Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้ที่ 1 สุชาดา

ใบความรู้ที่ 1 สุชาดา

Published by สุชาดา คูหา, 2021-03-03 09:08:00

Description: ใบความรู้ที่ 1 สุชาดา

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เก่ียวกบั การตดั ต่อวดิ ีโอ

ในปัจจบุ นั งานวิดีโอไดเ้ ขา้ มามีบทบาทในชีวติ ของเรามากขึน้ ดว้ ยความสามารถของ งานทางดา้ นมลั ตมิ ีเดียท่ีทาใหก้ ารนาเสนองานของเรานา่ สนใจแลว้ ราคากลอ้ งวดิ ีโอก็ ราคาถกู ลงมามากและหาซอื้ ไดไ้ มย่ าก พรอ้ มกบั โปรแกรมท่ีใชใ้ นการตดั ต่อวิดีโอก็มี ใหเ้ ลือกใชม้ ากมายและก็ไม่ยากจนเกินไปท่ีจะเรยี นรู้ สาหรบั ส่ือนีจ้ ะขอนาเสนอการ ตดั ตอ่ ดว้ ยโปรแกรม Ulead Video Studio เพ่อื เป็นพนื้ ฐานในการตดั ต่อ เพ่อื นาไปใชป้ ระโยชนด์ งั นี้

ประโยชนข์ องงานวิดีโอ 1. แนะนาองคก์ รและหน่วยงาน การสรา้ งงาน วิดีโอเพ่อื แนะนาสถานท่ีต่างๆ หรอื ในการ นาเสนอขอ้ มลู ภายในหนว่ ยงานและองคก์ ร 2. บนั ทกึ ภาพความทรงจา และเหตกุ ารณส์ าคญั ต่างๆ เชน่ การเดินทางไปทอ่ งเท่ียวในสถานท่ีต่างๆ งานวนั เกิดงานแตง่ งาน งานรบั ปรญิ ญางานเลีย้ งของ หน่วยงานหรอื องคก์ ร ซง่ึ เดิมเราจะเก็บไวใ้ นรูปแบบ ภาพน่งิ 3. การทาส่ือการเรยี นการสอน คณุ ครูสามารถสรา้ งส่ือ การสอนในรูปแบบวิดีโอไวน้ าเสนอไดห้ ลายรูปแบบ เช่น เป็นวดิ ีโอโดยตรง เป็นภาพวิดีโอประกอบใน โปรแกรม POWER POINT เป็นภาพวิดีโอ ประกอบใน Homepage และอ่ืนๆ

แนวคดิ ในการสร้างวดิ โี อ ก่อนท่ีลงมือสรา้ งผลงานวิดีโอสกั เรอ่ื ง จะตอ้ งผ่านกระบวนการคิด วางแผน มาอย่างรอบครอบ ไมใ่ ช่ไปถ่ายวดิ ีโอแลว้ ก็นามาตดั ตอ่ เลย โดยไมม่ ีการคิด ใหด้ ีก่อนท่ีจะถ่ายทา เพราะปัญหาท่ีมกั เกิดขนึ้ เสมอก็คือการท่ีไม่ไดภ้ าพ ตามท่ีตอ้ งการ เนือ้ หาท่ีถ่ายมาไมส่ อดคลอ้ งกบั ส่ิงท่ีตอ้ งการนาเสนอ ในท่ีนี้ ขอแนะนาแนวคดิ ในการทางานวิดีโออยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ตรงตามความ ตอ้ งการ จะไม่ตอ้ งมาเสียเวลาแกไ้ ขภายหลงั โดยมีลาดบั แนวคดิ ของงาน สรา้ งวิดีโอเบือ้ งตน้ ดงั นี้

1. เขียน Storyboard ส่ิงแรกท่ีเราควรเรยี นรูก้ ่อนสรา้ งงานวิดีโอ ก็คือ การเขียนStoryboard คือ การจินตนาการฉากตา่ งๆ ก่อนท่ีจะถ่ายทาจรงิ ในการเขียน Storyboard อาจวิธีง่ายๆ ไมถ่ ึงขนาดวาดภาพปรกอบก็ได้ เพียงเขียนวตั ถปุ ระสงคข์ องงานใหช้ ดั เจนว่าตอ้ งการส่ืออะไรหรอื งาน ประเภทไหน จากนน้ั ดวู ่าเราตอ้ งการภาพอะไรบา้ ง เขียนออกมาเป็นฉาก เรยี งลาดบั 1, 2, 3 2. เตรยี มองคป์ ระกอบตา่ งๆ ท่ีตอ้ งใช้ ในการทางานวดิ ีโอ เราจะตอ้ งเตรยี มองคป์ ระกอบตา่ งๆ ใหค้ รบถว้ น ไม่วา่ จะเป็นไฟลว์ ดิ ีโอ ไฟลภ์ าพน่งิ ไฟลเ์ สียง หรอื ไฟลด์ นตรี 3. ตดั ต่องานวดิ ีโอ การตดั ต่อคือการนาองคป์ ระกอบต่างๆ ท่ีเตรยี มไวม้ าตดั ตอ่ เป็นงานวดิ ีโอ งานวดิ ีโอจะออกมาดีนา่ สนใจเพียงใดขนึ้ อย่กู ับการตดั ตอ่ เป็นสาคญั ซง่ึ เราจะตอ้ งเรยี นรูก้ ารตดั ต่อในบทต่อไปก่อน

4. ใส่เอฟ็ เฟ็กต/์ ตดั ต่อใสเ่ สียง 5. แปลงวดิ ีโอ เพ่อื นาไปใชง้ านจรงิ ในขนั้ ตอนการตดั ตอ่ เราจะตอ้ งตกแต่งงาน ขนั้ ตอนการแปลงวิดีโอเป็นขนั้ ตอนสดุ ทา้ ย ในการ วิดีโอดว้ ยเทคนิคพเิ ศษตา่ งๆ ไมว่ า่ จะเป็นการ ทางานวิดีโอท่ีเราไดท้ าเรยี บรอ้ ยแลว้ นน้ั ไปใชง้ าน เลน่ สี การใส่ขอ้ ความ หรอื เสียงดนตรี ซง่ึ จะ โปรแกรม Ulead Video Studio สามารถทาได้ ชว่ ยใหง้ านของเรามีสีสนั และน่าสนใจมาก หลายรูปแบบ เช่น ทาเป็น VCD, DVD หรอื เป็น ย่งิ ขนึ้ ไฟล์ WMV สาหรบั นาเสนอทางอินเทอรเ์ น็ต

อุปกรณใ์ นการตดั ตอ่ วดิ โี อ 1. เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอรเ์ ป็นอปุ กรณช์ นิ้ แรกท่ีจาเป็นตอ้ งมี ปัจจบุ นั เทคโนโลยีกา้ วหนา้ ไปไกล ทาใหเ้ ราสามารถมีเครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ่ีมีประสิทธิภาพสงู ในราคา ประหยดั สาหรบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรส์ าหรบั การตดั ตอ่ ควรมีสเป็คเครอ่ื งขน้ั ต่า ดงั นี้ * ซพี ียู แนะนา Pentium 4 ความเรว็ 1 GHz ขนึ้ ไป * แรมหรอื หน่วยความจา ขนาด 512 MB ขนึ้ ไป * ฮารด์ ดิสก์ 80 GB ซง่ึ ปัจจบุ นั เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ มีความจุ ฮารด์ ดิสกม์ ากพออยแู่ ลว้ * ระบบปฏิบตั ิการ แนะนาใหใ้ ช้ Windows XP/2000

2. กลอ้ งถ่ายวดิ ีโอ กลอ้ งถ่ายวิดีโอ มีหลายประเภท หลายรูปแบบ แต่ในท่ีจะ กล่าวถงึ การใชง้ านเฉพาะกลอ้ งถ่ายวิดีโอแบบดิจิตอล หรอื กลอ้ งดิจิตอลแบบ MiniDV 3. Capture Card (การด์ จบั ภาพวดิ ีโอ) เน่ืองจากเราไม่สามารถนาภาพวดิ ีโอท่ีอยู่ ในกลอ้ งวดิ ีโอมาใชก้ บั เคร่อื งคอมพวิ เตอรโ์ ดยตรง ดงั นนั้ เราจาเป็นตอ้ งมีอปุ กรณ์ ท่ีเรยี กว่า การด์ แคปเจอร์ หรอื การด์ จบั ภาพวิดีโอ ช่วยเปล่ียนเสมือนเป็น ส่ือกลางในการส่งถ่ายขอ้ มลู จากกลอ้ งมายงั เคร่อื งคอมพวิ เตอร์ นน้ั เอง และแคปเจอร์ หรอื การด์ จบั ภาพวดิ ีโอ ก็มีหลายรูปแบบเช่นกนั 4. ไดรวส์ าหรบั เขียนแผ่น CD หรอื DVD อปุ กรณน์ ีจ้ าเป็นตอ้ งมีหากเราตอ้ งการสรา้ งงานใหอ้ ย่ใู นรูปแบบ VCD หรอื DVD ซง่ึ ในปัจจบุ นั ก็หาซอื้ ไดไ้ มย่ าก ราคาก็ไมแ่ พง 5. แผ่น CD สาหรบั บนั ทกึ ขอ้ มลู แผน่ CD-R (CD-ReWrite หรอื CD Record) ใช้ สาหรบั บนั ทกึ ขอ้ มลู ท่วั ไป เชน่ ขอ้ มลู ตา่ งๆ โปรแกรมเพลง รูปภาพ และภาพยนตร์ สามารถเขียนหรอื บนั ทกึ ขอ้ มลู ไดเ้ พยี งครง้ั เดียวจนกว่าจะเต็มแผ่น

แผ่น CD-RW (CD-Write) ดีวีดีอารด์ บั บลิวไดรว์ แผ่น CD-RW (CD-Write) ใชส้ าหรบั บนั ทกึ ดีวีดีดีอารด์ บั บลวิ ไดรว์ (DVD+-RW drive) ก็คลา้ ย กบั ซดี ีอารด์ บั บลิวไดรวน์ ่นั เอง คือสามารถอ่านและขียนแผน่ ดีวี ขอ้ มลู ท่วั ไปเช่นเดียวกบั แผน่ CD-R แต่มีความพเิ ศษกวา่ ตรงท่ีสามารถท่ีจะเขียนหรอื บนั ทกึ ซา้ และลบขอ้ มลู ท่ีเขียน ดีแบบพเิ ศษ คือแผ่น DVD+-R และแผ่น DVD+-RW ได้ ไปแลว้ ได้ รูปแบบของแผ่นดีวีดี แผ่นดีวีดีอาร์ แผ่นดีวีดีอารด์ บั บลิว ดีวีดีอาร์ (DVD+R : Digital Versatile Disc- Recordable) เป็นแผ่นดีวีดีท่ีผใู้ ชส้ ามารถบนั ทึก หรอื เขียน ดีวีดีอารด์ บั บลิว (DVD+RW : Digital Versatile ขอ้ มลู ลงไปไดค้ รง้ั เดียว จนกว่าจะเต็มแผน่ มีใหเ้ ลือกแบบดา้ น Disc-Re-recordable) เป็นแผ่นดีวีดีท่ีใชเ้ ขียน และลบ เดียว และ 2 ดา้ น ในความจดุ า้ นละ 4.7 GB แผน่ ประเภทนีย้ งั ขอ้ มลู ไดห้ ลายครงั้ มีความจุ 4.7 GB แบง่ ออกเป็น 2 มาตรฐาน (จาก 2 ค่าย) คือ แผน่ DVD-R DVD+R

รูปแบบไฟลภ์ าพ BMP (Bitmap) ไฟลภ์ าพประเภทท่ีเก็บจดุ ของภาพแบบจดุ ตอ่ จดุ ตรงๆ เรยี กว่าไฟลแ์ บบ บติ แมพ( Bitmap ) ไฟลป์ ระเภทนีจ้ ะมีขนาดใหญ่แตส่ ามารถเก็บ รายละเอียดของภาพไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์ แตเ่ น่ืองจากการเก็บแบบ Bitmap ใช้ เนือ้ ท่ีในการเก็บจานวนมาก จงึ ไดม้ ีการคิดคน้ วธิ ีการเก็บ ภาพใหม้ ีขนาดเล็กลงโดยยงั คงสามารถเก็บภาพไดเ้ ชน่ เดมิ ขนึ้ มาหลายวธิ ีการ เช่น JPEG และ GIF

JPEG ( Joint Graphics Expert Group ) เป็นการเก็บไฟลภ์ าพแบบท่ีบีบอดั สามารถทาภาพ ใหม้ ีขนาดของ ไฟลภ์ าพเล็กกวา่ แบบ Bitmap หลายสบิ เท่า แต่เหมาะจะใชก้ บั ภาพท่ี ถ่ายจากธรรมชาติเท่านนั้ ไมเ่ หมาะกบั การเก็บภาพเหมือนจรงิ เชน่ ภาพ การต์ นู เป็นตน้ GIF ( Graphics Interchange Format ) เป็นวิธีการเก็บไฟลภ์ าพแบบบีบอดั คลา้ ยกบั JPEG โดยท่วั ไป แลว้ ไม่สามารถเก็บภาพท่ีถ่ายจากธรรมชาตไิ ดม้ ีขนาดเลก็ เท่ากบั แบบ JPEG แต่สามารถเก็บภาพท่ีไมใ่ ชภ่ าพถ่ายจากธรรมชาติเช่น ภาพ การต์ นู ไดเ้ ป็นอยา่ งดี นากจากนี้ GIF ยงั สามารถเก็บภาพไวไ้ ด้ หลายๆภาพ ในไฟลเ์ ดียว จงึ ถกู นาไปใชส้ รา้ งภาพเคล่ือนไหวง่ายๆ เช่น ในอินเตอรเ์ น็ต

TIFF ( Tagged Image File Format ) คือการเก็บไฟลภ์ าพในลกั ษณะเดียวกบั ไฟลแ์ บบ BMP แตใ่ นไฟลม์ ี Tagged File ซง่ึ เป็นสญั ลกั ษณท์ ่ี ช่วยโปรแกรมควบคมุ การแสดงภาพ เช่น การแสดงหรอื ไม่แสดงภาพบางสว่ นได้ ภาพท่ีเก็บไวใ้ นลกั ษณะของ TIFF จงึ มีความพเิ ศษกวา่ การเก็บแบบอ่ืนท่ีกลา่ วมา นอกจากนีย้ งั มีไฟลภ์ าพแบบต่างๆ อีกหลายแบบ โดยแต่ละแบบจะมี จดุ เด่นแตกตา่ งกนั ไป มกั นยิ มใชใ่ นงานกราฟิกการพมิ พ์

รูปแบบของไฟลว์ ิดีโอ ไฟลว์ ิดีโอท่ีนามาใชง้ านกบั นนั้ มีหลายรูปแบบ โดยเราจะมาทาความรูจ้ กั กบั ไฟล์ วดิ ีโอแบบต่าง เพ่อื เป็นแนวทางในการเลือกใชไ้ ดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งและตรงตามประเภท ของงาน ไฟล์ MPEG MPEG ( Motion Picture Exports Group ) เป็นมาตรฐานสาหรบั การบีบอดั วดิ ีโอและเสียงแบบดิจิตอล ซง่ึ เป็นรูปแบบของวิดีโอท่ีมีคณุ ภาพสงู และนยิ มใชก้ บั งานทกุ ประเภทโดยไฟล์ MPEGนี้ ก็ยงั แยกประเภทออกไปตามคณุ สมบตั ิต่าง ๆ อีกดว้ ย ดงั นี้

MPEG -1 ถือกาเนิดข้ึนมาในปี 2535 ซ่ึงเป็นรูปแบบของไฟลท์ ี่เขา้ รหสั มาดว้ ยการบีบอดั ใหไ้ ดไ้ ฟลท์ ี่มี ขนาดเลก็ เพอ่ื สาหรับการสร้างวดิ ีโอแบบ VCD โดยจะมีการบีบอดั ขอ้ มูลสูง มีค่าบิตเรตอยู่ ท่ี 1.5 Mb/s ซ่ึงมีคุณภาพใกลเ้ คียงกบั เทปวดิ ีโอ MPEG -2 ถือกาเนิดข้ึนในปี 2538 ซ่ึงเป็นรูปแบบของไฟลท์ ี่เขา้ รหสั มาเพือ่ การสร้างภาพยนตร์โดยเฉพาะ โดย สามารถสร้างเป็น SVCD หรือ DVD ก็ได้ ซ่ึงอตั ราการบีบอดั ขอ้ มูลจะนอ้ ยกวา่ MPEG-1 ไฟลท์ ่ี ไดจ้ ึงมีขนาดใหญ่กวา่ และไดค้ ุณภาพสูงกวา่ ดว้ ย อีกท้งั ค่าบิตเรตกไ็ ม่ตายตวั ทาใหส้ ามารถกาหนด อตั ราการบีบอดั ขอ้ มูลไดเ้ อง MPEG -4 เป็นรูปแบบของไฟลแ์ บบใหม่ท่ีถือกาเนิดข้ึนในเดือนตุลาคม 2541 จากความร่วมมือกนั ของ วศิ วกรทว่ั โลกและไดเ้ ป็นมาตรฐานของนานาชาติเมื่อปี 2542 ซ่ึงถือเป็นการปฏิวตั ิวงการดิจิตอล วดิ ีโอ เพราะมีรูปแบบการบีบอดั ท่ีดีกวา่ MPEG-1 และ MPEG-2 โดยไฟลป์ ระเภทน้ีจะมี คุณภาพของวดิ ีโอสูง สามารถสร้างรหสั ภาพวดิ ีโอไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพโดยมีจุดประสงคเ์ พ่ือการ ใชง้ านอยู่ 3 ประเภท คือ ระบบโทรทศั น์แบบดิจิตอล งานดา้ นแอพพลิเคชนั กราฟิ กและมลั ติมีเดีย ต่างๆ แตป่ ัจจุบนั ยงั มีส่ือที่รองรับไฟลป์ ระเภทน้ีอยนู่ อ้ ย จึงไมค่ ่อยไดร้ ับความนิยมมากนกั

รูปแบบของไฟลเ์ สียงชนิดตา่ ง ๆ ในการบนั ทกึ เสียงในระบบ Hard disk Recording จะมีรูปแบบของการ เก็บขอ้ มลู เสียงมากมาย และแตล่ ะรูปแบบก็สามารถเปล่ียนไปมากนั ได้ บาง รูปแบบท่ีมีการบีบอดั เม่ือเปล่ียนกบั มาเป็นรูปแบบท่ีไมม่ ีการบีบอดั ก็จะไดค้ ณุ ภาพ เสียงเหมือนท่ีบีบอดั ไปแลว้ เพราะมีการสญู เสียคณุ ภาพสญั ญาณไปในขน้ั ตอนของ การบีบอดั ไปแลว้ ไม่สามารถเรยี กกลบั คืนมาไดโ้ ปรแกรมดนตรมี กั จะเก็บขอ้ มลู เสียงดงั นี้ AIFF


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook