Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เชียงใหม่ในอดีตPDF

เชียงใหม่ในอดีตPDF

Published by anong jerasothikul, 2021-01-30 10:09:24

Description: เชียงใหม่ในอดีตPDF

Search

Read the Text Version

เชียงใหม่ ในอดตี

ในวันท่ี 9 พฤศจิกายน 2477 เวลา 10.00 น. มพี ธิ บี ุกเบิก สรา้ งทางขน้ึ ดอยสเุ ทพโดยมี เจา้ แกว้ นวรฐั เจา้ ผ้คู รองนครเชียงใหม่ เปน็ ผ้ลู งจอบแรกเป็นปฐมฤกษ์ ครูบาเจ้าศรีวชิ ยั ได้นาภิกษสุ งฆส์ วดชัยมงคลคาถา ตอ่ หน้าชาวบา้ นลา้ นนาและชาวเขาหลายเผ่า ทีม่ ีศรัทธาตอ่ พระธาตุดอยสเุ ทพและครูเจา้ บาเจ้าศรีวชิ ัย

ถนนขึ้นสู่ยอดดอยสเุ ทพท่ีผ่านเสน้ ทางทรุ กันดารยาวถงึ 11 กม. กับอีก 500 ม. สาเร็จไดด้ ้วยพลังศรทั ธา ของผู้คนท่ีมตี อ่ ครบู าเจ้าศรีวิชยั โดยใช้เวลาสรา้ ง 5 เดือนกบั 22 วนั และทาพธิ ีเปดิ ในวันท่ี 30 เมษายน 2478ซง่ึ เปน็ ครั้งแรกท่มี ีรถขบั ขน้ึ ไปถงึ บันไดนาค

คุ้มเจ้าแกว้ นวรัฐ ถ่ายประมาณ พ.ศ. 2448 คมุ้ นเ้ี ป็นทป่ี ระทับของพลตรเี จ้าแก้วนวรัฐ อดตี เจา้ หลวงองค์สุดทา้ ยของ เชียงใหม่ เดมิ เป็นบ้านของหมอชีคมชิ ชันนารีชาวอเมรกิ นั ไดอ้ อกแบบ กอ่ สร้างเอง แล้วเสรจ็ ในปี พ.ศ. 2433 (ปเี ดยี วกบั การสร้างขวั กลุ าเสร็จ) ต่อมาภายหลงั ขายใหก้ ับพลตรีเจา้ แกว้ นวรัฐ มองในภาพเปน็ เรอื นไมส้ ูงสองชนั้ หันหน้าไปทางแมน่ า้ ปิง สรา้ งดว้ ยไม้สัก ทง้ั หลัง ดา้ นล่างกอ่ อิฐ หลงั คาทรงสงู คลา้ ยแบบยโุ รป มงุ ด้วยกระเบอ้ื งดนิ เผา มบี นั ไดขนึ้ ลงชนั้ สองทง้ั ดา้ นซา้ ยและดา้ นขวา มีระเบยี งลอ้ มรอบท้งั สองชน้ั ไม้ระเบยี งฉลลุ วดลายสวยงาม ช้ันลา่ งเปน็ ห้องรับแขกและ หอ้ งครวั ส่วนช้นั บนเปน็ ห้องพกั ใหญร่ วม 7 หอ้ ง มมี ขุ บนหลังคาคล้ายหอ้ ง ใตห้ ลงั คาแบบบ้านชาวยุโรป ฝาบา้ นใช้ไมส้ กั แผน่ ตีเปน็ เกล็ดทับซอ้ นกนั หนา้ มุขมีลานสนามหญ้ากว้าง เจา้ แก้วนวรฐั ประทบั อย่ทู ีค่ ้มุ แหง่ นจ้ี นถึงพริ าลยั ใน พ.ศ. 2482 เจา้ บวั ทพิ ย์บุตรไี ดข้ ายคุ้มแห่งนใ้ี ห้กบั นายชู โอสถาพนั ธ์ พ่อคา้ ชาวจนี ตอ่ มาได้รอ้ื คมุ้ แหง่ นีล้ งสรา้ งตลาดสดข้นึ แทน สรา้ งเสร็จเม่อื วันท่ี 12 สงิ หาคม พ.ศ.2500 ใหช้ ือ่ ว่า “ตลาดนวรัฐ”

ตลาดนวรฐั (อาคารโอว้ จินเฮง) ที่สรา้ งแทนท่ี คุ้มเจา้ แก้วนวรฐั

การเดนิ ทางและค้าขายจากเมอื งเชียงใหมล่ งมายงั กรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลท่ี5ตอ้ งล่องผ่านแมน่ า้ ปงิ ลงมาเทา่ นัน้ ซึง่ ค่อนขา้ งล้าบากเนื่องจากแมน่ ้าปงิ มแี กง่ มากถ้าเรือมาเจอแก่ง ต้องระดมคนชว่ ยกนั ลากเรอื ผ่านแกง่ ก่อนเรือจงึ สามารถ เดินทางต่อไปได้ ยง่ิ ในหน้าแล้งการเดินทางลา้ บากมากเพราะมแี ก่งมาก เมื่อถึงหนา้ นา้ นา้ ทว่ มแก่งเดินทางสะดวกแตต่ ้องเส่ียงเจอกับ น้าวนที่แก่ง

ภาพถ่ายเดก็ หญงิ กิมฮ้อ ติดตามหลวงอนสุ ารสุนทร (ชา่ งภาพคนแรกๆของ เมืองเชียงใหม่) ล่องแมน่ า้ ปงิ จากเมอื งเชียงใหมม่ าคา้ ขายทางเรือ สมยั รชั กาล ที่5

นางกมิ ฮ้อ นมิ มานเหมินท์(คนยืนขวามือ) เปน็ บตุ รสาวของ หลวงอนุสารสุนทรกบั แม่ค้าเที่ยง ชตุ มิ า (น่งั กลาง)พี่น้องแม่ เดยี วกันมี 2 คน คอื นางกิมฮ้อและนายแพทยย์ งค์ ชุติมา นางกมิ ฮอ้ แตง่ งานกบั นายกี นมิ มานเหมนิ ท์ รุน่ ลูกลว้ นเป็น คนดีและสร้างประโยชนต์ อ่ สงั คมเมืองเชยี งใหม่ คือ นาย ไกรศรี นิมมานเหมินท์(ยนื ซา้ ยสุด), นายพสิ ทุ ธิ์ นมิ มานเห มินท,์ นายอนั นมิ มานเหมินท์, นายเรอื ง นมิ มานเหมินท์, นางแจม่ จติ ต์ เลาหวัฒน์ และนางอณุ ณ์ ชุติมา(เด็กหญิงยนื หนา้ สุด)

ขัวกลุ า” หรอื “ขัวเก่า” สะพานไม้แหง่ แรกของเชียงใหม่ สรา้ ง ในปี พ.ศ. 2421 โดยดร.มาเรียน เอ ชิค มิชชันนารชี าว อเมริกนั ตอ่ มาได้พงั ลงเพราะกระแสน้า ในปี พ.ศ.2475 คา้ ว่า “ขัวกุลา” คงจะหมายถึงสะพานท่ฝี รัง่ สร้างข้ึนมาคา้ ว่า “กุลา” หมายถึง ฝร่ัง ต่อมาเม่อื สรา้ งสะพานนวรัฐข้ามแมน่ า้ ปงิ แห่งทีส่ องขนึ้ มาชาวบา้ นจึงเรียก “ขัวกลุ า” ว่า “ขัวเกา่ ” แทน ในภาพซ้าย ฝงั่ ขา้ งหนา้ เปน็ ฝง่ั วดั เกตการาม

วัดเกตการาม สรา้ งในปี พ.ศ. 1971 สมัยพระเจ้าสาม ฝัง่ แกน พระราชบดิ าพระเจ้าติโลกราช เดมิ ชื่อ วดั สระเกษ

ในวถิ ชี ีวติ พน้ื บา้ นชาวลา้ นนา แหล่งที่มผี คู้ นอาศยั หนาแนน่ มกั จะมี กาด(ตลาด) เกดิ ขนึ้ เพอ่ื เปน็ แหลง่ อานวยความสะดวก ใหม้ กี ารซ้อื ขายแลกเปลยี่ นสนิ คา้ ในอดตี ชาวบา้ นทอี่ าศยั อยบู่ รเิ วณรอบนอกมกั จะเขา้ มาทก่ี าดใน เมืองโดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั 2 ขอ้ คือการนาเอาของมาขาย โดยอาจจะนาของปา่ ผัก ผลไม้ เนื้อสตั ว์ ฯลฯ ท่ีหามาไดม้ าขายหรอื นามาแลกสนิ คา้ อนื่ อกี ข้อคอื การเขา้ มาเพอื่ มาซ้อื ของกนิ ของใชท้ ี่ในหมบู่ า้ นไมม่ ี มาเทยี่ วชม ซือ้ สินคา้ หรหู รา ตน่ื ตาตนื่ ใจ กาดประจาเมอื ง มกั จะมขี นาดใหญจ่ งึ มกั จะเรยี กกนั วา่ “กาดหลวง”

ถนนในตวั เมอื งเชียงใหม่ เมือ่ 58ปกี อ่ น ภาพถ่ายเมอ่ื ปี พ.ศ.2506 อาคารไม้กลางภาพมปี ้ายชือ่ โรงแรม กาธร ภาพนีโ้ รงแรมอยู่ปากทางเข้าซอย วดั แขก ซึ่งจะเดนิ ไปทะลกุ าดหลวงด้าน ตรอกขว่ งเมรุ จุดท่ถี า่ ยภาพคอื ถนน ราชวงศ์ ตรงส่ีแยก เปน็ โรงภาพยนตร์ ศรนี ครพงิ ค์ จากจุดถ่ายภาพดา้ น ขวามอื จะเปน็ รา้ นเกษมสโตร์ โรงแรมกาธรตงั้ อย่บู น ถนนช้างม่อย อยู่ตรงขา้ มกับ โรงแรมราชวงศ์ ที่อยหู่ ัวมมุ ถนนฝัง่ ตรงข้าม (เปล่ียนเป็นรา้ นขายเคร่ืองนอน)

ถนนเชียงใหม่ ลาพูน เมื่อ60ปกี ่อน ภาพถ่ายในปี พ.ศ 2503 ในยุคถนนดนิ ววั ลอ้ ภาพทงุ่ หนองหอย ดา้ นซา้ ยมอื เปน็ หม่บู า้ น

ทา่ นทตู สหรฐั นั่งอยู่บนเก้าอี้หวาย ท่ามกลางหญิงบา้ นวัวลาย เมอ่ื 98ปกี อ่ น ท่ีเชยี งใหม่ ซง่ึ พวกเขาเป็นช่างฝีมอื ที่มา อวดผลิตภณั ฑส์ ินค้าเครอื่ งเงิน อันแสนงดงามทง้ั สลงุ ขนั ดอก เชย่ี นหมาก เป็นงานหัตถกรรมทีม่ ีชอื่ เสียงของบ้านววั ลาย

เจ้าชายแห่งราชสา้ นักเชยี งใหม่ คือ เจ้าอินทนนท์ ณ เชยี งใหม่ ราชบุตรพลตรีเจา้ แก้วนวรฐั ได้ เสกสมรส กบั เจา้ นางสุคนั ธา ณ หอค้าเชยี งตงุ โดยมีเจา้ ฟ้าก้อนแกว้ อนิ ทแถลง เจ้าหอค้า เจา้ นางปทมุ มหาเทวีเป็นเจ้าภาพเมอื่ พ.ศ. 2476

นางสาวเชยี งใหมค่ นแรก พ.ศ.2477 87 ปกี ่อน เจา้ ฟองจนั ทร์ อนิ ทรขตั ิย์ เจ้าหญงิ ในราชสกลุ ณ เชียงใหม่ เจา้ ฟองจันทร์ ไดพ้ บกบั พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจ้าอนุสร มงคลการ พระสหายตา่ งวยั ของเจา้ แกว้ นวรฐั เจ้านครเชียงใหม่ องคท์ ี่ 9 ทค่ี ุม้ เจ้าแกว้ นวรัฐ และเสกสมรสตามแบบลา้ นนา กอ่ นย้ายตาม สวามีไปอยู่ท่กี รงุ เทพมหานคร และเปล่ียน ฐานนั ดรศักดิเ์ ปน็ หม่อมฟองจันทร์ ยุคล ณ อยุธยา

แจ่งศรภี มู ิ ก้าแพงเมืองและประตูเมืองเชยี งใหม่ มี ความสา้ คญั ถอื ไดว้ ่าเป็นสัญลกั ษณท์ พ่ี เิ ศษ ในอดตี เมื่อพระมหากษัตรยิ จ์ ะเสดจ็ เขา้ เมอื งจะต้องเขา้ เมืองที่ประตทู างทศิ เหนอื ซึ่งถือเป็นเดชเมือง ใน การสรา้ งก้าแพงเมืองเชยี งใหมข่ ้ึนแต่เดมิ น้นั พงศาวดารโยนกกลา่ วไวว้ า่ “เมือ่ พญามังรายได้ สร้างเมอื งเชยี งใหม่ขนึ้ แลว้ ได้ทรงขดุ คเู มอื งทง้ั ส่ี ด้านนา้ เอาดนิ ขนึ้ มาถมเป็นแนวก้าแพง โดยเรม่ิ ขดุ ท่มี ุมตะวนั ออกเฉยี งเหนือคอื แจง่ ศรภี มู ิอันเปน็ ทิศ มงคลก่อน แล้วกอ่ อิฐขนาบสองข้างกันดินพังทลาย ขา้ งบนกา้ แพงปูอฐิ ตลอดแนวท้าเสมาไว้บนก้าแพง ท้งั สีด่ ้าน

ประตูทา่ แพ

ประตูท่าแพ ได้รบั การบูรณะโดยเทศบาลนครเชียงใหม่ ในปี พ.ศ.2528 โครงสร้าง ภายในเป็นคอนกรตี เสรมิ เหล็ก

ประตชู ้างเผอื กที่เร่มิ มีการบรู ณะ มองเหน็ แทง่ ศลิ าจารกึ อยู่ดา้ นใน

ขบวนพาเหรดโรงเรียนเรยีนาเชลีวิทยาลัยในการแข่งขันกฬี านกั เรยี น เดิน ผ่านประตชู ้างเผือก เม่อื พ.ศ.2508

ซ้าย ประตูสวนปรงุ กอ่ นการบรู ณะ ถา่ ยเม่อื ปี พ.ศ. 2510 ขวา ประตูสวนปรงุ ถา่ ยเมือ่ ปี พ.ศ. 2551 ถัดไปดา้ นหลงั เปน็ สวนบวกหาด



ร้วั โรงเรียนยพุ ราช

น้าท่วมหน้าโรงภาพยนตร์ศรนี ครพงิ คเ์ ม่อื พ.ศ.2495

หา้ งสรรพสินคา้ แห่งแรกของเชียงใหม่ บนถนนทา่ แพ

ยา่ นการคา้ ถนนวชิ ยานนท์

สะพานนวรฐั ร่นุ แรกสรา้ งข้นึ ด้วยไม้สกั ล้วน (ประมาณปี พ.ศ.2440 – 2450) เป็น สะพานแบบคานย่ืน วศิ วกรชาวอิตาเลยี นช่อื เคานต์ โรเบอร์ตี้ เปน็ ผู้ออกแบบและ กอ่ สร้าง สรา้ งบนตอมอ่ ไม้สกั 6 ตอม่อ โครงส่วนบนสรา้ งด้วยไม้สักลว้ นท้าเปน็ รูปโคง้ ครงึ่ วงกลมมอี ยู่ 5 ช่วง

สะพานนวรัฐรุ่นท่ี 2 น้ีใชช้ ่ือวา่ “สะพานนวรัฐ” เพื่อเปน็ เกียรตแิ ก่เจ้าแก้วนวรัฐ เจา้ ผู้ครองนครเชยี งใหม่สมัยนั้น สะพานแห่งน้เี ป็น สะพานโครงเหล็ก สร้างบนตอมอ่ คอนกรตี เสรมิ เหลก็ ส่วนบนเป็นโครงเหล็กลว้ นมี 5 ช่วง สร้างโดย มาควิส กมั เบียโซ่ วศิ วกร ชาวอติ าเลียน โดยโครงเหล็กท้งั หมดสง่ มาจากบริษทั คลฟิ แลนด์ ประเทศองั กฤษ สะพานแหง่ นี้รับใช้ชาวเชียงใหมไ่ ดห้ ลายสิบปี เม่อื เชียงใหมม่ ีความเจริญขึ้น ยวดยานพาหนะกม็ ีจา้ นวนมากขึน้ ด้วย สะพานซ่ึงสร้างมานานเริ่มมีความคบั แคบไมเ่ หมาะสมกับ สภาพการจราจรในสมยั นนั้ ทางการจงึ ได้ร้อื “ขวั เหลก็ ” ออกแลว้ สรา้ งสะพานนวรฐั ร่นุ ที่ 3 ข้นึ ซ่งึ เปน็ สะพานคอนกรีตเสริมเหล็กที่ ใช้กันในปจั จุบัน

เลน่ น้าสงกรานตใ์ นแมน่ ้าแมป่ งิ ใต้สะพานนวรฐ้

สงกรานต์ ท่สี ะพานนวรฐั พ.ศ. 2511

ตระเวนเล่นนา้ สงกรานตด์ ว้ ยรถกระบะ

นางสาวสมุ ติ รา กัญชนะ (พรหมชนะ) นางสาวเชยี งใหม่ ประจาปี พ.ศ. 2492

เบ้ืองหลงั การประกวดนางงาม บรรดาสาวงามท่เี ข้าประกวดนางสาวเชียงใหมบ่ นเวที พอกลับเข้าหลงั เวทตี อ้ งรบี มายนื ผิงไฟหนา้ เตาอ้ังโล่ เพราะอากาศข้างนอกหนาวมาก บางครั้งเวลานางงามเดินโชว์ตัวบนเวทีถึงกบั ขาสนั่ เลยทีเดยี ว

การฝกึ ภาคปฏบิ ตั ขิ องลกู เสอื จราจรครง้ั แรก ณ สแี่ ยกอปุ คตุ ถนนท่าแพ เมือ่ พ.ศ. 2497 ดา้ นหลังของลกู เสอื เปน็ ธนาคาร UOB ในปจั จุบนั

ซา้ ย ลกู เสอื ฝกึ ปฏิบตั ิงานคมุ การจราจรครงั้ แรกทส่ี แี่ ยกอปุ คตุ พ.ศ.2497 ในภาพเห็นรถขับเลี้ยวเข้าถนนท่าแพ ขวา ภาพมมุ เดียวกันในปี พ.ศ. 2551 มีอาคารเกิดขึน้ ใหมใ่ นบริเวณหัวมมุ ถนนทม่ี ีกลมุ่ ลกู เสือยืนอยู่

ไฟไหมต้ ลาดวโรรสและตลาดตน้ ลาไย ในวนั ที่ 13 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2511

ผ้คู นขนของหนไี ฟมาไวใ้ นแมน่ า้ แมป่ งิ

ซ้าย หอนาฬิกาประตทู ่าแพกอ่ นถูกร้ือทิง้ ในปพี .ศ. 2530 เพอ่ื สรา้ งลานอเนกประสงคป๋ ระตูทา่ แพ ขวา เป็นภาพถ่ายในมุมเดียวกัน ปี พ.ศ.2551 ดา้ นหลงั ต้นไมเ้ ป็นทางแยกมุ่งตรงสถู่ นนทา่ แพ

โรงภาพยนตร์สรุ วิ งศ์ในอดีต ปัจจบุ นั เป็น โรงแรม Imm Hotel ประตทู ่าแพ

ขอขอบคณุ เจ้าของภาพทน่ี า้ มาใช้ในการทา้ e-Book ทุกทา่ น โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ คุณบญุ เสรมิ สาตราภัย ผเู้ กบ็ ประวัตศิ าสตร์ ล้านนาดว้ ยภาพถ่าย ผ้เู ป็นเจา้ ของคลงั ภาพอดตี ล้านนาทใ่ี หญท่ ่ีสดุ ของเชียงใหม่

“ของกนิ๋ บ่อกิ๋นก่อฮเู้ น่า ของเก่าบ่อเลา่ กอ่ ฮู้ลมื ” “บา่ ดีลืมของเก่า บ่าดเี มาของใหม่”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook