Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore องค์ประกอบศิลป์สำหรับงานคอมพิวเตอร์.4

องค์ประกอบศิลป์สำหรับงานคอมพิวเตอร์.4

Published by หมวย ฯ., 2022-06-21 08:17:26

Description: องค์ประกอบศิลป์สำหรับงานคอมพิวเตอร์.4

Search

Read the Text Version

คำนำ แผนกำรจดั กำรเรียนววู้ ชิ ำ “องคป์ ระกอบศิลป์ สำหรับงำนคอมพวิ เตอร์” หลกั สูตรประกำศนียบตั ร วชิ ำชีพ (ปวช.) พทุ ธศกั รำช 2562 ของสำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร ประกอบดว้ ยหน่วยกำรเรียนรู้ จำนวน 6 หน่วย ดงั น้นั หน่วยที่ 1 หลกั กำรองคป์ ระกอบ งำนดว้ ยโปรแกรม Illustrator ผจู้ ดั ทำหวงั อยำ่ งย่ิงวำ่ แผนกำรจดั กำรเรียนรู้วชิ ำ “องคป์ ระกอบศิลป์ สำหรับงำนคอมพิวเตอร์” เล่ม น้ีจึงเป็นประโยชน์ตอ่ ผเู้ รียน และครูผสู้ อน ใชเ้ ป็นแนวทำงในกำรจดั กำรเรียนกำรสอน เนน้ กระบวนกำรคิด อยำ่ งมีคุณคำ่ ธรรมและจริยธรรม หำกมีขอ้ เสนอแนะประกำรใด ผจู้ ดั ทำ ดีนอ้ มรับดว้ ยควำมขอบคุณสำหรับ แผนกำรสอนรำยวชิ ำผูจ้ ดั ทำไดท้ ุม่ เทกำลงั กำย กำลงั ใจและเวลำในกำรศึกษำคน้ ควำ้ หำ ทดลอง เพอื่ ใหเ้ กิด ประสิทธภำพต่อกำรเรียนกำรสอน และกำรจดั กำรเรียนกำรสอนตำมแนวทำงหลกั

สารบัญ หน่วยท่ี 1 หลกั การองค์ประกอบศิลป์ ....................................................................................................... 1 สาระสาคญั .............................................................................................................................. 1 ความหมายขององค์ประกอบศิลป์ ........................................................................................... 2 ความสาคัญขององค์ประกอบศิลป์ .......................................................................................... 2 องค์ประกอบพืน้ ฐานด้านนามธรรมของศิลปะ........................................................................ 5 ส่วนประกอบขององค์ประกอบของศิลป์ ................................................................................ 6 การจัดองค์ประกอบของศิลปะ ................................................................................................ 9 หลกั องค์ประกอบทางศิลปะ .................................................................................................... 9 สรุปเนื้อหาความสาคญั (แผนผงั มโนทัศน์) ........................................................................... 14 บรรนาณุกรม......................................................................................................................... 15

องค์ประกอบศิลป์ สาหรับงานคอมพวิ เตอร์ หนงั สือ ปกหนงั สือ คำนำ สำรบญั เน้ือหำ บรรณำนุกรม ชื่อวชิ ำ • ปกหนงั สือ เน้ือควำม เน้ือควำม เน้ือหำแต่ละบท อำ้ งอิง รหสั วชิ ำ สำนกั พมิ พ์ ประเภทของ รูปภำพ เวบ็ ไซต์ สำรบญั

1 หน่วยที่ 1 หลกั การองค์ประกอบศิลป์ สาระสาคญั องคป์ ระกอบของศิลปะหรือ (Composition) น้นั มำจำกภำษำละติน โดยคำวำ่ Post น้นั หมำยถึง กำร จดั วำง และคำวำ่ Comp หมำยถึง เขำ้ ดว้ ยกนั ซ่ึงเม่ือนำมำรวมกนั แลว้ ในทำง ศิลปะ Composition จึง หมำยควำมถึง องคป์ ระกอบของศิลปะ กำรจะเกิดองคป์ ระกอบศิลป์ ไดน้ ้นั ตอ้ งเกิดจำกกำรเอำส่วนประกอบ ของศิลปะ (ElementofArt) มำสร้ำงสรรคง์ ำนศิลปะ เขำ้ ดว้ ยหลกั กำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ (Principle of Art) จึงจะเป็นผลงำนองคป์ ระกอบศิลป์ เร่ืองทจี่ ะศึกษา 1. ควำมหมำยขององคป์ ระกอบศิลป์ 2. ควำมสำคญั ขององคป์ ระกอบศิลป์ 3. องคป์ ระกอบศิลป์ พ้ืนฐำนดำ้ นนำมธรรมของศิลปะ 4. ส่วนประกอบขององคป์ ระกอบศิลป์ 5. กำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ 6. หลกั องคป์ ระกอบศิลป์ สมรรถนะประจาหน่วย 1. แสดงควำมรู้เกี่ยวกบั กำรจดั วำงตำมหลกั กำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. เขียนควำมหมำยขององคป์ ระกอบศิลป์ ได้ 2. อธิบำยควำมสำคญั ขององคป์ ระกอบศิลป์ ได้ 3. แยกแยะองคป์ ระกอบศิลป์ พ้ืนฐำนดำ้ นนำมธรรมของศิลปะได้ 4. วเิ ครำะห์ส่วนประกอบขององคป์ ระกอบศิลป์ ได้ 5. จำแนกกำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ ได้ 6. จดั ภำพตำมหลกั องคป์ ระกอบศิลป์ ได้

2 ความหมายขององค์ประกอบศิลป์ องค์ประกอบของศิลป์ หรือ (Composition) น้นั มำจำกภำษำละติน โดยคำวำ่ Post น้นั หมำยถึง กำรจดั วำง และคำวำ่ Comp หมำยถึง เขำ้ ดว้ ยกนั ซ่ึงเมื่อนำมำรวมกนั แลว้ ในทำง ศิลปะ Composition จึงหมำยควำม ถึง องคป์ ระกอบของศิลปะ กำรจะเกิดองคป์ ระกอบศิลป์ ไดน้ ้นั ตอ้ งเกิดจำกกำรเอำส่วนประกอบของศิลปะ (ElementofArt) มำสร้ำงสรรคง์ ำนศิลปะ เขำ้ ดว้ ย หลกั กำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ (Principle of Art) จึงจะเป็น ผลงำนองคป์ ระกอบศิลป์ ควำมหมำยขององคป์ ระกอบศิลป์ น้นั ไดม้ ีนกั วชิ ำกำรหลำยทำ่ นไดใ้ หค้ วำมหมำย เอำไว้ องค์ประกอบศิลป์ เป็ นวชิ ำหรือทฤษฎีที่เก่ียวกบั กำรสร้ำงรูปทรงในงำนกำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ เป็นกำรนำเอำทศั นธำตุ ไดแ้ ก่ จุด เส้น รูปร่ำง รูปทรง น้ำหนกั อ่อน-แก่ พ้นื ที่วำ่ ง พ้ืนผิว และสีมำจดั วำงสร้ำง รูปแบบต่ำง ๆ อยำ่ งลงตวั เหมำะสมกลมกลืน งดงำม มีชีวติ ชีวำ ถูกตอ้ งตำมหลกั เกณฑข์ องกำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ การจัดองค์ประกอบศิลป์ น้นั ถือวำ่ เป็นทฤษฎีเบ้ืองตน้ ของกำรสร้ำงสรรคง์ ำนศิลปะเพรำะเป็น แนวทำงที่ศิลปิ นใชเ้ ป็นหลกั ในกำรสร้ำงสรรคง์ ำนและพิจำรณำคุณค่ำของงำนศิลปะหลกั ในกำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ จะตอ้ งคำนึงถึงหลกั เกณฑเ์ บ้ืองตน้ ในกำรจดั วำง ดงั น้ี ความสาคญั ขององค์ประกอบศิลป์ ในกำรสร้ำงสรรคผ์ ลงำนศิลปะในสำขำต่ำง ๆ ไม่วำ่ จะเป็นสำขำวจิ ิตรศิลป์ หรือ ประยกุ ตศ์ ิลป์ ผู้ สร้ำงสรรคน์ ้นั ตอ้ งมีควำมรู้เบ้ืองตน้ ดำ้ นศิลปะมำก่อน และศึกษำถึงหลกั กำร องคป์ ระกอบพ้นื ฐำน องคป์ ระกอบที่สำคญั กำรจดั วำงองคป์ ระกอบเหล่ำน้นั รวมถึงกำรกำหนดสี ในลกั ษณะต่ำง ๆ เพ่ิมเติมใหเ้ กิด ควำมเขำ้ ใจ เพอ่ื เวลำท่ีสร้ำงผลงำนศิลปะ จะไดผ้ ลงำนท่ีมี คุณคำ่ ควำมหมำยและควำมงำมเป็นที่น่ำสนใจแก่ ผพู้ บเห็น หำกสร้ำงสรรคผ์ ลงำนโดยขำด องคป์ ระกอบศิลป์ ผลงำนน้นั อำจดูดอ้ ยค่ำ หมดควำมหมำยหรือไม่ น่ำสนใจไปเลย ดงั น้นั จะเห็นไดว้ ำ่ องคป์ ระกอบศิลป์ น้นั มีควำมสำคญั อยำ่ งมำกในกำรสร้ำงงำนศิลปะ มี นกั กำรศึกษำ ดำ้ นศิลปะหลำยทำ่ นไดใ้ หท้ รรศนะในดำ้ นควำมสำคญั ขององคป์ ระกอบศิลป์ ที่มีต่อกำรสร้ำง งำนศิลปะไวพ้ อจะสรุปไดด้ งั น้ี

3 กำรสร้ำงสรรคง์ ำนศิลปะใหไ้ ดด้ ีน้นั ผสู้ ร้ำงสรรคจ์ ะตอ้ งทำควำมเขำ้ ใจกบั องค์ ประกอบศิลป์ เป็น พ้ืนฐำนเสียก่อน ไมเ่ ช่นน้นั แลว้ ผลงำนที่ออกมำมกั ไม่สมบูรณ์เท่ำไรนกั ซ่ึง องคป์ ระกอบหลกั ของศิลปะก็คือ รูปทรงกบั เน้ือหำ รูปที่ 1.1 สร้ำงสรรคศ์ ิลปะ ท่ีมำ https://sites.google.com องค์ประกอบศิลป์ เป็นเสมือนหวั ใจดวงหน่ึงของกำรทำงำนศิลปะ เพรำะในงำน องคป์ ระกอบศิลป์ หน่ึงชิ้น ประกอบไปดว้ ย กำรร่ำงภำพ (วำดเส้น) กำรจดั วำงใหเ้ กิด ควำมงำม(จดั ภำพ)และกำรใชส้ ี(ทฤษฎีสี) ซ่ึงแต่ละอยำ่ งจะตอ้ งเรียนรู้สู่รำยละเอียดลึกลงไปอีก องคป์ ระกอบศิลป์ จึงเป็ นพ้ืนฐำนสำคญั ที่รวบรวม ควำมรู้หลำยๆ อยำ่ งไวด้ ว้ ยกนั จึงตอ้ งเรียนรู้ ก่อนที่จะศึกษำในเร่ืองอ่ืน ๆ องค์ประกอบของศิลป์ กำรจดั องคป์ ระกอบและกำรใชส้ ีเป็ นหลกั กำรท่ีสำคญั ใน กำรสร้ำงสรรคใ์ ห้ งำนศิลปะเกิดควำมงำม ไม่วำ่ จะเป็นจิตรกรรม วำดเขียน ประติมำกรรม สถำปัตยกรรมและกำรพิมพภ์ ำพ หำกปรำศจำกควำมรู้ควำมเขำ้ ใจเสียแลว้ ผลงำนน้นั ๆ กจ็ ะ ไมม่ ีค่ำหรือควำมหมำยใด ๆ เลย องค์ประกอบของศิลป์ จดั เป็ นวชิ ำท่ีมีควำมสำคญั สำหรับผศู้ ึกษำงำนศิลปะ หำกวำ่ ขำดควำมรู้ควำม เขำ้ ใจในวชิ ำน้ี แลว้ ผลงำนท่ีสร้ำงข้ึนมำก็ยำกที่จะประสบควำมสำเร็จ โดยเฉพำะอยำ่ งยง่ิ งำนศิลปะสมยั ใหม่ ที่มีกำรแสดงเฉพำะ เส้น สีแสง เงำ น้ำหนกั พ้นื ผวิ จงั หวะ และบริเวณที่วำ่ ง จึงมีควำมจำเป็นอยำ่ งยงิ่ ตอ้ งนำ หลกั กำรองคป์ ระกอบศิลป์ มำใช้

4 การจัดองค์ประกอบศิลป์ มีควำมสำคญั และเก่ียวขอ้ งกบั งำนทศั นศิลป์ โดยตรง ท้งั วจิ ิตรศิลป์ และ ประยกุ ตศ์ ิลป์ กำรจดั ภำพหรือออกแบบสร้ำงสรรคผ์ ลงำนทศั นศิลป์ ใหเ้ กิด คุณค่ำควำมงำมน้นั กำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ จะมีบทบำทสำคญั มำกที่สุด จำกทรรศนะตำ่ ง ๆ สรุปไดว้ ำ่ องคป์ ระกอบศิลป์ เป็ นหวั ใจ สำคญั ของงำนศิลปะทุกสำขำ เพรำะงำนศิลปะใดหำกขำดกำรนำองคป์ ระกอบศิลป์ ไปใชก้ ็จะทำใหง้ ำนน้นั ดู ไม่มีคุณค่ำ ท้งั ดำ้ นทำงกำยและทำงจิตใจของผดู้ ูหรือพบเห็น ขณะเดียวกนั ก็จะบง่ บอกถึงภูมิควำมรู้ ควำมสำมำรถของผสู้ ร้ำงสรรคผ์ ลงำนน้นั ดว้ ย กำรที่จะเขำ้ ถึงศิลปะ (Appreciation) น้นั จะตอ้ งผำ่ นกำรฝึกฝน และหำทำงดูเพอ่ื ให้ เกิดควำมเขำ้ ใจท้งั จะตอ้ งมีรสนิยมท่ีดีพอสมควร กำรฝึกฝนกำรทำซ้ำๆอยำ่ งสนใจเม่ือ นำนเขำ้ กจ็ ะเกิดควำมเขำ้ ใจ ทำดว้ ยควำมคุน้ เคยกบั สิ่งเหล่ำน้นั จึงจะเขำ้ ใจ รู้เห็นในคุณค่ำของศิลปะ น้นั ๆ ไดด้ ี รูปท่ี 1.2 องคป์ ระกอบศิลป์ ที่มำ https://1.bp.blogspot.com

5 องค์ประกอบพืน้ ฐานด้านนามธรรมของศิลปะ องคป์ ระกอบพ้นื ฐำนดำ้ นนำมธรรมของศิลปะเป็ นแนวคิดหรือจุดกำเนิดแรกที่ศิลปิ น ใชเ้ ป็ นส่ิง กำหนดทิศทำงในกำรสร้ำงสรรค์ ก่อนที่จะมีกำรสร้ำงผลงำนศิลปะ ประกอบดว้ ย เน้ือหำกบั เร่ืองรำว 1. เนื้อหาในทางศิลปะ คือ ควำมคิดท่ีเป็ นนำมธรรมท่ีแสดงใหเ้ ห็นไดโ้ ดยผำ่ น กระบวนกำรทำง ศิลปะเช่น ศิลปิ นตอ้ งกำรเขียนภำพท่ีมีเน้ือหำเก่ียวกบั ชนบท ก็จะแสดงออก โดยกำรเขียนภำพทิวทศั น์ของ ชนบท หรือภำพวถิ ีชีวติ ของคนในชนบท เป็ นตน้ 2. เรื่องราวในทางศิลปะ คือ ส่วนที่แสดงควำมคิดท้งั หมดของศิลปิ นออกมำเป็น รูปธรรมดว้ ย กระบวนกำรทำงศิลปะ เช่น ศิลปิ นเขียนภำพช่ือชำวเขำ ก็มกั แสดงรูปเก่ียวกบั วถิ ีชีวติ หรือกิจกรรมส่วน หน่ึงของชำวเขำ นน่ั คือเร่ืองรำวที่ปรำกฏออกมำใหเ้ ห็น ประเภทของควำมสัมพนั ธ์ของเน้ือหำกบั เร่ืองรำวในงำนทศั นศิลป์ น้นั เน้ือหำกบั เร่ืองรำวจะมี ควำมสมั พนั ธ์กนั นอ้ ยหรือมำก หรืออำจไม่สมั พนั ธ์กนั เลย หรืออำจไมม่ ีเรื่องเลย ก็เป็นไปไดท้ ้งั น้นั โดย ข้ึนกบั ลกั ษณะของงำน และเจตนำในกำรแสดงออกของศิลปิ น ซ่ึงเรำ สำมำรถแยกไดด้ งั ต่อไปน้ี (1) กำรเนน้ เน้ือหำดว้ ยเร่ือง (2) เน้ือหำที่เป็นผลจำกกำรผสมผสำนกนั ของศิลปิ นกบั เร่ือง (3) เน้ือหำท่ีเป็นอิสระจำกเร่ือง (4) เน้ือหำไมม่ ีเร่ือง 1. การเน้นเนื้อหาด้วยเรื่องไดแ้ ก่ กำรใชเ้ รื่องที่ตรงกบั เน้ือหำและเป็นตวั แสดง เน้ือหำของงำน โดยตรง ตวั อยำ่ งเช่น เม่ือศิลปิ นตอ้ งกำรใหค้ วำมงำมทำงดำ้ นดอกไมเ้ ป็นเน้ือหำ ของงำน เขำก็จะหำดอกไม้ ที่สวยงำมมำเป็นเร่ือง สีสนั และควำมออ่ นชอ้ ยของกลีบดอกจะช่วย ใหเ้ กิดควำมงำมข้ึนในภำพ 2. เนื้อหาทเี่ ป็ นผลจากการผสมผสานระหว่างศิลปิ นกบั เรื่อง ในส่วนน้ี ศิลปิ น จะเสนอควำมเห็น ส่วนตวั หรือผสมควำมรู้สึกส่วนตวั เขำ้ ไปในเรื่อง เป็ นกำรผสมกนั ระหวำ่ ง รูปลกั ษณ์ของเรื่องกบั จินตนำกำรของศิลปิ น เช่น เร่ืองควำมงำมของดอกไมโ้ ดยศิลปิ น ผสมควำมรู้สึกนึกคิดของตนเองลงไปใน เรื่องดว้ ย เขำจะดดั แปลง เพ่ิมเติมรูปร่ำงของดอกไม้ ใหง้ ำมไปตำมทศั นะของเขำและใชอ้ งคป์ ระกอบทำง ศิลปะเป็ นองคป์ ระกอบทำงรูปทรงให้ สอดคลอ้ งกบั ควำมงำมของเรื่อง

6 3. เนื้อหาทเี่ ป็ นอสิ ระจากเรื่อง เมื่อศิลปิ นผสมจินตนำกำรของตนเองเขำ้ ไปในงำน มำกข้ึน ควำมสำคญั ของเรื่องจะลดลง ดอกไมท้ ่ีสวยท่ีเป็นแบบอำจถูกศิลปิ นตดั ทอนขดั เกลำ หรือเปล่ียนแปลงมำก ที่สุด จนเรื่องดอกไมน้ ้นั หมดควำมสำคญั ไปอยำ่ งสิ้นเชิงเหลือแต่เน้ือหำ ท่ีเป็นอิสระ กำรทำงำนแบบน้ี ศิลปิ นอำศยั เพียงเร่ืองเป็ นจุดเร่ิมตน้ แลว้ เดินทำงห่ำงออกจำก เรื่องจนหำยลบั ไป เหลือแตร่ ูปทรงและตวั ศิลปิ นเองท่ีเป็ นเน้ือหำของงำน กรณีน้ี เน้ือหำภำยใน ซ่ึงหมำยถึงเน้ือหำที่เกิดข้ึนจำกกำรประสำนกนั ของ รูปทรงจะมีบทบำทมำกกวำ่ เน้ือหำภำยนอก หรือบำงคร้ังจะไม่แสดงเน้ือหำภำยนอกออกมำเลย 4. เนื้อหาไม่มเี ร่ือง ศิลปิ นบำงประเภทไม่มีควำมจำเป็นตอ้ งใชเ้ รื่องเป็นจุดเริ่มตน้ งำนของเขำไม่มี เรื่อง มีแต่รูปทรง กบั เน้ือหำโดยรูปทรงเป็ นเน้ือหำเสียเองโดยตรงเป็นเน้ือหำ ภำยในลว้ น ๆ เป็นกำรแสดง ควำมคิด อำรมณ์และบุคลิกภำพของศิลปิ นแทๆ้ ลงไปในรูปทรง ท่ีบริสุทธ์ิ งำนประเภทน้ี จะเห็นไดช้ ดั ใน ดนตรีและงำนทศั นศิลป์ ท่ีเป็ นนำมธรรม และแบบ นอนออบเจคตีฟ ส่ วนประกอบขององค์ประกอบของศิลป์ องคป์ ระกอบพ้ืนฐำนดำ้ นนำมธรรมของศิลปะเป็ นแนวคิดหรือจุดกำเนิดแรกที่ศิลปิ น ใชเ้ ป็นส่ิง กำหนดทิศทำงในกำรสร้ำงสรรค์ ก่อนท่ีจะมีกำรสร้ำงผลงำนศิลปะ ประกอบดว้ ย เน้ือหำกบั เรื่องรำว 1. เส้น เส้น Line เส้น คือ ร่องรอยที่เกิดจำกกำรเคลื่อนที่ของจุด หรือถำ้ เรำนำจุดมำวำง เรียงต่อ ๆ กนั ไป กจ็ ะเกิดเป็นเส้นข้ึน เส้นมีมิติเดียว คือ ควำมยำว ไม่มีควำมกวำ้ ง ทำหนำ้ ที่เป็ น ขอบเขต ของท่ีวำ่ ง รูปร่ำง รูปทรง น้ำหนกั สีตลอดจนกลุ่มรูปทรงต่ำง ๆ รวมท้งั เป็ นแกนหรือ โครงสร้ำงของรูปร่ำงรูปทรง รูปที่ 1.3 เสน้ ท่ีมำ https://www.flashdrivedd.com รูปท่ี 1.4 ลกั ษณะของเสน้ ท่ีมำ http://2.bp.blogspot.com

7 ลกั ษณะของเส้น 1. เส้นต้งั หรือ เส้นดิ่ง ใหค้ วำมรู้สึกทำงควำมสูงสง่ำ มน่ั คง แขง็ แรง หนกั แน่น เป็นสญั ลกั ษณ์ของ ควำมซ่ือตรง 2. เส้นนอน ใหค้ วำมรู้สึกทำงควำมกวำ้ ง สงบ รำบเรียบ นิ่ง ผอ่ นคลำย 3. เส้นเฉียง หรือ เส้นทะแยงมุม ใหค้ วำมรู้สึก เคลื่อนไหว รวดเร็ว ไม่มน่ั คง 4. เส้นหยกั หรือ เส้นซิกแซกแบบฟันปลำ ใหค้ วำมรู้สึกเคลื่อนไหวอยำ่ งเป็น จงั หวะ มีระเบียบ ไม่ รำบเรียบ น่ำกลวั อนั ตรำย ขดั แยง้ ควำมรุนแรง 5. เส้นโคง้ แบบคล่ืน ใหค้ วำมรู้สึก เคลื่อนไหวอยำ่ งชำ้ ๆ ล่ืนไหล ต่อเน่ือง สุภำพ อ่อนโยน นุ่มนวล 6. เส้นโคง้ แบบกน้ หอย ใหค้ วำมรู้สึกเคล่ือนไหว คลี่คลำย หรือเติบโตในทิศทำง ที่หมุนวนออกมำ ถำ้ มองเขำ้ ไปจะเห็นพลงั ควำมเคล่ือนไหวที่ไมส่ ิ้นสุด 7. เส้นโคง้ วงแคบ ใหค้ วำมรู้สึกถึงพลงั ควำมเคลื่อนไหวที่รุนแรง กำรเปล่ียน ทิศทำงที่รวดเร็ว ไม่หยดุ น่ิง 8. เส้นประ ใหค้ วำมรู้สึกที่ไม่ตอ่ เนื่องขำดหำยไม่ชดั เจน ทำใหเ้ กิดควำมเครียด ความสาคญั ของเส้น 1. ใชใ้ นกำรแบ่งท่ีวำ่ งออกเป็ นส่วน ๆ 2. กำหนดขอบเขตของท่ีวำ่ ง หมำยถึง ทำให้ เกิดเป็ นรูปร่ำง (Shape) ข้ึนมำ 3. กำหนดเส้นรอบนอกของรูปทรง ทำให้ มองเห็นรูปทรง (Form) ชดั ข้ึน 4. ทำหนำ้ ที่เป็ นน้ำหนกั อ่อนแก่ของแสง และเงำ หมำยถึง กำรแรเงำดว้ ยเส้น 5. ใหค้ วำมรู้สึกดว้ ยกำรเป็นแกนหรือโครงสร้ำง ของรูป และโครงสร้ำงของภำพ รูปท่ี 1.5 เสน้ ในแบบตำ่ ง ๆ ท่ีมำ https://วำดรูป.com

8 2. สี ประวตั ิควำมเป็นมำของสี มนุษยเ์ ริ่มมีกำรใชส้ ีต้งั แต่สมยั ก่อนประวตั ิศำสตร์ มีท้งั กำรเขียน สีลงบนผนงั ถ้ำ ผนงั หิน บนพ้ืนผวิ เคร่ืองป้ันดินเผำ และท่ีอื่น ๆ ภำพเขียนสีบนผนงั ถ้ำ (Rock Painting) เร่ิมทำต้งั แต่สมยั ก่อนประวตั ิศำสตร์ในทวปี ยโุ รป โดยคนก่อนสมยั ประวตั ิศำสตร์ใน สมยั หินเก่ำ ตอนปลำย ภำพเขียนสีท่ีมีช่ือเสียงในยคุ น้ี พบที่ประเทศฝรั่งเศสและประเทศสเปน ในประเทศไทย กรมศิลปำกรไดส้ ำรวจพบภำพเขียนสีสมยั ก่อนประวตั ิศำสตร์บนผนงั ถ้ำ และ เพิงหินในท่ีต่ำงๆ จะมีอำยรุ ะหวำ่ ง 1,500-4,000 ปี เป็นสมยั หินใหมแ่ ละยคุ โลหะไดค้ น้ พบต้งั แต่ ปี พ.ศ. 2465 คร้ังแรกพบบนผนงั ถ้ำในอำ่ วพงั งำ ต่อมำกค็ น้ พบอีกซ่ึงมีอยทู่ ว่ั ไป เช่น จงั หวดั กำญจนบุรี อุทยั ธำนีเป็นตน้ สีที่เขียนบนผนงั ถ้ำส่วนใหญ่เป็นสีแดง นอกน้นั จะมีสีส้ม สีเลือด หมูสีเหลือง สีน้ำตำล และสีดำ สีบนเครื่องป้ันดินเผำไดค้ น้ พบกำรเขียนลำยคร้ังแรกที่บำ้ นเชียง จงั หวดั อุดรธำนีเม่ือปี พ.ศ. 2510 สีที่เขียนเป็นสีแดงเป็นรูปลำยกำ้ นขดจิตรกรรมฝำผนงั ตำมวดั ต่ำง ๆ สมยั สุโขทยั และอยธุ ยำมีหลกั ฐำนวำ่ ใชส้ ีในกำรเขียนภำพหลำยสีแตก่ อ็ ยใู่ นวงจำกดั เพียง 4 สี คือ สีดำ สีขำว สีดินแดง และสีเหลืองในสมยั โบรำณน้นั ช่ำงเขียนเอำวตั ถุตำ่ ง ๆ ใน ธรรมชำติ มำใชเ้ ป็นสีสำหรับเขียนภำพ เช่น ดินหรือหินขำวใชท้ ำสีขำว สีดำกเ็ อำมำจำกเขมำ่ ไฟ หรือ จำกตวั หมึก จีนเป็ นชำติแรกท่ีพยำยำมคน้ ควำ้ เร่ืองสีธรรมชำติไดม้ ำกกวำ่ ชำติอ่ืน ๆ คือ ใช้ หินนำมำบดเป็นสีตำ่ ง ๆ สีเหลืองนำมำจำกยำงไมร้ งหรือรงทอง สีครำมก็นำมำจำกตน้ ไม้ ส่วน ใหญแ่ ลว้ กำรคน้ ควำ้ เรื่องสีกเ็ พื่อนำมำใชย้ อ้ มผำ้ ตำ่ ง ๆ ไมน่ ิยมเขียนภำพเพรำะจีนมีคติ ในกำร เขียนภำพเพียงสีเดียว คือ สีดำโดยใชห้ มึกจีนเขียน รูปท่ี 1.6 สี ท่ีมำ https://i.imgur.com

9 การจัดองค์ประกอบของศิลปะ กำรจดั องคป์ ระกอบของศิลปะ มีหลกั ท่ีควรคำนึงอยู่ 5 ประกำร คือ 1. สดั ส่วน (Proportion) 2. ควำมสมดุล (Balance) 3. จงั หวะลีลำ (Rhythm) 4. กำรเนน้ (Emphasis) 5. เอกภำพ (Unity) หลกั องค์ประกอบทางศิลปะ เป็นหลกั สำคญั สำหรับผสู้ ร้ำงสรรคแ์ ละผศู้ ึกษำงำนศิลปะ เนื่องจำกผลงำนศิลปะ ใด ๆ กต็ ำม ลว้ นมี คุณคำ่ อย2ู่ ประกำร คือ คุณค่ำทำงดำ้ นรูปทรงและคุณค่ำทำงดำ้ นเรื่องรำว คุณค่ำทำงดำ้ นรูปทรง เกิดจำกกำร นำเอำองคป์ ระกอบตำ่ ง ๆ ของศิลปะ อนั ไดแ้ ก่เส้น สีแสง และเงำรูปร่ำงรูปทรง พ้นื ผวิ ฯลฯ มำจดั เขำ้ ดว้ ยกนั เพื่อใหเ้ กิดควำมงำม ซ่ึงแนวทำงในกำรนำ องคป์ ระกอบต่ำง ๆ มำจดั รวมกนั น้นั เรียกวำ่ กำรจดั องคป์ ระกอบ ศิลป์ (Art Composition) โดยมีหลกั กำรจดั ตำมที่จะกล่ำวตอ่ ไป อีกคุณคำ่ หน่ึงของงำนศิลปะ คือ คุณคำ่ ทำงดำ้ นเน้ือหำ เป็นเร่ืองรำว หรือสำระของผลงำนที่ศิลปิ นผสู้ ร้ำงสรรคต์ อ้ งกำรที่จะแสดงออกมำใหผ้ ชู้ มได้ สมั ผสั รับรู้โดยอำศยั รูปลกั ษณะท่ีเกิดจำกกำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ นนั่ เอง หรืออำจกล่ำวไดว้ ำ่ ศิลปิ น นำเสนอเน้ือหำเรื่องรำวผำ่ นรูปลกั ษณะที่เกิดจำกกำรจดั องคป์ ระกอบทำงศิลปะ ถำ้ องคป์ ระกอบท่ีจดั ข้ึนไม่ สัมพนั ธ์กบั เน้ือหำเร่ืองรำวที่นำเสนองำนศิลปะน้นั กจ็ ะขำดคุณคำ่ ทำงควำมงำมไป ดงั น้นั กำรจดั องคป์ ระกอบศิลป์ จึงมีควำมสำคญั ในกำรสร้ำงสรรค์ งำนศิลปะเป็นอยำ่ งยง่ิ เพรำะจะทำใหง้ ำนศิลปะ ทรงคุณคำ่ ทำงควำมงำมอยำ่ งสมบูรณ์ เอกภำพ (Unity) เอกภำพ หมำยถึง ควำมเป็นหน่วยหรือเป็ นอนั หน่ึงอนั เดียวกนั มีควำมกลมกลืน เขำ้ กนั ไดเ้ อกภำพ ในทำงศิลปะ คือ กำรจดั ภำพใหเ้ กิดควำมสมั พนั ธ์อยใู่ นกลุ่มเดียวกนั ไม่กระจดั กระจำยหรือก่อใหเ้ กิดควำม สบั สน มีควำมสัมพนั ธ์เช่ือมโยงกนั แมจ้ ะมีส่วนแตกแยก ไปบำ้ งกเ็ ป็นเพยี งส่วนประกอบเท่ำน้นั แต่ดูผลรวม แลว้ ไม่เป็นลกั ษณะแบง่ แยก ส่ิงท่ีควรคำนึง คือ ใหม้ ีเพยี งหน่วยเดียวเท่ำน้นั จึงจะเกิดเอกภำพกำรจดั อยำ่ ง ถูกตอ้ ง 1. เอกภาพของการแสดงออก เม่ือนำรูปทรงหลำยๆ รูปมำวำงใกลก้ นั รูปเหล่ำน้นั จะมีควำมสมั พนั ธ์ ดึงดูดหรือผลกั ไสซ่ึงกนั และกนั กำรประกอบกนั ของรูปทรงอำจทำไดโ้ ดย ใชร้ ูปทรงที่มีลกั ษณะใกลเ้ คียงกนั รูปทรงที่ตอ่ เน่ืองกนั รูปทรงท่ีซอ้ นกนั รูปทรงท่ีผนึกเขำ้ ดว้ ยกนั รูปทรงท่ีแทรกเขำ้ หำกนั รูปทรงที่สำนเขำ้

10 ดว้ ยกนั หรือรูปทรงที่บิดพนั กนั กำรนำรูปเรขำคณิต รูปอินทรียแ์ ละรูปอิสระมำประกอบเขำ้ ดว้ ยกนั จะได้ รูปลกั ษณะใหม่ๆ อยำ่ งไม่สิ้นสุด 2. เอกภาพของรูปทรง คือ กำรรวมตวั กนั อยำ่ งมีดุลยภำพ และมีระเบียบของ องคป์ ระกอบทำงศิลปะ เพอื่ ใหเ้ กิดเป็นรูปทรงหน่ึงท่ีสำมำรถแสดงควำมคิดเห็นหรืออำรมณ์ ของศิลปิ นออกไดอ้ ยำ่ งชดั เจน เอกภำพ ของรูปทรงเป็ นสิ่งที่สำคญั ท่ีสุดตอ่ ควำมงำมของ ผลงำนศิลปะเพรำะเป็นสิ่งท่ีศิลปิ นใชเ้ ป็นส่ือในกำร แสดงออกถึงเรื่องรำว ควำมคิด และอำรมณ์ ดงั น้นั กฎเกณฑใ์ นกำรสร้ำงเอกภำพในงำนศิลปะเป็นกฎเกณฑ์ เดียวกนั กบั ธรรมชำติซ่ึงมีอยู่ 2 หวั ขอ้ คือ 1. กฎเกณฑ์ของการขดั แย้ง (Opposition) มีอยู่ 4 ลกั ษณะ คือ 1.1 กำรขดั แยง้ ขององคป์ ระกอบทำงศิลปะแตล่ ะชนิด และรวมถึงกำรขดั แยง้ กนั ขององคป์ ระกอบ ตำ่ งชนิดกนั ดว้ ย 1.2 กำรขดั แยง้ ของขนำด 1.3 กำรขดั แยง้ ของทิศทำง 1.4 กำรขดั แยง้ ของท่ีวำ่ งหรือจงั หวะ 2. กฎเกณฑ์ของการประสาน (Transition) คือ กำรทำใหเ้ กิดควำมกลมกลืน ใหส้ ิ่งตำ่ ง ๆ เขำ้ กนั ได้ อยำ่ งสนิท เป็นกำรสร้ำงเอกภำพจำกกำรรวมตวั ของส่ิงท่ีเหมือนกนั เขำ้ ดว้ ยกนั กำรประสำนมีอยู่ 2 วธิ ีคือ 2.1 กำรเป็นตวั กลำง (Transition) คือ กำรทำสิ่งที่ขดั แยง้ กนั ใหก้ ลมกลืนกนั ดว้ ยกำรใชต้ วั กลำงเขำ้ ไปประสำน เช่น สีขำวกบั สีดำ ซ่ึงมีควำมแตกตำ่ ง ขดั แยง้ กนั สำมำรถ ทำใหอ้ ยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยำ่ งมีเอกภำพดว้ ย กำรใชส้ ีเทำเขำ้ ไปประสำน ทำใหเ้ กิดควำมกลมกลืน กนั มำกข้ึน 2.2 กำรซ้ำ (Repetition) คือ กำรจดั วำงหน่วยท่ีเหมือนกนั ต้งั แต่ 2 หน่วยข้ึนไป เป็นกำรสร้ำงเอกภำพ ท่ีง่ำยที่สุด แต่ก็ทำใหด้ ูจืดชืด น่ำเบ่ือท่ีสุด นอกเหนือจำกกฎเกณฑห์ ลกั คือ กำรขดั แยง้ และกำรประสำนแลว้ ยงั มีกฎเกณฑ์ รองอีก 2 ขอ้ คือ 1. ควำมเป็นเด่น (Dominance) ซ่ึงมี2 ลกั ษณะ คือ 1.1 ควำมเป็นเด่นท่ีเกิดจำกกำรขดั แยง้ ดว้ ยกำรเพ่ิมหรือลดควำมสำคญั ควำม น่ำสนใจในหน่วยใด หน่วยหน่ึงของคูท่ ี่ขดั แยง้ กนั 1.2 ควำมเป็นเด่นท่ีเกิดจำกกำรประสำน

11 2. กำรเปล่ียนแปร (Variation) คือ กำรเพิม่ ควำมขดั แยง้ ลงในหน่วยที่ซ้ำกนั เพ่ือป้องกนั ควำมจืดชืด น่ำเบ่ือ ซ่ึงจะช่วยใหม้ ีควำมน่ำสนใจมำกข้ึน กำรเปลี่ยนแปรมี4 ลกั ษณะ คือ 2.1 กำรเปล่ียนแปรของรูปลกั ษณะ 2.2 กำรเปลี่ยนแปรของขนำด 2.3 กำรเปลี่ยนแปรของทิศทำง 2.4 กำรเปล่ียนแปรของจงั หวะ กำรเปลี่ยนแปรรูปลกั ษณะจะตอ้ งรักษำคุณลกั ษณะของกำรซ้ำไวถ้ ำ้ รูปมีกำร เปลี่ยนแปรไปมำก กำรซ้ำก็หมดไปกลำยเป็นกำรขดั แยง้ เขำ้ มำแทน และถำ้ หน่วยหน่ึง มีกำรเปลี่ยน แปรอยำ่ งรวดเร็ว มีควำมแตกต่ำงจำกหน่วยอื่น ๆ มำก จะกลำยเป็นควำมเป็นเด่น เป็นกำรสร้ำงเอกภำพดว้ ย ควำมขดั แยง้ ควำมสมดุล (Balance) ควำมสมดุลเป็ นคุณสมบตั ิท่ีสำคญั อยำ่ งหน่ึงในกำรจดั ภำพ กำรจดั ภำพ ใหเ้ กิด ควำมสมดุลน้นั ตอ้ งยดึ เอำศูนยก์ ลำงของภำพหรือเส้นแบ่งก่ึงกลำงภำพเป็นหลกั ในกำรแบ่ง เพรำะ ปกติงำนศิลปะจะมีส่วนที่เป็ นแกนกลำงหรือศูนยก์ ลำงทำใหแ้ บง่ ออกไดเ้ ป็นดำ้ นซำ้ ย ดำ้ นขวำ ดำ้ นบน ดำ้ นล่ำงจึงมีควำมจำเป็นอยำ่ งยง่ิ ที่จะตอ้ งใหท้ ้งั สองดำ้ นโดยเฉพำะดำ้ ยซำ้ ย และดำ้ นขวำมีควำมสมดุลกนั กำรจดั ควำมสมดุลแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ 1) ควำมสมดุลกนั โดยจดั ภำพใหม้ ีรูปร่ำง รูปทรง หรือสีสันเหมือนกนั ท้งั ซำ้ ยและขวำ 2) ควำมสมดุลกนั โดยจดั ภำพท่ีมีรูปร่ำงรูปทรง หรือสีสันดำ้ นซำ้ ยและขวำไม่เหมือนกนั แตใ่ ห้ ควำมรู้สึกในกำรถ่วงน้ำหนกั ใหส้ มดุลกนั ได้ ควำมสมดุลสองขำ้ งเท่ำกนั ควำมสมดุลสองขำ้ งไม่เท่ำกนั จังหวะและจุดสนใจ (Rhythm and Emphasis) ในกำรจดั ภำพควรจดั ใหเ้ กิดจงั หวะและจุดสนใจประกอบกนั ไปดว้ ย กำรจดั ภำพให้ มีจงั หวะที่ เหมำะสมกลมกลืนสวยงำมน้นั จะตอ้ งคำนึงถึงบริเวณท่ีวำ่ งดว้ ย จงั หวะจึงเป็ นกำร จดั ภำพในลกั ษณะของ กำรซ้ำที่เป็นระเบียบ ไดร้ ับรู้ถึงกำรเคลื่อนไหวต่อเนื่องของเส้น น้ำหนกั สีและรูปทรงจนเกิดเป็ นจุดสนใจ เช่น จงั หวะของรูปร่ำงรูปทรงที่เรียงกนั แบบธรรมดำจงั หวะ เรียงเชื่อมโยงและจงั หวะของรูปร่ำง รูปทรงที่ เรียงสลบั ส่วนกำรจดั ภำพให้เกิดจุดสนใจหรือ จุดเด่นของภำพน้นั หมำยถึง กำรจดั องคป์ ระกอบเพื่อสร้ำง

12 ควำมหน่วยเดียวท่ีเด่นและ น่ำสนใจ ซ่ึงตอ้ งมีกำรเนน้ จุดเด่นหรือจุดสนใจใหเ้ ห็นชดั เจนกวำ่ ส่วนยอ่ ยที่เป็น จุดรองลงไป โดยคำนึงถึงขนำดที่ใหญ่กวำ่ รวมท้งั ควำมเขม้ ของสีท่ีเม่ือมองดูภำพแลว้ ทำใหส้ ะอำดตำ ท้งั น้ี ตำแหน่งของจุดสนใจหรือจุดเด่นควรอยบู่ ริเวณศูนยก์ ลำงของภำพ แต่ไม่ควรอยู่ ตรงกลำงพอดีใหอ้ ยเู่ ย้อื ง เลก็ นอ้ ยไปทำงดำ้ นใดดำ้ นหน่ึงก็ได้ รูปที่ 1.17 กำรเนน้ ดว้ ยสี ที่มำ http://1.bp.blogspot.com ความกลมกลืนและความขดั แย้ง (Harmony and Contrast) ความกลมกลืน หมายถึง กำรนำทศั นธำตุตำ่ ง ๆ ท่ีตอ้ งกำรสร้ำงสรรคม์ ำจดั องคป์ ระกอบให้ ประสำนกลมกลืนสอดคลอ้ งสมั พนั ธ์เขำ้ กนั ไดค้ วำมกลมกลืนมีหลำยประเภท ไม่วำ่ จะเป็นควำมกลมกลืน ของเส้น รูปร่ำง รูปทรง ลกั ษณะผวิ สีน้ำหนกั อ่อน-แก่และควำม กลมกลืนของเน้ือหำสำระท้งั หมด ความขัดแย้ง หมายถึง ควำมผิดแผกแตกตำ่ งออกไปจำกกลุ่มหรือส่วนรวมในลกั ษณะ ที่ไม่ เหมือนกนั ไมว่ ำ่ เป็นรูปทรงหรือเน้ือหำก็ตำม การจัดองค์ประกอบศิลป์ บำงคร้ังควำมขดั แยง้ กบั ควำมกลมกลืนก็มีควำมเก่ียวขอ้ งกนั เช่น ถำ้ ส่วนมำกหรือท้งั หมดมีควำมกลมกลืนกนั อำจทำใหเ้ กิดควำมรู้สึกซ้ำซำก ไม่น่ำสนใจ ฉะน้นั จึงอำจออกแบบ ใหม้ ีควำมแตกตำ่ งหรือขดั แยง้ กนั บำ้ ง ช่วยดึงดูดทำใหผ้ ลงำนเด่น สะดุดตำ น่ำสนใจ รูปท่ี 1.18 ควำมกลมกลืนดว้ ยสีที่มำ https://patsudabbcit58.files.wordpress.com

13 สัดส่วน (Proportion) สัดส่วน หมำยถึง กำรนำเอำส่วนประกอบตำ่ ง ๆ มำจดั ใหไ้ ดส้ ดั ส่วนที่เหมำะสม ซ่ึงแสดง ควำมสมั พนั ธ์กนั ของจำนวน ควำมกวำ้ ง ยำว ลึก น้ำหนกั ขนำดของรูปทรงต่ำง ๆ สัดส่วนนบั เป็ นหลกั สำคญั ของกำรจดั ภำพ ทำให้ชิ้นงำนน้นั มีควำมสมบูรณ์และสมั พนั ธ์ กลมกลืนกนั อยำ่ งงดงำม เช่น สดั ส่วน ของมนุษยก์ บั ที่อยอู่ ำศยั เครื่องใชส้ อยและเส้ือผำ้ สัดส่วน ในทำงศิลปะเป็ นเร่ืองรำวของควำมรู้สึกทำง สุนทรียภำพ กำรสมสดั ส่วนน้ี หมำยรวมไปถึง ควำมสมั พนั ธ์กนั อยำ่ งเหมำะสมกลมกลืนของสีแสง เงำ และ ทศั นธำตุอ่ืน ๆ ดว้ ย รูปที่ 1.19 สัดส่วน ที่มำ https://www.nectec.or.th

สรุปเน้ือหำสำคญั ควำมหมำยของ ควำมสำคญั ของ องคป์ ระกอบศิลป์ องคป์ ระกอบศิลปะ ส่วนประกอบของ หลกั กำร องคป์ ระกอบพ้นื ฐำน องคป์ ระกอบศิลป์ องคป์ ระกอบศิลป์ ดำ้ นนำมธรรมของศิลปะ กำรจดั องคป์ ระกอบศิลปะ หลกั องคป์ ระกอบศิลป์

บรรนำณุกรม 1. http://www.prc.ac.th/newart/webart/composition01.html 2. http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-4/the_visual_aesthetics/08.html 3. http://thaidance.exteen.com/20080625/entry 4. http://www.mwk.ac.th/alluser/tanakorn/page9.html 5. http://www.vattaka.com/composit.htm


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook