Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Description: 20.

Search

Read the Text Version

1

1 เอกสารสรุปเน้อื หาท่ตี องรู รายวิชา ชอ งทางการพฒั นาอาชีพ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน รหัส อช21001 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาํ นักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ หามจาํ หนา ย หนังสือเรยี นนจ้ี ดั พมิ พด ว ยเงินงบประมาณแผน ดนิ เพอ่ื การศกึ ษาตลอดชวี ติ สาํ หรับประชาชน ลขิ สทิ ธิเ์ ปน ของสาํ นักงาน กศน.สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร



3 สารบัญ หนา คาํ นํา สารบัญ คาํ แนะนาํ การใชห นงั สือสรุปเน้ือหาทตี่ องรู บทท่ี 1 การงานอาชีพ...........................................................................................................1 เรอ่ื งท่ี 1 ความสาํ คัญและความจําเปนในการพัฒนาอาชพี ................................................ 1 เรื่องท่ี 2 กลมุ อาชพี ใหม..................................................................................................... 1 เรื่องท่ี 3 การประกอบอาชพี ในภูมภิ าค 5 ทวีป ................................................................. 2 เรื่องที่ 4 การพฒั นากระบวนการจดั การงานอาชพี ในชุมชน สังคม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวปี ...........................................................................................13 เรือ่ งท่ี 5 คุณธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพ.........................................................35 เร่อื งท่ี 6 การอนรุ กั ษพ ลังงานและสงิ่ แวดลอมในชมุ ชน สังคม ประเทศ และภูมิภาค 5 ทวปี ...........................................................................................................................36 แบบฝก หดั ......................................................................................................................37 บทท่ี 2 ชองทางการพฒั นาอาชพี ........................................................................................39 เรื่องท่ี 1 ความจาํ เปนในการมองเห็นชอ งทางเพือ่ พัฒนาอาชพี .......................................39 เรอ่ื งที่ 2 ความเปน ไปไดในการเขา สอู าชีพ.......................................................................39 เรื่องท่ี 3 การกําหนดวิธกี ารพฒั นาอาชพี พรอมใหเหตุผล................................................47 แบบฝกหัด ......................................................................................................................49 บทที่ 3 การตดั สนิ ใจเลอื กพฒั นาอาชพี ................................................................................51 เรอ่ื งท่ี 1 ขอ มลู การตดั สินใจเลอื กพฒั นาอาชีพ................................................................51 เรื่องที่ 2 การตดั สินใจพัฒนาอาชีพดว ยการวเิ คราะหศ กั ยภาพ........................................56 แบบฝกหดั ......................................................................................................................58 เฉลยแบบฝก หัด ...................................................................................................................59 บรรณานกุ รม........................................................................................................................65 คณะผูจ ดั ทํา .........................................................................................................................66

4 คาํ แนะนําการใชเอกสารสรุปเนอ้ื หาทต่ี อ งรู หนังสือสรุปเน้ือหาที่ตองรูหนังสือเรียนรายวิชา ชองทางการพัฒนาอาชีพ เลมนี้ เปนการสรปุ เนอื้ หาจากหนงั สอื เรยี นรายวิชาบังคับ สาระการประกอบอาชีพ รายวิชาชองทาง การพัฒนาอาชีพ อช21001 ระดับมัธยมศึกษาตอนตน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรู และทําความเขาใจในเนอ้ื หาสาระของรายวิชา ชองทางการพัฒนาอาชีพ อช21001 ท่ีสําคัญ ๆ ไดสะดวกและสามารถเขาใจยง่ิ ขน้ึ ในการศกึ ษาหนังสือสรุปเนอื้ หาทต่ี องรหู นังสือเรียนรายวิชา ชอ งทางการพัฒนาอาชีพ เลมนี้ นกั ศกึ ษาควรปฏิบัติ ดงั น้ี 1. ศกึ ษาหนังสือเรียนรายวชิ า ชอ งทางการพัฒนาอาชีพ อช21001 สาระการประกอบ อาชีพ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ใหเ ขาใจกอน 2. ศกึ ษาเนอ้ื หาสาระของหนงั สือสรปุ เนื้อหาทตี่ องรหู นังสือเรียนรายวิชา ชองทางการ พัฒนาอาชีพ อช21001 ใหเขาใจอยางถองแท พรอมทั้งทําแบบฝกหัดทายบททีละบท และ ตรวจคาํ ตอบจากเฉลยแบบฝก หัดทายเลมใหครบ 3 บท 3. หากนักศึกษาตองการศึกษารายละเอียดเน้ือหาสาระรายวิชา ชองทางการพัฒนา อาชีพ อช21001 เพิ่มเติมสามารถศึกษาคนควาไดจากส่ืออื่น ๆ ในหองสมุดประชาชน อินเทอรเ นต็ หรือครผู ูสอน

1 บทท่ี 1 การงานอาชพี เร่ืองที่ 1 ความสําคญั และความจาํ เปนในการพัฒนาอาชพี การพฒั นาอาชพี หมายถึง การทําใหอาชีพท่ีมีอยูนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงในทิศทาง ที่ดีข้นึ กวาเดมิ ใหเ หมาะสมกับความตองการของตลาด การพฒั นาอาชีพท่มี ปี ระสทิ ธิภาพจะตอง พฒั นาความรู ความสามารถในการวางแผน การกําหนดยุทธศาสตรตาง ๆ ท้ังดวยตนเองและ กระบวนการกลุม โดยเฉพาะผูประกอบอาชีพเดียวกัน เพอ่ื แลกเปลีย่ นเรยี นรซู ่ึงกันและกนั แลวนําไปตัดสินใจเพ่ือนําไปสูการปฏิบัติ นอกจากนี้ควรมีการบริหารจัดการแบบองครวม บูรณาการปจ จยั ตาง ๆ ใหเ ปน หนง่ึ เดยี ว สามารถเกอ้ื หนนุ กนั ได การพฒั นาอาชพี จึงเปน สิ่งทีส่ ําคญั ในวิถีชีวิตและการดํารงชีพในปจจุบัน เพราะอาชีพ เปนการสรางรายไดเพ่ือเล้ียงชีพตนเองและครอบครัว กอใหเกิดผลผลิตและการบริการ ซ่ึงสนองตอบตอความตอ งการของผูบริโภค และท่ีสําคัญคือ การพัฒนาอาชีพมีความสําคัญตอ เศรษฐกิจของประเทศชาติ เร่อื งที่ 2 กลมุ อาชพี ใหม การประกอบอาชีพในปจ จุบนั มกี ารแบง ตามลักษณะของการประกอบอาชีพออกเปน 5 กลุม ดังนี้ 1. กลุมอาชพี ดานการเกษตร คือ การพฒั นาอาชพี ในดา นการเกษตรเกี่ยวกับการปลูก พืช เล้ียงสัตว การประมง โดยนําองคความรูใหม เทคโนโลยีนวัตกรรม มาพัฒนาใหสอดคลอง กับศกั ยภาพหลกั ของแตล ะพน้ื ท่ี โดยคาํ นึงถงึ ทรัพยากรธรรมชาตใิ นพ้นื ที่เปน สาํ คญั 2. กลุมอาชีพดานพาณิชยกรรม คือ การพัฒนาหรือขยายขอบขายงานอาชีพดาน พาณิชยกรรม เชน ผูใหบริการจําหนายสินคา ทั้งคาปลีกและคาสงใหแกผูบริโภค โดยการ จาํ หนายหนา ราน เชน หางรา น หางสรรพสนิ คา ซุปเปอรส โตร รา นสะดวกซ้ือหรือการขายที่ไม มีหนาราน เชน การขายผานส่ืออิเล็กทรอนิกส ซ่ึงเปนลักษณะงานอาชีพที่นิยมทํามาก ในปจจุบัน และมีการลงทนุ ตํา่ ทส่ี ดุ

2 3. กลมุ อาชีพดานอตุ สาหกรรม คอื การประกอบอาชีพที่อาศัยองคความรู เทคโนโลยี นวัตกรรมอาชีพเกี่ยวกับงานชาง เชน ชางไฟฟา ชางไม ชางยนต ชางประปา ชางปูน และชาง เชื่อม โดยใหสอดคลองกับความตองการของตลาดในประเทศและตางประเทศและศักยภาพ หลักของพืน้ ท่ี 4. กลุมอาชีพดานความคิดสรางสรรค คือการสราง/เพิ่มมูลคาใหกับของสินคาและ บริการไดโดยไมตองใชทรัพยากรมากนัก แตใชความคิด สติปญญา และความสรางสรรค ใหมากขึ้น เชน อาชพี การออกแบบจดั สวน อาชีพการออกแบบบรรจุภัณฑ อาชีพงานประดิษฐ ใบตอง เปน ตน 5. กลมุ อาชีพดา นอํานวยการและอาชีพเฉพาะทาง เชน ธุรกิจบริการทองเท่ียว ธุรกิจ บริการสุขภาพธุรกิจการจัดประชุมและแสดงนิทรรศการ ทั้งน้ีในการดําเนินธุรกิจดังกลาวนั้น สง่ิ ทต่ี องคํานึงถงึ คือ การโฆษณาประชาสมั พนั ธ การสง เสริมการตลาด การบริการหลังการขาย เพ่อื สรางความประทบั ใจใหแ กลูกคา เรอื่ งท่ี 3 การประกอบอาชีพในภูมภิ าค 5 ทวปี อาชพี ในชุมชน สงั คม ประเทศ ของทวปี เอเชยี การประกอบอาชพี ในทวีปเอเชยี มกี ารประกอบอาชีพท่หี ลากหลาย ดังน้ี 1. ดานการเกษตรกรรม ไดแ ก 1.1 การเพาะปลูก มีการเพาะปลูกแบบผสมผสาน โดยการใชพื้นท่ีทําการ เพาะปลกู พชื หลายชนิดผสมกนั เชน ปลูกขา ว ปลกู ผัก ปลูกไมยืนตน ปลูกไมผล ในพ้ืนที่แปลง เดียวกัน หรืออาจจะผสมกับการเล้ียงสัตว ก็ได เชน ในพ้ืนที่ 1 แปลง สามารถปลูกขาว ปลูกผัก ปลูกไมยืนตน เลี้ยงปลา เลี้ยงไก เลี้ยงเปด เปนตน ประเภทพืชเกษตรกรรมที่มีการ ปลกู มาก ไดแ ก 1) พืชท่ีใชเปนอาหาร เชน ขาวเจา ขาวเหนียว ขาวโพด มันสําปะหลัง มันฝรั่ง ขาสาลี เปนตน 2) พชื นาํ้ มนั เชน มะพรา ว ปาลม นํ้ามัน งา มะกอก ถัว่ ทานตะวนั เปนตน 3) พืชเสนใย เชน ฝาย ปาน ปอ นนุ เปนตน 4) พืชทาํ เครื่องด่ืม เชน ชา กาแฟ โกโก เปนตน 5) พชื อ่ืน ๆ เชน ยางพารา ยาสูบ หวั ผกั กาด ออย เปนตน

3 ปจ จุบนั การทําการเกษตรมีการพัฒนาโดยใชเทคโนโลยีสมัยใหมเขามาชวย ทําให ไดผ ลผลติ เพมิ่ มากขนึ้ กวาวิธีการด้งั เดิม 1.2 การเลีย้ งสตั ว แหลงเลี้ยงสตั วทีส่ ําคญั ไดแก 1) ภูมิภาคเอเชยี ใต เชน ประเทศอินเดีย ปากีสถานมีการเล้ียงสัตวเพื่อใชเปน อาหารและเล้ียงไวใชงาน ไดแก โค กระบือ แพะ แกะ เพ่อื เปนอาหารและเลี้ยงไวใชงาน 2) ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต นยิ มเล้ียงสัตวควบคูกบั การทํานา ไดแก โค กระบอื 3) ญป่ี ุน บริเวณเกาะฮอกไกโด มีอากาศหนาวเย็น มีการเล้ยี งโคนม โคเนอ้ื 4) ตอนกลางทวีปเอเชียและแถบเอเชียตะวันตกเฉียงใต มีการเล้ียงสัตวแบบ เรรอน เชน โค แพะ แกะ โดยเลยี้ งตามทงุ หญาตามฤดูกาล 2 ดานอตุ สาหกรรม ไดแ ก 2.1 การประมง ทวีปเอเชีย อุดมสมบูรณไปดวยสัตวน้ําจืด น้ําเค็ม นํ้ากรอย ประเทศที่จับสัตวน้ําเค็มไดมากเปนอันดับตน ๆ ของโลก คือ ญ่ีปุน ไทย และเวียดนาม สวน ประเทศทีจ่ ับปลาน้ําจืดไดม าก คือ กมั พชู า 2.2 การทําปาไม ทวปี เอเชีย มีปาไมอยูประมาณ 8.5 ลานตารางกิโลเมตร แตถูก บุกรุกทําลายโดยไมมีการปลูกทดแทน ปาไมที่สําคัญของทวีปเอเชียที่สําคัญ เชน ปาสนเขต หนาวในไซบีเรยี ปาเบญจพรรณ ปา ดิบ ปาชายเลน บริเวณที่ราบสูงภูเขาและชายทะเล พื้นท่ี ท่ีมีปาไมจ าํ นวนมาก ไดแ ก เกาะบอรเนยี ว เกาะสุมาตรา ของประเทศอินโดนีเซีย ประเทศพมา และลาว 2.3 การทําเหมืองแร แหลงแรธาตุท่ีสําคัญของทวีปเอเชียกระจายอยูทั่วไป เชน แรถ านหินและเหลก็ พบมากในประเทศจีน สว นแรด ีบุกพบมากในประเทศจีน อินโดนีเซีย และ มาเลเซีย แรเช้ือเพลิงพบมากในภูมิภาคเอเชียตะวันตกเฉียงใต รอบอาวเปอรเซีย ไดแก ประเทศซาอุดีอาระเบีย อิรัก อิหราน โดยผลิตน้ํามันไดปริมาณมาก เศรษฐกิจในภูมิภาคน้ี จึงขนึ้ อยูกบั นา้ํ มัน นอกจากน้ันแลวอาชีพอุตสาหกรรมสามารถแบงตามลักษณะของการผลิตได 3 ประเภท ดังน้ี 1) อุตสาหกรรมในครัวเรือน เปนอุตสาหกรรมท่ีใชแรงงานคนแปรสภาพ วัตถดุ ิบทมี่ ีอยูในทอ งถนิ่ โดยจะทาํ ในยามวาง ผลผลิตสวนใหญจะใชบริโภคในครอบครัว และ

4 ผลผลติ ที่เหลอื อาจสง ออกไปขายตามตลาด ในทองถิ่นน้นั เชน การทําเคร่ืองปนดินเผา การทอ ผา ประเทศทที่ ําอุตสาหกรรมประเภทนจี้ าํ นวนมาก ไดแก ประเทศลาว พมา ไทย 2) อุตสาหกรรมโรงงานขนาดเล็ก สวนใหญใชแรงงานคนเปนหลัก มีการนํา เคร่ืองจักรและเครื่องทุนแรงขนาดเล็กเขามาใช เชน การผลิตเคร่ืองกระปอง สิ่งพิมพ เสื้อผา สาํ เรจ็ รปู เฟอรนเิ จอร เปน ตน จะพบมากในประเทศไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ปากีสถานและ ตุรกี 3) อตุ สาหกรรมขนาดใหญ เปน อุตสาหกรรมท่มี ีเคร่ืองจกั รกลอัตโนมัติมาใชใน การผลิต แรงงานที่ใชจะเปนชางฝมือและมีทักษะความเชี่ยวชาญ เชน การผลิตเคร่ืองจักรกล ผลติ รถยนตและอุปกรณไฟฟา พบมากในประเทศญ่ีปนุ จนี และไตห วัน 3. ดานพาณิชยกรรม ในอดตี ทวีปเอเชยี มีการคาขายกับประเทศเพื่อนบานใกลเคียง เทานัน้ ตอ มาไดขยายออกสูตลาดโลกโดยเฉพาะสินคาทางการเกษตรที่บรรจุหีบหอ จนเปนที่ นิยมของตลาดโลก เชน ยุโรป อเมริกาเหนือ นอกจากน้ี ยังมีสินคาดานอุตสาหกรรม ประเภท วงจรไฟฟา อุปกรณไ ฟฟา ชิน้ สว นเคร่ืองจกั รกล เครือ่ งหนงั ผลติ ภณั ฑเฟอรนเิ จอร จงึ สงผลให ประเทศญี่ปนุ ไตหวนั เกาหลีใต สิงคโปร มีบทบาทในการกําหนดระบบพาณิชยกรรมของโลก สวนประเทศไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ก็มีการขยายตัวและมีบทบาทตอการทิศทางเศรษฐกิจ ของทวปี มากขนึ้ กวาเดมิ 4. ดานคมนาคมขนสงและการส่ือสาร ประเทศในทวีปเอเชียยังไมไดรับการพัฒนา ดานการขนสงเทาท่ีควร ประเทศมีการขนสงไดมาตรฐาน ไดแก จีน ญี่ปุน เกาหลีใตและ สิงคโปร ถึงแมถนนสายเอเชียจะเช่ือมตอไปหลายประเทศ แตก็ยังไมเพียงพอและยังมีปญหา ความปลอดภยั สวนการขนสงทางนํ้ายงั คงมคี วามสาํ คญั อยางมาก ในกลมุ เอเชยี ตะวันออกเฉียง ใตมกี ารเรงขยายการขนสงทางอากาศ เพ่ือความสะดวกรวดเร็วในการนําสินคาไปจําหนายยัง ภูมิภาคตาง ๆ และเปนการกระตุนสงเสริมการทองเท่ียวและการเดินทางของนักธุรกิจเขาสู ประเทศอกี ดวย อาชพี ในชุมชน สงั คม ประเทศ ของทวปี ออสเตรเลีย พื้นท่ีสวนใหญของทวีปออสเตรเลียมีอากาศแหงแลง ไมเหมาะแกการเพาะปลูก ประชากรจึงนยิ มประกอบอาชีพการเล้ียงสัตว ดวยเหตุนเี้ องจงึ มีการขดุ บอบาดาลเพื่อนําเอานํ้า ใตดนิ มาใชก ันอยางกวางขวางเชน แองแผนดินเกรตอารทีเชียนในรัฐควีนสแลนด แองแผนดิน เมอรร ยี ใ นรฐั นวิ เซาทเวสตและแองแผนดินแอเดเลดเพลนในรฐั วิกตอเรีย อาชพี ทส่ี าํ คญั ไดแก

5 1. ดา นการเกษตรกรรม 1.1 การเพาะปลกู ไดแ ก 1) ขาวสาลี เปน พืชเศรษฐกจิ ท่ีทํารายไดท่ีสําคัญที่สุดของออสเตรเลีย มีเนื้อท่ี เพาะปลูกประมาณ 2 ใน 3 ของเน้ือที่เพาะปลูกท้ังประเทศ แหลงปลูกขาวสาลีมากท่ีสุด คือ บรเิ วณลุมน้าํ เมอรรีย- ดารล ิง และทางตะวันตกเฉยี งใตของรฐั นวิ เซาทเวสต 2) ขาวจาว แหลงปลูกท่ีสําคัญ ไดแก รัฐนิวเซาทเวสต โดยนําเอาระบบ ชลประทานเขา มาชว ยในการเพาะปลูก รัฐเวสเทรินออสเตรเลีย นอรเทิรนเทรริทอรี ปลูกโดย อาศยั นํา้ ฝนตามธรรมชาติ 3) กลวย ออย สับปะรด ฝายและยาสูบ ปลูกมากทางชายฝงตะวันออกของ รฐั ควีนสแลนด ทางตอนเหนือของรัฐนิวเซาทเ วสต 4) องุนและสม เปนพืชในอากาศเมดิเตอรเรเนียน ชายฝงตะวันตกเฉียงใต และตะวันออก ของอา วเกรตออสเตรเลียไบตและเกาะแทสเมเนยี 1.2 การเลี้ยงสัตว ออสเตรเลียเปนประเทศท่ีมีการเล้ียงแกะมากที่สุดในโลก พบมากบริเวณรัฐ นิวเซาทเวสต ควีนสแลนด และเวสเทิรนออสเตรเลีย พันธุท่ีนิยมเลี้ยงมาก ที่สดุ คอื พันธุเ มอริโน เลีย้ งไวเพอ่ื ใชป ระโยชนจ ากขนมาเปน สินคาสงออก ซึ่งเปนสินคาสงออก มากท่สี ุดในโลก สาํ หรบั การเลย้ี งโคนัน้ สว นใหญเปน โคเนือ้ เล้ยี งมากในบริเวณทุง หญา สะวันนา ทางตอนเหนอื สวนโคนม เลย้ี งในเขตอบอุนทางชายฝง ตะวนั ออกเฉียงใตข องประเทศ 2. ดานอุตสาหกรรม สวนใหญเปนอุตสาหกรรมทางการเกษตร การผลิตรถยนต การตอเรอื การผลติ เคร่อื งใชไฟฟา การกลัน่ น้ํามนั การทอผา ฯลฯ แหลงอุตสาหกรรมท่ีสําคัญ อยูทางตะวันออกเฉียงใตของประเทศ ไดแก รัฐนิวเซาทเวสต วิกตอเรีย แทสเมเนีย และเซาท ออสเตรเลีย 2.1 การประมง แหลง ประมงสวนใหญอยูทางชายฝง ตะวนั ออกของประเทศ เพราะ เปนแหลงท่มี ปี ลาชุกชุมมากแหงหน่ึงของโลก นอกจากนี้ยังมีการเล้ียงหอยมุก โดยการทําการ ประมงอยา งแพรหลายในบริเวณเกาะเทอรสเตย ทางเหนือสดุ ของคาบสมทุ รยอรก 2.2 การทําปาไม สวนใหญอยูทางฝงตะวันออกของประเทศ เพราะมีอากาศช้ืน สว นใหญเ ปน ไมย ูคาลปิ ตัส และไมอ ะเคเซีย (ไมต ระกูลกระถนิ ) 2.3 การทาํ เหมืองแร มีการทําเหมืองแรอยหู ลายแหง ไดแ ก 1) เหล็ก พบมากที่เมืองยัมปซาวด เขตเทือกเขาแฮมเมอรสเลย รัฐเวสเทิร นออสเตรเลยี

6 2) ถานหิน พบมากทางชายฝงตะวันออกในนิวเซาทเวสตและควีนสแลนด โดยเฉพาะที่เมอื งซิดนยี  นวิ คาสเซิล และวูลลองกอง เปนแหลงถา นหินท่ีใหญท ส่ี ุดของประเทศ 3) ทองคาํ อยใู นรัฐเซาทออสเตรเลยี เหมอื งใหญท่ีสุดอยูท ี่เมืองคาลกูรลี 4) ตะก่วั สงั กะสี เงิน ในรฐั นวิ เซาทเวสต เมือง โบรกเคนฮิ 5) ดบี ุก ใ นรัฐควนี สแลนด ท่ีเมอื ง เฮอรน เบอรต ัน และเมืองสแตนทอรป 6) บอกไซต ในรัฐควนี สแลนดบ ริเวณคาบสมุทรยอรก 7) น้ํามนั ในรัฐควีนสแลนด รฐั เซาทอ อสเตรเลยี จะเหน็ ไดวาการประกอบอาชพี ของประชากรในทวีปออสเตรเลียมีความคลายคลึงกับ การประกอบอาชพี ในประเทศไทย ไดแ กอาชีพ การเลย้ี งโคเน้ือและโคนม การปลูกขาวสาลี การ ปลกู ออย การปลกู กลวย และการปลกู ยาสบู เปนตน อาชพี ในชุมชน สังคม ประเทศ ของทวีปอเมริกา ประกอบดวย ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมรกิ าใต อาชพี ในชุมชน สังคม ประเทศ ของทวีปอเมรกิ าเหนือ มดี งั นี้ 1. ดา นการเกษตรกรรม ไดแ ก 1.1 การเพาะปลกู อเมริกาเหนอื เปน ดินแดนผลิตอาหารที่สําคัญของโลก โดยเปน ผูนาํ ในการผลติ ขา วโพดและขา วสาลี 1.2 การเล้ยี งสัตว มีการทําฟารม ปศสุ ัตวขนาดใหญ ชาวอเมริกันนิยมรับประทาน อาหารประเภทเนื้อสัตว นมเนย มากกวาอาหารโปรตีนชนิดอื่น โดยมีการเลี้ยงโคเนื้อในเขตท่ี ราบภาคกลางและภาคตะวันออกของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยพื้นท่ีดังกลาว มีการปลูก ขา วโพดและถวั่ เหลืองเพ่อื นาํ มาเปนอาหารสัตว 1.3 การประมง มีการจับปลาในเขตน้ําตื้นชายฝง แหลงปลาชุกชุมอยูใกลเกาะนิว ฟน ดแ ลนด เรยี กวา แกรนดแ บงก 2. ดานอตุ สาหกรรม อเมรกิ าเหนือเปนทวปี ทไี่ ดช ่ือวา ลาํ้ หนา ในเรือ่ งการอุตสาหกรรม ของโลก โดยเฉพาะอยางย่ิง ประเทศสหรัฐอเมริกา จะมีโรงงานผลิตสินคาชนิดตางๆ กระจาย อยูทุกภูมิภาคของประเทศ อุตสาหกรรมสําคัญ ไดแก การผลิตเหล็กและเหล็กกลา เครอื่ งจักรกล อุตสาหกรรมเก่ียวกับการขนสง เขตอุตสาหกรรมท่ีสําคัญของสหรัฐอเมริกา คือ ชายฝงมหาสมุทรแอตแลนตกิ ครอบคลุมพืน้ ท่จี นถงึ ทะเลสาบใหญทางตะวันตก และเขตท่ีราบ

7 ลมุ แมนํ้ามสิ ซิสซปิ ป มีประชากรอาศัยอยูหนาแนน สําหรับประเทศแคนาดา เขตอุตสาหกรรม จะอยูทางตอนใตข องประเทศ ประกอบอาชพี ทํากระดาษและเยือ่ ไม 3. ดานพาณิชยกรรม ถือเปนตลาดการคาสําคัญของโลก มีประชากรจํานวนมาก สภาพทางเศรษฐกิจดี ผูนําในทวีปอเมริกาเหนือทั้ง 3 ประเทศ ไดแก สหรัฐอเมริกา แคนาดา และเมก็ ซิโก รวมกลมุ กัน จดั ตัง้ เปน เขตการคาเสรีอเมริกาเหนอื หรอื นาฟตา (NAFTA) เพื่อตอ รองและถวงดลุ อํานาจกบั ประชาคมยุโรป จะเหน็ ไดวาการประกอบอาชีพของประชากรในทวีปอเมริกาเหนือ มีความคลายคลึง กับการประกอบอาชีพของประชากรในประเทศไทย ไดแก อาชีพ การเล้ียงวัวเนื้อ การปลูก ขาวโพด อาชีพในชุมชน สังคม ประเทศ ของทวปี อเมริกาใต ประเทศตาง ๆ ในทวีปอเมริกาใตจ ัดอยูในกลมุ ประเทศกาํ ลังพัฒนา อุปสรรคสาํ คัญ ในการพฒั นาเศรษฐกจิ คอื ขาดแคลนเงินทนุ ขาดเทคโนโลยีสมัยใหม และลักษณะภูมิประเทศ ไมเ อื้ออํานวย อยูหา งไกลจากตลาดการคา ของโลก อาชพี ทีส่ ําคัญ มีดงั นี้ 1. ดา นการเกษตรกรรม ไดแก 1.1 การเพาะปลกู มี 2 ลกั ษณะ ดังน้ี 1) การเพาะปลูกเพอ่ื ยังชพี ชาวพ้นื เมอื งจะทําการเพาะปลูกในพ้ืนที่ขนาดเล็ก และการทําไรเลอื่ นลอย บรเิ วณลุม แมนาํ้ อเมซอน และบริเวณทส่ี งู ของทวปี พืชท่ีปลูก ไดแก ผัก ขาวโพด มันเทศ ถ่วั ลสิ งและมันสาํ ปะหลัง 2) การเพาะปลกู เพอ่ื การคา ไดแ ก - ขาวโพด ปลูกมากในเขตอากาศอบอนุ ประเทศบราซิล อารเ จนตนิ า - ขา วสาลี ปลูกมากบริเวณทงุ หญาปามปาส ประเทศอารเ จนตินา - กาแฟ และ ออ ย ปลกู มากในบราซลิ โคลัมเบีย เอกวาดอร - ฝา ย ในบราซิล อารเจนตินา เปรู - กาเกา ปลูกมากในบราซลิ เอกวาดอร เวเนซูเอลา - ยางพารา ปลกู มากในบราซิล อุรกุ วยั

8 1.2 การเลี้ยงสัตว ทวีปอเมริกาใตมีทุงหญาเลี้ยงสัตวที่กวางขวางมาก สัตวเลี้ยง ที่สําคญั ไดแก วัวพันธุเน้อื เลี้ยงมากบริเวณชายฝงตะวันออกของบราซิล อุรุกวัย อารเจนตินา และตอนเหนือของเวเนซูเอลา และโคลัมเบีย ประเทศท่ีสงวัวเน้ือออกจําหนายมากที่สุดของ ทวีป คือ อารเจนตนิ า แกะพนั ธุเน้ือ และพนั ธขุ น เล้ียงกันมากบริเวณเขตอากาศก่ึงแหงแลงของ เปรู ชิลี ที่ราบสูงปาตาโกเนีย และทางตอนใตของอารเจนตินา สวนการเลี้ยงหมูในประเทศ บราซลิ และอารเ จนตินา 2. ดานอุตสาหกรรม ไดแ ก 2.1 การประมง สวนใหญทําการประมงขนาดเล็กบริเวณชายฝง แหลงประมง ที่สําคัญ ไดแ ก บริเวณชายฝงประเทศเปรู อารเจนตินา บราซิล หมูเกาะฟอลกแลนด หมูเกาะ ของเวเนซุเอลาประเทศเปรู 2.2 การทาํ ปา ไม เขตปาดงดิบบริเวณลุมแมน้ําอเมซอน คือ ปาเซลวาส เปนปาท่ี อยใู นเขตอากาศรอนชื้น มลี าํ ตนสงู ใหญปกคลุมพน้ื ทห่ี นาแนน เปนเขตทุรกันดาร การคมนาคม ไมสะดวก จงึ มกี ารทาํ ปาไมเฉพาะบริเวณทม่ี ีแมน ้าํ ไหลผานเทานน้ั 2.3 การทําเหมืองแร ทวีปอเมริกาใต เปนแหลงทรัพยากรท่ีสําคัญของโลก แหลง แรท่ีสาํ คัญ ไดแก 1) นา้ํ มันปโตรเลยี ม ขดุ เจาะในประเทศอารเ จนตนิ า 2) เหล็ก ทองแดง ในประเทศบราซิล ชลิ ี 3) ดบี กุ ในโบลิเวีย 4) ไนเตรท นํามาทําปุย ในเขตทะเลทรายอะตากามา ตอนเหนือของประเทศ ชิลี แรบอกไซดแมงกานสี เงนิ และพลวง ในประเทศซูรินาเม กายอานา 2.4 การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร ไดแก 1) อาหาร ประเภทเน้ือววั เน้อื แกะสําเร็จรปู ในอารเ จนตินา บราซิล ชิลี 2) สตั วนาํ้ แชแขง็ และปลากระปอ ง ในเปรู อารเ จนตนิ า 3) นา้ํ ตาลทราย ในโคลัมเบยี บราซลิ 4) สกดั น้ํามันปาลม ในโคลมั เบีย เอกวาดอร 5) สกัดน้าํ มันถั่วเหลือง ในบราซิล อารเ จนตนิ า 6) ทอผา ฝาย ในบราซิล อารเ จนตินา เปรู ชิลี 7) ยางพารา ใน บราซิล

9 โรงงงานอุตสาหกรรมสมัยใหมท่ีใชเงินทุนสูง เทคโนโลยีชั้นสูงจะเปนการลงทุน รว มกนั ระหวา งประเทศในทวปี อเมริกาใต และนักลงทนุ ชาติตาง ๆ เชน ชาวอเมริกัน และชาว ญี่ปุน เปนตน 3. ดานพาณิชยกรรม สินคาหลักของทวีปอเมริกาใต สินคาสงออกจะเปนประเภท วตั ถุดบิ ไดแก - บราซิล สงออกกาแฟ น้าํ ตาลทราย ยาสบู กลว ย ผลไมต ระกลู สม - อารเจนตนิ า สง ออกเนอ้ื สัตว ขนแกะ ฝา ย ขาวโพด ขา วสาลี - เปรู สง ออกมันฝร่งั สตั วน าํ้ - สินคานําเขา ไดแก เคร่ืองจักรกลสําหรับการเกษตร เคมีภัณฑ เย่ือกระดาษ รถยนต - สินคาประเภทเสื้อผาสําเร็จรูป เครื่องใชไฟฟา ประเทศคูคาที่สําคัญ คือ สหรฐั อเมริกา แคนาดา ประชาคมยโุ รป ญ่ีปุน ประเทศในทวปี แอฟรกิ าตะวนั ตก จะเห็นไดวาการประกอบอาชีพของประชากรในทวีปอเมริกาใตมีความคลายคลึงกับการ ประกอบอาชีพในประเทศไทย ไดแกอาชีพการเลี้ยงโคเน้ือ การเลี้ยงหมู การปลูกยางพารา การ ปลูกขา วโพด มนั สาํ ปะหลงั และกาแฟ อาชพี ในชมุ ชน สังคม ประเทศ ของทวปี ยุโรป 1. ดา นการเกษตรกรรม ไดแ ก 1.1 การเพาะปลูก เขตเพาะปลูกอยูในยุโรปตะวันตก ภาคตะวันออกและภาคใต ขององั กฤษ ภาคเหนอื และภาคตะวนั ตกของฝรงั่ เศส ตอนเหนือของเยอรมนี ยเู ครน พืชท่ีสําคัญ ไดแ ก 1) ขาวสาลี ปลูกไดมากท่ีสุดคือ ยูเครน รองลงไปคือ ฝร่ังเศส อิตาลี สเปน โรมาเนีย บลั แกเรยี เยอรมนี ฮงั การี 2) ขาวโอต ขาวบารเลย ขา วไรย ถัว่ มนั ฝรง่ั ปลกู ไดโ ดยท่ัวไป 3) องุน สม มะกอก มะนาว แอปเปลและผลไมชนิดตางๆ ปลูกไดมากเขต อากาศแบบ เมดิเตอรเนียน ไดแก ประเทศอิตาลี ฝร่ังเศส สเปน กรีซ 3) ตนแฟลก็ ซ ใชใบทาํ ปา นลนิ ิน ปลกู มากในโปแลนด เบลเยยี ม ไอรแ ลนด

10 1.2 การเลี้ยงสัตว การเลี้ยงสัตวจะแตกตางกันไปตามลักษณะภูมิประเทศและ ภมู ิอากาศ ดังน้ี - เขตทุนดรา มีการเลีย้ งกวางเรนเดียร - เขตทงุ หญา สเตปป มกี ารเล้ยี งโคเนอ้ื แพะ แกะ มา - เขตเมดิเตอรเรเนียน มกี ารเล้ยี งโคเน้ือ และแกะ - เขตภเู ขาสูง และท่รี าบสงู มีการเลี้ยงโคเนื้อ โคนม แกะ - เขตอบอุนชื้นตอนเหนือของคาบสมุทรบอลขาน มีการเล้ียงสุกรดวย ขาวโพด - เขตภาคพ้นื สมุทรชายฝง ตะวันตก มีการทาํ ฟารม โคนม 2. ดานอุตสาหกรรม ยุโรปไดช่ือวาเปนทวีปอุตสาหกรรม เพราะเกือบทุกประเทศ ประชากรผใู ชแ รงงานสวนใหญอยใู นภาคอตุ สาหกรรม เชน สหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส เยอรมนี เนเธอรแ ลนด สวนยุโรปตะวันออกอยูใ นรัสเซยี ยเู ครน เบลารสุ อาชีพทส่ี ําคญั มีดังน้ี 2.1 การประมง แหลงประมงที่สําคัญ ไดแก ทะเลเหนือ โดยเฉพาะบริเวณ ทก่ี ระแสน้ําอุนแอตแลนติกเหนือบรรจบกับกระแสน้ําเย็นกรีนแลนดตะวันออก เกิดเปนแหลง ทม่ี ีปลาชุกชมุ มากแหงหน่ึงของโลกเรียกวา ดอกเกอรแบงก ประเทศที่จับปลาไดมาก สหราชา อาณาจักร ไอซแลนด นอรเวย บริเวณอาวบิสเคยจนถึงทะเลเมดิเตอรเรเนียน โดยเฉพาะ บริเวณทะเลดาํ ทะเลสาบแคสเปย นและแมน้าํ โวลกา มกี าร จับปลาสเตอรเจยี นมาทาํ เปนไข ปลาคารว ียร 2.2 การทาํ ปา ไม พบมากในประเทศฟนแลนด สวีเดน รัสเซีย นอรเวย ในบริเวณ ปาสน ซึง่ เปนไมเ นื้อออ น นาํ มาผลิตเปนเยือ่ กระดาษ 2.3 การทาํ เหมืองแร ยุโรปเปน ทวีปที่มแี รเ หลก็ และถา นหนิ อดุ มสมบรู ณ 1) ถานหิน แหลง สาํ คญั อยูทางภาคเหนือของสหราชอาณาจักร ภาคกลางของ เบลเยียม ลุมแมน้ํารูหของเยอรมนี ภาคใตของโปแลนด ภาคเหนือของเช็ก สโลวัก ยูเครน ไซบีเรยี ของรัสเซีย 2) เหล็ก แหลงสําคัญคือ แหลงคิรูนาและเยลีวารทางตอนเหนือของสวีเดน แหลงคริวอยร็อกในยเู ครน แหลงลอเรนซทางตะวนั ออกเฉียงใตของฝรัง่ เศส 3) นํ้ามันดบิ และกา ซธรรมชาติ แหลงสําคัญของยุโรปอยูในบริเวณทะเลเหนือ และรอบ ๆทะเลสาบแคสเปยน

11 4) บอกไซต เม่ือนํามาถลุงแลวไดอะลูมิเนียม แหลงผลิตสําคัญอยูทางภาคใต ของฝรงั่ เศส ยโู กสลาเวยี ฮังการี เทือกเขาอูราลในรสั เซยี 5) โพแทช ใชในอุตสาหกรรมปุยและสบู แหลงผลิตอยูในประเทศฝร่ังเศส เยอรมนี สเปน รสั เซีย 3. ดานพาณิชยกรรม เน่ืองจากยุโรปความเจริญกาวหนาทางอุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ทําใหยุโรปมีการตดิ ตอคาขายกบั ภมู ภิ าคอ่ืนและมีการต้ังกลุมทางเศรษฐกิจระหวาง ประเทศ เชน สหภาพยุโรป (EU-European Union) สมาคมการคาเสรีแหงยุโรป (EFTA-European Free Trade Association) ตลาดการคาขายระหวางประเทศ ไดแก ประเทศตาง ๆ ท่ีอยูในยุโรปและประเทศอเมริกาเหนือ ดังน้ันจึงสงผลใหธุรกิจการคมนาคม ขนสง มีบทบาทสาํ คญั ซ่งึ การคมนาคมขนสง แบง ไดด ังน้ี 3.1 ทางรถยนต มที างหลวงเช่ือมระหวางเมือง เขตอุตสาหกรรมและประเทศตาง ๆ มีระยะทางยาวประมาณ 1 ใน 5 ของทางรถยนตข องโลก 3.2 ทางรถไฟ ทวปี ยุโรปมที างรถไฟยาว 1 ใน 3 ของทางรถไฟในโลก ประเทศท่ีมี ทางรถไฟยาวเม่ือเฉล่ียตอเน้ือท่ีแลวมากที่สุด คือ เบลเยียม รองลงมาคือ สหราชอาณาจักร สวิตเซอรแลนด เมืองที่เปนศูนยกลางการคมนาคมทางรถไฟคือ ปารีส ลอนดอน เบอรลิน วอรซอ มอสโก 3.3 ทางอากาศ ในแตละประเทศตางก็มีสายการบินเปนของตนเอง เพื่อใชติดตอ ระหวางเมืองภายในประเทศ ระหวา งประเทศ และระหวางทวีป ศูนยก ลางการบินสวนใหญเปน เมืองหลวงของแตล ะประเทศ 3.4 ทางนํ้า แมนํ้าสําคัญที่ใชในการคมนาคมขนสงภายในประเทศและระหวาง ประเทศ ไดแก แมน้ําไรน แมนํ้าเซน แมน้ําดานูบ แมน้ําโวลกา แมนํ้าโอเดอร และมีการขุด คลองเพื่อการคมนาคม เชน คลองคีล ในเยอรมนี เชื่อมระหวางทะเลบอลติกกับทะเลเหนือ คลองมดี ีในฝรั่งเศสเชื่อมทะเลเมดเิ ตอรเ รเนยี นกบั มหาสมทุ รแอตแลนติก จะเห็นไดว าการประกอบอาชีพของประชากรในทวีปยุโรปจะโดดเดนในดานพาณิชยก รรม เน่ืองจากมีการติดตอสื่อสารคมนาคมกับตางประเทศเปนจํานวนมาก สําหรับอาชีพท่ีมี ความคลายคลึงกับการประกอบอาชีพของประเทศไทย คือ อาชีพการการปลูกองุน การปลูก มะนาว การเลี้ยงโคเน้อื และโคนม

12 อาชพี ในชมุ ชน สงั คม ประเทศ ของทวปี แอฟรกิ า 1. ดานการเกษตรกรรม ไดแ ก 1.1 อาชีพเพาะปลกู ทวปี แอฟริกา มีพื้นท่ีสวนใหญเปนทะเลทราย ดินขาดความ อุดมสมบูรณจะสามารถใชประโยชน ในดานการเกษตรไดเฉพาะบริเวณที่ราบดินตะกอนปาก แมน้ําสายตางๆ ดังน้ันผลผลิตจึงไมเพียงพอท่ีจะเลี้ยงประชากรภายในทวีป เขตเกษตรกรรม ท่ีสําคัญคอื 1) แหลงปลูกพืชเมืองรอนในเขตรอนช้ืน บริเวณลุมแมน้ําคองโก ชายฝง แอฟริกาตะวันออก แอฟริกาตะวันตก ปลูกโกโกมากที่สุด นอกจากนี้มี ปาลมนํ้ามัน กาแฟ ถั่วลสิ ง ออย ยางพารา เผือก มัน 2) ลุมแมนํ้าไนล เขตนี้มีอากาศรอน แหงแลงสามารถปลูกฝาย ชา อินทผลัม ขาวฟา ง 3) เขตเมดิเตอรเรเนยี น คือชายฝง บารบารี ตอนเหนอื สุดของทวีป และตอนใต สุดของทวีปปลกู สม องนุ มะกอก ขา วสาลี 4) เขตอบอุนชื้น ดานตะวันออกเฉียงใตของทวปี ปลูกผลไม ขาวสาลี ขาวโพด 1.2 อาชพี เลี้ยงสัตวและลาสตั ว สัตวเลีย้ งทส่ี ําคัญในทวีปแอฟริกา มดี ังนี้ 1) โคเขายาว พันธุพื้นเมือง เลี้ยงทางภาคตะวันออกและภาคใตของทวีป เพอ่ื ใชแ รงงาน ใชเน้อื เปนอาหารและเปน เคร่อื งแสดงฐานะทางสงั คม 2) โคเนื้อ และโคนมพนั ธตุ างประเทศ เล้ียงในเขตอบอนุ ชืน้ 3) แพะ แกะ เลีย้ งแบบเรรอนในเขตทะเลทราย 4) อูฐ ใชเ น้ือเปนอาหาร และใชเปน พาหนะในเขตทะเลทราย 5) ลา ใชเปน พาหนะในเขตทุง หญา กง่ึ ทะเลทราย 1.3 อาชีพลาสัตว โดยชาวพืน้ เมอื งเชน ปก มี และบชุ แมน สินคาที่เปนที่สนใจของ ชาวตา งชาตคิ อื งาชาง นอแรด 2. ดา นอุตสาหกรรม ประเทศท่ีมีความกาวหนาทางดานอุตสาหกรรมของทวีปนี้ คือ สาธารณรฐั แอฟรกิ าใต อาชีพทีส่ ําคัญคอื การทําเหมืองแร แหลง ผลิตแรธ าตทุ ่สี าํ คัญ ไดแก 1) ถานหนิ แหลงใหญท่ีสุด อยูในรัฐทรานสวาล และนาตาล ประเทศ สาธารณรัฐ แอฟริกาใต 2) นํ้ามันปโตรเลียม พบในแอฟริกาเหนือเขตทะเลทรายสะฮารา ประเทศลิเบีย แอลจีเรยี อยี ิปต ไนจีเรยี

13 3) กาซธรรมชาติ มีมากบริเวณท่ีลุมของแอฟริกาเหนือ และ แอฟริกาตะวันตก แอลจเี รียมปี รมิ าณกา ซธรรมชาตมิ ากท่ีสดุ แหง หน่งึ ของโลก 4) เพชร มีแหลงใหญอยูในประเทศสาธารณรัฐแอฟริกาใต นามิเบีย บอตสวานา ซมิ บบั เว โมซัมบกิ 5) ทองคาํ ท่วี ติ วอเตอรส แรนด ในสาธารณรฐั แอฟรกิ าใต 6) ทองแดง พบมากในประเทศซาอรี  3. ดานพาณิชยกรรม การคาขายในทวีปแอฟริกาใตมีตลาดคูคาท่ีสําคัญคือ กลุม ตลาดรวมยุโรป กลุมโอเปค สหรัฐอเมริกา ญ่ีปุน สินคาสงออกที่สําคัญคือ วัตถุดิบตาง ๆ เชน นาํ้ มันดิบ กาซธรรมชาติ จะเห็นไดว า การประกอบอาชพี ของประชากรในทวีปแอฟรกิ ามีความคลายคลึงกับการ ประกอบอาชีพในประเทศไทย เชน อาชีพการปลูกยางพารา อาชีพการปลูกปาลมนํ้ามันและ อาชพี การเลี้ยงโคเน้อื เปนตน เร่ืองท่ี 4 การพฒั นากระบวนการจดั การงานอาชพี ในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวปี การพัฒนากระบวนการจัดการงานอาชีพในชมุ ชน สงั คม ประเทศ และภมู ิภาค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเซีย ทวีปออสเตรเลีย ทวีปอเมริกา ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา มีกระบวนการ จดั การงาน ดงั น้ี 1. การจดั การการผลิต กระบวนการของการจัดการการผลิตมีขั้นตอนการดําเนินงานที่กําหนดไวกอนหลัง อยา งชัดเจน เพอ่ื ใหผ ูดาํ เนินการสามารถปฏบิ ตั ติ ามไดอยางถูกตอง ผูประกอบการจําเปนตองมี ความเขาใจและสามารถจัดระบบการบริหารจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ เพราะเปนการ กําหนดแนวทางการสื่อสาร การประกันคุณภาพ การประเมิน การควบคุม การติดตาม ตรวจสอบ การดําเนนิ งาน การแกปญหา และใชเปนเครือ่ งมอื ในการสรางนวัตกรรม รวมถึงการ พยากรณส่ิงท่จี ะเกดิ ขึ้นตอไปได

14 โดยกระบวนการของการจดั การสามารถนําเสนอไดตามแผนภาพ ดังนี้ จากแผนภาพขางตน ปจ จยั นําเขา ไดแ ก คน เงนิ วสั ดุ อุปกรณ และวิธีการ ถูกนําเขา สกู ระบวนการของการแปรรปู ทรพั ยากร ภายใตแ นวทางของการจดั การ 5 ประการ ไดแก การ วางแผน การจัดองคการ การจัดคนเขาทํางาน การอํานวยการ และการควบคุม เมื่อผาน กระบวนการแปรรปู แลว ผลลัพธท่ไี ดจ ะเปนปจจยั นําออก ไดแก สินคา ตา ง ๆ หรืออาจอยูในรูป ของการบรกิ าร จากแผนภาพจึงอธิบายกระบวนการจัดการผลิตไดวา องคประกอบของการจัดการ ผลิต ไดแ ก การวางแผน การจัดทาํ โครงการ การใชวัสดุอุปกรณ การใชแรงงาน การใชสถานที่ และการใชท ุน โดยองคป ระกอบการจัดการผลติ มีรายละเอยี ดในแตล ะองคป ระกอบ ดงั นี้ 1.1 การวางแผน การวางแผนเปนจุดเร่ิมตนของการทํางานตามนโยบาย เพื่อให บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคโ ดยมีการกาํ หนดกิจกรรมไวอยางชัดเจนวา จะใหใครทําอะไร ที่ไหน เม่ือใด เพราะอะไร ดว ยวธิ ใี ด เมอ่ื พบปญ หาและอปุ สรรคที่คาดวา จะมหี รือจะเกิดขนึ้ จะแกไขอยางไร ความสําคัญของการวางแผน การวางแผน เปนการกําหนดแนวทางวาจะทําอะไร เมื่อใด อยางไร โดยใชทรัพยากร อะไรบางในการดําเนินการขององคกร ทําใหผูประกอบอาชีพเล็งเห็นถึงความชัดเจนท่ีจะ ดําเนินงานไปสูความสําเร็จตามวัตถุประสงคท่ีตองการ หากการดําเนินการใดปราศจากการ วางแผนจะกอ ใหเ กดิ ปญหาตา ง ๆ ไดดงั นี้

15 1) เกดิ ความสับสนวาจะตอ งทําอะไร ทําเมอื่ ใด ทําอยา งไร 2) เกิดความเสี่ยงตอความสําเร็จ เพราะไมทราบแนวทางวาจะมีโอกาสสําเร็จตาม วัตถปุ ระสงคไดอ ยา งไร 3) เกิดความสูญเสียในการใชทรัพยากรตาง ๆ ซึ่งมีการนํามาใชอยางไมเหมาะสม ไมกอ ใหเกิดประสทิ ธิภาพสงู สดุ และทําใหเสยี เวลา 4) เกดิ การทาํ งานทหี่ ลงทศิ ทาง เบย่ี งเบนออกจากวัตถปุ ระสงคเดมิ 5) ไมส ามารถตดิ ตามความกาวหนา ของงานและไมสามารถประเมินผลงานได ประเภทของแผนงาน การวางแผนสามารถแบงตามระยะเวลา แบง ได 3 ระยะ ดงั น้ี 1) แผนระยะส้ัน โดยปกติมักจะมีระยะเวลาดําเนินการไมเกิน 1 ป เชน แผนงาน ประจําป แผนงบประมาณ แผนงานเฉพาะกจิ เปน ตน 2) แผนระยะกลาง เปนแผนงานท่ีมีระยะเวลาดําเนินการยาวนานกวา 1 ป สวน ใหญจะมีระยะเวลา 3-5 ป เชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนโครงการกอสราง รถไฟฟา แผนการสรางเขอื่ นเกบ็ กกั น้ํา เปน ตน 3) แผนระยะยาว เปน แผนงานทม่ี ีระยะเวลาดําเนนิ การยาวนานกวา 5 ป ประมาณ 5-10 ป เชน แผนรณรงคใหคนไทยรูหนังสือไทย 100 % แผนการพัฒนาทุกหมูบานปลอดฝุน แผนการขยายไฟฟาท่ัวทุกหมูบาน เปนตน แผนระยะยาวสวนใหญจะเปนแผนการจัดบริการ ของทางราชการ ท้งั นก้ี ารวางแผนสามารถแบง ตามขอบเขตของการวางแผน มี 5 ประเภท ไดแก 1) แผนแมบท เปนแผนหลักท่ีครอบคลุมแผนระดับรองลงมาท้ังหมด โดยแผน ระดับรองลงมาตองมีความสอดคลอ งกบั แผนแมบท 2) แผนกลุมหนาที่หรือกลุมงาน เปนแผนกวาง ๆ ที่ครอบคลุมขอบเขตของกลุม หนา ท่ี เชน แผนงานขาย แผนการเงิน แผนการตลาด แผนการผลิต เปนตน 3) โครงการ เปนแผนงานเฉพาะกจิ ท่ีเกย่ี วของกบั สว นงานตา ง ๆ ในหนวยงานใหญ ๆ ท่ีมีสวนงานมากกวาหน่ึงขึ้นไป เชน โครงการสงเสริมการขายในฤดูรอน โครงการจัดแสดง สินคา โครงการจัดงานกาชาดประจําป เปนตน 4) แผนสรุป เปนแผนที่จัดทําขึ้นเพื่อสรุปรวมแผนกลุมหนาที่หรือโครงการตาง ๆ เขา ดวยกนั เปน หมวดหมู เชน แผนการศึกษา แผนสาธารณสขุ แผนการเกษตร เปน ตน

16 5) แผนกิจกรรม เปนแผนท่ีแสดงกิจกรรมตาง ๆ ของแตละสวนงาน เปนแผนใน ระดบั แผนขององคก ร มรี ายละเอียดในการปฏบิ ัตงิ าน ซ่ึงถือวาเปนแผนในระดบั ลา งขององคกร การวางแผนแบง ตามลกั ษณะของการใช มี 2 ประเภท 1) แผนงานที่ใชประจํา เปนแผนที่ใชในการปฏิบัติงานท่ีมีการทําซํ้า ๆ หรือใช สําหรบั การแกป ญหาทีเ่ กิดขึน้ เปน ประจํา เชน ระเบียบวธิ ปี ฏบิ ตั ิงาน กฎ เปนตน 2) แผนงานที่ใชครั้งเดียว เปนแผนที่กําหนดข้ึนเพื่อการปฏิบัติงานเฉพาะครั้งหรือ ใชเพียงครัง้ เดยี ว เชน แผนเฉพาะกิจ โครงการ งบประมาณ เปน ตน การวางแผนแบง ตามขอบขายของการใชแ ผน มี 2 ประเภท 1) แผนกลยุทธ เปนแผนที่มีขอบขายกวาง ครอบคลุมทุกสวนขององคกรเปนแผน ระยะยาวทีก่ ําหนดแนวทางของการใชท รพั ยากรใหมปี ระสทิ ธิภาพสูงสุดภายใตสภาวะแวดลอม ท้ังภายในและภายนอกทเี่ ปลีย่ นแปลงไป 2) แผนกลวิธี เปนแผนท่ีมีขอบขายท่ีแคบ กําหนดเฉพาะรายละเอียดของการ ปฏิบัติงานวาควรทําอยางไรเพ่ือใหงานบรรลุผลสําเร็จอยางมีประสิทธิภาพสูงสุดเปนแผนท่ีมี ระยะเวลาส้ัน 1-5 ป ลักษณะของแผนทดี่ ี ลกั ษณะของแผนทีด่ คี วรประกอบดว ยลกั ษณะดงั ตอไปนี้ 1) มวี ตั ถปุ ระสงคหรอื เปาหมายทช่ี ัดเจน เขาใจงา ย วตั ถปุ ระสงคห รอื เปาหมายตอง ไมมากจนไมสามารถกาํ หนดแผนงานทร่ี ัดกุมได 2) ตองครอบคลุมรายละเอียดอยางเพียงพอที่จะสามารถปฏิบัติใหสําเร็จตาม วตั ถปุ ระสงคห รือเปาหมาย 3) มีความยดื หยนุ สามารถปรบั ใชกบั สถานการณที่เปลี่ยนแปลงไปได 4) มรี ะยะเวลาการดาํ เนินการทแี่ นน อน 5) มกี ารกําหนดบทบาทหนา ท่ขี องผูปฏิบัตติ ามแผนชดั เจน 6) ผูทเี่ กีย่ วของกบั แผนมีสว นรวมในการวางแผนชัดเจน 7) ใชข อมลู เปนพ้ืนฐานในการตัดสินใจทกุ ขน้ั ตอน เทคนคิ การวางแผนท่ีดี 1) กาํ หนดวัตถปุ ระสงคห รอื เปา หมายใหชัดเจน วัตถุประสงค หมายถึง ส่ิงท่ีตองการใหเกิดข้ึนในอนาคต สวนเปาหมาย เปนสิ่งท่ี ตอ งการใหเ กดิ ขนึ้ ในอนาคตเชน กัน แตมีลักษณะเฉพาะเจาะจงมากกวาวัตถุประสงค และมีการ ระบเุ ปน จํานวนตัวเลขทชี่ ัดเจน เชน ตอ งการสรางผลกําไรปละ 1,000,000 บาท อยางไรก็ตาม

17 การกําหนดวัตถุประสงคและเปาหมายจะตองมีความสอดคลองกับกลยุทธและนโยบายของ องคก รดว ย 2) กําหนดกิจกรรมเปนแนวทางหรือรองรับการปฏิบัติงานใหเกิดความสําเร็จตาม วตั ถปุ ระสงค เปาหมาย ดังนี้ - วิเคราะหก จิ กรรมท่ตี องการ - กําหนดผรู บั ผิดชอบแตละกจิ กรรม - กําหนดระยะเวลาดําเนินการของแตละกิจกรรม ตลอดจนความสัมพันธ ระหวางกิจกรรม - กําหนดงบประมาณของแตละกจิ กรรม 3) วเิ คราะหห รือตรวจสอบความเปนไปไดของแผนงานตาง ๆ วามีความเปนไปได มากนอ ยเพียงใด อาจมกี ารปรบั ปรุงแผนใหม ีความสมบรู ณย ่งิ ข้นึ เปนการทบทวนแผนกอนที่จะ นําไปปฏบิ ตั จิ รงิ เชน - กิจกรรมที่กาํ หนดขน้ึ ไมสอดคลองตอ ความสําเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค - กจิ กรรมไมครบถว นท่ีจะทาํ ใหส าํ เร็จตามวตั ถุประสงค - ผูรบั ผิดชอบท่ีระบุไวในแผนอาจไมเหมาะสมไมสามารถปฏิบัติงานตามแผน ใหบรรลุผลได - ระยะเวลาในแผนไมเ หมาะสม - งบประมาณท่ีต่ําเกินไปจนไมสามารถปฏิบัติตามแผนได หรืออาจสูงเกินไป ทาํ ใหสิน้ เปลอื งคา ใชจา ยในการดาํ เนนิ การ 4) การกําหนดรายละเอียดของแผน หลักการการพิจารณาตัดสินใจเลือกมี 4 ข้ันตอน ดงั นี้ - กาํ หนดประเด็นปญ หาใหชดั เจน - กาํ หนดทางเลอื กตา ง ๆ ทส่ี ามารถแกป ญ หานนั้ ไดห ลาย ๆ ทางเลือก - ประเมนิ ขอดี ขอเสียของทางเลอื กแตละทางเลือกวามอี ยา งไร - ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ภายใตสภาวะแวดลอมภายในและภายนอก องคกร แผนท่ีไดจัดทําข้ึน ควรมีการตรวจสอบขั้นตอนตาง ๆ วาครบถวนเพียงพอท่ีจะ ดาํ เนินการไปสูค วามสําเร็จตามแผนไดห รือไม ตรวจสอบระยะเวลาวา สามารถดาํ เนนิ การใหแ ลว เสรจ็ ไดตามแผนไดหรือไม ตรวจสอบผูรับผดิ ชอบวา มีความสามารถทจี่ ะดําเนินการใหเสร็จตาม

18 แผนไดหรือไม ตลอดจนการตรวจสอบงบประมาณที่ใชวาเพียงพอหรือเหมาะสมตอการ ดําเนินการตามแผน การดําเนินงานตามแผนในระยะเวลาหนึ่ง อาจจะพบขอบกพรอง ซ่ึงจะ ทราบไดก ต็ อเมื่อมกี ารนาํ แผนสกู ารปฏิบัติ เม่ือพบความบกรองจะตองมีการปรับปรุงแผนใหดี ขึ้นตามสภาพการณทเ่ี ปลยี่ นไป 1.2 การจดั ทําโครงการ โครงการ เปนงานลักษณะหนึ่งท่ีนิยมนํามาใชในการดําเนินกิจกรรมอยางใด อยางหน่ึง ลักษณะของงานโครงการเปนงานท่ีมีการกําหนดเวลาแลวเสร็จท่ีแนนอน มีการ ประเมนิ ผลความสาํ เร็จเมอื่ สนิ้ สุดโครงการ ความหมายของโครงการ โครงการ หมายถึง งานที่มีการดําเนินการในขอบเขตที่จํากัด โดยมุงหวังความสําเร็จ ของงานเปนสําคญั จากความหมายขา งตน มสี าระสําคญั ดงั นี้ 1. เปนงานทมี่ ขี อบเขตจํากัด ไดแก 1.1 ปริมาณงานท่ีจํากัด งานโครงการจะเปนงานที่มีเนื้องานจํากัด เชน โครงการ จดั งานฉลองปใหม โครงการกอ สรา งสะพาน โครงการรณรงคง ดสบู บุหรใี่ นทีส่ าธารณะ เปน ตน 1.2 มีเวลาที่จํากัด โครงการจะมีการจํากัดเวลาการดําเนินการ เพื่อใหเห็น ความสําเรจ็ ในเวลาที่แนน อน เชน 1 สัปดาห 1 เดือน 1 ป เปนตน 2. เปน งานทตี่ อ งการเห็นความสาํ เร็จท่ีชัดเจน โดยจะมีการประเมินผลงานเม่ือส้ินสุด โครงการเพื่อวัดผลงานวา มีความสาํ เร็จมากนอ ยเพยี งใด ความสาํ คญั ของโครงการ การดําเนินงานโครงการตองมีการควบคุมระยะเวลาใหแลวเสร็จตามระยะเวลา ทกี่ าํ หนด เพ่อื ควบคุมตนทนุ คา ใชจ ายและผลกระทบตา ง ๆ ทีอ่ าจเกิดข้นึ ได ลกั ษณะของงานโครงการ 1. งานโครงการเปนงานท่ีมีกําหนดระยะเวลาที่แนนอน มีระยะเวลาเริ่มตนและ ระยะเวลาสิน้ สุดซงึ่ แตกตางจากการดาํ เนินการประจํา 2. งานโครงการมกี ารบรหิ ารแยกออกจากงานประจาํ ไดแก งานโครงการพิเศษ ซ่ึงจะ มีงบประมาณของโครงการโดยตรง มกี ารจดั สรรทรพั ยากรเพ่ือใชใ นโครงการโดยตรง 3. งานโครงการจะมีผูบริหารโครงการรับผิดชอบงานโครงการโดยตรง เพ่ือใหการ ดําเนินงานโครงการมคี วามเดน ชัด

19 4. งานโครงการมีการประเมินผลงานท้ังโครงการเมื่อสิ้นสุดโครงการ โดยจะ ประเมินผลการดาํ เนนิ งานท่ไี ดรับวา เปน ไปตามวตั ถปุ ระสงคของโครงการหรือไม และมีรายรับ รายจา ยเปนอยา งไร เทคนิคการบริหารงานโครงการ 1. เทคนคิ การดําเนินงานโครงการ การดําเนินงานโครงการมีลักษณะคลายการจัดการ องคกรโดยเริ่มจากการกําหนดวัตถุประสงคของโครงการใหชัดเจนวาตองการทําอะไร จากวตั ถุประสงคจ ะนํามาวางแผนของโครงการ ดังนี้ วตั ถุประสงคของโครงการ แผนงานโครงการ การวางแผนงานของโครงการมลี ักษณะเหมือนการวางแผนการดําเนนิ งานโดยท่ัวไปวา จะใหใครทําอะไร ท่ีไหน และอยางไร ซึ่งเปนการกําหนดกิจกรรมท่ีทําและกําหนดการใช ทรัพยากรตาง ๆ ทั้งคน เงิน วัสดุอุปกรณ และวิธีการ ทรัพยากรเหลานี้จะถูกตีมูลคามาเปน งบประมาณท่ใี ช หรือแผนงานโครงการไดร บั การอนุมตั ใิ หด าํ เนนิ การแลว จะมีการจัดโครงสราง องคกร จัดบคุ ลากรเขาทาํ งาน มกี ารอํานวยการและการควบคุมงานเชนเดยี วกบั การจดั องคกร 2. เทคนิคการจัดการทรัพยากรในงานโครงการ 2.1 เทคนิคการจัดการบุคลากร ควรจัดหาบุคคลท่ีมีความรู ความสามารถ ท่ีเหมาะสมเขาทํางานในโครงการ โดยไมตองมีกระบวนการพัฒนาบุคลากรกอนเขาทํางาน ตลอดจนในระหวา งการดาํ เนนิ งาน 2.2 เทคนิคการจดั หาวสั ดุอปุ กรณและเคร่ืองจักร ควรจัดหาเทาที่จะตองใชในงาน โครงการเทา น้ัน ไมจําเปนตองมีวัสดุคงเหลือเหมือนการดําเนินงานประจํา เพราะหากมีสินคา คงเหลืออาจไมม ีประโยชนท่ีจะใชไ ดตอ ไป

20 2.3 เทคนคิ การจดั สรรการเงนิ จะเนนการใชเงินทุนหมุนเวียนเปนหลัก การลงทุนใน สนิ ทรพั ยถาวรควรจะใหม นี อ ยทสี่ ุดเทาทจ่ี ําเปน 3. เทคนคิ การบรหิ ารเวลาในงานโครงการ เวลาในการดาํ เนินงานโครงการเปนส่ิงสําคัญ หากโครงการลาชาออกไปจากแผนงาน จะมีผลตอคาใชจายท่ีสูงข้ึน การดําเนินงานโครงการจึงตองมีการควบคุมเรื่องเวลาเพื่อใหงาน เสรจ็ สน้ิ ตามแผนงาน 1.3 การใชว ัสดุอปุ กรณ เครือ่ งมือ หมายถึง สง่ิ ตาง ๆ ทม่ี นุษยคิดคนขนึ้ หรอื ประดษิ ฐขึน้ มาใชเ พ่ือความ สะดวก รวดเรว็ ประหยดั เวลาและแรงงาน วสั ดุ หมายถึง สิ่งที่ใชแลวสิ้นเปลืองและหมดไป เชน เนื้อสัตว สารใหสี เกลือ ขาว กระเทยี ม พริกข้ีหนู อปุ กรณ หมายถึง ส่งิ ที่ใชแลวยังคงเหลือ สามารถนํากลับใชไดอีก เชน เครื่อง บดเน้ือ อุปกรณเ ครอ่ื งครัวตาง ๆ ไดแก มดี เขยี ง ถาด กะละมงั หมอ เตา ฯลฯ 1.4 การใชแ รงงาน แรงงาน หมายถึง บุคคลท่ีผูประกอบการจางมาใหปฏิบัติงานตามความ เหมาะสมของงานและความสามารถของแตละบคุ คล ท้งั นี้ นายจา งจะตอ งจายเงนิ เดอื น คา จา ง คา คอมมิชชัน่ และสวัสดิการอืน่ ๆ ใหแกพนักงานอยางเหมาะสม แรงงานนับเปน ทรัพยากรท่สี าํ คญั ทีส่ ดุ เพราะเปนการใชความสามรถของมนุษย มาใชใ นการผลติ บริการ โดยไดผลตอบแทนของแรงงาน คือ คาจาง ซึ่งจะไดมากหรือนอยขึ้นอยู กบั ความสามารถและชนิดของงานนัน้ ๆ ประเภทของแรงงาน สามารถแยกประเภทของแรงงาน ไดด งั นี้ 1. แรงงานประเภทปญญาชน ไดแก ผทู ่ีจบการศึกษาในระดับอดุ มศึกษา มคี วามรูและ มีสตปิ ญญาดแี ตไมคอ ยมีฝมอื ใน 2. แรงงานไรฝ มือ แรงงานประเภทนี้ไมคอยมปี ญหานกั ในอาชีพเกษตรกรรมแตกําลังมี ปญหาในดานอตุ สาหกรรม ที่ตลาดแรงงานไมตอ งการเทาที่ควร 3. แรงงานประเภทฝม อื แรงงานประเภทน้ีตองผานการฝกอบรมหรือมีประสบการณ ทํางานมากพอสมควร เชน ชา งยนต ชา งไม ชางปูน ชางไฟฟา เปนตน

21 4. แรงงานที่ใชความรูความชํานาญพิเศษ แรงงานประเภทน้ีจะตองฝกอบรมมาเปน ระยะเวลานาน จดั เปน แรงงานทยี่ ังขาดแคลน โดยปจ จุบนั รฐั บาลไดผลิตแรงงานประเภทนี้มาก ข้ึน เพอ่ื ใหเพียงพอกบั ความตองการของตลาดแรงงาน ตลาดแรงงาน ตลาดแรงงานในประเทศ แบงไดเ ปน 4 ภาคสวน ดังนี้ 1. ตลาดแรงงานภาครัฐ ไดแก แรงงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ เชน กระทรวงตาง ๆ การไฟฟาสวนภูมภิ าค องคการโทรศัพทแ หงประเทศไทย เปนตน 2. ตลาดแรงงานภาคอุตสาหกรรม ไดแก แรงงานในเมืองท่ีประกอบธุรกิจ การผลิต การแปรรูปการผลติ เชน สถานประกอบการ โรงงานตาง ๆ ธุรกิจกอสรา ง เปน ตน 3. ตลาดแรงงานภาคเกษตรกรรม ไดแก แรงงานในชนบทที่มีอาชีพทําไร ทํานา ทาํ สวน และกิจการอน่ื ๆ ที่เกีย่ วกบั การเกษตร จดั เปน แรงงานท่ีทํางานไมสม่ําเสมอ อาจมีการ วา งงานตามฤดูกาล หรือมกี ารทาํ งานตา่ํ กวา ระดบั ทีค่ วรจะเปน 4. ตลาดแรงงานภาคพณิชยกรรม ไดแก แรงงานที่ประกอบการคา หรือการบริการ เชน การคาขายปลีก-สง การโรงแรม ภัตตาคาร การธนาคาร ธุรกิจทองเท่ียว ธุรกิจสงออก เปนตน 1.5 การใชสถานท่ี สถานท่ี หมายถึง อาคาร บรเิ วณท่ปี ระกอบอาชพี ธรุ กจิ ของผปู ระกอบการ 1.6 การใชท ุน ทุน หมายถึง เงินทุนสวนตัวของเจาของ หรือ เงินจากหุนสวนธุรกิจที่ตกลง ปลงใจจะมาสรางธุรกิจรวมกัน กอนเร่ิมตนทําธุรกิจ นอกจากน้ันแลวทุนยังหมายถึง ปจจัยใน การผลิตท่ีใชในการสรางสินคาหรือบริการอ่ืน ๆ ที่มนุษยเปนผูผลิตและไมเกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ 2. การจัดการการตลาด การกําหนดทิศทางการตลาด เปนการศึกษาตลาดจากปจจัยภายนอกและภายใน ทําใหผูประกอบการวางแผนการตลาดไดอยางมั่นใจและสามารถบอกรายละเอียดในการ ดาํ เนนิ งานไดอยา งชดั เจน การวิจัยการตลาดและขอมูลการตลาด จะตองพิจารณาถึงพฤติกรรมผูบริโภค มขี ั้นตอนในการวจิ ัย ดงั นี้

22 1. การศกึ ษาโอกาสหรือการศกึ ษาตลาด ผูป ระกอบการจะตองศกึ ษาในเรื่องโอกาส ทางการตลาดและการศึกษาสถานการณท างการตลาด ประกอบดว ย 1) การศึกษาจดุ แขง็ เปน การศึกษาถงึ ขอดีหรอื จุดแข็งของสนิ คาหรอื บรกิ าร 2) การศึกษาจุดออน เปนการศึกษาขอเสียหรือปญหาท่ีเกิดจากองคประกอบ ทางการตลาด 3) การศกึ ษาโอกาส เปนการศึกษาขอ ไดเ ปรยี บหรอื สงิ่ ทเ่ี อื้ออํานวยใหแ กก ิจการ 4) การศกึ ษาอุปสรรค เปน การศกึ ษาปญ หา อุปสรรคที่จะเกดิ ขึ้น 2. การกาํ หนดวตั ถุประสงคทางการตลาด 3. การเลือกตลาดเปา หมาย 4. การศกึ ษาพฤติกรรมผูบริโภค 5. การศึกษาสวนประสมทางการตลาด ไดแก ดานผลิตภัณฑ ดานการสงเสริม การตลาด ดานการจัดจําหนา ย ดานราคา การหาความตอ งการของตลาด ความจาํ เปนและความตองการ ความจําเปน หมายถึง ความตองการขั้นพ้ืนฐาน เปนตัวผลักดันใหเกิดพฤติกรรม เพือ่ สนองความตองการนน้ั ความตองการ หมายถึง ความตองการอยากได อยากมี อยากเปน แตไมมีก็ไม เดือดรอนแกชีวติ เปน การแสดงออกหรือพฤตกิ รรมที่ตองการสนองความตองการขั้นพืน้ ฐาน ซึง่ หลอ หลอมจากสภาพแวดลอ มและบคุ ลกิ สวนตัว การตลาด หมายถึง กระบวนการวางแผนและการปฏิบัติตามแนวคิด การกําหนด ราคา การสงเสริมการตลาด และการจัดจําหนายสินคาและบริการ เพ่ือสรางใหเกิดการ แลกเปล่ยี นที่ทาํ ใหผบู รโิ ภคไดรับความสุข ความพอใจ และบรรลุวัตถปุ ระสงคของธุรกิจ จุดสาํ คัญของการตลาด 1. ทาํ ใหเ กดิ การเปลี่ยนแปลงทท่ี าํ ใหผูบ รโิ ภคไดร บั ความพึงพอใจ 2. เปนการแลกเปลี่ยนความคิด สินคา และบรกิ าร ความสําคัญของการตลาด ถือเปน เคร่ืองมือที่ชวยสรางยอดขาย กอใหเกิดรายได และสรางกําไรใหกับธุรกิจ ในระบบเศรษฐกิจของประเทศจําเปนตองใชการตลาดเพ่ือการ

23 พัฒนาท้ังในดานเศรษฐกิจ สังคม และการคาทั้งภายในประเทศและระหวางประเทศ รวมท้ัง การตลาดโลก ความสําคัญของการตลาด มดี งั น้ี ความสําคญั ตอบคุ คล 1. สรา งอาชีพ 2. อํานวยความสะดวกใหล ูกคา ความสาํ คัญตอองคก รธรุ กิจ 1. สรางรายไดใ หองคกร 2. กอใหเกดิ ธรุ กิจใหมเพิ่มมากข้นึ ความสําคัญตอเศรษฐกิจและสังคม 1. สรางรายไดใ หป ระเทศ หนา ท่ที างการตลาด 1. หนา ทท่ี ี่จะทาํ ใหม กี ารโอนกรรมสทิ ธ์ขิ องสินคา จากผูขายไปสูผ ูซอ้ื 1.1 การซ้ือ - หาความตอ งการซอื้ - การเลือกแหลงซอ้ื - การพจิ ารณาความเหมาะสมของสนิ คา 1.2 การขาย เปนการสรางอุปสงค กลา วคอื เปนการเสนอสนิ คา หรือบรกิ าร ในปรมิ าณท่ผี ูบ รโิ ภคตองการ 2. หนา ที่เกยี่ วกบั การจัดสง สินคา 2.1 การขนสง กําหนด เลือกวิธีการขนสงที่ตนทุนต่ํา รวดเร็วและเหมาะสมกับ สนิ คา 2.2 การจัดเกบ็ สินคา 3. หนาที่อาํ นวยความสะดวกตา ง ๆ 3.1 การเงิน 3.2 การลดความเสีย่ ง 3.3 สารสนเทศทางการตลาด 3.4 การจดั มาตรฐานและแบงเกรดของสนิ คา

24 4. สารสนเทศทางการตลาดและการวิจยั ตลาด - การเก็บรวบรวมขอ มูลทางการตลาดมาใชในการวเิ คราะหและวิจัยเพ่ือกําหนด วิธีการดาํ เนนิ ธุรกิจตอ ไปใหมคี วามเหมาะสม 5. การเกบ็ รักษา - เก็บรักษาสินคาใหพอเพียงกับความตองการของลูกคา และไมนานเกินไปจน ลาสมัย 6. การจัดมาตรฐานและคณุ ภาพของสนิ คา - ไดมาตรฐานตรงกับความตอ งการของลกู คา 7. การเงนิ - การบรหิ ารเงนิ ใหอยูในงบทป่ี ระมาณไว 8. การรับภาระเส่ยี งภัย - การหาสาเหตแุ ละหาทางปอ งกันปญหาทอ่ี าจเกดิ ข้นึ ในการดาํ เนนิ ธรุ กิจ 3. การขนสง การขนสง หมายถึง การเคลื่อนยายบุคคล ส่ิงมีชีวิตหรือส่ิงของจากท่ีหน่ึงไปอีกท่ี หน่ึง โดยอาศัยอุปกรณในการขนสงตามความตองการและเกิดอรรถประโยชน สามารถ จําแนกการขนสง ได 5 ประเภท ดงั น้ี 1. การขนสงทางน้ํา คือ การขนสงทางน้ํา เปนวิธีการขนสงเกาแกที่มีมาต้ังสมัย โบราณ โดยการใชแมน ํา้ ลําคลองเปนเสนทางลําเลียงสินคา รวมถึงการขนสงทางทะเล ซึ่งสวน ใหญใ ชสําหรบั ขนสง สินคาระหวา งประเทศ การขนสงประเภทนีเ้ หมาะกับการใชขนสงสินคาที่มี ขนาดใหญ เชน ทราย แร ขาวเปลอื ก การขนสงทางนํา้ มสี ว นประกอบ ดงั นี้ 1.1 ผปู ระกอบการขนสงทางนาํ้ 1.2 อุปกรณการขนสง คือ เรือ ไดแก เรือโดยสาร เรือสินคาและเรือเฉพาะกิจ เชน เรือลากจูง เรอื ประมง 1.3 ทาเรอื 1.4 เสนทางเดนิ เรือ สามารถแบงไดเ ปน 3 ประเภท คือ 1) เสนทางเดนิ เรือภายในประเทศ 2) เสน ทางเดินเรือชายฝงทะเล 3) เสนทางเดนิ เรอื ระหวา งประเทศ ขอดี ขอ เสยี ของการขนสงทางน้ํา มดี ังนี้

25 ขอดี 1) อตั ราคา ขนสง ถกู กวา เม่ือเทียบกับการขนสงทางอ่ืน 2) ขนสง ไดป รมิ าณมาก 3) มคี วามปลอดภัย 4) สามารถสงไดระยะไกล ๆ ขอ เสีย 1) มีความลา ชาในการขนสง มาก 2) ในฤดูน้ําลดหรือฤดูรอน นํ้าอาจมีนอย ซึ่งเปนอุปสรรคตอการขนสง เพราะ เรอื เกยตนื้ ได 3) ไมสามารถกําหนดเวลาที่แนนอนในการขนสงไดเพราะการขนสงทางนํ้า เก่ียวขอ งกบั ภูมอิ ากาศ และภมู ปิ ระเทศ 2. การขนสงทางบก จําแนกเปน 2 ประเภท ไดแก 2.1 การขนสง ทางรถไฟ เปนเสนทางการลําเลียงที่สําคัญที่สุดของประเทศไทย มี 3 ประเภท 2.1.1 รถปด คือ รถไฟที่ปดทุกดาน เหมาะสําหรับการขนสงสินคาที่จะ เสียหายไดง า ย 2.1.2 รถเปด คือ รถไฟทไี่ มมหี ลังคา เหมาะสําหรับการขนสงสินคาที่ไมเกิด การเสยี หายเมื่อโดนแดด โดนฝน 2.1.3 รถเฉพาะกิจ คือ รถไฟที่ออกแบบสําหรับใชเฉพาะงาน เชน รถบรรทุกนํา้ มนั รถบรรทุกปูนซีเมนต รถบรรทกุ น้าํ มนั เปน ตน ขอ ดี 1) ประหยดั ขนสงสนิ คา ไดจาํ นวนมากหลายชนดิ 2) รวดเร็ว สามารถขนสงสนิ คาไดทนั ตามกาํ หนดเวลาท่ตี อ งการ 3) สะดวก เพราะมตี หู ลายชนดิ ใหเลอื กเพ่อื ความเหมาะสมกับสนิ คา 4) ปลอดภัยสูง เมือ่ เทยี บกบั เสนทางอนื่ 5) ขนสง ไดทกุ สภาพดินฟา อากาศ ขอ เสีย 1) ไมสามารถขนสง สนิ คาใหถ ึงทต่ี องการขนถา ยได 2) ความยดื หยุนมนี อ ย เพราะมเี สนทางตายตัว

26 3) มีความคลอ งตวั นอ ยกวาการขนสง แบบอ่ืน เพราะมกี ฎระเบียบมาก 4) ไมเหมาะสมกับผสู ง สนิ คารายยอย ปริมาณนอย 2.2 การขนสง ทางรถยนตหรือรถบรรทุก ถอื วาเปน หวั ใจของการขนสง ทางบก มี สวน ประกอบ 3 สว น ดังน้ี 1) ผูประกอบการ 2) อุปกรณในการขนสง 3) ถนนหรือเสน ทางเดินรถ ขอ ดี 1) บริการไดถ งึ ท่ีโดยไมต อ งมีการขนถา ย 2) ขนสง สินคาไดตลอดเวลาตามความตองการของลกู คา 3) สะดวก รวดเรว็ 4) เหมาะกบั การขนสงระยะส้นั และระยะกลาง 5) เปนตวั เช่อื มในการขนสง แบบอ่ืนทีไ่ มสามารถไปถึงจุดหมาย ไดโดยตรง ขอเสีย 1) คา ขนสง สงู เมือ่ เทียบกบั การขนสง ทางรถไฟ 2) มคี วามปลอดภยั ตาํ่ เกดิ อบุ ัติเหตุบอ ย 3) ขนสง สินคาไดป ริมาณและขนาดจาํ กัด 4) กาํ หนดเวลาแนน อนไมไ ด ข้ึนอยูกบั สภาพการจราจรและดินฟาอากาศ 3. การขนสงทางอากาศ การขนสงทางอากาศมีความสําคัญมากในปจจุบัน โดยเฉพาะการขนสงระหวางประเทศ เพราะสามารถทําการขนสงไดรวดเร็วกวาการขนสง ประเภทอ่ืน ๆ สว นประกอบของการขนสง ทางอากาศ มดี งั น้ี 3.1 ผูป ระกอบการ ไดแ ก บรษิ ทั การบนิ ใหบริการขนสงทั้งผูโดยสารและสินคา ทง้ั ภายในและระหวางประเทศ 3.2 อปุ กรณใ นการขนสง ไดแก เครื่องบิน แบงเปน 3 ประเภท คอื 1) เครื่องบนิ โดยสาร ใหบ รกิ ารขนสงผโู ดยสาร 2) เครอื่ งบินบรรทกุ สินคา ใหบ รกิ ารขนสงเฉพาะสินคา 3) เครอื่ งบนิ แบบผสม ใหบริการทงั้ ผูโ ดยสารและสนิ คา ภายในลาํ เดียวกัน 3.3 เสนทางบิน คือ เสนทางท่ีกําหนดจากแหงหน่ึงไปยังอีกแหงหนึ่ง มี 2 ลักษณะ คอื

27 1) เสน ทางในอากาศ 2) เสน ทางบนพื้นดิน 3.4 สถานใี นการขนสงหรือทา อากาศยาน เปน บริเวณท่ีใชสําหรับการขึ้นลงของ เครอื่ งบิน ประกอบดว ย อาคารสถานี ทางวิง่ และทางขบั และลานจอด ขอดี 1) สะดวก รวดเร็วท่ีสดุ 2) สามารถขนสง กระจายไปท่วั ถงึ ไดอยางกวา งขวางทั้งใน ประเทศและระหวาง ประเทศ 3) สามารถขนสง ไปในทอ งถ่ินท่ีการขนสง ประเภทอน่ื ไปไมถ ึงหรอื ไปยากลําบาก 4) เหมาะกับการขนสง ระยะไกล ๆ 5) เหมาะกับการขนสง สินคาท่ีเสียงา ย จําเปน ตองถึงปลายทางรวดเร็ว 6) ขนสง ไดหลายเทย่ี วในแตล ะวัน เพราะเครื่องบินข้นึ ลงไดร วดเร็ว ขอ เสยี 1) คา ใชจ า ยในการขนสง สงู กวา ประเภทอ่ืน 2) จํากัดขนาดและนํ้าหนักของสินคาท่ีบรรทุกจะมีขนาดใหญและนํ้าหนักมาก ไมไ ด 3) บริการขนสงไดเ ฉพาะเมืองทมี่ ที าอากาศยานเทา นัน้ 4) การขนสงขนึ้ อยกู ับสภาพภมู ิอากาศ 5) การลงทนุ และคา ใชจา ยในการบาํ รงุ รักษาอปุ กรณสงู 6) มคี วามเส่ียงภัยอันตรายสงู 4. การขนสงทางทอ เปนการขนสงสิ่งของประเภทของเหลวและกาซผานสายทอ เชน นํ้าประปา นํ้ามัน กาซธรรมชาติ เปนตน ซ่ึงการขนสงทางทอจะแตกตางกับการขนสง ประเภทอื่น คือ อุปกรณท่ีใชในการขนสงไมตองเคลื่อนท่ี โดยเสนทางขนสงทางทออาจจะอยู บนดนิ ใตด ินหรือใตน ้าํ ขน้ึ อยกู ับสภาพภมู ิอากาศ ประเทศแรกที่ใชระบบการขนสงทางทอ คือ ประเทศสหรัฐอเมริกา ใชสําหรับขนสงสินคาประเภทเชื้อเพลิง ปจจุบันประเทศไทยใชระบบ การขนสงทางทอ สาํ หรบั สินคา ประเภทนาํ้ มันเชือ้ เพลิงและกาซธรรมชาติ

28 สวนประกอบของการขนสง ทางทอ 1) ผูป ระกอบการ ซง่ึ ผูประกอบการท่ีสําคัญ ไดแก การปโตรเลียมแหงประเทศ ไทย (ปตท.) 2) อุปกรณในการขนสง ไดแก ทอ หรอื สายทอ แบงเปน – ทอ หลัก – ทอยอ ย 3) สถานีในการขนสง ไดแก สถานีตน ทาง สถานปี ลายทาง สถานแี ยก สถานีสบู ดนั ขอ ดี 1) ประหยัดตน ทนุ เวลาในการขนยายสนิ คา 2) สามารถขนสง ไดท ุกสภาพภมู ิอากาศ 3) สามารถขนสงไดไ มจาํ กัดเวลาและปริมาณ 4) มคี วามปลอดภัยสงู จากการสญู หายหรอื ลักขโมย 5) กําหนดเวลาการขนสง ไดแนน อนชัดเจน 6) ประหยัดคา แรง เพราะใชก ําลังคนนอย ขอ เสีย 1) ใชข นสงไดเฉพาะสินคาท่ีเปนของเหลวหรือกาซเทา น้ัน 2) คา ใชจ ายในการลงทนุ ครงั้ แรกสงู 3) ตรวจสอบหาจุดบกพรองทาํ ไดยาก 4) ทอ หลกั ทใ่ี ชขนสง เมือ่ วางแลวเคล่อื นยา ยเปลย่ี นเสน ทางไมไ ด 5) ไมเหมาะกับการขนสง ในภมู ิประเทศทีม่ แี ผน ดินไหวบอ ย 5. การขนสงระบบคอนเทรนเนอร การขนสงระบบคอนเทรนเนอร เปนการ พฒั นาการขนสง อกี ขน้ั หนง่ึ โดยการบรรจุสนิ คา ที่จะขนสงลงในตหู รือกลองเหล็กขนาดใหญ ทเ่ี รยี กวา คอนเทรนเนอร แลว ทาํ การขนสงโดยรถบรรทุก รถไฟ หรือเครื่องบิน ไปยังจุดหมาย ปลายทางโดยไมมีการขนถายสินคา ออกจากตูระหวางทําการขนสงเท่ียวนั้น ชนิดของตูคอน เทรนเนอร ซึ่งสามารถแบง ได 3 ชนดิ คือ 5.1 ตแู หง หรอื ตูสนิ คา ท่ัวไป 5.2 ตูควบคุมอณุ หภมู ิ แบง ไดดังน้ี - ตูหองเยน็ จะมีเครอื่ งทาํ ความเย็นในตู ภายในระบุฉนวนทกุ ดาน เพือ่ ปองกันความรอนจากภายนอกเขาสูดานใน นิยมเก็บผกั สด ผลไม - ตฉู นวน ภายในจะบฉุ นวนดว ยโฟมทุกดา นเพ่ือปองกนั ความรอนแผเ ขาตู นิยม บรรทุกผัก

29 - ตรู ะบายอากาศ เหมอื นกบั ตเู ย็นแตมีพัดลมแทนเครื่องทําความเย็น พัดลม จะดดู กาซอีเทอรล นี ท่รี ะเหยออกจากตัวสนิ คา 5.3 ตูพ เิ ศษ แบงไดดงั น้ี - ตแู ท็งกเกอรหรอื ตบู รรจขุ องเหลว - ตูเปดหลังคา - ตแู พลตฟอรม - ตเู ปดขา ง - ตูบรรทุกรถยนต - ตูบรรทกุ หนงั เค็ม - ตสู ูงหรอื จัมโบ ประโยชนข องระบบตูคอนเทรนเนอร 1) ทําใหข นถายสินคา ไดรวดเร็ว 2) ลดความเสยี หายของสินคาท่ขี นสง และปอ งกันการถกู โจรกรรมได 3) ประหยัดคา ใชจา ย 4) สามารถขนสงไดปรมิ าณมาก 5) การสง่ั จองเรอื ระวางเพ่อื ขนสง สินคา ทําไดสะดวก 6) ตรวจนับสินคา ไดง า ย 4. การขาย ลักษณะทัว่ ไปของการขาย หากวิเคราะหลกั ษณะท่วั ไปของการขาย จะแบง ออกได ดังนี้ 1. การขายมีลกั ษณะเปน การตดิ ตอ สื่อสาร 2. การขายมลี กั ษณะของการจูงใจไมใชก ารบังคับ 3. การขายเปน งานท่ชี ว ยแกปญหา 4. การขายมลี ักษณะของการใหความรู 5. การขายเปน การใหส ่ิงตอบแทนแกท กุ ฝาย ความสําคัญของการขาย การขายมีความสาํ คัญ ดังน้ี 1. ชวยใหเกิดธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต ธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิตจะกอใหเกิด นวัตกรรมใหม ๆ รวมถงึ การพฒั นาสินคาเพ่ือตอบสนองความตอ งการของลูกคา อยา งแทจรงิ

30 2. ชว ยใหธรุ กจิ บรรลุผลสําเร็จ คือ ไดยอดขาย ไดกําไร สามารถขยายกิจกรรมให เจริญเติบโตตอไปได 3. ชว ยใหเ กดิ การจางงาน ในภาวะท่ีอัตราการวางงานสูง เชน ปจจุบันงานดานการ ขายมีบทบาทในการจา งงานอยางตอเนื่อง ทาํ ใหค นมรี ายไดและความเปน อยดู ีขน้ึ 4. ชวยลดปญหาของสังคม โดยเฉพาะปญหาสังคมอ่ืน ๆ ที่เกิดจากปญหาการ วา งงาน เชน ปญหายาเสพตดิ ปญหาสขุ ภาพจติ เปน ตน หนา ทแี่ ละคุณสมบัตขิ องพนักงานขาย หนาทข่ี องพนักงานขาย พนกั งานขายมีหนาทีท่ ตี่ องปฏิบตั ิ ดงั น้ี 1. พนกั งานขายควรมคี วามรอบรูอยา งดี 2. เปนตัวแทนของบริษัทในการพบปะกับลูกคา เพื่อรักษาความสัมพันธอันดี ระหวางลูกคา และบรษิ ัท 3. ปฏิบัตหิ นา ท่ดี วยความต้งั ใจเพ่อื เพ่ิมพนู การขาย หาลูกคาใหม ๆ เพ่ิมข้ึน รายงาน ความเคล่อื นไหว และสถติ กิ ารขายใหบ ริษัททราบ 4. ปฏิบตั ิตนเปน พนักงานทส่ี มบรู ณของบริษัท เชน ชว ยเหลือเก่ียวกับการทวงถาม หนสี้ ิน รายงานภาวการณแขงขันของตลาดตอ บริษทั และเสนอความคิดเห็นท่ีเปนประโยชนตอ บรษิ ัท 5. ใหความรว มมอื กับพนกั งานทุกฝา ยของ คณุ สมบตั ขิ องพนกั งานขายที่ดี พนกั งานขายท่ีดี ควรมคี ุณสมบัตทิ ่สี าํ คัญ ดังนี้ 1. จะตอ งมคี วามต้ังใจ เอาใจใส มีความรบั ผิดชอบสงู ตอ หนา ที่มากกวาเร่ืองสว นตวั 2. จะตอ งมีมนุษยสมั พนั ธท่ดี ี 3. จะตองเปน ผูท่มี คี วามสามารถอานเดาใจลกู คาไดถ กู ตอง 4. จะตอ งมีความขยัน อดทน 5. จะตองควบคุมอารมณไดอ ยา งดีในทุกสถานการณ ประเภทของงานการขาย งานการขายแบงออกได 4 ประเภท คือ 1. การขายโดยใชพนักงานขาย หมายถึง งานขายที่ใชพนักงานติดตอกับลูกคา โดยตรงและพนกั งานขายจะเปนผูทําหนาท่ีโนมนาวชักจูง กระตุนใหลูกคาเกิดการตัดสินใจซื้อ สินคา

31 2. การขายโดยไมใชพนักงานขาย หมายถึง การปฏิบัติการขายในปจจุบันที่ หลีกเล่ียงการใชพนักงานขาย มาเปนการใชสื่อหรือเคร่ืองจักรทําหนาที่แทนพนักงานขาย เพราะสามารถทําใหเกิดการโนมนาวชักจูงและรับรูไดในวงกวาง ครอบคลุมพื้นที่ที่ตองการได แบงได 2 ลักษณะ ดงั นี้ 2.1 การขายโดยใหลูกคาบริการตนเอง การขายแบบนร้ี า นคาจะจดั วางสนิ คา บน ชน้ั ในระดับสายตาเพือ่ ดงึ ดดู เม่อื ลกู คาเดนิ เขา มาในราน 2.2 การขายโดยใชเครื่องจักรอัตโนมัติ ตองอาศัยตูหยอดเหรียญและกดปุม เพื่อใหไ ดสนิ คา ตามทต่ี องการ สินคา ท่ีจําหนายมักเปนสินคาท่ีลูกคาใชบอยใชประจํา เชน บุหร่ี เครอ่ื งดมื่ ขนมขบเคีย้ ว ถงุ ยางอนามยั เปนตน 3. การขายทางไปรษณีย ปจจุบันรานคาปลีกหลายแหงจะเปดแผนกขายปลีกตามคําสั่งซ้ือทางไปรษณีย ซึ่งเปนแหลงระบายสินคาและเพิ่มปริมาณการขายไดดีวิธีหน่ึง การขายทางไปรษณียเปนการ เสนอขายบริการเปน สว นใหญ การขายสินคา ในลกั ษณะนม้ี ยี อดขายทส่ี งู มาก เน่ืองจากขอบเขต การขายไมจํากัด การโฆษณาสามารถเนนที่จุดเดนจึงทําใหมีโอกาสที่จะขายสินคาใหมากขึ้น และมคี วามสะดวกในการสัง่ ซ้ือตามใบส่ังซ้อื ทสี่ ง ไปให 4. การขายทางโทรทศั น เดิมทธี รุ กจิ การขายทางโทรทัศน ไมไดรับความสนใจเทาใดนักและยังถูกผูขายราย ใหญมองวาเปนเพียงส่ือกลางในการขายสินคาไมมีระดับใหแกบุคคลที่อยูหางไกล ซึ่งไมใช กลมุ เปาหมายสาํ คัญซึ่งเปนผทู ี่อยูตามเมืองใหญ ความรูสึกเชนน้ีเร่ิมลดลง ผูคาปลีกทั่วไปตางก็ ทบทวนแผนการท่ีจะเปดธุรกิจเชนน้ี โดยผานเครือขายโฮมช็อปปงเน็ตเวิรก โดยลูกคาที่สนใจ สามารถสั่งซ้ือไดโดยไมตองเสียเวลามาเลือกซื้อดวยตนเอง เพียงแตชมรายการเสนอขายทาง จอโทรทัศนก ็สามารถส่ังซอ้ื โดยใชโ ทรศพั ทไ ด การชาํ ระเงนิ สวนใหญจ ะชําระโดยใชเครดิตการด ซ่ึงจัดวาเปนระบบการจัดจําหนายที่ตนทุนต่ํา ผูขายไมจําเปนตองเปดรานหรือโชวรูม ไมจ ําเปนตอ งตกแตง สถานที่ ไมต อ งมรี ายจายที่เกยี่ วกับคาเชา คา ใชจ ายในการสงเสริมการขาย คาโฆษณา การขายทางจอโทรทัศน ผูขายสามารถบอกรายละเอียดสรรพคุณ สีสัน รูปแบบ ความกวางยาวของสินคา ราคา อยางตรงไปตรงมา พรอมกับหมายเลขโทรศัพทที่จะติดตอ เทากบั ผขู ายไดท าํ การโฆษณาและทาํ การขายสนิ คาไปในเวลาเดียวกัน

32 5. การกาํ หนดราคาขาย ราคา คือ จาํ นวนเงินทผ่ี ูซื้อจาย เพื่อแลกเปลี่ยนกับสินคาหรือบริการท่ีผูซื้อเต็มใจ ชว ย ในดานผขู ายราคา คือ มูลคาทผี่ ขู ายกาํ หนดไวสําหรับสิ่งทต่ี นเสนอขาย พ้นื ฐานในการกําหนดราคาขึ้นอยูกับ 1. ตนทุน ตน ทุนในการผลิตสินคา เชน วัตถุดิบ คาแรงงานในการผลิต ตนทุนทาง การตลาด เชน คา โฆษณา คานายหนา 2. สภาพของตลาด 3. คูแขง ขนั 4. กฎหมาย หรือพระราชบัญญตั ิ 5. สภาพทางเศรษฐกิจ สาเหตุท่ีทําใหราคาสินคาแตกตางกัน สินคาที่มีชนิด แบบ ขนาดเดียวกัน ราคา แตกตา งกนั เน่ืองจาก 1) ปรมิ าณการซือ้ ถา มีการซ้ือมากราคาจะต่ํา ถา ซ้อื นอยราคาจะสงู 2) สภาพของผูซ้ือ ถา ผคู าสง ผูค าปลีกซ้ือราคาจะต่าํ ถา ผบู รโิ ภคซื้อราคาจะสูง 3) สภาพภมู ศิ าสตร ถาระยะทางไกลราคาสงู เพราะตอ งเพม่ิ คาใชจ า ยในการขนสง นโยบายและกลยุทธการตัง้ ราคา 1) แบบราคาเดียว เปนราคาสินคาที่กําหนดราคาเดียวกันไมวาจะซ้ือจํานวนมาก หรอื นอย ซื้อประจาํ หรือไมก็ขายในราคาเดยี วกัน เชน ราคาสนิ คา ตามหา งสรรพสินคา 2) ราคาลอใจ เปน การตั้งราคาสนิ คาใหถกู หรือบางคร้งั อาจจะยอมขาดทุนเพ่ือจูงใจ ใหคนเขาราน โดยจะมีสินคาที่ตัง้ ราคาประเภทน้ีเพียงไมก่ีรายการสวนมากเปนสินคาท่ีลูกคาใช ประจาํ และรจู ักโดยท่วั ไป 3) การตงั้ ราคาตามหลกั จิตวทิ ยา - การตง้ั ราคาท่แี สดงถงึ ชือ่ เสยี ง หรือสญั ลักษณข องสินคา คือ การต้ังราคาใหสูง เพ่ือเปน การยกระดบั คณุ ภาพของสนิ คา - การต้งั ราคาตามความเคยชินหรือตามประเพณีนิยม เชน ราคาที่ลูกคาเคยซ้ือ มากอ น - การต้ังราคาเลขคี่ เชน 29, 39, 49 และการต้ังราคาราคาเลขคู เชน 24, 32, 50 4) การตงั้ ราคาระดับสูงและการต้ังราคาระดบั ต่าํ

33 - การกาํ หนดราคาไวใ หสูงในระยะเริ่มแรกเพื่อจะสามารถลดราคาไดในระยะหลัง กําไรสงู ทําใหสินคาดูมีคณุ คา นยิ มใชก ับสินคา พวกแฟชนั่ เชน เส้อื ผา - การต้ังราคาต่ําไวในระยะเร่ิมแรกหรือการต้ังราคาแบบเจาะตลาด เพื่อเขาสู ตลาด ไดง าย ตง้ั ขายไดง า ย สามารถขน้ึ ราคาในระยะหลงั ได ถา ผูซื้อตดิ ใจ ยอดขายสูง นิยมใช กบั สนิ คา เพื่อการบรโิ ภค 5) สวนลด - สว นลดปริมาณ คือ การลดราคาใหใ นกรณที ี่ซือ้ ในปริมาณมากขนึ้ - สวนลดการคา เชน การคา สง จะลดราคาใหมากกวาการคาปลีก - สวนลดเงนิ สด เปนการลดใหในกรณีทีจ่ า ยเงนิ สดภายในเวลาทกี่ าํ หนด 6) การต้งั ราคาตามภูมศิ าสตร - F.O.B. คือ ราคาท่รี วมคาใชจายทงั้ สน้ิ จนสินคา ไปอยูบนเรือ - C&F คือ ราคาสินคาท่ีรวมคาใชจายท้ังสิ้น ณ สินคาอยูบนเรือและรวมถึงคา ระวางขนสงสินคา - C.I.F. คือ ราคาสินคาที่รวมคาใชจายท้ังส้ินจนสินคาอยูบนเรือรวมคาระวาง และคา ประกันสินคา 6. การทําบัญชีรายรบั -รายจา ย บัญชีรายรับรายจาย คือ แบบบันทึกรายการรับ หรือจาย ท่ีเกิดขึ้นจริงโดยบัญชี รายรบั -รายจาย จะมีสว นประกอบ ดงั นี้ 1) ช่อื บญั ชีรายรบั -รายจาย 2) วัน เดอื น ป โดยระบถุ งึ วัน เดือน ป ทไี่ ดรบั มา หรือที่จา ยไป 3) รายการหรือรายละเอียดของการไดเ งนิ มาหรอื จา ยเงนิ ไป 4) จาํ นวนเงนิ ทีร่ บั หรอื จายจริง 5) ยอดรวมรายรับและรายจายท้ังหมด 6) ยอดเงนิ คงเหลอื เมื่อรายรับสงู กวา รายจา ย

34 ตัวอยางการจดั ทาํ บญั ชรี ายรับ-รายจา ย ประจาํ เดอื น เมษายน 2559 วนั เดอื น ป รายการ รายรับ รายจาย เงนิ คงเหลือ บาท สตางค บาท สตางค บาท สตางค 1 เม.ย.59 รับเงนิ เดือน 15,000 - - - 15,000 - จา ยคาเชา บา น 2 เม.ย.59 จายคา โทรศัพท - - 2,000 - 13,000 - จา ยคา บตั รเครดิต 3 เม.ย.59 จา ยคา อาหาร - - 500 - 12,500 - 4 เม.ย.59 มนตรีเอาเงินมาใชห นี้ 5 เม.ย.59 จายคาอาหาร - - 1,000 - 11,500 - 6 เม.ย.59 จายคา อาหาร 7 เม.ย.59 เจา นายใหเงนิ โบนสั - - 300 - 11,200 - ซอื้ รองเทา จายคางวดรถยนต 2,500 - - - 13,700 - - - 250 - 13,450 - - - 150 - 13,300 - 3,000 - - - 16,300 - - - 200 - 16,100 - - - 5,000 - 11,100 รวม 20,500 - 9,400 - 11,000 -

35 เรื่องที่ 5 คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในการประกอบอาชพี ประโยชนข องคณุ ธรรม จริยธรรมในการพฒั นาอาชพี ท่สี ามารถนําไปใชได คือ คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี และจริยธรรม หมายถึง ธรรมที่เปนขอ ประพฤติปฏบิ ตั ศิ ลี ธรรม คณุ ธรรม จรยิ ธรรม หมายถงึ การประพฤติปฏบิ ัติท่ีดีที่ชอบท้ังกาย วาจาและใจ เปน การประพฤติปฏิบัติเปนไปดวยความจริงใจ ไมแสแสรง เปนไปโดยธรรมชาติของแตละบุคคล ดงั นัน้ คุณธรรม จริยธรรมในการประกอบอาชพี นับวามผี ลตอ ความม่นั คงของอาชพี ผูขายกับผู ซอ้ื จะตองมคี ุณธรรม จริยธรรมตอ กัน จึงจะคา ขายรว มกนั ไดเ ปน เวลานาน พฤติกรรมคุณธรรม จรยิ ธรรม ท่ีตอ งการในการประกอบอาชพี ไดแ ก 1. ความรับผิดชอบ หมายถึง ความสาํ นกึ ในหนา ท่ี ไมท อกับงาน สามารถปฏิบัติงานได สําเร็จ 2. การประหยดั หมายถงึ การรจู กั ประมาณในการใชจาย 3. การอดออม หมายถึง การไมฟุม เฟอยในการใชจ าย 4. ความสะอาด หมายถงึ ไมสกปรก ไมม ีตาํ หนิ 5. ความประณตี หมายถงึ ละเอยี ดลออ เรียบรอยงดงาม 6. ความขยัน หมายถึง ทาํ การงานอยางแข็งขัน ไมป ลอยปละละเลย 7. ความซื่อสัตย หมายถึง ประพฤติตรงและจริงใจ ไมคิดคด ทรยศ ไมคดโกงและไม หลอกลวง พฤติกรรมของผปู ระกอบธุรกจิ พึงปฏิบตั ติ อคแู ขงขนั ในเชิงธรุ กิจ ไดแก 1. ไมกล่ันแกลงคแู ขง ขนั 2. ชวยกนั สรางสรรคส่งิ ที่ดงี ามใหเกดิ แกส ังคม 3. ไมคนหาความลับของคแู ขงขันในเชิงธุรกจิ โดยใชวิธกี ารทีม่ ิชอบ 4. พึงหลีกเลี่ยงการกระทําใด ๆ ท่ีจะบ่ันทอนช่ือเสียงตอสินคาหรือบริการของคู แขง ขัน พฤตกิ รรมของผปู ระกอบธุรกิจพึงปฏบิ ตั ิตอ สงั คมและสภาวะแวดลอม ไดแก 1. ละเวน การประกอบธุรกิจที่กอใหเกิดความเสื่อมเสียตอสังคมและสภาวะแวดลอม ทงั้ ดานศีลธรรม ความเปนอยแู ละจติ ใจ 2. ละเวนการประกอบธรุ กิจทีท่ าํ ลายทรัพยากรธรรมชาติและสภาวะแวดลอม

36 3. ใหความรวมมอื ทกุ ฝายชวยสรางสรรคสงั คม เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพชีวติ ใหแกส งั คม 4. ใชทรัพยากรธรรมชาติอยางมีประสทิ ธิภาพท่ีสุด ไมท ําลายทรพั ยากรธรรมชาติ 5. พยายามหาวธิ สี รางส่ิงทดแทนทรพั ยากรธรรมชาติ นําสิ่งท่ีใชแลว มาปรับปรุงใชอกี 6. พึงรักษาและปรบั ปรุงมาตรฐานในการประกอบการเพื่อขจัดอันตราย อันอาจสงผล กระทบตอ สภาวะแวดลอม 7. พงึ ประกอบธรุ กจิ ผลิตสนิ คา หรอื บรกิ ารทเี่ หมาะสมกับสภาวะแวดลอมและเปนส่ิง ทม่ี ปี ระโยชนตอสังคมและมนุษยชาติ เรือ่ งที่ 6 การอนรุ กั ษพ ลงั งานและสง่ิ แวดลอมในชุมชน สงั คม ประเทศ และภูมภิ าค 5 ทวีป ไดแก ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลยี ทวีปอเมรกิ า ทวปี ยโุ รป และทวปี แอฟริกา ในการทํางานอาชีพในชุมชนสามารถอนุรักษพลังงาน โดยการใชพลังงานใหเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด มกี ารพฒั นาและนําพลังงานจากแหลง ใหม ๆ มาใชเพ่ือทดแทน และมีการ ปอ งกนั การสญู เสยี พลงั งาน วิธีการอนรุ ักษพลงั งาน ไดแก 1. หาแหลง พลังงานทดแทน 2. การวจิ ัยและพฒั นาพลงั งาน 3. การเผยแพรความรูสสู งั คม 4. การประหยัดพลงั งาน ในการทาํ งานอาชพี ในชุมชนสามารถอนุรักษสิ่งแวดลอม โดยการใชสิ่งแวดลอมอยาง ชาญฉลาด ไมใหเกิดพิษภัยตอสังคม สวนรวม ดํารงไวซึ่งสภาพเดิมของสิ่งแวดลอมทาง ธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ มทีม่ นุษยส รางข้นึ รวมท้ังหาทางกาํ จัดและปอ งกันมลพิษส่ิงแวดลอ ม

37 แบบฝกหดั ใหผูเ รยี นตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. ใหผ เู รยี นยกตัวอยา งการประกอบอาชพี ในทวีปแอฟริกา วา มีอาชีพใดทคี่ ลา ยกับการ ประกอบอาชีพในประเทศไทย …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ใหน กั ศึกษาระบุพฤติกรรมทางกาย วาจา ใจ ของผปู ระกอบอาชพี ที่สามารถนําไปใชกับ ลกู คา ได …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

38 3. ใหน กั ศึกษาระบุขอ ปฏิบัตเิ มือ่ ตองการจะลดกระแสไฟฟา ในการใชเ ครอ่ื งปรับอากาศ มี อะไรบาง …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

39 บทที่ 2 ชอ งทางการพัฒนาอาชีพ เรือ่ งที่ 1 ความจาํ เปน ในการมองเหน็ ชอ งทางเพื่อพฒั นาอาชพี การประกอบอาชีพ หรือประกอบธุรกิจหรือดําเนินการสิ่งใด ตองมีการสํารวจ ขอเท็จจริง มีการวางแผน กําหนดเปาหมายที่ตองการ เขียนโครงการที่จะทําและปฏิบัติตาม รวมท้ังการระบุปญหา อุปสรรคท่ีอาจจะเกิดขึ้นไดพรอมแนวทางการแกไข องคประกอบ ดังกลา วเปน องคประกอบชองการวางแผนดาํ เนินธรุ กิจ การวางแผน เปนการคิดไวลวงหนาวาจะทําอะไร มีจุดมุงหมายอะไร มีวิธีการอยางไร มีกระบวนการอยางไร มีเปาหมาย และแผนการดําเนินงาน ต้ังแตจุดเร่ิมตนจนกระทั้งถึง จุดสิ้นสุดอยางไร การดําเนินกิจกรรมตาง ๆ จะตองมีความสอดคลองกันกับทรัพยากร และ งบประมาณท่ีมีอยู เพื่อใหมีความเปนไดมากท่ีสุด ดังน้ัน การวางแผนจึงมีความสําคัญตอการ ประกอบอาชีพดงั น้ีคอื 1. ชว ยทําใหการดาํ เนนิ งานบรรลผุ ลสาํ เร็จตามเปา หมาย 2. ชวยทําใหก ารใชทรัพยากรเปนไปอยา งมปี ระสิทธิภาพ 3. ชวยทําใหก ารดําเนนิ งานมคี วามเสี่ยงนอยลง และมีความเชื่อมั่นในการบริหารงาน มากขึน้ 4. ชว ยปองกนั การขดั แยง ซงึ่ อาจจะเกดิ ขึ้นระหวางการดาํ เนินงานได 5. ชวยปรับวธิ ีการดําเนินงาน หรือเปลี่ยนแปลงกิจกรรมบางอยา งไดอยางเหมาะสม เรอื่ งท่ี 2 ความเปน ไปไดในการเขาสูอ าชพี 1. การลงทนุ “ก าร ลงทุ น ” หมา ยถึง การ ออม เพ่ือ ใหไ ดรับผ ลตอ บแท นท่ีม ากข้ึ น ซึ่งผูประกอบการตองยอมรบั ความเสย่ี งทีเ่ พม่ิ ขน้ึ เชนกนั การตดั สินใจนาํ เงินออมมาลงทุนเราจึง ตองพิจารณาอยางรอบคอบ และศึกษาหาขอมูลท่ีเกี่ยวของเปนอยางดี เพ่ือใหไดรับ ผลตอบแทนที่คาดหวงั ไว และเพื่อลดความเส่ียงท่ีเกิดขึน้ จากการลงทนุ

40 วิเคราะหทางการเงิน การลงทุน เพ่ือเปรียบเทียบผลประโยชนตอบแทนที่ไดรับ และคา ใชจา ยทต่ี องเสียไปในการดาํ เนนิ กจิ กรรมตามโครงการ คาใชจ า ยของโครงการ 1. คา ลงทุน 2. คาใชจ ายในการดําเนินงาน และบาํ รงุ รักษา 3. คา ทดแทน 4. เงินสาํ รองจา ย การประมาณคาใชจ ายโครงการ 1. ระบรุ ายการ และปริมาณคาใชจ า ย 2. การตรี าคาคาใชจ าย - ราคาตลาด - ราคาทางบัญชี 3. รวมคา ใชจา ยเปน รายป ผลประโยชนตอบแทนของโครงการ กระแสเงินสด = ผลประโยชนต อบแทนตอ ป – คา ใชจ า ยตอป 2. การตลาด การตลาด เปนกจิ กรรมทางธรุ กจิ ท่ีมีความจาํ เปน และมีความสําคัญตอการอยูรอด ขององคกรธุรกิจ ในระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยม ธุรกิจจําเปนจะตองอาศัยกลยุทธทาง การตลาด คือ การขาย การเรียนรูเพ่ือใหเขาใจถึงความแตกตางของการขาย และการตลาด อยา งชัดเจนซ่งึ จะชว ยใหธ ุรกิจพฒั นาตอ ไปไดอ ยา งเหมาะสม ความสําคญั ของการตลาด ยคุ แรกของการตลาดจะเนน ทก่ี ารผลิต โดยจะทําการผลติ สินคาใหไ ดมากเพ่ือสนอง ความตองการในตลาด การผลิตจึงเปนหนทางทํากําไร หากผูผลิตสามารถผลิตสินคาใหได จํานวนมาก ในระยะตอมาการตลาดจะเนนที่การขาย โดยใหความสําคัญกับงานการขายเปน อยา งมาก และกําไรของธรุ กิจจะเกิดข้นึ มากนอยจะขึน้ อยทู คี่ วามสามารถและประสิทธิภาพของ ทีมการขาย ปจจุบนั การตลาดเนน การใชเ ครื่องมอื ทางการตลาดทุกอยาง โดยเฉพาะการสราง ความพึงพอใจใหเกิดกับลูกคา โดยใชสวนผสมทางการตลาด คือ ผลิตภัณฑและการกําหนด ราคาของผลิตภัณฑท เี่ หมาะสม

41 ความหมายของการตลาดและการขาย การตลาด หมายถงึ กิจกรรมทางธุรกิจที่จะทําใหสินคาจากผูผลิตไปสูมือผูบริโภค และทําใหผูบริโภคเกิดความพึงพอใจที่ไดบริโภคสินคาหรือบริการนั้น อันเปนผลทําใหธุรกิจ ประสบความสาํ เร็จตามวตั ถุประสงคข องธุรกิจนนั้ ๆ อกี ดว ย การขาย หมายถึง กระบวนการในการชวยเหลือ โนมนาว ชักจูงใจ โดยใชบุคคล หรือไมใ ชบ คุ คลกไ็ ด เพอ่ื ใหลูกคา คาดหวงั ตดั สนิ ใจซอื้ สินคาหรือบรกิ ารนัน้ ๆ แนวความคดิ ทางการตลาด นกั ธุรกจิ ใหค วามสําคัญกบั การตลาด เพือ่ ทาํ ใหธ ุรกิจนัน้ ประสบความสําเรจ็ โดยมี แนวความคดิ ปรัชญา และการดาํ เนินธุรกิจ องคประกอบท้งั 3 ประการดังกลา วเปน แนวความคดิ ทางการตลาด โดยมงุ เนน ไปที่ผูบรโิ ภคและการผสมผสานของกจิ กรรมทาง การตลาด เพ่อื ทาํ ใหบ รรลถุ งึ วตั ถุประสงคข องธุรกจิ และใหผ บู รโิ ภคเกิดความพงึ พอใจท่ไี ดใ ช ผลติ ภณั ฑนัน้ ๆ แนวความคิดทางการตลาดสามารถสรปุ ไดด ังแผนภมู ิ ตอ ไปน้ี นอกจากแนวความคิดท่ีกลาวขางตน ยังมีการเสนอแนวความคิดใหมทางธุรกิจอัน เปนแนวความคิดท่ีเปนไปตามกระแสของสังคมและของประเทศชาติ คือ แนวความคิดทาง การตลาดเพื่อสังคมและส่ิงแวดลอม การตลาดในลักษณะน้ีจะเนนในดานของการรักษา

42 สิ่งแวดลอ ม ความปลอดภัยตอชีวิตผูบริโภคและไมทํารายธรรมชาติ โอโซน อากาศ น้ํา ดังนั้น ธุรกจิ จึงเสนอผลิตภณั ฑท ี่เปนมิตรตอธรรมชาติปลอดสารซเี อฟซี (CFCs) ซึง่ ทําลายโอโซน มกี ิจกรรมทางการตลาดในเรื่องของรีไซเคิล รีฟล รียูส แนวความคิดที่กลาวถึงน้ีอาจเรียกไดวา เปน กรีนมาเก็ตตงิ้ หนา ท่ที างการตลาดท่สี ําคัญ 1. การขาย ผูประกอบธุรกจิ ตองอาศยั นักการตลาด ดําเนินกิจกรรมในดานการขาย เพือ่ เคลื่อนยา ยสนิ คา จากโรงงานผลิต และการทาํ การโอนกรรมสทิ ธิเ์ ปล่ียนมอื ความเปนเจาของ ในสนิ คา นั้น ๆ ไปยังผูบริโภค โดยอาศัยการโฆษณา การสงเสริมการขาย และการใชพนักงาน ขายเพอ่ื กระตนุ ใหล ูกคา เปา หมายตัดสินใจทจี่ ะซอ้ื ในทางกลบั กนั ผปู ระกอบธรุ กิจกส็ ามารถขาย สนิ คาได 2. การซ้ือ ผูประกอบธุรกิจตองเปนนักซ้ือท่ีฉลาดเพ่ือใหไดวัตถุดิบ อุปกรณ เครอื่ งมอื เครอ่ื งใชใ นราคาที่เหมาะสมดวย เพือ่ เปนการลดตนทุนของธุรกิจเอง โดยยึดหลักตอง ซื้อใหไดป รมิ าณในเวลาและราคาที่เหมาะสมดวย จะตองรูวัตถุประสงคดวยวาจะซ้ือเพ่ืออะไร เชน ซ้ือไปเพ่ือผลิต ซ้ือไปเพอ่ื ขายตอ และตอ งรูจกั เปรียบเทียบคุณภาพราคาของสินคาท่ีจะซื้อ รวมถึงขอตกลงในเงอื่ นไขที่สมเหตุสมผล และตรวจสอบรับสินคาเขาเก็บไวในคลังสินคาหรือส ตอก เพ่อื รอการจําหนายตอไป 3. การขนสงสินคา ตลาดตองจัดการขนสงที่เหมาะสมกับสินคาโดยพิจารณา ลักษณะสินคาหีบหอของสินคา เพื่อเลือกพาหนะขนสงท่ีดีเหมาะกับสินคาประหยัดคาขนสง หรือคาระวาง การสงมอบสินคาท่ีตรงตอเวลา ลูกคาทุกรายตองการรับสินคาตรงตอเวลา โดยเฉพาะอยางย่ิงสินคาที่มีฤดูกาลในการขายยิ่งจําเปนอยางย่ิงท่ีตองรักษาเวลาในการขนสง ธุรกจิ จาํ เปนตอ งเลอื กวิธีการขนสง ทเี่ หมาะสมไมวาจะเปนทางรถบรรทุก รถไฟ ทางเคร่ืองบิน เรอื บรรทกุ สนิ คา หรอื การขนสงทางทอ 4. การจัดมาตรฐานสนิ คา เพ่ือใหไดสินคาเปนท่ีพอใจงายตอการตัดสินใจซื้อ และ สรา งความมน่ั ใจใหก ับผูบรโิ ภค จึงมีการจัดแบงระดับหรือมาตรฐานของสินคา เพื่อใหลูกคาได เลือกสินคา ทเี่ หมาะสม และตรงกับความตองาการโดยเฉพาะอยางย่ิงการซ้ือขายสินคาในตลาด ตางประเทศ การจัดอันดับและมาตรฐานสินคามีความสําคัญอยางย่ิง ในปจจุบันประเทศไทย สนับสนนุ การผลิตสินคา เพื่อสงออกเพม่ิ ข้นึ สงู ดงั นน้ั การที่สินคาไดมาตรฐาน ISO จึงเปนส่ิงท่ี สาํ คญั โดยผูผ ลติ จําเปนตอ งศึกษาและพยายามผลิตใหไดม าตรฐานสากลท่กี ําหนด ไมวาจะเปน

43 มาตรฐานคุณภาพ ISO 9000 , ISO 9002 หรือ ISO 14000 ก็ตาม เพ่ือรักษาภาพพจน และ การยอมรับในมาตรฐานสินคาไทย 5. หนาท่ีในการเก็บรักษาสินคา การเก็บรักษาสินคาในคลังเก็บสินคา หรือสต็อก สินคา เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาใหตรงเวลา ไดทันทีที่มีคําส่ังซื้อสินคาเขามา การ เก็บรกั ษาสินคาเพื่อวตั ถุประสงคห ลายประการ เชน เหลา ไวน ย่งิ หมักบมนานปก ็ยง่ิ มรี าคาแพง เพือ่ ใหข ายนอกฤดกู าลได เชน การแชแข็ง การฉายแสงเก็บไว เพอ่ื ชะลอการสกุ ของผลไม เพอ่ื เก็งกาํ ไรโดยรกั ษาระดบั อุปทานในตลาดเมื่อสนิ คาไดราคาดีคอ ยปลอ ยออกขาย 6. การประกันภัย สินคาท่ีผลิตออกมาและรอการจําหนาย อาจเส่ียงตอภัยตาง ๆ เชน ความลาสมัย การถูกลักขโมย ภัยธรรมชาติ ลักษณะการเส่ียงภัยอาจเกิดขึ้นไดทุกเวลา ดังนั้น การประกนั ภยั จงึ เปน ทางเลือกหน่ึงท่ีจะชวยแกปญหาดังกลาว โดยธุรกิจจะตองไมผลัก ภาระการเสี่ยงภัยออกจากกิจการโดยสิ้นเชิง ปจจุบันไดมีสถาบันรับประกันภัยตาง ๆ เขามา ชว ยแบง เบาภาระการเสี่ยงภัย โดยใชหลักการกระจายการเส่ียงภัยใหกวางออกไปถึงผูรับภาระ หลาย ๆ ราย 7. การใหความชวยเหลือดานการเงิน การประกอบธุรกิจซื้อขายสินคาจะมีปญหา เกีย่ วกับการเงิน หนสี้ ญู หนี้เสยี การขาดสภาพคลอ งทางการเงิน ขาดเงินสดหมุนเวียนในธุรกิจ จนเปนผลใหไมมเี งินจายสินคา จา ยคาจางเงินเดือนพนักงาน ดังน้ัน การจัดการเงินที่ดีในฐานะ การเงินของกิจการ อยูในภาวะสมดุลรายไดเกิดขึ้นสอดคลองกับชําระหน้ีสิน หากกิจการธุรกิจ จัดการดานการเงินไมดีก็อาจนําไปสูการขาดทุน จนถึงตองออกจากธุรกิจนั้นไป การจัดหา เงินทุนจากแหลงตาง ๆ และการจัดการนําเงินกําไรไปลงทุนใหมในธุรกิจท่ีมีความเสี่ยงตํ่า รวมถึงสถาบันทางการเงินท่ีจะเขามาชวยในเร่ืองการกูยืมเงินเพ่ือการลงทุน เชน ธนาคาร พาณิชย ทรัสต บรรษัทเงินทุน เปนการเขามามีบทบาทในการใหความชวยเหลือ พัฒนาการ ลงทุนของธุรกจิ 8. การหาขอมูลทางการตลาด เพ่ือประกอบการตัดสินใจของผูบริหารธุรกิจและ ประโยชนของธุรกิจ ใหมีผลเสียหายนอยท่ีสุด โดยเฉพาะอยางย่ิงยุคของขอมูลขาวสาร เชน ในปจจุบันธุรกิจใดไดขอมูลขาวสารกอนก็ยอมจะไดเปรียบในการตัดสินใจไดรวดเร็ว ถูกตอง เชน ขอ มลู ในการลดคา เงินบาท การใหคาเงินบาทลอยตัว ผูรูกอนยอมปรับกลยุทธและตักตวง ผลประโยชนไ ดจ ากคาเงนิ ทีเ่ ปลี่ยนแปลง

44 3. กระบวนการผลติ กระบวนการผลิต หมายถึง กระบวนการผลิตสินคา การใหบริการ ตามความ ตองการของผูบริโภค ซึ่งประกอบไปดวย ลูกคา ตลาดแรงงาน สังคม ประเทศชาติ และ ประชาคมโลก โดยมีวิธีการในการควบคุมดูแลการผลิตอยางมีคุณภาพท่ีไดมาตรฐาน และการ สรา งคุณลักษณะที่โดดเดนของสนิ คา หรอื บรกิ าร ไดแ ก 1. ความนาเชือ่ ถือ ผใู หบรกิ ารจะตองแสดงถึงความนา เช่อื ถอื และไววางใจ 2. การตอบสนอง การตอบสนองที่มคี วามต้งั ใจและเต็มใจ 3. การสรา งความมั่นใจ สามารถท่จี ะทําใหลกู คา เกดิ ความเช่อื ใจ 4. การดแู ลเอาใจใส 5. เครื่องมอื อปุ กรณ 4. การขนสง สินคา การขนสง หมายถึง การเคลื่อนยายสินคาจากท่ีหนึ่งไปยังอีกที่หน่ึง ซ่ึงเปนหนาท่ี ของผูผ ลติ ท่จี ะใหประโยชนแกผ ูบรโิ ภค ในดานเวลา และสถานที่ สงผลใหสินคามีมูลคาเพ่ิมข้ึน เพราะหลักในการจัดการขนสงมีอยูวา “มูลคาสินคาท่ีเพิ่มขึ้นหลังจากขนสงไปแลวจะตองสูง กวาคา ขนสง” ซึง่ มสี นิ คา บางชนดิ ท่คี าขนสง สูงกวาราคาตวั สนิ คาจรงิ มาก เชน การขนหินทราย ยิปซัม ถานหิน แตก็มีสินคาบางชนิดท่ีคาขนสงถูกกวาราคาสินคาจริง เชน การขนทองคํา เพชรพลอย และยา เปน ตน การขนสง มีสวนชวยลดคาตนทุนการผลิตได ในกรณีท่ีต้ังโรงงานขนาดใหญที่ ตนทุนตํ่าในสถานท่ีหนึ่ง แตตองการกระจายสินคาไปท่ัวประเทศ เชน โรงงานผลิตรถ มอเตอรไซค ทีต่ ง้ั อยูชานเมอื งกรุงเทพฯ แตสามารถสงรถมอเตอรไซคไปขายทั่วประเทศ หรือ โรงงานผลิตเส้อื ผา ตั้งอยูใ นประเทศไทย แตส ามารถสงเส้อื ผา ไปขายไดท ่วั โลก เปนตน ซึ่งจะทํา ใหตนทนุ การผลิตตอ หนว ยสินคาลดลง การขนสงทางธุรกจิ มี 3 ทาง คือ 1. การขนสงทางบก ปจจุบันมีทางรถไฟเชื่อมระหวางกรุงเทพฯ กับเมืองใหญ ๆ เกือบทั่วประเทศผานจังหวัดใหญ ๆ ท้ังภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สว นท่ีผานภาคใตมีการเช่ือมตอกับประเทศมาเลเซีย ทางปาดังเบซาร และสุไหงโก-ลก จนถึง สงิ คโปร นอกจากนัน้ ยงั มีทางรถไฟเชอื่ มกับประเทศกัมพชู า แตขณะนหี้ ยุดกจิ การ เพราะปญหา ความปลอดภัยภายในของประเทศนนั้ กิจกรรมหลักของรถไฟ คือ การขนสงสินคา รอยละ 90

45 ของรถไฟเปนตูสินคา แตละปรถไฟทําการขนสงสินคาประมาณ 8 ลานตัน สวนใหญวัตถุดิบ เชน นาํ้ มัน และปูนซเี มนต 2. การขนสงทางเรือ มีทาเรือใหญ ๆ ที่ใชขนสงสินคาท้ังภายในประเทศ และติดตอ กบั ตางประเทศ เชน ทาเรือคลองเตย แหลมฉบัง มาบตาพุด ภูเก็ต สงขลา และสีชัง การขนสง ทางเรือมีคา ใชจายต่ําแตลาชา ระบบบรหิ ารและระบบศลุ กากรยังลาสมยั มชี องวางใหเ จา หนาท่ี ทําการทุจริตไดมาก สงผลใหมูลคาเพ่ิมของสินคาและบริการ ขององคกรธุรกิจหายไปเปน จาํ นวนมาก 3. การขนสงทางอากาศ ประเทศไทยมีทาอากาศยานนานาชาติที่สุวรรณภูมิ ดอน เมอื ง เชียงใหม อูต ะเภา ภูเก็ต และหาดใหญ ซ่ึงทาํ ใหก ารขนสงสินคาและบริการขาเขาและขา ออกดีพอสมควร การขนสงทางอากาศมีความรวดเร็ว แตเสียคาใชจายสูงมาก เหมาะสําหรับ การขนสง สนิ คา ขนาดเล็ก นํา้ หนักเบา นอกจากน้ียังมีการขนสงทางทอซึ่งใชขนสงเฉพาะกาซ นํ้า และนํ้ามันเทาน้ัน ปจจบุ ันการขนสงโดยบรรจุสินคาไวในตูคอนเทรนเนอรเปนที่นิยมมากเพราะสามารถใชบรรจุ สนิ คา ไดหลายอยาง โดยบรรจุสินคาในกลองกอนที่รวมไวในตูคอนเทรนเนอร ทําใหสะดวกใน การขนถา ย ในบางกรณที ี่ตองใชการขนสงหลายวิธี หรือเปล่ียนถายการขนสงหลายครั้งกวาจะ ถึงจุดหมายปลายทางก็สามารถโยกยายไดดี เชน เคล่ือนยายจากรถลงเรือหรือจากเรือขึ้นรถ ตูคอนเทรนเนอรมีหลายขนาดแลวแตการขนสง เชน การขนสงทางเรือสวนใหญจะใชตู มาตรฐานขนาด 21 ฟุต และ 40 ฟุต สว นตูค อนเทรนเนอรสําหรับสงของทางอากาศจะมีขนาด เล็กกวาการขนสงสินคาแตละวิธีมีขอดี ขอเสียตางกัน นักการตลาดท่ีดีตองรูจักเลือกวิธีการ ขนสงที่เหมาะสมกับสินคาและบริการท่ีมีประสิทธิภาพ ซึ่งข้ึนอยูกับวัตถุประสงคของตนเอง เชน ตองการความรวดเร็ว หรือตอ งการราคาถูก หรือตอ งการความสะดวก 5. การบรรจุหีบหอ การบรรจหุ บี หอน้นั นอกจากใชป อ งกนั ผลติ ภัณฑแ ลว ยังใชในการสงเสริมการขาย ซึง่ ถอื วา มีความสาํ คัญมากทง้ั สาํ หรบั ผขู ายและผูบรโิ ภค การบรรจหุ ีบหอทดี่ ที ําใหสามารถรักษา งาย ประหยัดเน้ือท่ี และทําใหผูบริโภคมองเห็นความแตกตางของผลิตภัณฑไดชัดเจน ซึ่งประโยชนข องการบรรจหุ บี หอ มีดงั น้ี 1. ผบู รโิ ภคมักจะเลือกผลติ ภัณฑท มี่ กี ารบรรจุหีบหอที่ดีกวา เชน ผูบริโภคยอมซ้ือ นํ้าที่บรรจุขวดพลาสติกใสในราคาที่แพงกวาน้ําทีบรรจุขวดขุน ท้ังท่ีเปนนํ้าด่ืมท่ีปลอดภัย เหมอื นกันหรอื นิยมซ้อื บะหม่ีกงึ่ สาํ เร็จรูปทีบ่ รรจุในถวยพลาสติก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook