ และ ประจําปีของ ระบุเป็นหน้าทข+ี อง เกี@ยวกบั การจัดหา (3) การบริหารงานบุคคล (7) ปริญญา ศาสตราจารยพ์ ิเศษ มหาวิทยาลยั ฯ ผู้ใดโดยเฉพาะ รายได้ การจดั หา (4) การบริหาร การเงิน อนุปริญญา และ (15) รองอธิการบดี แหลง่ ทุนฯ พาพสั ดุ และทรัพย์สิน ประกาศนยี บตั ร คณบดี ผ้อู าํ นวยการฯ (8)การจดั ตงัZ และการ ศาสตราจารย์เกยี รติคณุ ยบุ เลิกวิทยาเขต รองศาสตราจารย์ ผ้ชู ว่ ย (9) จดั ตงัZ การรวม หรือ ศาสตราจารย์ ฯ ชือ+ บยุ เลิกสว่ นงาน ฯ เรียกอ+ืนตามาตรา 63 (10) การจดั ตงัZ วรรคสาม งบประมาณรายรบั และ (18) คณะกรรมการ งบประมาณรายจ่ายฯ อนกุ รรมการ หรือบุคคล (12)การกู้ยมื เงนิ การ ฯ เพ+อื กระทําการใด ๆ ให้ก้ยู ืมเงินฯ ในอาํ นาจหน้าท+ี

คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ ศาสตราจารย์นายแพทยจ์ รัส สุวรรณเวลา นายกสภามหาวิทยาลัย กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ศาสตราจารย์ ดร.นักสิทธ์ ควู ฒั นาชัย อปุ นายกสภามหาวิทยาลัย ศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.กฤษณา ไกรสินธุ์ ดร.บญุ ปลูก ชายเกตุ รองศาสตราจารย์ ดร.บญุ สม ศิริบำรงุ สขุ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผ้ทู รงคุณวฒุ ิ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผ้ทู รงคณุ วุฒิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคณุ วุฒิ ดร.ประสาร ไตรรตั นว์ รกุล ศาสตราจารย์ ดร.ปราณี กลุ ละวณิชย์ รองศาสตราจารยย์ ืน ภวู่ รวรรณ กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผทู้ รงคุณวุฒิ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผ้ทู รงคุณวุฒิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผทู้ รงคณุ วุฒิ

นายรังสรรค์ ศรวี รศาสตร์ ศาสตราจารย์ นพ.วจิ ารณ์ พานชิ นายวิจิตร ณ ระนอง กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผทู้ รงคณุ วุฒิ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ ศาสตราจารย์ ดร.สนทิ อักษรแกว้ ดร.สมเกยี รติ ต้งั กิจวานิชย์ นายสราวธุ เบญจกุล กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผู้ทรงคณุ วุฒิ ศาสตราจารยน์ ายแพทย์อาวธุ ศรศี กุ รกี รรมการ สภามหาวิทยาลยั ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ

กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยโดยตาํ แหน่ง กรรมการสภามหาวิทยาลยั ท/ีมาจากมาตรา 34(6) อธิการบดีมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ และมาตรา 34(C) ประธานคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลยั ประธานสภาอาจารย์ ประธานสภาพนกั งาน และ นายกสมาคมศษิ ย์เก่ามหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นวิ ัติ แกว้ ประดบั อธิการบดี นายบัญญตั ิ จนั ทนเ์ สนะ ประธานคณะกรรมการสง่ เสริม กจิ การมหาวิทยาลัย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.สทิ ธศิ ักด์ิ จนั ทรตั น์ นายคมกริช ชนะศรี นายสมพงษ์ เจริญสขุ ประธานสภาอาจารย์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ประธานสภาพนักงาน นายกสมาคมศิษยเ์ กา่ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร์

กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยท7มี าจากตาํ แหน่งบริหาร กรรมการสภามหาวิทยาลยั ท/ีมาจากมาตรา 34(K) กรรมการสภามหาวิทยาลยั จํานวน M คน ซ/ึง เลือกจากผู้ดํารงตําแหน่งรองอธิการบดี ซ/ึงรับผิดชอบการบริหารงานของวิทยาเขต จํานวน U คน จากผู้ ดํารงตําแหน่งรองอธิการบดีอื/น จํานวน U คน จากผู้ดํารงตําแหน่งคณบดี จํานวน C คน และจากผู้ดํารง ตําแหนง่ ผ้อู ํานวยการสถาบนั ผ้อู ํานวยการสาํ นกั หรือหวั หน้าสว่ นงานท/ีเรียกชื/ออยา่ งอื/นที/มีฐานะเทียบเทา่ สถาบนั หรือสาํ นกั จํานวน U คน รองศาสตราจารย์ นพ.พุฒิศกั ด์ิ พุทธวิบลู ย์ รองศาสตราจารย์อรัญญา เชาวลติ รองศาสตราจารย์ ดร.วโิ รจน์ ยรู วงศ์ คณบดีคณะแพทยศาสตร์ คณบดคี ณะพยาบาลศาสตร์ คณบดคี ณะอุตสาหกรรมเกษตร รองศาสตราจารย์ ดร.ปรศิ วร์ ยนิ้ เสน ศาสตราจารย์ ดร.ธีระพล ศรชี นะ คณบดีคณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ผอู้ ำนวยการสำนักวิจยั และพัฒนา

กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยท7มี าจากผู้ปฏบิ ตั งิ าน กรรมการสภามหาวิทยาลัยทม่ี าจากมาตรา 20(6) จำนวน 5 คน ซงึ่ เลือกจากคณาจารย์ประจำ ซง่ึ มใิ ช่ ผู้ ดำรงตำแหนง่ ตาม (3) (4) และ (5) จำนวน 4 คน และพนกั งานมหาวิทยาลยั ซึ่งมใิ ชค่ ณาจารย์ประจำ จำนวน 1 คน รองศาสตราจารย์ ดร.อนกุ ร ภู่เรืองรัตน์ คณาจารย์ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์พรศักด์ิ ดสิ นเี วทย์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สมพร ช่วยอารยี ์ ประจำ คณะวิทยาศาสตร์ คณาจารยป์ ระจำ คณะแพทยศาสตร์ ผู้คณาจารยป์ ระจำ คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รองศาสตราจารย์ ดร. พงศศ์ กั ดิ์ เหลา่ ดคี ณาจารย์ นางเปญจมาภรณ์ อภริ มยร์ ักษ์ ประจำคณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม พนักงานมหาวทิ ยาลัย ฝา่ ยเลขานุการสภามหาวทิ ยาลัย สงั กดั คณะแพทยศาสตร์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.พงคเ์ ทพ สุธรี วุฒริ อง อธกิ ารบดีฝา่ ยวางแผนและนโยบายสาธารณะ เลขานุการสภามหาวทิ ยาลยั ดร.อศิ รัฏฐ์ รินไธสง นางสุวิมล คงพล นางปัทมา กาญจนพงศ์ ผู้ช่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยกจิ การสภามหาวทิ ยาลัย ผอู้ ำนวยการกองกลาง หวั หนา้ งานการประชุม กองกลาง ผ้ชู ่วยเลขานุการสภามหาวิทยาลยั ผูช้ ่วยเลขานุการสภามหาวิทยาลัย ผ้ชู ว่ ยเลขานกุ ารสภามหาวทิ ยาลัย

โครงสร้างองค์กรกรรมการสภามหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ เพ/ือให้การดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัยเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สภามหาวิทยาลัยได้ ดําเนินแต่งตัง[ คณะกรรมการชุดต่าง โดยประกอบด้วยคณะกรรมการท/ีอาศัยอํานาจในข้อ 13 (1) และ คณะกรรมการตาม พรบ. มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2564 ดงั แสดงในแผนภาพ โครงสร้างความสัมพนั ธ์ระหว่างสภามหาวทิ ยาลัยและมหาวทิ ยาลัย โครงสร้ างความสมั พนั ธ์ระหว่างสภา มหาวิทยาลยั กบั มหาวิทยาลยั เป็นโครงสร้าง ความสมั พนั ธ์ในฐานะฝ่ ายหน/ึงเป็นกําหนดโน บายและแผน ผู้กํากับ ติดตาม และประเมิน การดําเนินงาน และ อีกฝ่ ายในฐานะเป็นฝ่ าย บริหารและดําเนินงานตามท/ีได้รับมอบหมาย ดงั กลา่ ว

การประชุมและวธิ ีดาํ เนินงานสภา มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ การประชุมและวิธีการดําเนินงานของสภา มหาวิ ทยาลัยสงขลานคริ นทร์ อาศัยอํ านาจตามข่อ บังคับมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ และวิธีการ ดําเนินงานของสภามหาวทิ ยาลยั พ.ศ. 2562 สาระสําคญั ของข้อบงั คบั นีป[ ระกอบด้วยทงั[ หมด 8 หมวด โดย หมวด 1 เก/ียวกับได้กําหนดอํานาจหน้าที/ของนายกสภามหาวิทยาลยั อุปนายกสภามหาวิทยาลยั และ เลขานกุ ารของสภามหาวิทยาลยั โดยนายกสภามหาวิทยาลยั เป็นประธานการประชมุ และมีอํานาจออก คําสง/ั ใด ๆ ตามคําวามจําเป็นเพ/ือประสิทธิภาพและความเรียบร้ อยของการระชุม ในขณะที/อุปนายกมี อํานาจหน้าที/ช่วยนายกสภามหาวิทยาลยั ในกิจการทว/ั ไปหรือตามที/ได้รับมอบหมาย ส่วนเลขานกุ ารสภา มหาวิทยาลยั มีหน้าที/ในการประสานงานทว/ั ไปเก/ียวกบั การดําเนินงานของสภามหาวิทยาลยั และหน้าที/อื/น ที/เกี/ ยวข้ องกับการประชุมสภามหาวิทยาลัย หมวด 2 การเลือกอุปนายกสภามหาวิทยาลัย หมวด 3 การกําหนดการประชมุ ซง/ึ ได้กําหนดไว้ ให้มีการประชุมอย่างน้อยปีละ 6 ครัง[ หมวด 4 ระเบียบวาระการประชุมและขัน[ ตอนการ นําเสนอเรื/อง โดยกําหนดให้ผ้มู ีสทิ ธิในการเสนอ เ รื/ อ ง เ ข้ า ร ะ เ บี ย บ ว า ร ะ ก า ร ป ร ะ ชุม ส ภ า มหาวิทยาลยั ได้แก่ นายกสภามหาวิทยาลยั อธิ กาบดี และกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ห ม ว ด 5 เ กี/ ย ว กั บ วิ ธี ก า ร ป ร ะ ชุ ม ส ภ า มหาวิทยาลัย โดยสถานท/ีประชุมจะมิได้อยู่ สถานท/ีเดียวกนั ก็ได้ องค์ประชุมไม่น้อยกว่าก/ึง หน/ึงของจํานวนกรรมการสภามหาวิทยาลัย ทงั[ หมด หมวด 6 เก/ียวกบั การลงมติ โดยกรณีที/ ประชมุ ต้องลงมติ ให้ประธานขอให้ที/ประชมุ ลง มิติ โดยมติให้เป็นไปตามเสียงข้างมา กระทํา โดยเปิดเผย เว้นแต่ที/ประชุมให้กระทําเป็นการ ลบั หมวด 7 เก/ียวกบั การประชมุ ลบั การประชมุ ลบั สามารถดําเนินการได้โดยกรรมการมีเสียงไม่ น้อยกว่าหนึ/งในส/ีให้ประชุมลับ และหมวด 8 เก/ียวกบั การจดั ทํารายงานการประชมุ โดยให้จดั ในวาระการประชมุ เพื/อรับรองรายงานการประชมุ ในครัง[ ตอ่ ไป

งบประมาณรายจ่ายมหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ (หนว่ ย: ล้านบาท) -20.52 % เงนิ แผน่ ดนิ 25622 -11.07 % 2563 -3.61 % 25264 -6.28 % 22565 2 เงนิ รายได้ 2562 2 14.60 % 2563 2.71 % 2564 6.19 % 25625 2 2 24.99 % งบประมาณโดยรวมย้อนหลงั พบว่ามหาวิทยาลยั ได้รับจดั สรรงบประมาณเงินแผนดินลดลงทกุ ปี ทําให้ต้องใช้งบประมาณเงินรายได้สบทบเงินงบประมาณเพ/ิมขึน[ ทกุ ปีดเพ/ือเพียงพอต่อการบริหารกิจการ มหาวิทยาลยั หากเทียบปีงบประมาณปี 2562 กบั ปี 2565 งบประมาณแผน่ ดินลดลงร้อยละ 20.52 ขณะที/ ใช้งบประมาณเงินรายได้สบทบเพิ/มขนึ [ ร้อยละ 24.99 งบประมาณรายจ่ายเงินรายได้ประจําปี งบประมาณ 3KmK มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ งบประมาณแผ่นดิน K,Uo4.UCo3 ล้านบาท งบประมาณประจําปีงบประมาณ 3KmK ของมหาวิทยาลยั จํานวน UC,3Mp.3CM3 เป็นงบประมาณลักษณะขาดดุล เนื/องจากมีรายรับน้อยกว่ารายจ่าย จํานวน 1,KK6.o43m ล้านบาท



ตอนทีA 2 ผลการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลยั ตอนที่ 2 ผลการดำเนินงานของสภามหาวิทยาลัย พ.ศ.2561-2563 ผลการประชุม ผลลัพธ์การดาํ เนินงานของสภามหาวทิ ยาลัย o บทบาทกําหนดนโยบายและแผนพฒั นาของมหาวิทยาลยั o บทบาทในการเป็นคลงั สมองเพAือการปรับเปลยAี นมหาวิทยาลยั o บทบาทในการขบั เคลอAื นงานวิชาการวิชาการ o บทบาทในด้านการเงินและทรัพย์สนิ o การกําหนดทิศทางการบริหารและจดั การทรัพยากรมนษุ ย์ o การนํานวตั กรรมการตดิ ตามและประเมินผลสบู่ ริบทองค์กรทีAมี ความซบั ซ้อน o ออกแบบ ขบั เคลอAื นและพฒั นามหาวิทยาลยั โดยผา่ นข้อบงั คบั ระเบียบ และประกาศ o การกํากบั ดแู ลความโปร่งใสและคณุ ธรรมในองค์กร o การตดิ ตามผลกระทบของสถานการณ์วิกฤติ COVID-19

ผลการประชุม เมื/อพิจารณาผลการประชุม (output) ตลอดระยะเวลา 3 ปี และรักษาการ (2561-2564) คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ดําเนินการประชมุ ทงั[ หมด จํานวน 29 ครัง[ โดยมีการประชมุ เดือนเว้นเดือน โดยประชุมในสปั ดาห์ท/ี 3 ของเดือนประชุม มีประชุมนัดพิเศษเพื/อหารือเก/ียวกับสถานการณ์ COVID-19 จํานวน 1 ครัง[ และ การประชุมเพื/อทบทวนการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลยั จํานวน 2 ครัง[ โดยรวม เมื/อจําแนกตามวาระการประชมุ มีเร/ืองแจ้งเพื/อทราบจนําวน 124 เร/ือง เรื/องสืบเนื/องจํานวน 16 เรื/อง เร/ือง พิจารณาเชิงนโยบายจํานวน 29 เรื/อง และเรืองพิจารณาจํานวน 345 เร/ือง

ผลลัพธ์การดาํ เนินงานของสภามหาวทิ ยาลัย ผลการดําเนินงานของสภานําสู่ผลลัพธ์ (outcome) จํานวนมากต่อการบริหารกิจการของ มหาวิทยาลยั โดยเฉพาะโดยอย่างอยิ/งนโยบายหรือโครงการขนาดใหญ่ที/มีผลกระทบ(impact)ต่อชุมชน สงั คม รวมทงั[ ประเทศชาติโดยรวม โดยการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลยั เป็นไปตามอํานาจหน้าท/ีตาม ข้อ 23 แหง่ พรบ.มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 พอสรุปได้ดงั นี [ บทบาทกาํ หนดนโยบายและแผนพฒั นาของมหาวทิ ยาลัย กล่าวได้ว่าการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลัยในช่วง พ.ศ. 2560-2563 เป็นช่วงที/มีการ เ ป ล/ี ย น แ ป ล ง ม า ก ท/ี สุด ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลัย เ นื/ อ ง จ า ก เ ป็ น ก า ร เ ป ลี/ ย น แ ป ล ง ต า ม พ ร บ . มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 โดยเป็นการเปล/ียนแปลงจากมหาวิทยาลัยของรัฐสู่การเป็น มหาวิทยาลยั ในกํากบั ของรัฐ ในช่วงของการเปล/ียนแปลงดงั กลา่ วการกําหนดนโยบายและแผนพฒั นาของ มหาวิทยาลยั จงึ เป็นสิ/งสําคญั ย/ิง และมีความหมายตอ่ ทิศทางของมหาวิทยาลยั และเป็นอํานาจหน้าที/ของ สภามหาวิทยาลยั ตาม (1) ตามมาตรา 23 แหง่ พรบ. มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2559 จงึ กลา่ วได้ ว่าเป็นบทบาทที/สําคญั ยิ/งของสภามหาวิทยาลยั ซง/ึ ตลอดช่วงการดําเนินงานของสภามหาวิทยาลยั ในช่วง 2561-2563 ตามวาระ และช่วงรักษาการ พ.ศ. 2564 ได้ให้นโยบายสําคญั ทีหลายนโยบาย ซึ/งในแต่ละ นโยบายล้วนแต่ทําให้เกิดการเปลี/ยนแปลง นําไปส่กู ารบรรลยุ ทุ ธศาสตร์ นอกจากจะสภามหาวิทยาลยั ได้ ให้นโยบายแล้วยงั ให้ข้อคิดที/เป็นประโยชน์ตอ่ การขบั เคลื/อนนโยบายดงั กลา่ วด้วย ซงึ/ นโยบาย สาระสําคญั และข้อคิดในการขบั เคลื/อนนโยบายที/สภามหาวิทยาลยั ได้ให้ไว้ จะนํามาเพียงนโยบายเท่านนั[ ได้แก่ การ บริหารจัดการพืน[ ท/ีทุ่งใสไชสู่การเป็นพืน[ ท/ีนวัตกรรมเพื/อสังคมในรูปแบบวิทยาลัยนวัตกรรมเกษตร ทรั พยากรทะเลและชายฝ/ั ง (College of Agricultural, Marine and Costal Resource Innovation) แผนงานและยุทธศาสตร์ศูนย์สขุ ภาพนานาชาติอนั ดามนั มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ส่ ว น น โ ย บ า ย อื8 น ๆ ส า ม า ร ถ ดู ล ะ เ อี ย ด เ พ8ิ ม เ ติ ม ไ ด้ จ า ก เ ว็ บ ไ ซ ต์ ข อ ง สํ า นั ก ง า น ส ภ า http://www.psucouncil.psu.ac.th ได้ด้งนี ^

ความก้าวหนา้ ของโครงการ ระยะท่ี 1 เริ่มดำเนนิ โครงการปี 2562 โครงการพฒั นาทรัพยากรชายฝ่ังด้วยการปลกู มะพร้าวนำ้ หอมในพ้ืนท่ีดนิ เค็ม และน้ำกรอ่ ย 2,019,200 บาท โครงการพัฒนาทรพั ยากรชายฝงั่ ต้นแบบการ เล้ียงปลานิล ในร่องสวนปาล์มน้ำมนั 1,919,100 บาท โครงการเพาะเล้ยี ง สาหร่ายเชงิ พาณิชย์เพ่อื การถ่ายทอด องคค์ วามร้แู ก่เกษตรกร 534,500 บาท และโครงการวจิ ัยและพัฒนาการเพาะเล้ียงกงุ้ ขาวรว่ มกับปลานลิ ทะเล 13,601,700 บาท ระยะท่ี 2 เริม่ ดำเนนิ โครงการ ปี 2563 โครงการวิจัยและพฒั นารปู แบบความหลากหลายทางทรัพยากรชายฝัง่ โดยการปลกู สม้ โอทบั ทมิ สยามรว่ ม ในแปลงมะพร้าวนำ้ หอม ในพ้นื ทอ่ี ำเภอไชยา จงั หวัดสุราษฎรธ์ านี 966,500 บาท โครงการวจิ ยั การผลิตและปรับปรงุ พนั ธหุ์ อยทะเลเศรษฐกิจ 5,718,600 บาท ระยะท่ี 3 เรมิ่ ดำเนนิ โครงการ ปี 2564 โครงการนวัตกรรมการเพาะเลี้ยงปูทะเลในระบบน้ำหมุนเวียน ระยะที่ 1 การ เลี้ยงปูในบ่อดิน เพื่อให้ได้ขนาดตลาด(Marketable-size crab) เพื่อคัดเลือกพ่อ การบริหารจดั การพนืB ท7ที ่งุ ใสไชสู่การเป็ นพนืB ท7ี แม่พันธุ์ และการเก็บรักษาสายพันธุ์ 1,739,690 บาท โครงการแปลงสาธิต นวัตกรรมเพ7อื สังคมในรูปแบบวทิ ยาลัยนวัตกรรม อินทผลัมเพื่อการพัฒนาการเพาะปลูกในพื้นที่ทุ่งใสไช 647,900 บาท โครงการ การเพาะเลี้ยงสาหร่ายเชิงพาณิชย์เพื่อการถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกร เกษตรทรัพยากรทะเลและชายฝ7ัง ระยะที่ 2 โครงการย่อย : การพัฒนาระบบการเพาะเลี้ยงสาหร่ายผมนางเพื่อการ (College of Agricultural, Marine and Costal แปรรูปเชิงพาณิชย์ 300,500 บาท โครงการการเพาะเลี้ยงสาหร่ายเชิงพาณิชย์เพื่อ Resource Innovation) การถ่ายทอดองค์ความรู้แก่เกษตรกร ระยะที่ 2 โครงการย่อย : การพัฒนา สภามหาวิทยาลยั ให้ความเห็นชอบในการประชมุ ครัง[ ที/ ผลิตภัณฑ์อาหารเพิ่มมูลค่าจากสาหร่ายผมนาง 350,000 บาท โครงการปลูกป่า 411(1/2563) วันเสาร์ที/ Up มกราคม 3Km6 เพ/ือการ เสริมสร้างป่าไม้มีค่าพะยูง และไม้อัตลักษณ์ถิ่นใต้ต้นสะตอ โดยการใช้ระบบน้ำ ถ่ายทอดส่ภู าคการผลิต ภาคธุรกิจ ภาคประชาชนและ หยด จากขวดพลาสตกิ ใชแ้ ลว้ 199,000 บาท องค์กรภาครัฐ โดยใช้ ศักยภาพทางวิชาการ ความ เช/ียวชาญของบคุ ลากร เครือขา่ ยความร่วมมือทงั[ ในระดบั ชาติและนานาชาติร่วมกบั ฐานทรัพยากรท/ีสําคญั ของพืน[ ท/ีท่งุ ใสไช ตําบลพมุ เรียง อําเภอไชยา จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี ซง/ึ มีเนือ[ ที/ 3,3om ไร่ U งาน 3M ตารางวา ซงึ/ มีทําเลและลกั ษณะทางภมู ิศาสตร์ท/ีเหมาะสมในการวิจยั และพฒั นานวตั กรรม การสร้างองค์ความรู้ด้าน การเกษตร อุตสาหกรรมประมง เทคโนโลยีอาหาร และการท่องเที/ยว โดยเสนอแผนการดําเนินงานใน รูปแบบวิทยาลัยนวัตกรรมเกษตรทรัพยากรทะเลและชายฝั/ง (College of Agricultural, Marine and Costal Resource Innovation) ท/ีมีรูปแบบการบริหารจัดการท/ีเป็นอิสระเพ/ือให้เกิดความคล่องตัวและ ยืดหยนุ่ ในการบริหารจดั การภายใต้หลกั ธรรมาภิบาล โครงการการพัฒนาพืน[ ที/ทุ่งใสไช ได้ดําเนินการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมแนวหน้า (Frontier Research & Innovation) ผ่าน C แผนงานย่อย คือ แผนงานด้านการเพาะเลีย[ งสตั ว์นํา[ แผนงานประมง ชายฝ/ัง แผนงานอตุ สาหกรรมประมง และแผนงานการปลกู พืชและสตั ว์เลีย[ งเศรษฐกิจ โดยใช้รูปแบบการ บริหารจดั การท/ีเป็นอิสระเพ/ือให้เกิดความคล่องตวั และยืดหย่นุ ในการบริหารจดั การภายใต้หลกั ธรรมาภิ บาล ตลอดจนผลผลิตและผลลพั ธ์ท/ีได้จากโครงการจะสง่ ผลกระทบเชิงบวกตอ่ การพฒั นาเศรษฐกิจ สงั คม ของพืน[ ท/ีและประเทศ โดยสามารถเพิ/มรายได้ให้กับเกษตรกร ผู้ประกอบการทุกภาคส่วนท/ีเก/ียวข้องซ/ึง สง่ ผลตอ่ การเพิ/ม GDP ของประเทศ

แผนงานและยุทธศาสตร์ศูนย์สุขภาพนานาชาตอิ ันดามัน มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร์ วทิ ยาเขต ภเู กต็ สภามหาวิทยาลยั ให้ความเหน็ ชอบในหลกั การในคราวประชมุ ครังe ทีC xyy(y/{|}~) วนั เสาร์ทCี y มกราคม {|}~ ตามที/ท/ีประชมุ สภามหาวิทยาลยั ในคราวประชมุ ครัง[ ท/ี C4K(U/3Km3) เมื/อวนั ที/ U3 มกราคม 3Km6 ตามข้อเสนอแนะของคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ที/ 6 ประเด็นการเพิ/ม ประสิทธิภาพการบริหารจดั การโดยเฉพาะเสถียรภาพด้านการเงิน โดยมอบหมายให้วิทยาเขตหาดใหญ่ และวิทยาเขตภเู ก็ตสง่ เสริมให้มีการจดั ตงั[ Medical Hub โดยการร่วมลงทนุ กบั มืออาชีพ ใช้ทรัพยากรท/ีมีอยู่ และการมีส่วนร่วมกับหน่วยงานและคณะต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย ตามหลักการ PSU System ซ/ึง มหาวิทยาลยั ได้ดําเนินการแต่งตงั[ คณะกรรมการโครงการศนู ย์สขุ ภาพนานาชาติภเู ก็ต เพ/ือขบั เคล/ือนการ ดําเนินงานโครงการฯ โดยโครงการศูนย์สุขภาพนานาชาติอันดามันฯ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ ยทุ ธศาสตร์ภาคใต้ ยทุ ธศาสตร์กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม และยทุ ธศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นอกจากนีส[ ภามหาวทิ ยาลยั ได้ให้ข้อคดิ เหน็ /ข้อสงั เกตของกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั โดยสรุป โครงการศนู ย์สขุ ภาพนานาชาติอนั ดามนั มีความเหมาะสมในมิติยทุ ธศาสตร์ที/จะเป็นศนู ย์สขุ ภาพ (Medical Hub) ของไทย และการฟื [นฟูเศรษฐกิจภูเก็ต ในเอกสารท/ีนําเสนอโครงการนีจ[ ะต้องลงทุน ประมาณ K.U พันล้านบาท เป็นโครงการท/ีต้องใช้งบประมาณในการดําเนินงานจํานวนมาก ดังนัน[ มหาวิทยาลยั ต้องทําแผนธุรกิจ (Business Plan) และการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) ควร พิจารณางบประมาณด้านการเงินอย่างรอบคอบ เพ/ือไม่ให้เกิดปัญหาและเกิดผลกระทบกับการบริหาร วิทยาเขตอื/น ๆ ในระยะยาว ไม่ควรทํางานแข่งกบั ภาคเอกชน แต่ควรเป็นลกั ษณะการเสริมบริการ และ ศนู ย์สขุ ภาพนานาชาตอิ นั ดามนั ต้องทํางานร่วมกบั ภาคสว่ นตา่ ง ๆ ท/ีทํางานด้านสขุ ภาพ ในจงั หวดั ภเู ก็ต ศนู ย์สขุ ภาพนานาชาติอนั ดามนั ต้องกําหนดรูปแบบให้ชดั เจนว่าจะเป็นการให้บริการ ในระดบั ไหน แบบบคุ คลทว/ั ไปสามารถเข้ารับบริการได้ หรือเป็นระดบั พรีเมียม นอกจากนีก[ ารจดั ทําโรงเรียนแพทย์ นานาชาติ (International Medical School) มหาวิทยาลยั สามารถดําเนินการได้โดยใช้งบประมาณจํานวน ไมม่ ากนกั และจะทําให้มหาวิทยาลยั เข้าสกู่ ารเป็นนานาชาติ โดยคณะตา่ ง ๆ ท/ีเปิดสอนสาขาวิทยาศาสตร์ สขุ ภาพของมหาวิทยาลยั สามารถมาร่วมกนั จดั ทําหลกั สตู รและดําเนินงานร่วมกนั และใช้โรงพยาบาลใน พืน[ ที/จงั หวดั กระบ/ีและจงั หวดั พงั งาเป็นสถานท/ีฝึกปฏิบตั งิ าน จงั หวดั ภเู ก็ตเป็นสมาร์ทซติ ี [(Smart City) หาก ศูนย์สุขภาพนานาชาติอันดามันนําดิจิทัลแพลทฟอร์ม (Digital Platform) ไปรวมกับสมาร์ทซิตี [ (Smart City) จะเป็นประโยชน์ในการดําเนินงาน เช่น การใช้ดิจิทลั แพลทฟอร์มในการตรวจรักษาเบือ[ งต้น เป็นต้น การก่อสร้างโรงพยาบาลขนาด 644 เตียง ต้องใช้ระยะเวลาในการดําเนินงานตงั[ แต่การศกึ ษาความเป็นไป ได้ของโครงการจนสามารถเปิดให้บริการได้ จะใช้เวลาประมาณ m ปี สว่ นการจดั ตงั[ Wellness Center ควร ดําเนินการหลงั สดุ เนื/องจากยงั ไม่มีความพร้อมด้านสถานท/ีดําเนินงานในด้านการผลิตบณั ฑิต วิทยาเขต ภูเก็ตไม่ควรผลิตบัณฑิตเอง แต่ควรให้ คณะเดิมที/จัดการศึกษาเป็นฐานในการผลิตบัณฑิตสาขา วิทยาศาสตร์สขุ ภาพ

Ø ความคืบหน้าการดาํ เนินงาน 1. โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภเู ก็ต การออกแบบและโครงสร้ าง - วงเงินงบประมาณโครงการ R,TUV,TUV,TUR บาท - มหาวิทยาลยั ฯ อนมุ ตั เิ งินคา่ จ้างออกแบบ โรงพยาบาล วงเงิน WW,RXW,RXW บาท เมื@อวันที@ RW กันยายน RXZT กําหนดให้ผู้ให้บริการออกแบบยื@นเสนอกรอบแนวคิดการออกแบบให้ กรรมการพิจารณาคดั เลอื กผ้อู อกแบบ ได้ บ.สถาปนิกชมุ ชนและสง@ิ แวดล้อม อาศรมศลิ ป์ จํากดั 2. วิทยาลยั สขุ ภาพนานาชาติ การออกแบบและโครงสร้ าง - วงเงินงบประมาณโครงการปรับปรุงอาคาร 63,000,000 บาท - มหาวิทยาลยั ฯ อนมุ ตั ิเงินค่าจ้างออกแบบปรับปรุงพืนc ที@อาคารศนู ย์การจดั การเรียนการสอนนานาชาติ และพฒั นานกั ศกึ ษา วิทยาเขตภเู ก็ต (อาคาร 9) เป็น วิทยาลยั สขุ ภาพนานาชาตอิ นั ดามนั วงเงิน 2,520,259 บาท เม@ือวนั ท@ี 17 กนั ยายน 2564 กําหนดให้ผ้ใู ห้บริการออกแบบยื@นเสนอแนวคิดการออกแบบให้กรรมการ พิจารณาคดั เลอื กผ้อู อกแบบ ได้บริษัท PMC 3. ศนู ย์ทนั ตกรรมดจิ ิทลั สงขลานครินทร์ การออกแบบและโครงสร้ าง - วงเงินงบประมาณโครงการปรับปรุงอาคาร 64,000,000 บาท - มหาวิทยาลยั ฯ อนมุ ตั ิเงินคา่ จ้างออกแบบปรับปรุงพืนc ที@อาคารศนู ย์บริการวิชาการ (ท@ีสะพานหิน) วิทยาเขต ภเู ก็ต เป็นศนู ย์ทนั ตกรรมดจิ ิทลั วงเงิน 4,480,000 บาท เม@ือวันท@ี 15 กันยายน 2564 กําหนดให้ผู้ให้บริการออกแบบย@ืนเสนอกรอบแนวคิดการออกแบบให้ กรรมการพิจารณาคดั เลือกผู้ออกแบบ ซึ@งยงั ไม่มีผู้ผ่านชนะการเขียนแบบตามความเห็นของกรรมการ ต้องรอ ดําเนินการใหม่ 4. ศนู ย์บริการเทคนิคการแพทย์ การให้บริการ Ø การให้บริการตรวจ covid-19 1. วิธี Rapid Antigen test หรือ ATK 50 สามารถให้บริการได้สงู สดุ วนั ละ 50 ราย มีผ้ใู ช้บริการเฉลี@ย วนั ละ 20-30 ราย/วนั 2. วิธี RT-PCR สามารถให้บริการได้สงู สดุ วนั ละ 200 ราย มีผ้ใู ช้บริการเฉลยี@ วนั ละ 5-10 ราย/วนั

กลยุทธ์การขับเคล7ือนมหาวทิ ยาลัย โดยใช้ผลการจดั อันดบั มหาวทิ ยาลัยโลก สภามหาวิทยาลยั ให้ความเหน็ ชอบในคราวประชมุ ครังc ท@ี TVW(R/RXZT) วนั เสาร์ที@ RÅ มีนาคม RXZT ) ตามที/ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ ได้ เข้ าร่ วมการจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกของสถาบัน QS(Quacquarelli Symonds), THE(Time Higher Education) แ ล ะ ARWU (Academic Ranking of World Universities) ซึ/งมีความสําคัญต่อมหาวิทยาลัยเป็นอย่างยิ/ง เน/ืองจากเป็นตัวสะท้อนผลการ ดําเนินงานของมหาวิทยาลยั ในแง่ของด้านการเรียนการสอน ด้านวิจยั ด้านบริการวิชาการ และด้านความ เป็นนานาชาติของมหาวิทยาลยั ซง/ึ สอดคล้องกบั วิสยั ทศั น์และพนั ธกิจของมหาวิทยาลยั ในด้านความเป็น เลิศทางวิชาการ นกั เรียน นกั ศึกษา ทงั[ ในและต่างประเทศ โดยแต่ละสถาบนั การจดั อนั ดบั จะมีตวั ชีว[ ดั ใน ด้านต่าง ๆ ที/แตกต่างกนั รวมไปถึงในปัจจบุ นั กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรม มี การจดั สรรงบประมาณผ่านโครงการพลิกโฉมมหาวิทยาลยั (Reinventing university) ในสว่ นของกลมุ่ การ วิจยั ระดบั แนวหน้าของโลกจะพิจารณาจากผลการจดั อนั ดบั มหาวิทยาลยั โลก ซง/ึ กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วิจยั และนวตั กรรมท/ีกําหนดให้มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลยั ที/อย่ใู นกล่มุ พัฒนาการวิจัยระดบั แนวหน้าของโลก (Global and Frontier Research) และเห็นชอบการสนับสนุนให้ มหาวิทยาลยั มีกลยทุ ธ์ในการขบั เคลอ/ื นอนั ดบั (Ranking) ข้อคดิ เหน็ /ข้อสงั เกตสาํ คญั ของสภามหาวิทยาลยั ตอ่ การขบั เคลอ/ื น การจดั อนั ดบั มหาวิทยาลยั (Ranking) เป็นเคร/ืองมือชีว[ ดั ด้านคณุ ภาพของมหาวิทยาลยั สําหรับ การกําหนดกลยทุ ธ์ในการขบั เคล/ือนอนั ดบั (Ranking) มหาวิทยาลยั ควรศกึ ษาวา่ จะวางแผนการขบั เคล/ือน อนั ดบั (Ranking) อยา่ งไร ควรดําเนินการอะไรก่อนและหลงั และต้องให้ทกุ คณะและสว่ นงานของทกุ วิทยา เขตร่วมกันขับเคล/ือนในทิศทางเดียวกัน จากการวิเคราะห์ศักยภาพมหาวิทยาลัยของไทย หากไป เปรียบเทียบกบั World University Ranking จะเห็นว่ามหาวิทยาลยั ของไทยมีข้อแตกต่างและข้อจํากดั ใน หลายด้าน ทงั[ ด้านงบประมาณ ระเบียบข้อบงั คบั บคุ ลากร ซงึ/ แตกต่างจากมหาวิทยาลยั ต่างประเทศเป็น อยา่ งมาก เพราะฉะนนั[ มหาวิทยาลยั ต้องกําหนดเปา้ หมายที/ชดั เจนร่วมกนั ก่อน และต้องมีการรวมพลงั จาก ทกุ คณะ/สว่ นงาน ท/ีจะมงุ่ ไปในทางเดียวกนั สาํ หรับการมงุ่ ไปสู่ World University Ranking นนั[ ในขณะนีม[ หาวิทยาลยั มีปัญหาผ้เู รียนในสาขาวิชาตา่ ง ๆ ลดน้อยลง ยกเว้นในสาขาด้านการแพทย์ มหาวิทยาลยั ควรศกึ ษาว่าการขบั เคล/ือนอนั ดบั (Ranking) ให้ดีขึน[ จะทําให้มีผ้สู นใจเลือกมาเรียนท/ี ม.อ. เพิ/มขึน[ หรือไม่ มหาวิทยาลยั มีศกั ยภาพในด้านการเกษตร อาหาร สขุ ภาพ การแพทย์ หากมหาวิทยาลยั มี Talent Staff จะสามารถดึง Talent Student ผู้เรียนท/ีมีคุณภาพสูงเข้ามาได้ ทัง[ นี [ มหาวิทยาลัยต้องมี หลักสูตรที/มีคุณภาพ ซ/ึงมหาวิทยาลัยต้องคัดเลือกหลักสูตรคุณภาพดี มีจุดเด่น มหาวิทยาลัยต้อง Engagement กับภาคอุตสาหกรรม อาจารย์ผู้สอนทําวิจัยที/สามารถสร้ างผลงานวิจัยหรือนวัตกรรมท/ี นําไปใช้ประโยชน์ได้จริง ซ/ึงมหาวิทยาลยั ต้องหาคนเก่งและสนบั สนนุ ให้คนเก่ง มีโอกาสทํางานดงั กล่าว มหาวิทยาลยั ควรสนบั สนนุ ให้มีการแปลผลงานวิจยั ด้านสงั คมศาสตร์ (Social Science) ผลงานวิจยั ทาง วัฒนธรรมท/ีมีคุณภาพเป็นภาษาอังกฤษ เพื/อจะช่วยให้มีผลงานตีพิมพ์สาขาสังคมศาสตร์เพิ/มมากขึน[ นอกจากนีค[ วรสนบั สนนุ ให้มีการเคลื/อนย้ายบคุ ลากร (Mobility) เพื/อเปิดโอกาสให้คนที/มีประสบการณ์จาก ภายนอกสามารถมาเป็นผ้สู อนหรือทําวิจยั ร่วมกบั มหาวิทยาลยั ได้ รวมทงั[ มหาวิทยาลยั ควรปรับปรุงแก้ไข ระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ให้บุคลากรของมหาวิทยาลยั สามารถทํางานได้หลายแห่ง เพ/ือนําความรู้และ ประสบการณ์มาใช้ในการพฒั นางาน ทงั[ ด้านการเรียนการสอน การวจิ ยั และนวตั กรรมตอ่ ไป

บทบาทในการเป็ นคลังสมองเพFอื การปรับเปลFียนมหาวทิ ยาลัย ท/ีประชมุ สภามหาวิทยาลยั ในคราวประชมุ ครัง[ ที/ C4m(3/3Km3) เม/ือวนั ท/ี Um มีนาคม 3Km3 ในวาระ การพิจารณาแผนยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ.3KmU - 3KmK มีมติเห็นชอบให้ตัง[ คณะทํางานคลงั สมองฯ (Think Tank) เพื/อทําหน้าท/ีเป็นเวทีระดมความเห็น ที/ปรึกษา และให้ข้อเสนอแนะ ต่อมหาวิทยาลยั เพื/อสนบั สนนุ ให้มหาวิทยาลยั ก้าวข้ามข้อจํากดั ในรูปแบบวิธีการทํางานแบบเดิม ๆ ไปสู่ การสร้างวิถีวฒั นธรรมใหม่ท/ีสามารถสอดรับกบั การเปล/ียนแปลงที/จะเกิดขึน[ ในอนาคต คณะทํางานคลงั สมองฯ ได้มีแนวทางในการทํางานโดยควรกําหนดประเด็นวาระ (agenda) เป็นรายปี มีการกําหนด ยทุ ธศาสตร์ท/ีชดั เจนพร้อมทงั[ ให้มีการกํากบั ระยะเวลา (time frame) ที/กําหนดโดยนายกสภามหาวิทยาลยั และขบั เคล/ือน (drive) การเปล/ียนแปลงใน ม.อ. ให้เกิดขึน[ โดยพิจารณาเลือกทําตามลําดบั ความสําคญั และขับเคลื/อน (move) อย่างต่อเนื/องจนประสบความสําเร็จกับการใช้วิธีการแบบคิดใหม่ทําใหม่ และ พิจารณาว่าสิ/งใดเป็นอุปสรรค/ถ่วงการทํางาน และแก้ปัญหาในส่วนนัน[ ไปพร้ อมกัน ซ/ึงฐานวิธีการคิด จะต้องประกอบด้วย การวางเปา้ หมายสําคญั ในอนาคตท/ีมหาวิทยาลยั ต้องบรรลุ (achieve) ให้ได้ ตวั อยา่ ง สิ/งท/ีต้องทําให้ได้ เช่น 1) ผลงานวิชาการของอาจารย์ต้องเป็น 1.2 paper/คน/ปี 2) การเรียนการสอนต้อง เป็น Active Learning อยา่ งแท้จริงและมาตรฐานเดียวกนั ซง/ึ ทําให้นกั ศกึ ษามีความสนกุ และเกิดแรงบนั ดาล ใจหรือ 3) การสร้าง good citizen โดยผ่านบรรยากาศ campus life ต้องเป็นไปได้ และเกินกว่า (Beyond) สง/ิ ที/คาดหวงั ไว้ คณะทํางานให้ หลักคิดในหลาย ประเด็น เช่น 1) การกําหนดโครงสร้ างส่วนงานของ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ คณะทํางานคลงั สมองฯ เห็นว่ายงั ไม่สามารถกําหนดตายตวั ได้ เนื/องจากอยู่ ในสภาวะของการเปลี/ยนแปลง ควรมีการบริหารแบบ Sandbox ซงึ/ เป็นการทํางานไปเรียนรู้ไป คณะทํางาน คลงั สมองฯ ให้เสนอโครงสร้างเข้าท/ีประชมุ สภามหาวิทยาลยั เพื/อพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยนําเสนอ เฉพาะชื/อสว่ นงานเพื/อนําไปประกาศในราชกิจจานเุ บกษา สว่ นรายละเอียดหน่วยงานภายในสว่ นงานยงั ไม่ ต้องเสนอ เนื/องจากยงั มีการเปลี/ยนแปลงอีกมาก พร้อมนี [ท/ีประชมุ ยงั ให้ข้อเสนอแนะเพ/ิมเติมวา่ ควรมีการ วิ เ ค ร า ะ ห์ รู ป แ บ บ ก า ร บ ริ ห า ร ม ห า วิ ท ย า ลัย ว่า รู ป แ บ บ ไ ห น เ ห ม า ะ ส ม ที/ สุด (The Best) กับ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ เชน่ ประเดน็ ระหวา่ ง 1 มหาวทิ ยาลยั 4 วิทยาเขต กบั 1 มหาวทิ ยาลยั 5 วิทยา เขต หรือรูปแบบอ/ืน โดยอาจเทียบเคียงตวั อย่าง เช่น มหาวิทยาลยั แคลิฟอร์เนีย เป็น 6+0 โดย ส่วนกลางมี President และมี Chancellor เทา่ กนั คณะทํางานคลังสมอง ฯ ได้พิจารณาให้ข้อคิดสําคัญถึงรูปแบบโครงสร้ างที/จะนําเสนอสภา มหาวิทยาลยั ควรม่งุ การอภิปรายในภาพใหญ่ โดย 1) โครงสร้างของมหาวิทยาลยั ต้องสะท้อนความเป็น ระบบ (Systematic) มีการยกระดับสํานักงานอธิการบดีให้เป็นสํานักงานกลางของมหาวิทยาลัยอย่าง แท้จริง ดแู ลนโยบายทงั[ หมด 5 วิทยาเขต และพิจารณาวา่ หนว่ ยงานอะไรบ้างอยใู่ นระดบั มหาวิทยาลยั และ มีการกําหนดว่า วิทยาเขตใหญ่ต้องมีอะไร และวิทยาเขตเล็กจําเป็นต้องมีอะไร 2) ควรแยกเนือ[ งานของ สํานักงานวิทยาเขตหาดใหญ่ออกจากกสํานักงานอธิการบดี เพราะวิทยาเขตหาดใหญ่ต้องมีระบบการ บริหารของตนเองภายในวิทยาเขต ต้องมี 2 หน่วยงาน ท/ีทําหน้าที/แตกต่างกนั เพ/ือให้เกิดความชดั เจนใน การบริหารมหาวิทยาลยั ในรูปแบบ 5+1 3) การกําหนดโครงสร้ างภายในส่วนงานวิชาการเป็นหน่วยงาน 4 ประเภท การกําหนดให้เป็นแบบ One Size Fit All อาจทําให้เกิดข้อจํากัด คือ 1) อาจเป็นการกําหนด โครงสร้ างที/แข็งเกินไป ไม่มีความยืดหยุ่น และไม่เป็นไปตามบริบทของส่วนงานนัน[ ๆ 2) ลักษณะการ กําหนดชดั เจนดงั กล่าวอาจทําให้ระบบการทํางานภายในขาดการบูรณาการร่วมระหว่างสํานกั งานทงั[ 4

ประเภท และ 3) ในทางปฏิบตั ิอาจก่อให้เกิดการเพ/ิมชนั[ ของการบงั คบั บญั ชาและเพิ/มจํานวนผ้บู ริหารของ ส่วนงานเกินความจําเป็น 4) ให้แต่ละส่วนงานออกแบบโครงสร้ างอย่างอิสระตามความประสงค์ของแต่ละ หนว่ ยงาน และให้มีรอบการเรียนรู้ (Learning Loop) เพ/ือเป็นตวั อยา่ งแก่คณะอ/ืน ๆ ผลจากข้อคิดเห็นของคณะทํางานคลงั สมองฯ ทําให้มหาวิทยาลยั นําไปออกแบบโครงสร้างการแบ่ง สว่ นงานและการบริหารงานของมหาวิทยาลยั และสภามหาวิทยาลยั ให้ความเห็นชอบตอ่ โครงสร้างสว่ นงาน ฯ ดงั กลา่ ว นําไปสปู่ ระกาศมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์เรื/อง การกําหนดวิทยาเขต และการจดั ตงั[ สว่ นงาน ของมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ พ.ศ. 2562 ซง/ึ ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา เลม่ 136 ตอนพิเศษ 304 ง วนั ที/ 13 ธนั วาคม 2562 ในประเด็นการเปลี/ยนแปลงมหาวิทยาลัย (Transformation) คณะทํางานคลังสมองฯ ให้ข้อคิด สําคญั ดงั นี [1)การกําหนด “แผนยทุ ธศาสตร์ดําเนินการ” จําเป็นต้องกําหนดนโยบายใหม่ ๆ เพื/อก้าวข้าม ข้อจํากัด และทําให้มหาวิทยาลยั ก้าวไปข้างหน้าได้อย่างไม่หยุดยัง[ องค์กรท/ีควรจะเป็นต้องมีลกั ษณะ สําคญั 3 ประการ คือ 1) มีความสามารถปรับตวั ได้เร็ว และยืดหยุ่น 2) ทีมบริหารสร้ างแรงบนั ดาลใจให้ สร้างงานได้ เข้าใจเป้าหมาย เข้าใจทิศทางของมหาวิทยาลยั 3) นําปรัชญามหาวิทยาลยั มาทําให้เป็นกล ยทุ ธ์ มหาวทิ ยาลยั จะต้องกําหนดทิศทางให้ชดั เจน การดําเนินงานการเปลี/ยนแปลงในภาพรวมอาจเป็นไปได้ยาก จึงควรดําเนินการในลักษณะ Sandbox ที/ดําเนินงานควบคกู่ บั การดําเนินงานปกติ เม/ือรูปแบบใหมป่ ระสบความสาํ เร็จก็จะทําให้แบบเก่า ปรับตวั ตามได้ คณะทํางานคลงั สมองฯเห็นว่ามหาวิทยาลยั พิจารณาตงั[ เปา้ หมายไปอนาคตเร/ืองใหญ่ 2-3 เร/ือง แล้วทําแบบ Sandbox โดยใช้หลกั Engagement เช/ือมโยงทงั[ 4 ภารกิจ บทบาทในการขับเคลื่อนงานวชิ าการวชิ าการ กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์เพ่ือการเปล่ยี นแปลง การเสนอนโยบายและยุทธศาสตร์เพื่อการปรับเปลี่ยน (Transformation) ภารกิจด้านวิชาการของ มหาวิทยาลัยผ่านกระบวนการจัดทำแผนการปรับเปลี่ยนกำหนดทิศทางและการจัดทำแผน และนำเสนอแผนต่อ สภามหาวิทยาลัยโดยผ่านที่ประชุมกรรมการนโยบายวิชาการในฐานะเป็นกลไกหนึ่งของสภามหาวิทยาลัยตาม โครงสร้างองค์กรของสภามหาวิทยาลัยที่ได้ออกแบบไว้ เช่น 1) นโยบายและยุทธศาสตร์แผนการปรับเปลี่ยนการ จัดการศึกษา มหาวิทยาลัย สงขลานครินทร์ 2562-2565 (PSU Education Transformation 2019-2022) สภามหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ ในคราวประชุมครั้งที่ 410(6/2562) เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2562 2) นโยบายและยุทธศาสตร์แผนการปรับเปลี่ยนการวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2563- 2565 (PSU Research Innovation Transformation 2020-2023) สภามหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ ใน คราวประชุมครงั้ ที่ 412(2/2563) เมือ่ วันที่ 21 มีนาคม 2563 3) หลกั เกณฑ์ “การประเมินคณุ ภาพวทิ ยานพิ นธ์ ที่เป็นผลงานนวัตกรรมหรือผลงานสร้างสรรค์ เพื่อใช้ขอสำเร็จการศึกษาในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์” สภา มหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบ ในคราวประชุมครั้งที่ 412(2/2563) เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2563 3.4) แผน ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนบัณฑิตศึกษาสู่ผลิตภาพกำลังคนด้านการพัฒนาวิจัยระดับแนวหน้าของโลก มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สภามหาวิทยาลัยให้ความเห็นชอบในคราวประชุมครั้งที่ 417(7/2563) เม่ือ

วันท่ี 14 พฤศจิกายน 2563 3.5) นโยบาย และยุทธศาสตร์ แผนการปรับเปลี่ยนด้านการพัฒนาทรัพยากร มนษุ ย์และพันธกจิ สังคม กำหนดแนวทางการจดั ทำหลกั สตู รที่สอดคล้องกับความต้องและการพฒั นา สภามหาวิทยาลยั (ผ่านคณะกรรมการนโยบายวิชาการ)ได้พิจารณาข้อเสนอหลกั คิดการจัดทํา หลกั สตู รใหม่ท/ีคณะเสนอเพ/ือลดความซํา[ ซ้อนและให้เกิดความค้มุ คา่ ในการเปิดหลกั สตู ร โดยได้พิจารณา ถึงความพร้ อมในด้านต่าง ๆ ตามแนวทาง Outcome Based Education ท/ีผ่านคณกรรมการนโยบาย วิชาการและผ่านคณะกรรมการกลน/ั กรองหลกั สตู รของมหาวิทยาลยั โดยได้กําหนดให้ทกุ หลกั สตู รท/ีเสนอตอ่ คณะกรรมการนโยบายวิชาการต้องจัดทําเอกสารสรุปประเด็นประกอบการพิจารณาดังนี [ U) จุดเด่น/ เอกลกั ษณ์ของหลกั สตู ร 3) ความสอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ชาติ ยทุ ธศาสตร์วิทยาเขต ความต้องการของ ตลาด ความเป็นไปได้ เช่น ความพร้ อมของอาจารย์ เป็นต้น 3) เหตุผลในการปรับปรุง ประเด็นการ เปลี/ยนแปลง และช/ือรายวิชาหรือสาระเนือ[ หา ตลอดจนจํานวนหน่วยกิตท/ีสอดคล้องกับประเด็นการ เปล/ียนแปลง 4) รูปแบบของการจดั การเรียนการสอน เนือ[ หาสาระในหลกั สตู ร และการบรู ณาการ การสอน กับศาสตร์ทงั[ ภายในและภายนอกสถาบนั K) ภาวะการได้งานทําของนกั ศึกษาในหลกั สตู ร หรือสาขาวิชา (กรณีหลกั สตู รปรับปรุง) หรือการคาดการณ์การได้งานทําของนกั ศกึ ษาในหลกั สตู ร หรือสาขาวิชา (ในกรณี หลกั สตู รใหม)่ นอกจากนีก[ ําหนดแผนการบริหารจดั การหลกั สตู รให้เกิดความค้มุ ทนุ น่าสนใจและตอบโจทย์ ผ้เู รียนยคุ ใหม่ (เช่น แนวทางการบริหารจดั การรายวิชาเพ/ือให้สอดคล้องกบั จํานวนผ้เู รียน และเกิดความค้มุ ทนุ ได้อย่างไร กลยทุ ธ์เพ/ือให้ได้จํานวนผ้เู รียนตามเป้า หรือการเพิ/มจํานวนผ้เู รียนจากภายนอกได้อย่างไร เป็นต้น) ตลอดการดําเนินงานของกรรมการสภามหาวิทยาลัย ได้อนุมัติหลักสูตร(ใหม่ ปรับปรุงและ เปล/ียนแปลง) ท/ีสอดคล้องกบั ความต้องการทงั[ ตลาดและการพฒั นาสงั คมจํานวน 250 หลกั สตู ร โดยเป็น หลกั สตู รในระดบั ปริญญาตรีจํานวน 132 หลกั สตู ร ปริญญาฦโทจํานวน 79 หลกั สตู ร ปริญญาโทควบเอก จํานวน 18 หลักสูตร และระดับปริญญาเอกจํานวน 21 หลักสูตร ผู้เรียนท/ีจบการศึกษาตามหลักสูตร เหลา่ นีจ[ ะเป็นกําลงั สาํ คญั ในการพฒั นาประเทศตอ่ ไป

บทบาทในดา้ นการเงินและทรัพยส์ นิ สภามหาวิทยาลยั ได้แต่งตงั[ คณะกรรมการนโยบายการเงินและทรัพย์สินโดยมีหน้าที/วิเคราะห์ กลน/ั กรอง เสนอแนะแนวทางให้กับมหาวิทยาลยั ในเรื/องต่าง ๆ โดยได้เสนอแนะการบริหารการเงินและ ทรัพย์สินแก่อธิการบดีและสภามหาวิทยาลยั กลน/ั กรองข้อบงั คบั ระเบียบ ประกาศที/เกี/ยวกับการบริหาร การเงิน การพสั ดุ และทรัพย์สินของมหาวิทยาลยั ท/ีต้องนําเสนอต่อสภามหาวิทยาลยั เสนอนโยบายการเงิน การจดั หาผลประโยชน์ การลงทนุ และการบริหารจดั การทรัพย์สินของมหาวิทยาลยั ต่อสภามหาวิทยาลยั กลน/ั กรองการจดั สรรงบประมาณให้สอดคล้องกบั ยทุ ธศาสตร์ของมหาวิทยาลยั ให้มีประสทิ ธิภาพ พิจารณา กลนั/ กรองการตงั[ หนีส[ ญู การประนอมหนี [การจําหน่ายหนีแ[ ละสิทธิเรียกร้องเป็นสญู ตามข้อเสนอของคณะ กรรมการบริหารมหาวิทยาลัย เพ/ือเสนอสภามหาวิทยาลัยอนุมัติตามที/ได้รับมอบหมายจากสภา มหาวิทยาลัย และให้กรอบแนวทางการวิเคราะห์ความคุ้มค่าของหลักสูตรการศึกษาต่าง ๆ เพ/ือเป็น แนวทางให้มหาวิทยาลยั ในการดําเนินงานและพฒั นาในเร/ืองต่าง ๆ รวมทงั[ ให้ข้อเสนอแนะข้อมูล ก่อน นําเสนอสภามหาวิทยาลยั ให้มีความถกู ต้อง ครบถ้วน และเหมาะสม ซงึ/ มีผลการดําเนินงานที/สําคญั เช่น การลงทุนพัฒนาในพืน[ ท/ีว่างของมหาวิทยาลยั ทัง[ K วิทยาเขต เช่น ศูนย์การเรียนรู้เพื/อการท่องเที/ยวเชิง สุขภาพฯ ณ พืน[ ที/ทุ่งใหญ่ วิทยาเขต หาดใหญ่ สร้ างท/ีจอดรถโดยเก็บค่าเช่า วิทยาเขตหาดใหญ่ การลงทุนนวตั กรรม เกษตรและประมง วิทยาเขตสรุ าษฎร์ธานี ศนู ย์การแพทย์นานาชาติ วิทยาเขตภเู ก็ต การจัดตงั[ สํานักงานบริหารทรัพย์สินของ มหาวิทยาลัย การกําหนดวงเงินลงทุน ของมหาวิทยาลัย พิจารณาข้อมูลการ ลงทุนของมหาวิทยาลยั การลงทุนในตรา สารด้อยสิทธ©ิ การกําหนดวงเงินฝากใน สหกรณ์ออมทรัพย์มหาวิทยาลยั ฯ และการ นําเงินฝากเข้าธนาคาร ICBC การสง่ เสริม งานวิจัยกัญชาและเกษตรอินทรี ย์ใน ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ร ะ ห ว่ า ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย Ondine Venture International Inc. และ Canagrowth Co.,Ltd. ข อ ง ค ณ ะ แพทยศาสตร์ ข้ อบังคับฯ ว่าด้ วยการ บ ริ ห า ร ก า ร เ งิ น แ ล ะ ท รั พ ย์ สิ น ข อ ง มหาวิทยาลัย พ.ศ.3Km3 ระเบียบ มหาวิทยาลยั ฯ ว่าด้วยการเงินในการสอบ คดั เลือกนักเรียนเข้าศึกษาในมหาวิทยาลยั สงขลา นครินทร์ พ.ศ.3Km3 ระเบียบมหาวิทยาลยั ฯ ว่าด้วย บริษัทร่วมทนุ พีเอสยู โฮลดิง[ จํากดั การพฒั นาส่สู ถาบนั การแพทย์ระบบบริการพิเศษ (การก่อสร้างศนู ย์ การแพทย์แบบ Premium และการก่อสร้ างอาคารจอดรถของคณะแพทยศาสตร์) การก่อสร้ างหอพัก นกั ศกึ ษาแพทย์และแพทย์ใช้ทนุ เป็นต้น

ในช$วงระยะเวลการดำรงตำแหน$งกรรมการสภามหาวิทยาลัยได:พิจารณาวงเงินที่ขออนุมัติ 6,498,811,700 ล:านบาท สำหรับการดำเนินโครงการต$าง ๆ ของมหาวิทยาลัย เช$น อนุมัติให:สั่งจ:างห:าง หุ:นส$วนจำกัดหาดใหญ$สรรพกิจก$อสร:างเปRนผู:ดำเนินการก$อสร:างอาคารวิจัยและถ$ายทอดเทคโนโลยีการแพทยV 1 หลัง ณ คณะแพทยศาสตรV ในวงเงินค$าจ:าง 818,880,000 บาท (แปดร:อยสิบแปดล:านแปดแสนแปดหมื่น บาทถ:วน) อนุมัติสั่งซื้อเครื่อง PET/CT Scan และ Cyclotron จำนวน 1 ชุด ด:วยวิธีคัดเลือกจากบริษัท อินโนเวทีฟ อิมเมจจง้ิ ซสิ เต็มสV จำกดั ผลิตภัณฑV Philips ในวงเงิน 339,000,000 บาท อนุมัติหลักการก$อสร:างอาคารหอพักนักศึกษาแพทยVและแพทยVใช:ทุนจำนวนไม$น:อยกว$า 600 ยูนิต วงเงินค$าก$อสร:าง 509,765,000 บาท ด:วยงบประมาณเงินรายได:คณะแพทยศาสตรV อนุมัติการเพิ่มวงเงิน ค$าจ:างขนดิน จำนวน 15,000 ลบ.ม. เปRนเงิน 1,400,000 บาท ก$อสร:างอาคารวิจัยและถ$ายทอดเทคโนโลยี การแพทยV อนุมัติสั่งจ:างก$อสร:างอาคาร ปฏิบัติการวิชาชีพศึกษาศาสตรV คณะ ศึกษาศาสตรV จำนวน 1 งาน ด:วยวิธี ประกวดราคาอิเล็กทรอนิกสV (e- bidding) จากบริษัทไฮเทค อินดัสเตรี ยล เซอรVวิส แอนดV ซัพพลาย จำกัด ซึ่ง เปRนผู:ชนะการเสนอราคา ในวงเงิน 347,800,000 บาท (สามร:อยสี่สิบเจ็ด ล:านแปดแสนบาทถ:วน) โครงการสร:าง ศูนยVบริการพิเศษศรีเวชวัฒนV เพื่อให: เปRนศูนยVกลางการแพทยVที่ให:บริการ ดูแล รักษา และให:คำปรึกษาอย$างครบวงจรด:วยมาตรฐานระดับสากล และเปRนศูนยVการแพทยVที่บริหารจัดการที่เปRนเลิศ ด:วยรูปแบบวิธีการบริหารพิเศษ เพื่อให:มีรายได:ที่สามารถ พึ่งพาตนเองได:บนหลักธรรมาภิบาล พัฒนาและธำรงไว:ซึ่งความเปRนเลิศด:านบริการทางการแพทยV โดยใช:เงิน ลงทุนในโครงการ จำนวน 3,523,248,900 บาท โครงการก$อสร:างอาคารอเนกประสงคV เปRนอาคารสำนักงาน ร:านค:า หอ: งพัก และทจ่ี อดรถยนตใV นอาคาร ไม$นอ: ยกวา$ 500 คนั เพ่อื อำนวยความสะดวกใหก: ับผูป: Çวยและญาติ ที่มารับบริการ ค$าก$อสร:างอาคาร จำนวน 401,717,800 บาท ด:วยงบประมาณเงินกองทุนประกันสังคมคณะ แพทยศาสตรV อนุมัติสั่งจ:างก$อสร:างอาคารหอพักนักศึกษาแพทยVและแพทยVใช:ทุน จ านวนไม$น:อยกว$า 600 ยู นิต (2 หลัง) จำนวน 1 รายการ ด:วยวิธีประกวดราคาอิเล็กทรอนิกสV (e-bidding) จากบริษัท ไทยโพลีคอนสV จำกัด (มหาชน) เปRนผู:ชนะการเสนอราคา ในวงเงิน 427,000,000 บาท (สี่ร:อยยี่สิบเจ็ดล:านบาทถ:วน) รวมทั้ง อนุมัติการสั่งซื้อชุดหุ$นยนตVช$วยผ$าตัดพร:อมชุดถ$ายทอดสัญญาณและคอมพิวเตอรV และชุดควบคุมความดัน ระบบสง$ แกสÉ และกำจัดควนั จำนวน 1 ชดุ โดยวิธเี ฉพาะเจาะจง วงเงนิ 130,000,000 บาท เปนR ต:น

การกำหนดทิศทางการบริหารและจัดการทรัพยากรมนษุ ย์ พฒั นาระบบการบริหารและการจัดการทรัพยากรมนุษย์ การดําเนินการของคณะกรรมการนโยบายบริหารบคุ คล มีการดําเนินการศกึ ษาข้อมลู และพฒั นา กระบวนการให้สอดคล้อง และผลกั ดนั การขับเคลื/อนมหาวิทยาลยั ในประเด็นสําคญั ได้แก่ U) การรับ อาจารย์/อาจารย์ใหม่ /ค่าตอบแทนที/ดึงดูด รับอาจารย์ใหม่ที/มีศกั ยภาพทางวิชาการสูง (High Academic Caliber) เพ/ือพฒั นามหาวิทยาลยั เข้มแข็ง 2) การพฒั นาบุคลากรสายวิชาการให้มีศกั ยภาพในด้านการ สอน และการวิจัยพัฒนาอาจารย์ให้สามารถสอนเก่ง มีความกระตือรือร้ นในการค้นหาความรู้ โดยใช้ กระบวนการวิจยั นําความรู้ ที/ได้มาจดั การเรียนการสอน ผลติ บณั ฑิตท/ีมีความเข้มแข็ง ประสานระหวา่ งฝ่าย การเรียนการสอน ฝ่ ายวิจัย ฝ่ ายบริการวิชาการ โดยมี HR ช่วยประสานสนับสนุนกระบวนการ 3) การเพิ/มเกณฑ์ มาตรฐานผลงานทางวิชาการ (Standard Academic Outputs ) เพิ/มเกณฑ์มาตรฐานผลงานวิชาการ (Standard Academic Outputs) เพ/ือยกระดับให้ เห็นภาพการเป็ น Research University พยายามเพิ/มคา่ เฉลี/ยของผลงานตีพิมพ์โดยกําหนด ค่าเฉลี/ยโดยรวมเป็น 0.75 papers/คน/ปี (ภายใน ปี 3KmK ตงั[ เป้าหมายจํานวนผลงานตีพิมพ์ 2,000 papers/ปี) โดยทํา แผนร่วมกับคณะ กําหนดเป้าตามกลุ่มของคณะ/สาขาตาม ธรรมชาติของสาขาที/แตกต่างกันไป โดยยังคงตระหนักถึง ความหลากหลายของผลงานวิจยั 4) ความหลากหลายในการเข้าสตู่ ําแหนง่ ทางวิชาการ (Academic Staff) 5) พฒั นาระบบแผนทดแทนตําแหน่งท/ีสําคญั (Succession Plan) เตรียมบคุ ลากรที/มีคณุ สมบตั ิพร้อมกรณีต้อง ทดแทนตําแหนง่ ที/สําคญั โดยกลมุ่ คนท/ีได้รับการพฒั นาเพื/อเตรียมเข้าสตู่ ําแหนง่ สําคญั จํานวนหนงึ/ โดยอาจ คดั เลือกมาจากผู้บริหารระดบั ต้น ระดบั กลาง หรือกล่มุ ท/ีมีแนวโน้มท/ีจะเข้าส่ตู ําแหน่งบริหารได้ในอนาคต เพ/ือรองรับการเกษียณอายุ การลาออก การเจ็บป่ วย 6) มาตรฐานการจ้างงาน และการดแู ลสทิ ธิสวสั ดิการ ให้เท่าเทียมทกุ กลมุ่ ประเภทการจ้าง 7) ระบบการทํางานข้ามสายงาน (Cross-function Team) สนบั สนนุ การทํางานตามประสบการณ์และความสามารถ การทํางานแบบทีมข้ามสายงาน (Matrix) โดยเน้นเปา้ หมาย ของงานเป็นหลกั (Outcome Base) บคุ ลากรสามารถใช้ศกั ยภาพอย่างเต็มที/โดยมีระบบการทํางาน ระบบ การประเมินภาระงานท/ีเอือ[ ต่อการทํางาน ≥ 2 สงั กัด 8) HR Digital Transformation ระบบข้อมลู กลาง ของมหาวิทยาลยั ท/ีเช/ือมต่อกับข้อมูลในทุกด้าน ให้แสดงอยู่ในภายใต้ Platform เดียวกัน (ร่วมกับ สํานัก นวตั กรรมดิจิทลั และระบบอจั ฉริยะ) มีการเชื/อมต่อข้อมลู ส่วนต่าง ๆ และใช้ฐานข้อมลู เดียวกนั ทงั[ K วิทยา เขต และ 9) การพัฒนาการมีส่วนร่วมและความผูกพันกับองค์กร (Engagement) ส่งเสริมความรักและ ความผูกพันกับมหาวิทยาลยั มีเป้าหมายให้บุคลากรมีความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกัน ร่วมแรงร่วมใจกัน ผลกั ดนั ให้มหาวทิ ยาลยั ไปสเู่ ปา้ ประสงค์ การพฒั นาบุคลากรเป็ นบุคคลากรท7มี ีศักยภาพสูงและเพ7มิ ความเข้มแขง็ ทางวชิ าการ ผลการผลกั ดนั นโยบายตา่ ง ๆ ทงั[ โดยตรงและโดยอ้อมท/ีเกี/ยวข้องกบั ผลงานทางวิชาการ เช่น การเพิ/ม บทความการตีพิมพ์ การเพิ/มเกณฑ์มาตรฐานด้านวิชาการ ทําให้ตลอดช่วงวาระการดํารงตําแหน่งกรรมการ สภามหาวิทยาลยั ได้อนมุ ตั ิตําแหน่งทางวิชาการโดยรวม 603 คน โดยเป็นตําแหน่งผ้ชู วยศาสตรจารย์จํานวน 397 คน รองศาสตร์จารย์จํานวน 159 คน และศาสตร์จารย์ 33 คน ส่วนท/ีเหลือเป็นตําแห่งพิเศษ กิตติมศกั ด©ิ

และเกียรติคณุ ซ/ึงการท/ีมหาวิทยาลยั มีบุคคลากรที/มีตําแหน่งทางวิชาการเพ/ิมขึน[ บ่งบอกถึงความเข้ามแข็ง ทางวิชาการมากขนึ [ และสะท้อนถงึ ศกั ยภาพของบคุ คลากรในการดแู ลด้านหลกั สตู ร และการทําวิจยั การแตง่ ตง้ั ผ้บู ริหารระดบั สูง ในช่วงการเปลี่ยนผ่านเข้าสู่มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ มหาวิทยาลัยจำเป็นต้องอาศัยการ ขับเคลื่อนในระดับส่วนงานเป็นสำคัญ ดังนั้นการแต่งตั้งหัวหน้าส่วนงาน เช่น คณบดี และ ผู้อำนวยการสถาบัน หรือผู้อำนวยการสำนัก จึงจำเป็นต้องได้บุคคลที่มีความรู้ความสามารถสูง มี ความเข้าใจในระบบการบริหารมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ มีความเป็นผู้นำ และสามารถดำเนนิ งานเพื่อตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยได้ ในช่วงที่ผ่านมาสภามหาวิทยาลัยได้แต่งต้ัง คณบดแี ละผู้อำนายการรวมทั้งหมด 33 คน โดยเปน็ คณบดีจำนวน 25 คน และผอู้ ำนวยการ 8 คน ซง่ึ บคุ คลเหลา่ นีเ้ ป็นกำลงั สำคัญในการพฒั นามหาวทิ ยาลยั การนำนวัตกรรมการติดตามและประเมินผลสบู่ รบิ ทองค์กรทีม่ คี วามซบั ซอ้ น สภามหาวิทยาลัยได้แต่งตัง[ คณะกรรมการนโยบายติดตามและประเมินผล ซ/ึงประกอบด้วย กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผู้ทรงคณุ วฒุ ิและผู้ทรงคณุ วฒุ ิภายนอก คณะกรรมการนโยบายติดตามและ ประเมินผล มีการประชมุ แลกเปล/ียนเรียนรู้เพื/อกําหนดกรอบการติดตามและประเมินผลเพื/อการเรียนรู้และ พฒั นาของอธิการบดีและหัวหน้าส่วนงาน ระหว่างคณะกรรมการติดตามและประเมินผลชุดต่าง ๆ กับ อธิการบดี คณบดี และทีมบริหารที/เก/ียวข้อง การดําเนินงานที/ผ่านมาของคณะกรรมการนโยบายติดตาม และประเมินผล ท/ีสําคัญ ได้แก่ ออกแบบและวางระบบกลไกติดตามประเมินผลการบริหารงานของ

อธิการบดี และหวั หน้าส่วนงาน โดยกําหนดเป็นแนวปฏิบตั ิว่าด้วยหลกั เกณฑ์ วิธีการ ระบบติดตามและ ประเมินผลอธิการบดีและหัวหน้าส่วนงาน ซ/ึงสภามหาวิทยาลยั ให้ความเห็นชองในคราวประชุมครัง[ ท/ี 412(2/2563) เมื/อวันท/ี 21 มีนาคม 2563 โดยออกแบบระบบติดตามและประเมินผลเพ/ือการเรียนรู้และ พฒั นาแนวใหม่ (Developmental Evaluation : DE) ซง/ึ เป็นระบบติดตามและประเมินผลที/แตกตา่ งจากรูป แบบเดิมและเป็นเน้ นการเรียนรู้และพัฒนา จึงอาจกล่าวได้ว่าสภามหาวิทยาลัยได้นํานวัตกรรม (innovation) การประเมินแบบใหมท่ ี/มีความเหมาะสม สอดคล้องกบั บริบทองค์กรท/ีมีความซบั ซ้อนสงู อยา่ ง มหาวิทยาลยั โดยมีวตั ถปุ ระสงค์เพื/อมงุ่ เน้นช่วยเหลือการทํางานของอธิการบดีและหวั หน้าสว่ นงาน ในการ บริหารงานให้เกิดประสิทธิภาพสงู สดุ สร้างนวตั กรรมการบริหารแบบใหม่ เกิดการเรียนรู้ร่วมกนั ระหว่างผู้ ประเมินและผ้ถู กู ประเมิน แตง่ ตงั[ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลเพื/อการเรียนรู้และพฒั นาในชดุ ของ อธิการบดี และแต่งตัง[ คณะกรรมการติดตามและประเมินผลหัวหน้าส่วนงาน รวมทัง[ หมด C ชุด เพ/ือ ประเมินผลอธิการบดี และคณบดี ตามกล่มุ สาขา 6 กล่มุ ได้แก่ คณะศกึ ษาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ และ คณะพยาบาลศาสตร์ (จากจํานวนสว่ นงานวิชาการ 6p สว่ นงาน) ซงึ/ ขณะนีไ[ ด้ดําเนินการแล้วเสร็จแล้วในทกุ ชดุ และกําลงั ดําเนินการตดิ ตามและประเมินผลเพ/ือการเรียนรู้ในรอบตอ่ ไปและเพิ/มสว่ นวานในการประเมิน ให้มากขนึ [ ออกแบบ ขับเคลอ่ื นและพฒั นามหาวทิ ยาลยั โดยผ่านข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศ ในช่วงการเปล/ียนผ่านที/สําคญั ของมหาวิทยาลยั ไปส่มู หาวิทยาลยั ในกํากบั ซึ/งมีการบริหารจดั การท/ี เปลี/ยนไปจากรูปแบบเดิมอย่างสิน[ เชิง การออกข้อบังคับ ระเบียบ รวมทัง[ ประกาศต่าง ๆ ของสภามหา มหาวิทยาลัยจึ/งมีความสําคัญย/ิง เพราะมีผลกระทบต่อทิศทางการพัฒนาและการบริการจัดการของ มหาวิทยาลยั สภามหาวิทยาลยั จึงได้แต่ตัง[ คณะทํางานกลน/ั กรองร่างข้อบังคับ ระเบียบ และประกาศของ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ซง/ึ ได้พิจารณากลน/ั กรองร่างข้อบงั คบั ระเบียบ และประกาศของมหาวิทยาลยั สงขลานคร์ และกําหนดแนวทาง การจดั ทําข้อบงั คบั ระเบียบ และประกาศขอมหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ และสภามหาวิทยาลยั ได้ออกข้อบังคับ ประกาศ และระเบียบ ไปแล้ว เป็นข้อบังคับ ประกาศ ระเบียบ จํานวน 49 ฉบบั ข้อบงั คบั จํานวน 28 ฉบบั ระเบียบ 12 ฉบบั และ ประกาศ จํานวน 9 ฉบบั

โดยประกอบด้วยข:อบังคับที่ออกเพื่อให:เปRนไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรV พ.ศ. 2559 กำหนดไว: เช$น ข:อบังคับ ว$าด:วยคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรV พ.ศ. 2561 ออก เพื่อให:เปRนไปตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลาครินทรV พ.ศ. 2559 ในมาตรา 25 และมาตรา26 ที่เปRน บทบัญญัติที่ให:มหาวิทยาลัยต:องมีคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรV โดยมีสาระสำคัญ เปRน คณะกรรมการที่มาจากการมีส$วนร$วมทุกภาคส$วน ที่มีองคVประกอบมาจาก ผู:ทรงคุณวุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย ที่มีจำนวนกึ่งหนึ่งของคณะกรรมการ ทำให:ภาพลักษณVการดำเนินงานในเชิงบริหารของมหาวิทยาลัยต$อ บุคคลภายนอกเกิดความเชื่อถือ เนื่องจากเปRนการดำเนินงานที่เปRนไปตามหลักธรรมาภิบาล แม:ว$าอำนาจและ หน:าที่ของคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัยในข:อ 5 (5) (7) และ (9) ของข:อบังคับมอ ว$าด:วยคณะ กรรมการบริหารมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2561 จะมีมากกว$าอำนาจหน:าที่ที่บัญญัติในมาตรา 26 แห$ง พระราชบญั ญตั มิ หาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทรV พ.ศ. 2559 แต$ก็เปRนไปเพื่อให:การพิจารณาในเรื่องสำคัญๆ ไม$ว$า จะเปRนการสอน วิจัย และบริการทางวิชาการ เกิดความรอบครอบ และเปRนธรรมมากยิ่งขึ้น นอกจานี้ยังมี ข:อบังคับที่สำคัญอื่น เช$น ข:อบังคับ ว$าด:วยการบริหารการเงินและทรัพยVสินของมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2562 ออก เพื่อให:เปRนไปตามมาตรา 23(4) แห$งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรV พ.ศ. 2559การดำเนินการที่ ผ$านมามหาวิทยาลัยยังคงยึดหลักข:อบังคับในการบริหารการเงิน พัสดุ และทรัพยVสินของมหาวิทยาลัย ข:อบังคับ ว$าด:วยการจัดสวัสดิการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรV พ.ศ. 2564 ข:อคับคับ ว$าด:วยคณะกรรมการ ประจำวิทยาเขต พ.ศ. 2563 ซึ่งเปRนไปตามโครงสร:างความสัมพันธVทางการบริหารของมหาวิทยาลัยกับการ กำกับของสภามหาวิทยาลัย เปนR ต:น นอกจากนี้สภามหาวิทยาลัยยังได:ออกข:อบังคับที่ออกเพื่อประโยชนVในการปฏิบัติงานของ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรV เช$น ข:อบังคับ ว$าด:วยการบริหารงานบุคคลพนักงานเงินรายได: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรV พ.ศ. 2562 เจตนารมณVเพื่อให:มีกฎหมายที่ใช:กับพนักงานเงินรายได: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรV ประโยชนVในการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย ข:อบังคับ ว$าด:วยการให:ทุน สนับสนุนการศกึ ษาแก$นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทรV พ.ศ. 2562 เจตนารมณVเพื่อให:มหาวิทยาลัยจัด ให:มีทุนการศึกษาเพื่อให:เปRนไปตามวัตถุประสงคVของมหาวิทยาลัยในมาตรา 8 แห$งพระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทรV พ.ศ. 2559 นอกจากนี้ยังได:ออกอบังคับที่ออกเพื่อเปRนแม$บทที่ให:คณะ/ส$วนงาน สามารถออกประกาศในการจ$ายค$าตอบแทนให:กับบุคลากรในมหาวิทยาลัย เพื่อประโยชนVในการปฏิบัติงาน ของมหาวิทยาลัย เช$น ข:อบังคับ ว$าด:วยการจ$ายเงินค$าตอบแทนแกบุคลากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรV พ.ศ. 2561ซึ่งเปRนข:อบังคับที่ออกมาเพื่อเปRนแม$บท ที่ให:คณะ/ส$วนงาน สามารถออกประกาศในการจ$ายค$าตอบแทน ให:กับบุคลากรในมหาวิทยาลัย เพื่อประโยชนVในการปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยที่ผ$านมาจนถึงปÜจจุบัน คณะ/ ส$วนงาน ได:ออกประกาศในการจ$ายค$าตอบแทนให:แก$บุคลากรที่ได: แต$อาจจะไม$ได:ประเมินผลการดำเนินงาน ของบุคลากรที่ได:รับค$าตอบแทนที่ผ$านมา 2 ปáอย$างจริงจัง ซึ่งควรมีหน$วยงานกลางที่รับผิดชอบในการ ประเมินผลการดำเนินงานของคณะ/ส$วนงาน ก็จะได:ข:อมูลในระดับหนึ่งที่เสนอเปRนข:อมูลประกอบให:สภา

มหาวิทยาลัยได:พิจารณาวางหลักการการจ$ายค$าตอบแทนที่มีรความเปRนธรรม ซึ่งก็จะถือเปRนการติดตามการใช: จา$ ยเงนิ ของมหาวิทยาลัยได:อกี ทางหนึ่ง ข:อบงั คบั ระเบียบ และประกาศที่ออกโดยสภามหาวิทยาลัย ยังประโยชนใV นการเปนR เครอื งมือใหก: บั มหาวทิ ยาลัยในการบรหิ ารจัดการกิจการมหาวทิ ยาลัยให:สอดคลอ: งกบั บทบาทในฐานะมหาวิทยาลยั ในกำกบั ของรฐั เพอื่ การบรรลวุ สิ ยั ทัศนแV ละพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลัย การกำกบั ดูแลความโปรง่ ใสและคุณธรรมในองคก์ ร บทบาทหนึ8งท8ีสําคญั ของสภามหาวิทยาลยั คือการกํากบั ธรรมาภิบาล (Good Government) โดยเฉพาะ ความคุณธรรมและความโปร่งใสในองค์การ (Integrity and Transparence) ซึ8งผลการประเมิน ITA (Integrity and Transparence Assessment) ท8ีดําเนินการโดยคณะกรรมการป้องกันและปราบปราบการทุจริต (ป.ป.ช.) พบว่าผลการประเมินในปี 2563 (ประเมินจากปี 2562) พบว่าได้คะแนนเพียง 72.76 โดยถกู ประเมินในระดบั C ซ8ึง สภามหาวิทยาลยั ได้กําหนดให้มหาวิทยาลยั ไปหาแนวทา แก้ ไข ปรับปรุง เพ8ือยกระดับคะแนน ITA แล้วให้นํามา รายงานต่อสภามหาวิทยาลยั เพื8อทราบในทางดงั กลา่ ว และ ให้ รายงานผลการประเมินในปี 2564 ซึ8งจากการให้ ค ว า ม สํ า คัญ กั บ คุณ ธ ร ร ม แ ล ะ ค ว า ม โ ป ร่ ง ใ ส ใ น อ ง ค์ ก ร ดั ง ก ล่ า ว แ ล ะ มี ก า ร กํ า กั บ ติ ด ต า ม อ ย่ า ง ต่ อ เ นื8 อ ง ทํ า ใ ห้ มหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ได้คะแนนประเมิน ITA ปี 2564 เฉล8ีย 89.45 คะแนน ผลการประเมินอย่ใู นระดบั A (ช่วงคะแนน 85 - 94.99) คะแนนประเมินเพิ8มขนึ ^ จาก ปี 2563 จํานวน 16.69 คะแนน ผา่ นการประเมินตามเกณฑ์ บรรลเุ ปา้ หมายหน่วยงานภาครัฐเป็นองค์กรธรรมาภิบาล โดยมีสถาบนั อดุ มศกึ ษาทว8ั ประเทศที8เข้ารับการประเมิน ในปีนี ^จํานวน 83 สถาบนั การติดตามผลกระทบของสถานการณ์วิกฤติ COVID-19 สภามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ให้ความสําคัญต่อสภานการณ์ COVID-19 เป็นอย่างมาก เนื/องจากเป็นหาวิกฤติของประเทศ และเห็นว่ามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์เป็นมหาวิทยาลยั ท/ีมีความ เข้มแข็งทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ และเป็นท/ีพึ/งของประชาในภาคใต้โดยรวม ด้วยเหตุนีจ[ ึงได้มีการ ประชมุ สภามหาวิทยาลยั สงขลานครินทร์ ครัง[ ท/ี CU6 (3/2563) นดั พิเศษ วนั พฤหสั บดีท/ี 36 เมษายน 2563 ซึ/งเป็นวาระเก/ียวกับสถานการณ์ COVID-19 เป็นการฉพาะ ซ/ึงในการสภามหาวิทยาลยั ให้มหาวิทยาลยั รายงานสถาการณ์ COVID-19 และผลกระทบตอ่ การดําเนินงานของมหาวิทยาลยั โดยเฉพาะการเรียนการ สอน เน/ืองจากมีความกังวลต่อคุณภาพการเรียนการสอนและบัณฑิตท/ีจบการศึกษาออกไปในช่วง สถานการณ์ดงั กลา่ ว ซงึ/ ผลการประชมุ สภามหาวิทยาลยั ให้ข้อสงั เกตและแนวปฏิบตั ิตอ่ มหาวิทยาลยั หลาย ประการ เช่น การเกิดโรคระบาดไวรัส COVID-19 มีสว่ นช่วยผลกั ดนั ให้มหาวิทยาลยั เข้าสกู่ ารเปล/ียนแปลง (Transformation) ท/ีสมบูรณ์ และนํามาเป็นแนวทางในการพัฒนาอย่างต่อเนื/อง จึงเป็นโอกาส ของ มหาวิทยาลยั ที/จะเปล/ียนแปลงในหลายเร/ือง มหาวิทยาลยั ต้องมีการคาดการณ์อนาคต เน/ืองจากต่อไปจะ

ไมเ่ หมือนเดิม มหาวิทยาลยั มีศกั ยภาพ และมีความพร้อมในฐานะสถาบนั อดุ มศกึ ษาที/มีบทบาทหน้าท/ีชีน[ ํา สงั คม มหาวิทยาลยั ได้ทํางานเชิงรุก หลงั จากผ่านพ้นเหตกุ ารณ์ในครัง[ นี [มหาวิทยาลยั ต้องทําวิจยั ในพืน[ ท/ี ต้องฟื น[ ฟู หน้าที/ศึกษาวิจยั ข้อมลู ในเชิงลึก และควรเป็นการทํางานร่วมกนั ทงั[ K วิทยาเขต นอกจากนีย[ งั ให้ ข้อคิดวา่ มหาวิทยาลยั กําลงั จะเปล/ียนแปลงในเรื/องรูปแบบการเรียนการสอนโดยรวม Critical และ Cyber เข้า ด้วยกนั มหาวิทยาลยั กําลงั จะเปลี/ยนแปลงตวั เองในเรื/องรูปแบบการเรียนการสอน โดยรวม Critical และ Cyber เข้าด้วยกนั Cyber ทําให้งา่ ยตอ่ การเข้าถงึ ผ้เู รียน นอกจากนีย[ งั มีความเป็นห่วงตอ่ นกั ศกึ ษาโดยมหาวิทยาลยั จะต้องมีมาตรการดแู ลนกั ศกึ ษากลมุ่ ที/ ได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจ เพื/อให้นักศึกษา มีเงินเรียนจนสําเร็จการศึกษา นักศึกษาต้องไม่ลาออก กลางคันเนื/องจากปัญหาเศรษฐกิจ ขณะเดียวกันยังเห็นว่าบัณฑิตจบใหม่จะประสบปัญหาว่างงาน มหาวิทยาลยั ต้องหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา เช่น โครงการบณั ฑิตอาสา การหาทนุ สนบั สนนุ ให้บณั ฑิตใหม่ เข้าศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปริญญาโท ปริญญาเอก ในสาขาวชิ าที/เป็นความต้องการของตลาด ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ COVID-19 นายกสภาฯ ประธานที/ประชุมได้ชื/นชม และเห็นด้วยกบั ทิศทางที/ฝ่ ายบริหารของมหาวิทยาลัยได้ดําเนินการมา มีข้อเสนอแนะจากกรรมการท/ีสําคัญ คือเรื/อง คณุ ภาพการศกึ ษา แก้ปัญหาในชว่ งเกิดสถานการณ์การระบาดของเชือ[ COVID-19 ที/มีผลกระทบเรื/องเวลา การศึกษา เรื/องการเรียนทางไกล คุณภาพการศึกษาจะเป็นอย่างไรเป็นปัจจัยสําคัญ มหาวิทยาลัยจะ ปรับปรุงส่วนนีอ[ ย่างไรในขณะเดียวกนั การเปล/ียนแปลงจะกลายเป็นโอกาส เพราะว่าไม่ใช่เพียงแค่ปรับให้ เหมือนเดิม หรือเพ/ือให้เท่ากบั การศกึ ษาที/มีมาแต่เดิม ที/จะปรับการศกึ ษาระบบใหม่ท/ีมีคณุ ภาพดีกว่าเดิม เพราะฉะนนั[ มหาวิทยาลยั อาจจะต้องปรับเข้าส่คู วามปกติรูปแบบใหม่ (New Normal) ตลอดจนต้องมีการ เผยแพร่ประชาสมั พนั ธ์ สื/อสารผลงาน กิจกรรมของมหาวิทยาลยั ให้สงั คมได้รับทราบทางส/ือช่องทางตา่ ง ๆ ให้ กว้างขวางมากขนึ [

ที่ปรึกษา ศาสตราจารย์กติ คุณ นายแพทย์ จรสั สวุ รรณเวลา นายกสภามหาวิทยาลัย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร. นวิ ตั ิ แกว้ ประดบั อธิการบดมี หาวทิ ยาลยั สงขลานคิรนิ ทร์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.พงคเ์ ทพ สุธีรวุฒิ เลขานุการสภามหาวิทยาลยั และรองอธิการฝ่ายแผนและนโยบายสาธารณะ คณะทำงาน ดร.อศิ รัฏฐ์ รนิ ไธสง ผชู้ ว่ ยอธิการบดฝี ่ายกิจการสภามหาวทิ ยาลัย นางอญั ชลี ทองคง นายไกรสิทธิ์ ปรุ าวัฒนากุล นางณญาดา อินทสโร นางสาวปรรณพชั ร์ ตัง้ สมติ าธนินทร์ นางสาวชนรตั น์ สุกใส นางสาวลลิตา หัสตุด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook