Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ การงาน ป.6 หน่วยที่ 6

แผนการจัดการเรียนรู้ การงาน ป.6 หน่วยที่ 6

Published by khunnada, 2020-05-09 11:20:07

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ การงาน ป.6 หน่วยที่ 6

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๖ เร่ือง สร้างสรรค์งานประดิษฐ์ ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 รายวิชาการงานอาชีพ รหัส ง 14101 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ครูผูส้ อน นางสาวนะดา ขนั ธศักด์ิ โรงเรียนวดั พืชนมิ ิต (คำสวัสด์ิราษฎร์บำรงุ ) สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต 1 สำนกั านคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธกิ าร

การจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการปฏิบัติ กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี รายวชิ าการงานอาชพี หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6 เรอื่ ง สรา้ งสรรคง์ านประดิษฐ์ รหัส ง 14101 ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี 4 เวลา 6 ชว่ั โมง นางสาวนะดา ขนั ธศกั ด์ิ โรงเรยี นวัดพืชนิมติ (คำสวสั ดริ์ าษฎร์บำรุง) สำนักงานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 สำนกั านคณะกรรมการการศึกษาข้นึ พ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ตอ้ งพัฒนาผเู้ รียนให้มีทักษะแห่งอนาคต เป็นทกั ษะทจี่ ำเป็นต้องใช้ ในการดำเนินชีวิต เพื่อเตรียมความของผู้เรียนให้ใช้ชีวิตในโลกที่เป็นจริง เน้นการศึกษาตลอดชีวิต ให้ผู้เรียน รู้จักการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การนำทฤษฎีการเรียนรู้ที่ได้รับไปสู่การปฏิบัติ สิ่งสำคัญคือผู้เรียนจะต้อง เกดิ กระบวนการเรียนรู้ ซึง่ ถือเปน็ จดุ สำคญั การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการปฏิบัติ เป็นการจัดการเรียนสอนที่เน้นให้ผู้เรียนรู้จักการวาง แผนการทำงานอย่างเป็นระบบ ซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญสำหรับเด็กในยุคปัจจุบัน และเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ เรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ โดยใชเ้ ทคโนโลยีในการเรียนรู้และลงมือปฏิบัตจิ นเกดิ ทกั ษะกระบวนการคิด เกิดความชำนาญ สามารถนำมาปฏิบัตใิ ช้ในชีวติ ประจำวันได้ ทง้ั ยงั นำเสนอผลงานของตนเองผ่านระบบออนไลนไ์ ดอ้ กี ด้วย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ต้องการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้ คน้ พบ เพื่อพัฒนาผู้เรียนตอ่ ไป นะดา ขนั ธศกั ด์ิ

แผนผงั มโนทัศนเ์ ป้าหมายการเรยี นรู้/ หลกั ฐานการเรยี นรู้ ความรู้ (Knowledge : K) ทกั ษะ/กระบวนการ (Process : P) คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. ความหมายของงานประดิษฐ์ 1. สังเกต/รับรู้ 1. ซ่ือสัตย์สุจริต 2.ประโยชน์ของการทำงานประดิษฐ์ 2. ทำตามแบบ 2. มีวินัย 3.ลกั ษะณะของวัสดทุ ี่ใชใ้ นงาน 3. ทำเองโดยไมม่ แี บบ 3. ใฝเ่ รียนรู้ ประดษิ ฐ์ 4. ฝึกทำจนชำนาญ 4. มุ่งม่ันในการทำงาน 4.หลกั การเลือกใช้วสั ดใุ นการทำงาน ประดษิ ฐ์ 5.ลักษณะการใชเ้ ครอ่ื งมอื ในงาน ประดิษฐ์ 6.ขนั้ ตอนการทำงานประดิษฐ์ 7.การสร้างงานประดิษฐ์ เปา้ หมายการเรียน สร้างสรรคง์ านประดิษฐ์ หลกั ฐานการเรียนรู้ 1. ใบงาน การทำงานประดิษฐ์ 2. ใบงาน การทำงานประดิษฐ์ของฉัน 3. ใบงาน วสั ดทุ ใี่ ชใ้ นงานประดิษฐ์ 4. ใบงาน ข้ันตอนในการทำงานประดษิ ฐ์ 5. แผนภาพความคดิ สิง่ ประดษิ ฐ์จากพลาสตกิ เหลือใช้ 6. สงิ่ ประดษิ ฐ์จากพลาสติกเหลอื ใช้ 7. แบบทดสอบก่อน – หลังเรยี น

แผนผงั มโนทัศน์ขน้ั ตอนการทำกจิ กรรมประกอบการจดั การเรียนรู้ดว้ ย กระบวนการปฏิบัติ ศึกษามาตรฐานการรเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ัด และจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทำแบบทดสอบก่อนเรยี น ทำกจิ กรรมโดยใชก้ ระบวนการจดั การเรียนรดู้ ้วยกระบวนการปฏิบตั ิ ขั้นท่ี 1 สงั เกต รบั รู้ ขน้ั ท่ี 2 ทำตามแบบ ขน้ั ท่ี 3 ทำเองโดยไมม่ แี บบ (explanation) ขั้นท่ี 4 ฝึกทำจนชำนาญ ทอสอบหลงั เรยี น (ผ่านเกณฑร์ ้อยละ 60)

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชพี ฯ วชิ า การงานอาชพี และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศึกษาปที ี่ 6 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 เวลา 2 ชว่ั โมง เรือ่ ง ความรูพ้ ืน้ ฐานงานชา่ ง 1. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การทำงานชา่ ง จะต้องมแี นวทางการทำงานและการปรับปรงุ การทำงานแต่ละขั้นตอนเป็นการทำงาน ตามลำดบั ทีว่ างแผนไวก้ อ่ นการทำงาน 2. ตัวชีว้ ดั /จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 ตวั ชว้ี ัด ง 1.1 ป.6/1 อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรบั ปรุงการทำงานแตล่ ะขั้นตอน ป.6/2 ใชท้ กั ษะการจัดการในการทำงานและมีทกั ษะการทำงานรว่ มกนั 2.2 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ - อธิบายความร้พู ืน้ ฐานเกี่ยวกบั งานช่างได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรูแ้ กนกลาง 1) แนวทางการทำงานและการปรับปรงุ การทำงานแต่ละข้ันตอนเป็นการทำงานตามลำดบั ทว่ี างแผน ไวก้ อ่ นการทำงาน ขณะปฏบิ ตั งิ าน และเม่อื ทำงานสำเรจ็ แล้วให้ประเมินทุกขั้นตอนเพือ่ การแกไ้ ข ปรบั ปรุงผลงาน 2) การจดั การในการทำงานและทักษะการทำงานรว่ มกนั เช่น - การประดิษฐข์ องใช้ ของตกแต่งใหส้ มาชกิ ในครอบครวั หรอื เพือ่ นในโอกาสตา่ งๆ 3.2 สาระการเรยี นรู้ท้องถิน่ (พิจารณาตามหลักสตู รสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน 2) ทักษะการเรยี งลำดับ 4) ทักษะการประเมนิ 4.1 ความสามารถในการสื่อสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการรวบรวมขอ้ มลู 3) ทักษะการเช่อื มโยง 4.3 ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต 5. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มวี นิ ัย 2. ประหยัด 3. อยู่อย่างพอเพียง

6. กิจกรรมการเรียนรู้  วธิ ีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสรา้ งเจตคติ  นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 เรือ่ ง ชำนาญงานชา่ ง ข้ันที่ 1 สังเกต คำถามกระต้นุ ความคิด ส่ือการเรยี นรู้ : กรณีตัวอยา่ ง  หากในบ้านของนกั เรียนไมม่ เี คร่ืองมือชา่ ง ไว้ ซ่อมแซม จะเกดิ ผลอย่างไร 1. นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด 2. ครูเลา่ กรณีตัวอย่างของ ศักดิช์ าย ให้นกั เรยี นฟงั (พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยู่ใน ดลุ ยพินิจของครูผู้สอน) ด.ช. ศกั ดิ์ชาย เตรยี มเคร่อื งใชท้ จ่ี ะเขา้ ไปทำความสะอาดบา้ น หลงั จากน้ำทว่ มขงั มาหลายเดอื น เขาเหน็ ในข่าวทางโทรทัศน์ บอกวา่ การทำความสะอาดบ้านน้นั จะตอ้ งใชค้ วามระมดั ระวงั จากสิ่งตา่ งๆ เชน่ อนั ตรายจากสัตว์มีพษิ อันตรายจากกระแสไฟฟา้ อันตราย จาก สง่ิ ของเครอ่ื งใชภ้ ายในบา้ นทเ่ี กดิ การผกุ รอ่ น และพังทลาย วันนี้ ด.ช. ศักดิช์ ายจงึ เตรยี มความพร้อมเตม็ ที่ เพราะเขาตัง้ ใจว่า เขาจะนำความรู้ เรอื่ งการทำความสะอาดบา้ น และความรเู้ รอื่ งช่างไปใช้ให้เกิดประโยชน์ 3. ครูใหน้ กั เรียนรว่ มกนั อภปิ รายและแสดงความคิดเหน็ ตามประเดน็ ท่คี รูกำหนด ดังน้ี 1) นกั เรียนคดิ ว่า ด.ช. ศักดิช์ าย มีการเตรยี มความพร้อมไดด้ ี หรือไม่ เพราะเหตใุ ด 2) หาก ด.ช. ศกั ดิ์ชาย ตอ้ งการทำงานชา่ งให้มีความปลอดภยั จะต้องปฏิบตั ิอยา่ งไรบ้าง 4. ครสู งั เกตผลการอภปิ รายและแสดงความคิดเหน็ ของนักเรียน แล้ว อธบิ ายเพ่มิ เติมเพ่ือให้นักเรียนเข้าใจและตระหนกั ถึงความปลอดภัยใน การทำงานช่าง

ข้ันท่ี 2 วเิ คราะห์ สื่อการเรียนรู้ : 1.หนงั สอื เรยี น การงานอาชีพฯ ป.6 2.ใบงานที่ 1.1 1. ครูใหน้ กั เรียนศึกษาความรู้เรือ่ ง ความรู้พืน้ ฐานงานชา่ ง จากหนงั สอื เรียน 2. นกั เรียนร่วมกันจำแนกและวิเคราะห์สาเหตุของการเกิดอุบตั ิเหตุ ใน งานช่างตามประเดน็ ทก่ี ำหนด ดังนี้ 1) การเกดิ อุบตั ิเหตุในงานช่างจากตัวบคุ คล 2) การเกดิ อบุ ตั ิเหตใุ นงานช่างจากเครือ่ งมือ วัสดุ และอปุ กรณ์ 3) การเกิดอบุ ตั เิ หตใุ นงานช่างจากระบบการทำงาน 3. ครูสุม่ เรียกนักเรียน 3 คน ออกมาวเิ คราะหแ์ ละอธบิ ายสาเหตขุ อง การ เกิดอุบัติเหตใุ นงานชา่ งในแต่ละประเด็นที่หน้าชนั้ เรียน โดยมี ครูเป็นผู้ ตรวจสอบความถูกตอ้ ง 4. นักเรียนแตล่ ะคนทำใบงานที่ 1.1 เรื่อง ความปลอดภยั ในการทำงาน ชา่ ง จากนน้ั ครูและนกั เรยี นร่วมกันเฉลยคำตอบในใบงาน ท่ี 1.1 ข้ันที่ 3 สรปุ ตาม คำถามกระตนุ้ ความคิด สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้ : —  หากนักเรยี นมคี วามจำเป็นท่ีจะตอ้ งใช้งาน เคร่ืองมือช่างทม่ี คี วามเส่ยี ง นักเรียนจะทำอยา่ งไร 1. นกั เรียนตอบคำถามกระตุน้ ความคิด 2. ครูและนักเรยี นรว่ มกันสรุปความรู้เรอื่ ง ความรูพ้ ืน้ ฐานงานชา่ ง (พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยใู่ น ดลุ ยพินิจของครูผสู้ อน) ประเด็นทก่ี ำหนด ดังนี้ 1) สาเหตขุ องการเกิดอุบัติเหตุในงานชา่ ง 2) หลักปฏิบตั ใิ นการปอ้ งกนั อุบตั เิ หตุในการทำงานชา่ ง 7. การวดั และประเมนิ ผล เคร่อื งมือ เกณฑ์ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการเรยี นรู้ วิธีการ ที่ 6 (ประเมนิ ตามสภาพจรงิ ) ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น หน่วยการ ใบงานที่ 1.1 เรียนรู้ท่ี 6 แบบประเมินการนำเสนอผลงาน รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 1.1 ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ การนำเสนอผลงาน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงาน ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ รายบคุ คล สังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตความมีวนิ ัย ประหยัด อยู่อย่าง พอเพียง 8. สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี น การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.6 2) กรณีตวั อย่างของ ด.ช.ศกั ดิช์ าย 3) ใบงานท่ี 1.1 เรอ่ื ง ความปลอดภัยในการทำงานช่าง

8.2 แหล่งการเรยี นรู้ ใบงานท่ี 1.1 เรื่อง ความปลอดภัยในการทำงานชา่ ง คำช้ีแจง ใหน้ กั เรียนตอบคำถามทก่ี ำหนด ความปลอดภยั ในการทางานช่าง สาเหตขุ องการเกิดอบุ ตั ิเหตใุ นงานช่าง การป้องกนั การเกิดอบุ ตั ิเหตใุ นงานช่าง

ใบงานท่ี 1.1 ความปลอดภัยในการทำงานช่าง เฉลย คำชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นตอบคำถามทก่ี ำหนด ความปลอดภยั ในการทางานช่าง สาเหตขุ องการเกิดอบุ ตั ิเหตใุ นงานช่าง การป้องกนั การเกิดอบุ ตั ิเหตใุ นงานช่าง (พิจารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยใหอ้ ยใู่ นดุลยพนิ จิ ของครูผสู้ อน)

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 2 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพฯ วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 6 เวลา 2 ช่วั โมง เรื่อง การประกอบหรอื ตดิ ตง้ั ของใช้ 1. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด การประกอบหรอื ติดตั้งของใชภ้ ายในบา้ นจะตอ้ งมีแนวทางการทำงานและการปรับปรุงการทำงานแตล่ ะ ขนั้ ตอนเป็นการทำงานตามลำดบั ท่ีวางแผนไวก้ อ่ นการทำงาน 2. ตัวชวี้ ัด/จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 ตัวชี้วัด ง 1.1 ป.6/1 อภปิ รายแนวทางในการทำงานและปรบั ปรงุ การทำงานแต่ละขนั้ ตอน ป.6/2 ใช้ทักษะการจัดการในการทำงานและมีทักษะการทำงานรว่ มกนั 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธบิ ายวธิ กี ารประกอบหรือติดต้งั ของใชไ้ ด้ 2) ประกอบหรือติดต้งั ของใชไ้ ด้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1) แนวทางการทำงานและการปรบั ปรงุ การทำงานแตล่ ะขนั้ ตอนเป็นการทำงานตามลำดับที่วางแผน ไวก้ ่อน การทำงาน ขณะปฏบิ ัติงาน และเมือ่ ทำงานสำเร็จแลว้ ให้ประเมนิ ทุกขัน้ ตอนเพื่อการ แก้ไขปรับปรงุ ผลงาน 2) การจดั การในการทำงานและทกั ษะการทำงานรว่ มกัน เช่น - การประดษิ ฐข์ องใช้ ของตกแต่งใหส้ มาชกิ ในครอบครัวหรอื เพื่อนในโอกาสตา่ งๆ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (พิจารณาตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา) 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น 2) ทักษะการเรยี งลำดับ 4) ทกั ษะการประเมนิ 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคดิ 1) ทกั ษะการรวบรวมข้อมลู 3) ทักษะการเชอื่ มโยง 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 5. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ประหยัด 3. อยู่อย่างพอเพียง

6. กิจกรรมการเรยี นรู้ คำถามกระตนุ้ ความคดิ  วิธสี อนแบบสาธิต  นักเรียนสามารถทำงานชา่ งหรือ เพราะ งานซ่อมแซมภายในบ้านได้หรือไม่ ช่ัวโมงท่ี 1 เหตใุ ด ข้ันท่ี 1 เตรยี มการสาธติ (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่ใน ดลุ ยพินิจของครผู ูส้ อน) สือ่ /แหลง่ การเรยี นรู้ : ตัวอย่าง อปุ กรณท์ ี่ตอ้ งประกอบหรอื ติดต้ัง 1. นักเรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด 2. ครนู ำชน้ั วางของทยี่ ังไมไ่ ด้ประกอบมาแสดงทหี่ นา้ ชั้นเรียน จากนนั้ สมุ่ เรียกนักเรยี นออกมาประกอบตามความเข้าใจของนกั เรยี น แลว้ ให้ เพือ่ นๆ ช่วยกนั พิจารณาวา่ ชนั้ วางของมขี ้ันตอนและวิธีการประกอบ อย่างไร (ครคู วรเลือกประกอบหรอื ติดตงั้ เครอ่ื งใชภ้ ายในบา้ นทีม่ ีคมู่ ือแนบมาดว้ ย มขี นาดไมใ่ หญ่มาก และใชอ้ ปุ กรณ์ในการช่วยในการประกอบหรอื ตดิ ตงั้ เพยี งน้อยชิ้น เพอื่ ความสะดวกและปลอดภัยในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมของ นกั เรียน) 3. ครเู ตรยี มการสาธิตเพ่ือสาธิตให้นกั เรียนดูเป็นตวั อย่าง พร้อมท้งั ชีแ้ จงให้ นักเรยี นทราบวา่ ครจู ะสาธิตการประกอบหรอื ตดิ ตั้งของใชภ้ ายในบา้ น ขนั้ ที่ 2 สาธติ สื่อการเรยี นรู้ : 1.หนงั สือเรยี น การงานอาชีพฯ ป.6 2.ตัวอย่าง อุปกรณ์ทตี่ อ้ งประกอบหรือติดตั้ง 1. ครแู จ้งให้นักเรยี นทราบว่า ครูจะสาธิตการประกอบหรอื ติดตัง้ ของใช้ ภายในบา้ น พรอ้ มช้แี จงจุดประสงคก์ ารสาธติ ใหน้ กั เรยี นทราบ 2. ครแู บ่งนกั เรยี นเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ตามความสมัครใจ จากนั้นให้ นักเรยี นแตล่ ะกลุม่ ร่วมกนั ศึกษาความรู้เร่ือง การประกอบหรือตดิ ตัง้ ของ ใช้ จากหนงั สอื เรยี น 3. ครสู าธติ การประกอบหรือติดต้ังของใชภ้ ายในบา้ นใหน้ กั เรียนดเู ปน็ ตวั อยา่ ง พรอ้ มอธิบายประกอบทลี ะขน้ั ตอนอยา่ งละเอียด เพอื่ ให้ นกั เรยี นสังเกตวธิ กี าร และขั้นตอนในการประกอบหรือตดิ ตั้ง ของใช้ ภายในบ้าน ดังนี้ 1) อ่านคู่มือที่แนบมาใหเ้ ขา้ ใจ 2) ติดตงั้ ตามขัน้ ตอนในคู่มืออยา่ งระมัดระวงั 3) ทดสอบความแข็งแรงเม่อื (ตชั่วดิ โตมง้ั ทเส่ี 2ร) ็จแลว้ 4. ครใู ห้นกั เรียนแตล่ ะกลุ่มรว่ มกันฝึกปฏบิ ัติขน้ั ตอนต่างๆ ตามความ เหมาะสม โดยครเู ป็นผตู้ รวจสอบความถกู ตอ้ ง และเน้นยำ้ ใหน้ ักเรยี น ตระหนกั ถึงความปลอดภยั ในการทำงาน

ชั่วโมงท่ี 2 ข้นั ที่ 3 สรปุ การสาธิต ส่อื การเรยี นรู้ : 1.หนงั สือเรียน การงานอาชพี และเทคโนโลยี ป.6 2.ตัวอย่าง อุปกรณท์ ่ีต้องประกอบหรอื ติดต้งั 1. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มร่วมกนั สรปุ และเรยี งลำดบั วธิ ีการ ขั้นตอนใน การ ประกอบหรอื ตดิ ตงั้ ของใช้ภายในบา้ น 2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง การประกอบหรือติดต้ังของใช้ ขัน้ ที่ 4 วัดผลประเมินผล คำถามกระตุ้นความคดิ สือ่ การเรียนรู้ : ตวั อย่าง อุปกรณ์ท่ตี ้องประกอบหรอื ตดิ ตัง้  การศึกษาเร่ืองงานชา่ งจะนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างไร 1. นกั เรยี นตอบคำถามกระตุ้นความคิด 2. ครสู มุ่ นกั เรยี น 2-3 กลมุ่ ออกมาสาธติ วธิ ีการ ขั้นตอนในการประกอบหรือ (พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยูใ่ น ดลุ ยพินิจของครผู ู้สอน) ตดิ ต้งั ของใชภ้ ายในบา้ น โดยครแู ละเพื่อนเป็นผ้ตู รวจสอบความถูกต้อง จากนนั้ ครเู ปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามความรูห้ รอื ขอ้ สงสัยเพ่ิมเตมิ 3. ครูใหน้ กั เรยี นเตรยี มวัสดุอุปกรณ์และศกึ ษาตัวอย่างการประกอบ โคมไฟ จากหนังสือเรยี น เพอื่ ทำกิจกรรมในชว่ั โมงถัดไป 7. การวดั และประเมินผล เครอ่ื งมอื เกณฑ์ วธิ ีการ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม ระดบั คณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม สงั เกตความมีวินยั ประหยดั อยอู่ ยา่ ง แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ระดับคณุ ภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ พอเพียง 8. สอื่ /แหลง่ การเรยี นรู้ 8.1 ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรยี น การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.6 2) ตัวอยา่ งอุปกรณ์ทตี่ ้องประกอบหรอื ตดิ ตัง้ 8.2 แหล่งการเรียนรู้ —

แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 3 กลุ่มสาระการเรยี นรู้ การงานอาชีพฯ วิชา การงานอาชพี และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ 6 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 6 เวลา 2 ชว่ั โมง เรือ่ ง การประกอบโคมไฟ 1. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด การประกอบโคมไฟ จะตอ้ งเลือกใชว้ สั ดุ อุปกรณใ์ นการประกอบโคมไฟ โดยคำนงึ ถงึ แนวทางการทำงาน และการปรบั ปรุงการทำงานแตล่ ะขน้ั ตอนเป็นการทำงานตามลำดับทว่ี างแผนไวก้ อ่ นการทำงาน 2. ตวั ช้ีวัด/จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 2.1 ตัวชวี้ ดั ง 1.1 ป.6/1 อภิปรายแนวทางในการทำงานและปรับปรุงการทำงานแต่ละขัน้ ตอน ป.6/2 ใช้ทกั ษะการจดั การในการทำงานและมีทักษะการทำงานร่วมกัน 2.2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) อธบิ ายวิธีการเลือกใช้วัสดุ อปุ กรณใ์ นการประกอบโคมไฟได้ 2) อธบิ ายวิธกี ารประกอบโคมไฟ และประกอบโคมไฟได้ 3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1) แนวทางการทำงานและการปรับปรุงการทำงานแต่ละข้ันตอนเปน็ การทำงานตามลำดบั ท่วี างแผน ไวก้ ่อน การทำงาน ขณะปฏิบัติงาน และเม่อื ทำงานสำเรจ็ แล้วใหป้ ระเมินทุกขน้ั ตอนเพอ่ื การ แกไ้ ขปรบั ปรุงผลงาน 2) การจดั การในการทำงานและทักษะการทำงานรว่ มกนั เชน่ - การประดิษฐ์ของใช้ ของตกแตง่ ใหส้ มาชกิ ในครอบครวั หรือเพื่อนในโอกาสต่างๆ 3.2 สาระการเรียนรู้ท้องถนิ่ (พิจารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา) 4. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน 2) ทกั ษะการเรยี งลำดับ 4) ทกั ษะการประเมิน 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคิด 1) ทักษะการรวบรวมข้อมลู 3) ทกั ษะการเชือ่ มโยง 4.3 ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ประหยดั 3. อยู่อย่างพอเพียง

6. กิจกรรมการเรยี นรู้  วิธสี อนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏบิ ตั ิ ชว่ั โมงที่ 1 คำถามกระตุ้นความคิด ขน้ั ท่ี 1 สังเกต รับรู้  งานช่างในชวี ิตประจำวันทน่ี ักเรียนเคยเห็น มี อะไรบ้าง สอ่ื การเรยี นรู้ : 1. ตวั อยา่ งโคมไฟ 2. อุปกรณป์ ระกอบโคมไฟ (พจิ ารณาตามคำตอบของนักเรยี น โดยให้อยู่ใน ดุลยพนิ จิ ของครูผูส้ อน) 1. นกั เรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด 2. ครนู ำตวั อย่างโคมไฟท่ีประกอบเสรจ็ แล้วมาแสดงทีห่ น้าชั้นเรียน แล้วให้ นกั เรียนช่วยกันสงั เกตวา่ โคมไฟดงั กลา่ วประกอบด้วยวสั ดอุ ปุ กรณใ์ ดบ้าง 3. ครใู หน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มสำรวจอปุ กรณ์ท่ใี ชใ้ นการประกอบโคมไฟ เพ่อื เตรยี มความพร้อมในการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม ข้นั ที่ 2 ทำตามแบบ ส่ือการเรยี นรู้ : 1.หนังสอื เรียน การงานอาชพี ฯ ป.6 2. อุปกรณ์ประกอบโคมไฟ 1. ครูให้นกั เรียนกลุ่มเดมิ (จากแผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 2) ร่วมกันศึกษา ความรู้เรอื่ ง การประกอบโคมไฟ จากหนังสือเรียน 2. ครอู ธบิ ายเพ่ิมเติมเก่ยี วกบั การประกอบโคมไฟให้นกั เรียนฟงั 3. ครูนำอุปกรณใ์ นการประกอบโคมไฟมาแสดงใหน้ กั เรียนดู แล้วครู ประกอบเปน็ ตัวอย่างให้นกั เรยี นดทู ีละข้นั ตอน พรอ้ มอธบิ ายประกอบใน แตล่ ะขนั้ ตอน เพ่ือใหน้ กั เรียนสังเกตขน้ั ตอน 4. นักเรียนแต่ละกลมุ่ ประกอบโคมไฟตามแบบท่ีครสู อนตามลำดบั ขั้นตอน โดยครเู นน้ ย้ำให้นกั เรยี นตระหนักถงึ ความปลอดภัยใน การทำงาน 5. ครสู ังเกตการปฏิบตั ิกิจกรรมของนกั เรยี นเปน็ รายกลุม่ หากมีพฤตกิ รรม ในการทำงานทไ่ี ม่ปลอดภัย ใหเ้ สนอแนะใหน้ ักเรยี นปรบั ปรุงแก้ไขให้ ถูกตอ้ งและปลอดภัย

ชั่วโมงท่ี 2 ขน้ั ที่ 3 ทำเองโดยไม่มีแบบ สื่อการเรยี นรู้ : อุปกรณ์ประกอบโคมไฟ 1. ครูให้นักเรยี นแต่ละกล่มุ รว่ มกันประกอบโคมไฟ โดยไม่มแี บบ จากนั้น นำส่งครูผู้สอน 2. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันสรปุ และเรยี งลำดับวิธีการ ข้ันตอนใน การ ประกอบโคมไฟ 3. สมาชกิ ในแตล่ ะกลุ่มตรวจสอบความเรียบรอ้ ยของผลงาน หากมี ขอ้ บกพร่องใหแ้ กไ้ ขให้เรยี บร้อย ขน้ั ที่ 4 ฝกึ ทำใหช้ ำนาญ สอื่ การเรียนรู้ : อุปกรณ์ประกอบโคมไฟ นักเรียนแตล่ ะกลุม่ รว่ มกนั ตรวจสอบผลงาน เช่น ความเรยี บร้อย สวยงาม ความคงทน ประสิทธิภาพในการใช้งานจรงิ • ครมู อบหมายใหน้ กั เรยี นแต่ละกลมุ่ รว่ มกนั ออกแบบและประกอบโคมไฟจากวสั ดุเหลือใช้ กลุม่ ละ 1 ชิ้น โดยใหค้ รอบคลมุ ตามประเด็นท่กี ำหนด ดังนี้ 1) การวางแผนการประกอบโคมไฟ 2) การเลอื กใช้เครอ่ื งมือและอุปกรณ์ 3) ขั้นตอนการประกอบโคมไฟ 4) ผลงานการประกอบโคมไฟ  นกั เรยี นทำแบบทดสอบหลังเรียน หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6 เรอื่ ง ชำนาญงานชา่ ง 7. การวดั และประเมินผล เครอ่ื งมือ เกณฑ์ วธิ ีการ แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม สงั เกตความมวี นิ ยั ประหยัด อยู่อยา่ ง แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดบั คณุ ภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ พอเพียง ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น หน่วยการ แบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นรู้ ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เรยี นรทู้ ่ี 6 ท่ี 6 ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตรวจผลงานการประกอบโคมไฟจากวสั ดุ เหลอื ใช้ ประเมนิ ผลงานการประกอบโคมไฟจาก วัสดเุ หลอื ใช้ 8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 2) ตัวอยา่ งโคมไฟ 8.1 ส่อื การเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรยี น การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.6 3) อปุ กรณ์ประกอบโคมไฟ 8.2 แหลง่ การเรยี นรู้ —

บนั ทกึ หลังหน่วยการเรียนรอู้ งิ มาตรฐาน ตอนท่ี 1 นกั เรยี นมคี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวัดของหน่วยการเรยี นรู้ ต่อไปน้ี ง 1.1 (ป.6/1, ป.6/2)  ดา้ นความรู้ (จำนวน คน คิดเป็นรอ้ ยละ  ดา้ นสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน  ด้านคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์  ด้านอน่ื ๆ (พฤตกิ รรมเด่น หรือพฤติกรรมทม่ี ปี ญั หาของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล (ถ้ามี)) สรปุ ผลจากการประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) ประจำหน่วยการเรยี นรู้  ระดับคุณภาพดี จำนวน คน คิดเปน็ ร้อยละ  ระดับคณุ ภาพพอใช้ จำนวน คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ  ระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ จำนวน คน คิดเปน็ ร้อยละ  ปญั หา/อุปสรรค  แนวทางการแกไ้ ข ขอ้ เสนอแนะ ความเห็นของผบู้ ริหารสถานศกึ ษาหรอื ผู้ทไ่ี ด้รับมอบหมาย ลงชอ่ื ) ( ตำแหนง่

ตอนท่ี 2 การตรวจสอบคณุ ภาพนกั เรียนเพื่อเตรียมความพรอ้ มรองรับการประเมินคณุ ภาพภายนอก รอ้ ยละ ระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน (ด้านคุณภาพผู้เรยี น) มาตรฐานที่ 1 ผู้เรยี นมีสุขภาวะที่ดแี ละมีสนุ ทรียภาพ 1.1 มีสุขนสิ ัยในการดแู ลสุขภาพและออกกำลังกาย สม่ำเสมอ 1.2 มนี ้ำหนกั สว่ นสงู และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑม์ าตรฐาน 1.3 ปอ้ งกันตนเองจากสง่ิ เสพติดใหโ้ ทษและหลกี เลย่ี งตนเองจากสภาวะท่เี สีย่ งต่อความ รุนแรง โรค ภัย อุบตั เิ หตุ และปัญหาทางเพศ 1.4 เหน็ คณุ ค่าในตนเอง มคี วามมน่ั ใจ กลา้ แสดงออกอย่างเหมาะสม 1.5 มมี นุษย สัมพนั ธท์ ่ีดแี ละให้เกียรติผู้อืน่ 1.6 สร้างผลงานจากการเข้ารว่ มกจิ กรรมด้านศิลปะ ดนตร/ี นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการตามจินตนาการ มาตรฐานที่ 2 ผเู้ รยี นมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นิยมทีพ่ ึงประสงค์ 2.1 มีคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงคต์ ามหลักสูตร 2.2 เอือ้ อาทรผอู้ ืน่ และกตัญญกู ตเวทตี อ่ ผมู้ พี ระคณุ 2.3 ยอมรับความคดิ และวฒั นธรรมท่ีแตกต่าง 2.4 ตระหนัก รคู้ ณุ ค่า ร่วมอนรุ ักษแ์ ละพัฒนาสิง่ แวดลอ้ ม มาตรฐานที่ 3 ผู้เรยี นมีทกั ษะในการแสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง รกั เรียนรู้ และพฒั นาตนเองอย่าง ต่อเน่ือง 3.1 มีนิสัยรักการอา่ นและแสวงหาความร้ดู ้วยตนเองจากหอ้ งสมุด แหล่งเรียนรู้ และส่อื ตา่ งๆ รอบตวั 3.2 มีทกั ษะในการอ่าน ฟงั ดู พูด เขยี น และต้งั คำถามเพ่ือค้นคว้าหาความรเู้ พิ่มเตมิ 3.3 เรยี นรูร้ ่วมกันเปน็ กลมุ่ แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ เพอื่ การเรยี นรรู้ ะหว่างกนั 3.4 ใชเ้ ทคโนโลยีในการเรยี นรู้และนำเสนอผลงาน มาตรฐานที่ 4 ผเู้ รียนมีความสามารถในการคิดอยา่ งเป็นระบบ คิดสรา้ งสรรค์ ตดั สินใจแก้ปัญหา ไดอ้ ยา่ งมสี ตสิ มเหตสุ มผล 4.1 สรปุ ความคิดจากเรื่องทอี่ ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพดู หรอื เขียนตามความคิดของตนเอง 4.2 นำเสนอวิธีคิด วิธแี กป้ ญั หาด้วยภาษาหรอื วิธีการของตนเอง 4.3 กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสนิ ใจแกป้ ัญหาโดยมีเหตผุ ลประกอบ 4.4 มีความคดิ รเิ รมิ่ และสร้างสรรคผ์ ลงานดว้ ยความภาคภมู ิใจ มาตรฐานท่ี 5 ผู้เรียนมคี วามรแู้ ละทักษะท่จี ำเปน็ ตามหลกั สูตร 5.1 ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเฉลยี่ แต่ละกลุ่มสาระเปน็ ไปตามเกณฑ์ 5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั ตามหลักสตู รเปน็ ไปตามเกณฑ์ 5.3 ผลการประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์ และเขียนเปน็ ไปตามเกณฑ์ 5.4 ผลการทดสอบระดบั ชาตเิ ปน็ ไปตามเกณฑ์ มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รกั การทำงาน สามารถทำงานร่วมกบั ผ้อู ื่นได้ และมีเจตคติ ทด่ี ี ต่ออาชพี สจุ ริต 6.1 วางแผนการทำงานและดำเนนิ การจนสำเรจ็ 6.2 ทำงานอย่างมคี วามสขุ มุ่งม่นั พฒั นางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง 6.3 ทำงานรว่ มกบั ผู้อื่นได้ 6.4 มีความรสู้ ึกทีด่ ตี อ่ อาชพี สจุ รติ และหาความร้เู กยี่ วกับอาชีพท่ตี นเองสนใจ

แบบสงั เกตพฤติกรรม การทำงานรายบุคคล คำชี้แจง : ให้ ผสู้ อน สังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ ลงในช่อง ท่ีตรงกบั ระดับคะแนน ลำดบั ท่ี ชื่อ-สกลุ ความมีวนิ ยั ความมนี ้ำใจ การรับฟงั การแสดง การตรงตอ่ รวม ของผ้รู ับการ เออ้ื เฟอื้ ความคิดเหน็ ความคดิ เหน็ เวลา 15 เสยี สละ คะแนน ประเมนิ 321321321321321 1 เด็กชาย ณัฐชนน บัวภา / // // 11 2 เดก็ ชาย นพรัตน์ แป้นตระกูล // / // 13 3 เดก็ ชาย นภสกร สุขมนั / / / / / 15 4 เดก็ ชาย สิรทิ รพั ย์ สมแพง / // // 13 5 เดก็ ชาย อนสุ รณ์ สายย้อย / // // 12 6 เดก็ หญิง ณัฐณชิ า บญุ โต / / / / / 15 7 เด็กหญงิ หฤทัย แปน้ พยอม // / // 13 8 เด็กชาย กติ ติกลุ ย้ิมศรี // / / / 12 9 เดก็ หญิง นุ่น แสงสวัสดิ์ // / // 13 10 เดก็ หญิง สรุ ีรัตน์ เอมศริ ิ / / / / / 15 11 เด็กชาย จักรกฤษณ์ กองเอย้ // / // 13 12 เดก็ ชาย กฤตย์ชัย แก้วปาน // / // 12 13 เดก็ ชาย เพชรสรุ นิ ทร์ บญุ มา / / / / / 15 14 เด็กชาย รพีภทั ร โคตรปจั จมิ / / / / / 15 15 เดก็ หญิง จติ ตมิ า ฤทธ์นิ วล / / / / / 14 16 เดก็ หญิง จฑุ ามาศ รุ่งระวี // / // 13 17 เดก็ หญงิ ฐิตมิ า คชคง / / / / / 15 18 เดก็ ชาย วีรภัทร ปะทกั ขนิ ัง / / / / / 15 19 เดก็ หญิง บุษยามาส ดนพุ งคล์ ขิ ติ / / / / / 15 20 เด็กหญงิ ธนั ยพร เณรกลู / / / / / 15 21 เดก็ ชาย กิตตศิ ักดิ์ ประสานศรี // / / / 12 22 เด็กชาย พชร สีโดน / / / / / 15 23 เด็กชาย พฒั นพงศ์ ชัยมงคลไพศาล / / / / / 15 24 เด็กหญิง นฐั ธดิ า หาญสวุ รรณ์ // / / / 14 25 เด็กหญิง นำ้ ทิพย์ แสนจนั ทร์ / / / / / 15

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ำกวำ่ 8 ปรบั ปรงุ

แบบสงั เกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม คำชแ้ี จง : ให้ ผ้สู อน สังเกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ ลงในชอ่ ง ท่ีตรงกับระดบั คะแนน ลำดับท่ี ชื่อ-สกลุ การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมนี ำ้ ใจ การมี ของผูร้ บั การ ความคิดเห็น ฟงั คนอน่ื ตามทไ่ี ดร้ บั ส่วนรว่ มใน รวม มอบหมาย การปรับปรุง 15 ประเมิน ผลงานกลุ่ม คะแนน 321321321321321 1 เดก็ ชาย ณฐั ชนน บัวภา / // // 10 2 เด็กชาย นพรัตน์ แป้นตระกลู // / / / 12 3 เดก็ ชาย นภสกร สุขมัน / // / / 13 4 เด็กชาย สิรทิ รพั ย์ สมแพง / / / // 13 5 เดก็ ชาย อนุสรณ์ สายย้อย / / / / / 11 6 เดก็ หญงิ ณฐั ณิชา บญุ โต / / / / / 14 7 เดก็ หญิง หฤทยั แปน้ พยอม / // // 12 8 เด็กชาย กติ ตกิ ุล ยม้ิ ศรี // / / / 12 9 เดก็ หญิง นุ่น แสงสวัสดิ์ // / / / 12 10 เดก็ หญงิ สรุ รี ัตน์ เอมศิริ / / / / / 15 11 เดก็ ชาย จกั รกฤษณ์ กองเอ้ย // / // 13 12 เดก็ ชาย กฤตย์ชัย แกว้ ปาน // / // 12 13 เด็กชาย เพชรสรุ ินทร์ บญุ มา / / / / / 14 14 เด็กชาย รพีภทั ร โคตรปจั จิม / / / // 14 15 เด็กหญิง จติ ติมา ฤทธิ์นวล / / / / / 14 16 เดก็ หญิง จฑุ ามาศ รุ่งระวี // / // 13 17 เดก็ หญิง ฐติ ิมา คชคง / / / / / 14 18 เด็กชาย วรี ภทั ร ปะทักขนิ ัง / / / / / 14 19 เด็กหญิง บุษยามาส ดนพุ งคล์ ิขิต / / / / / 15 20 เดก็ หญิง ธนั ยพร เณรกูล / / / // 14 21 เดก็ ชาย กิตตศิ กั ด์ิ ประสานศรี // / / / 12 22 เด็กชาย พชร สีโดน / / / / / 15 23 เด็กชาย พฒั นพงศ์ ชยั มงคลไพศาล / / / / / 15 24 เดก็ หญิง นฐั ธิดา หาญสุวรรณ์ / / / / / 14 25 เด็กหญิง นำ้ ทิพย์ แสนจนั ทร์ / / / / / 13

ลงชื่อ...................................................ผปู้ ระเมนิ ............../.................../................ เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 1 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ ปฏิบตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมบางคร้ัง 12 - 15 ดี 8 - 11 พอใช้ ต่ำกวำ่ 8 ปรบั ปรงุ

คะแนนแบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น ลำดับ ชื่อ-สกลุ ของผรู้ ับการประเมิน ก่อนเรียน หลังเรยี น ที่ 2 7 1 เดก็ ชาย ณฐั ชนน บวั ภา 3 8 5 9 2 เด็กชาย นพรตั น์ แป้นตระกูล 5 9 4 7 3 เด็กชาย นภสกร สุขมนั 4 9 3 7 4 เดก็ ชาย สริ ิทรพั ย์ สมแพง 2 8 2 8 5 เดก็ ชาย อนุสรณ์ สายยอ้ ย 3 8 3 7 6 เดก็ หญงิ ณฐั ณชิ า บญุ โต 2 8 4 9 7 เดก็ หญงิ หฤทยั แป้นพยอม 5 10 5 9 8 เด็กชาย กติ ตกิ ุล ยมิ้ ศรี 2 8 3 7 9 เด็กหญิง นนุ่ แสงสวสั ด์ิ 3 8 4 8 10 เด็กหญิง สุรรี ัตน์ เอมศิริ 4 9 2 8 11 เด็กชาย จักรกฤษณ์ กองเอย้ 4 10 12 เด็กชาย กฤตย์ชัย แก้วปาน 4 8 13 เดก็ ชาย เพชรสุรินทร์ บญุ มา 4 8 3 9 14 เดก็ ชาย รพภี ัทร โคตรปัจจมิ 15 เดก็ หญิง จติ ติมา ฤทธ์ินวล 16 เด็กหญิง จุฑามาศ รุ่งระวี 17 เดก็ หญงิ ฐิติมา คชคง 18 เดก็ ชาย วรี ภัทร ปะทกั ขินงั 19 เดก็ หญงิ บษุ ยามาส ดนพุ งค์ลขิ ติ 20 เด็กหญิง ธันยพร เณรกูล 21 เดก็ ชาย กติ ติศกั ด์ิ ประสานศรี 22 เดก็ ชาย พชร สีโดน 23 เด็กชาย พฒั นพงศ์ ชยั มงคลไพศาล 24 เด็กหญิง นัฐธดิ า หาญสุวรรณ์ 25 เดก็ หญิง นำ้ ทพิ ย์ แสนจันทร์

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ ............../.................../................ เกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 8-10 ดี 5-7 พอใช้ ต่ำกวำ่ 5 ปรบั ปรุง

ภาคผนวก











พ.น./วก. 02 โรงเรียนวดั พชื นมิ ิต (คำสวัสดริ์ าษฎรบ์ ำรงุ ) แบบประเมนิ หน่วยการจดั การเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 6 เรือ่ ง สร้างสรรค์งานประดษิ ฐ์ เวลาท่ีใช้ 6 ชว่ั โมง รหสั วชิ า ง 14101 รายวิชา การงานอาชพี ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 กลุม่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี ครูผสู้ อน นางสาวนะดา ขันธศักดิ์ ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดบั การประเมิน มีความสอดคล้อง/เชอื่ มโยง/เหมาะสม 5 หมายถงึ มากสดุ ทสี่ ุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถงึ น้อย 1 หมายถงึ นอ้ ยทส่ี ุด ข้อท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 54321 1 ชือ่ หน่วยการเรียนร้นู ่าสนใจ กะทดั รดั ชดั เจน ครอบคลมุ เนอ้ื หาสาระ 2 มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นร้/ู สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน และคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์มคี วามเช่อื มโยงกนั อยา่ งเหมาะสม 3 ความสอดคลอ้ งของสาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดกับมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชวี้ ดั /ผลการเรียนรู้ 4 ความสอดคลอ้ งของสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดกับสาระการเรียนรู้ 5 ความเช่ือมโยงสัมพันธก์ นั ระหวา่ งชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด / ผลการเรียนรสู้ าระสำคญั /ความคดิ รวบยอดสาระการเรยี นรูแ้ ละกิจกรรมการเรยี นรู้ 6 กจิ กรรมการเรยี นรสู้ อดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นรู/้ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรแู้ ละสาระการเรยี นรู้ 7 กจิ กรรมการเรยี นรู้มีความครอบคลุมในการพัฒนาผเู้ รียนให้มีความรทู้ ักษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น และคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 8 กจิ กรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมสามารถนำผ้เู รียนไปสู่การสรา้ งชน้ิ งาน/ภาระงาน 9 มีการประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ัด/กิจกรรมการเรยี นรู้ 10 ประเดน็ และเกณฑ์การประเมินสามารถสะทอ้ นคณุ ภาพผ้เู รยี นตามมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชีว้ ดั / ผลการเรยี นรู้ 11 สอ่ื การเรียนร้ใู นแตล่ ะกิจกรรม มีความเหมาะสมกบั เวลาและการนำไปประยุกตใ์ ชไ้ ดจ้ ริง 12 กำหนดเวลาไดเ้ หมาะสมกบั กจิ กรรม และสามารถนำไปปฏิบตั จิ ริงได้ ข้อเสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .................................................................. (นางสาวกนั ยาภทั ร ภทั รโสตถ)ิ ผอู้ ำนวยกำรโรงเรยี น/ ผูป้ ระเมนิ

พ.น./วก. 02 โรงเรยี นวัดพชื นมิ ิต (คำสวัสดิร์ าษฎรบ์ ำรงุ ) แบบประเมินหน่วยการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 6 เรือ่ ง สร้างสรรคง์ านประดิษฐ์ เวลาที่ใช้ 6 ช่วั โมง รหัสวชิ า ง 14101 รายวชิ า การงานอาชพี ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ครูผู้สอน นางสาวนะดา ขนั ธศักดิ์ ---- --------------------------------------------------------------------------------------------------------- ระดับการประเมิน มีความสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม 5 หมายถงึ มากสดุ ท่ีสุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถงึ ปานกลาง 2 หมายถงึ นอ้ ย 1 หมายถงึ นอ้ ยที่สดุ ขอ้ ท่ี รายการประเมนิ ระดับคะแนน 54321 1 ชือ่ หน่วยการเรียนรู้น่าสนใจ กะทดั รดั ชดั เจน ครอบคลมุ เนอื้ หาสาระ 2 มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชีว้ ดั /ผลการเรยี นร้/ู สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น และคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคม์ คี วามเชอ่ื มโยงกนั อยา่ งเหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดกบั มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชว้ี ดั /ผลการเรียนรู้ 4 ความสอดคล้องของสาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดกบั สาระการเรียนรู้ 5 ความเชอ่ื มโยงสมั พนั ธก์ นั ระหวา่ งช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ดั / ผลการเรยี นรสู้ าระสำคญั /ความคิดรวบยอดสาระการเรยี นรแู้ ละกิจกรรมการเรียนรู้ 6 กจิ กรรมการเรียนร้สู อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชวี้ ัด/ผลการเรยี นรู้และสาระการเรียนรู้ 7 กิจกรรมการเรยี นร้มู คี วามครอบคลมุ ในการพัฒนาผู้เรยี นให้มีความรู้ทกั ษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 8 กจิ กรรมการเรียนรู้มีความเหมาะสมสามารถนำผ้เู รียนไปสู่การสรา้ งช้ินงาน/ภาระงาน 9 มีการประเมินผลตามสภาพจริงและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วดั /กจิ กรรมการเรยี นรู้ 10 ประเดน็ และเกณฑ์การประเมินสามารถสะท้อนคณุ ภาพผู้เรียนตามมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ัด/ ผลการเรยี นรู้ 11 สอ่ื การเรยี นรู้ในแต่ละกิจกรรม มคี วามเหมาะสมกบั เวลาและการนำไปประยกุ ต์ใช้ไดจ้ ริง 12 กำหนดเวลาได้เหมาะสมกับกจิ กรรม และสามารถนำไปปฏิบัติจริงได้ ข้อเสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .................................................................. (นางอรวรรณ ปานจำรญู ) ผชู้ ่วยผอู้ ำนวยกำรกลุม่ งำนบรหิ ำรวชิ ำกำร/ ผปู้ ระเมนิ

พ.น./วก. 02 โรงเรียนวดั พืชนิมิต (คำสวสั ดิ์ราษฎร์บำรุง) แบบประเมนิ หน่วยการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 6 เรื่อง สรา้ งสรรค์งานประดษิ ฐ์ เวลาท่ใี ช้ 6 ชั่วโมง รหสั วิชา ง 14101 รายวิชา การงานอาชพี ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ครูผ้สู อน นางสาวนะดา ขันธศกั ด์ิ ระดับการประเมนิ มคี วามสอดคล้อง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม 5 หมายถึง มากสุดท่ีสดุ 4 หมายถงึ มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง น้อย 1 หมายถงึ น้อยทสี่ ุด ขอ้ ท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 54321 1 ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้น่าสนใจ กะทดั รดั ชดั เจน ครอบคลุมเนื้อหาสาระ 2 มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวดั /ผลการเรยี นร้/ู สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น และคุณลกั ษณะอันพึงประสงคม์ คี วามเชือ่ มโยงกนั อย่างเหมาะสม 3 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดกับมาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชีว้ ดั /ผลการเรยี นรู้ 4 ความสอดคลอ้ งของสาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดกับสาระการเรยี นรู้ 5 ความเชอื่ มโยงสัมพันธ์กนั ระหว่างชอ่ื หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการเรียนร้/ู ตัวชี้วัด / ผลการเรยี นร้สู าระสำคญั /ความคดิ รวบยอดสาระการเรยี นร้แู ละกิจกรรมการเรียนรู้ 6 กิจกรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด/ผลการเรยี นรูแ้ ละสาระการเรยี นรู้ 7 กจิ กรรมการเรยี นรมู้ คี วามครอบคลมุ ในการพัฒนาผู้เรยี นให้มคี วามรทู้ กั ษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคัญของผู้เรยี น และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 กจิ กรรมการเรยี นร้มู คี วามเหมาะสมสามารถนำผูเ้ รยี นไปสูก่ ารสรา้ งชิน้ งาน/ภาระงาน 9 มีการประเมนิ ผลตามสภาพจริงและสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชี้วัด/กจิ กรรมการเรียนรู้ 10 ประเดน็ และเกณฑก์ ารประเมนิ สามารถสะทอ้ นคณุ ภาพผเู้ รียนตามมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรยี นรู้ 11 ส่ือการเรียนรใู้ นแต่ละกจิ กรรม มีความเหมาะสมกับเวลาและการนำไปประยุกต์ใช้ไดจ้ รงิ 12 กำหนดเวลาไดเ้ หมาะสมกับกิจกรรม และสามารถนำไปปฏิบัตจิ ริงได้ ขอ้ เสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................... ลงช่อื .................................................................. (.......................................................) ครูผ้สู อนกลุ่มสาระ.................................................................../ ผปู้ ระเมิน

พ.น./วก. 03 โรงเรยี นวดั พืชนมิ ติ (คำสวัสดร์ิ าษฎรบ์ ำรงุ ) สรปุ ผลการประเมินหน่วยการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 6 เรือ่ ง สรา้ งสรรค์งานประดษิ ฐ์ เวลาทใ่ี ช้ 6 ชั่วโมง รหัสวชิ า ง 14101 รายวิชา การงานอาชพี ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชพี ครผู ้สู อน นางสาวนะดา ขนั ธศกั ด์ิ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------- แบบประเมนิ หน่วยการเรียนรู้ ซ่ึงเปน็ แบบมาตราสว่ นประมาณค่า (Rating Scale) จำนวน 12 ข้อ มีระดบั การประเมิน 5 ระดบั คอื 5 หมายถงึ มคี วามสอดคลอ้ ง/เชอื่ มโยง/เหมาะสม มากทส่ี ุด 4 หมายถงึ มคี วามสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/เหมาะสม มาก 3 หมายถงึ มคี วามสอดคล้อง/เชอื่ มโยง/เหมาะสม ปานกลาง 2 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เชือ่ มโยง/เหมาะสม นอ้ ย 1 หมายถึง มีความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/เหมาะสม นอ้ ยทีส่ ดุ ซ่ึงถือเกณฑใ์ นการแปลความหมายของคา่ เฉลี่ย ดงั น้ี 4.50 – 5.00 หมายความวา่ มคี วามสอดคล้อง/เชอื่ มโยง/เหมาะสม มากที่สดุ 3.50 – 4.49 หมายความวา่ มีความสอดคลอ้ ง/เช่อื มโยง/เหมาะสม มาก 2.50 – 3.49 หมายความวา่ มคี วามสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม ปานกลาง 1.50 – 2.49 หมายความวา่ มคี วามสอดคล้อง/เชอ่ื มโยง/เหมาะสม นอ้ ย 1.00 – 1.49 หมายความวา่ มีความสอดคลอ้ ง/เชอื่ มโยง/เหมาะสม นอ้ ยท่สี ุด ขอ้ รายการประเมนิ คะแนนของผปู้ ระเมนิ คา่ การแปล ท่ี คนที่ คนที่ คนที่ เฉล่ยี ความหมาย 123 1 ช่ือหน่วยการเรยี นรนู้ ่าสนใจ กะทดั รัด ชดั เจน ครอบคลุมเน้อื หาสาระ 2 มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ช้ีวัด/ผลการเรยี นรู้/สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียน และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคม์ คี วามเชื่อมโยงกนั อย่างเหมาะสม 3 ความสอดคลอ้ งของสาระสำคญั /ความคดิ รวบยอดกับมาตรฐานการ เรียนร้/ู ตวั ชวี้ ดั /ผลการเรยี นรู้ 4 ความสอดคล้องของสาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดกับสาระการเรียนรู้

-2- ข้อ รายการประเมนิ คะแนนของผู้ประเมนิ ค่า การแปล ท่ี คนท่ี คนท่ี คนที่ เฉลี่ย ความหมาย 123 5 ความเชื่อมโยงสัมพนั ธก์ นั ระหวา่ งชอื่ หนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ เรียนรู/้ ตัวชว้ี ัด /ผลการเรียนรสู้ าระสำคัญ/ความคดิ รวบยอดสาระการ เรยี นรู้และกจิ กรรมการเรียนรู้ 6 กจิ กรรมการเรยี นรู้สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั /ผลการ เรียนรแู้ ละสาระการเรียนรู้ 7 กจิ กรรมการเรยี นรมู้ ีความครอบคลมุ ในการพัฒนาผเู้ รียนให้มคี วามรู้ ทกั ษะ/กระบวนการ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น และคณุ ลกั ษณะอัน พึงประสงค์ 10 ประเดน็ และเกณฑ์การประเมนิ สามารถสะท้อนคณุ ภาพผเู้ รยี นตาม มาตรฐานการเรยี นร้/ู ตวั ชี้วัด/ผลการเรยี นรู้ 11 ส่ือการเรียนร้ใู นแต่ละกิจกรรม มีความเหมาะสมกบั เวลาและการนำไป ประยุกตใ์ ช้ไดจ้ รงิ 12 กำหนดเวลาได้เหมาะสมกับกจิ กรรม และสามารถนำไปปฏิบัตจิ ริงได้ ภาพรวม สรปุ ผลการประเมิน  ผา่ น (ความสอดคลอ้ ง/เชื่อมโยง/เหมาะสมตง้ั แตร่ ะดบั ปานกลางขน้ึ ไป)  ผ่าน (ความสอดคล้อง/เช่อื มโยง/เหมาะสมตำ่ กว่าระดับปานกลาง) ลงช่อื .......................................... ลงชื่อ.......................................... (นางอรวรรณ ปานจำรญู ) (นางสาวกนั ยาภทั ร ภทั รโสตถ)ิ ประธานกรรมการ กรรมการ ลงช่ือ.......................................... (...................................................) กรรมการ

พ.น./วก. 04 โรงเรยี นวดั พืชนมิ ิต (คำสวสั ดร์ิ าษฎร์บำรุง) แบบประเมนิ แผนการจดั การเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 6 เรอ่ื ง สรา้ งสรรคง์ านประดษิ ฐ์ เวลาท่ใี ช้ 6 ชัว่ โมง รหัสวชิ า ง 14101 รายวชิ า การงานอาชพี ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ ครูผูส้ อน นางสาวนะดา ขนั ธศกั ดิ์ ระดับการประเมนิ 5 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดบั ดมี าก 4 หมายถึง มคี วามเหมาะสมในระดับ ดี 3 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดับ พอใช้ 1 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมในระดับ ปรับปรุง ข้อที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1 5432 1 แผนการจดั การเรยี นรู้สอดคล้องสัมพันธก์ บั หน่วยการเรยี นรทู้ กี่ ำหนดไว้ 2 แผนการจดั การเรียนรู้มอี งคป์ ระกอบสำคัญครบถ้วนสัมพนั ธก์ ัน 3 การเขียนสาระสำคญั ในแผนถูกต้อง 4 จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้มีความชดั เจนครอบคลุมเน้ือหาสาระ 5 กำหนดเนอื้ หาสาระเหมาะสมกับเวลา 6 กจิ กรรมการเรียนร้สู อดคล้องกบั จุดประสงคแ์ ละเนอ้ื หาสาระ 7 กิจกรรมการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกบั จุดประสงค์และระดบั ชน้ั ของนักเรียน 8 กจิ กรรมการเรียนรมู้ คี วามหลากหลายและสามารถปฏบิ ตั ไิ ดจ้ ริง 9 กิจกรรมการเรียนรู้เป็นกิจกรรมทีส่ ่งเสรมิ กระบวนการคดิ ของนกั เรียน 10 กจิ กรรมการเรียนรสู้ อดคลอ้ งแทรกคุณธรรมและคา่ นยิ มที่ดีงาม 11 กจิ กรรมการเรียนรู้เนน้ ใหผ้ ้เู รียนมสี ว่ นร่วมในชนั้ เรยี น 12 วัสดุอุปกรณ์ ส่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยีมีความหลากหลาย 13 วสั ดอุ ุปกรณ์ สอ่ื และแหลง่ เรียนรู้เหมาะสมกับเนื้อหาสาระ 14 สง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนคน้ คว้าหาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ตา่ งๆ 15 มีการวดั และประเมนิ ผลทสี่ อดคลอ้ งกบั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้

-2- ข้อเสนอแนะ ดา้ นเนอื้ หาสาระ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ดา้ นกิจกรรมการเรียนการสอน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ด้านการวดั และประเมนิ ผล .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ดา้ นอ่ืน ๆ (โปรดระบุ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงช่ือ)..................................................ผู้ประเมนิ (.................................................) ............./.................../............. สง่ิ ท่ไี ด้ดำเนนิ การแก้ไข .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. (ลงชื่อ)..................................................ผู้สอน (นางสาวนะดา ขนั ธศกั ดิ์) ............./.................../...........


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook