Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานตนเอง

รายงานตนเอง

Published by wipawee thongsuk, 2021-07-21 04:40:05

Description: รายงานตนเอง

Search

Read the Text Version

รายงานผลการเข้ารบั การพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลักสตู ร การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ยสงั กัดสำนักงาน กศน. ณ โรงแรมเอ็มบูทรีด รีสอร์ท จงั หวัดเชียงราย วันที่ 8 ตุลาคม 2563 เวลา 13.00-14.00 น. ลงทะเบียน และเปดิ พธิ กี ารอบรมโดย นายปัณณพงษ์ ท้าวอาจ ผอ.กศน. จังหวัดแพร่ ประธานกลุ่มโซนองิ ดอย จากนน้ั ช้แี จงรายละเอียการอบรมการเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่าง เข้ม ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย สังกัดสำนกั งาน กศน. โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ 1. คะแนนก่อนการประเมนิ (ศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง) 20 คะแนน 2. คะแนนระหวา่ งการประเมิน 80 คะแนน 3. คะแนนหลังการประเมนิ 50 คะแนน ประเมินพฤตกิ รรม 30 คะแนน จากวทิ ยากรพ่เี ลี้ยง โดยการประเมนิ จากการมีส่วนรว่ มในการทำ กิจกรรรม การทำแบบทดสอบ 50 คะแนนน โดยใช้ google form ซง่ึ จะมีการประเมิน 5 หมวด 1.วนิ ยั การรกั ษาวนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม(10 คะแนน) 2.การจัดการเรียนการสอน(10 คะแนน) 3.บริหารจัดการเรยี นรู้ (10 คะแนน) 4.การอบรมและชมุ ชนแห่งการเรยี นรู้ (10 คะแนน) 5.เทคโนโลยเี พ่ือการส่ือสาร (10 คะแนน) ประเมินหลังส้นิ สดุ โครงการ (50 คะแนน) ทำแบบทดสอบ โดยตอ้ งผ่านรอ้ ยละ 80 จากน้นั เริ่มบรรยายตามหัวข้อดงั นี้ 1.บทบาทหน้าทคี่ วามเป็นครู กศน. อุดมการณ์ ครู กศน.และจิตวญิ ญาณความเปน็ ครู โดย ผอ. สรุ พล วงศห์ วนั ซึง่ มรี ายละเอยี ดดังน้ี ความเปน็ มาของสำนักงาน กศน.(ดูคลปิ วีดโี อ) ➢ พ.ศ 2480 กองการศกึ ษาผใู้ หญ่ ซง่ึ มบี ทบาทในการจดั การเรยี น ส่งเสรมิ การร้หู นังสือ และหน้าที่ประชาธปิ ไตย ➢ พ.ศ 2522 กรมการศึกษานอกโรงเรยี น สว่ นกลาง>>ส่วนภมู ภิ าค>> จงั หวัด (ศูนยก์ ารศึกษานอกโรงเรยี นระดับจังหวัด) ➢ พ.ศ. 2536 ศนู ยบ์ ริการการศึกษานอกโรงเรยี นระดับอำเภอ ➢ พ.ศ. 2542 มีพรบ.การศึกษาแห่งชาติ รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลกั สตู ร การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเขม้ 1

➢ พ.ศ. 2548 สำนกั บรหิ ารการศึกษานอกโรงเรียน ➢ พ.ศ. 2551 พรบ.การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั เกดิ สำนกั งาน กศน. ➢ พ.ศ. 2554 ศนู ย์การเรยี นตำบล >>> กศน.ตำบล บทบาทหนา้ ที่การศึกษานอกระบบ 1. สง่ เสรมิ การรหู้ นงั สอื 2. การศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน 3. การศกึ ษาต่อเนอ่ื ง บทบาทหนา้ ที่การศึกษาตามอธั ยาศัย การบริการ การจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน(ห้องสมดุ ) ปรัญาการคิดเปน็ 2. จิตวิญญาณความเปน็ ครู ครู >>>>> ผสู้ ัง่ สอนศิษย์ หรอื ผทู้ ี่ทำหนา้ ท่ีสอน “ครทู ด่ี ี ส่งเสรมิ ถ่ายทอด ปลกู ฝงั ” สิ่งทีไ่ ดร้ ับ 1. ความรู้ความเข้าใจปรัชญาการคดิ เป็น ซ่ึงจะต้องนำไปประยกุ ต์ทงั้ การทำงานและการพัฒนาผเู้ รียน 2. ความรู้ความเข้าใจบทบาทหน้าท่ขี องครู กศน. 3. ความรู้ความเข้าใจจติ วญิ ญาณของความเป็นครู ซงึ่ ครูท่ีดีต้อง “สง่ เสริม ถ่ายทอด ปลกู ฝัง” รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลักสตู ร การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม 2

วนั ท่ี 9 ตุลาคม 2563 1. วินัยและการรกั ษาวนิ ัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม จรรยาบรรณวิชาชพี หมวด 1 วินัยและการรกั ษาวินยั วินัยและการรกั ษาวนิ ยั มาตรา 82 ข้อห้ามและข้อปฏบิ ตั ิ ซึ่งจะต้องปฏบิ ตั โิ ดยเครง่ ครัดอยู่เสมอ ➢ มาตรา 83 ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาต้องสนบั สนุนนการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยอนั มพี ระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ ➢ มาตรา 84 ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ต้องซ่ือสตั ย์สจุ รติ มีความเสมอภาคและ เท่ยี งธรรม ➢ มาตรา 85 ขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาปฏบิ ัติหน้าท่ีให้เป็นไปตามกฎหมาย ➢ มาตรา 86 ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรกทางการศกึ ษาต้องปฏิบตั ิตามคำสง่ั ของผบู้ ังคับบัญชา ถา้ การปฏบิ ตั ิตามคำสง่ั นน้ั จะเกิดความเสียหายแก่ราชการใหท้ ำเป็นหนงั สือภายใน 7 วัน ➢ มาตรา 87 ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาตอ้ งตรงตอ่ เวลา อุทิศเวลาของตนให้แก่ทาง ราชการ จะละทิ้ง/ทอดท้งิ หน้าท่รี าชการโดยไม่มเี หตุผลสมควรมไิ ด้ การละท้ิงเกินกว่า 15วนั โดยไม่มี เหตุผลอันสมควร ผิดวินัยอย่างร้ายแรง ➢ มาตรา 88 ประพฤติเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีแกผ่ ูเ้ รยี น ชุมชน สังคม มคี วามสุภาพเรยี บร้อย รักษาความ สามัคคี ชว่ ยเหลอื เก้ือกูลต่อผู้เรยี น ต้อนรบั และให้ความสะดวกต่อผรู้ บั รกิ าร ➢ มาตรา 89 ไม่กล่ันแกล้ง กลา่ วหาหรอื รอ้ งเรียนผอู้ น่ื โดยปราศจากความเป็นจริง ➢ มาตรา 90 ไม่กระทำการหรอื ยอมใหผ้ ู้อื่นกระทำการหาประโยชน์ ➢ มาตรา 91 ต้องไมค่ ัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้อน่ื ➢ มาตรา 92 ไม่เป็นกรรมการผู้จดั การหรอื ผจู้ ัดการหรอื ดำรงตำแหน่ง ในบริษัทห้างร้าน ➢ มาตรา 93 วางตนเป็นกลางทางการเมืองในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี ➢ มาตรา 94 รกั ษาชอ่ื เสียงของตนและรกั ษาเกียรติศกั ด์ิของตำแหนง่ หนา้ ทีร่ าชการ ➢ มาตรา 95 ผ้บู ังคบั บัญชามหี น้าทีเ่ สริมสรา้ งและพฒั นาให้ผู้อยูใ่ ตบ้ ังคับบญั ชา ➢ มาตรา 96 ผใู้ ดฝ่าฝนื ข้อห้ามหรอื ไม่ปฏบิ ัตติ ามข้อปฏบิ ัตทิ างวนิ ัย มโี ทษดังนี้ 1.ภาคทัณฑ์ 2.ตดั เงนิ เดอื น 3.ลดเงนิ เดือน 4.ปลดออก 5.ไล่ออก ➢ มาตรา97 การลงโทษข้าราชการครใู ห้ทำเปน็ คำส่ัง รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลักสตู ร การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม 3

คุณธรรม จรยิ ธรรม ในวิชาชพี ครู 1.อิทธบิ าท 4 หนทางสู่ความสำเร็จ ฉนั ทะ>>> วริ ิยะ >>> จติ ตะ >>>วมิ ังสา 2.พรหมวิหาร 4 เมตตา >>> กรุณา>>> มุทติ า >>> อเุ บกขา 3. สังคหวตั ถุ 4 ทาน >>> ปิยวาจา >>> อัตถจรยิ า >>> สามนัตตา 4. สัปปุริสธรรม 7 - รจู้ กั เหตุ - ร้จู กั ผล - รูจ้ ักตน - รจู้ ักประมาณ - ร้จู ักกาล - รู้จกั ชมุ ชน - รู้จกั บคุ คล 5. ฆราวาสธรรม 4 สัจจะ >>> ทมะ >>> ขันติ >>> จาคะ 6. อรยิ สจั 4 ทุกข์ >>> สมุทยั >>> นโิ รธ >>> มรรค 7. อนจิ จัง ทกุ ขัง อนนั ตา (ไตรลักษณ์ 3 ประการ) จรรยาบรรณของวิชาชพี ครู 1. ต่อตนเอง. พฒั นาตนเองดา้ นวชิ าชพี บุคลกิ ภาพ 2. ตอ่ วชิ าชพี รกั ศรีทธา ซื่อสตั ย์สจุ ริต รบั ผิดชอบต่อวิชาชพี 3. ตอ่ ผู้รับบรกิ าร • รักเมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ • สง่ เสริมใหเ้ กิดการเรียนรู้ • เปน็ แบบอย่างทดี่ ี • ตอ้ งไมเ่ ป็นปฏิปักษ์ 4. ต่อสังคม เปน็ ผนู้ ำในการอนรุ ักษ์ พฒั นาเศรษฐกิจ สงั คม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม 5. ตอ่ ผู้ร่วมประกอบวิชาชพี ชว่ ยเหลอื เกื้อกลู ซึ่งกันและกัน สิง่ ที่ไดร้ ับ 1. ความรู้ความเข้าใจเร่อื งวินัยและการรักษาวินยั 2. การปฏิบตั ิตนในการรักษาวินัย 3. ความรคู้ วามเข้าใจจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลักสตู ร การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเขม้ 4

2. การดำเนนิ ชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (รากฐานของชีวติ รากฐานของความมน่ั คงของแผ่นดนิ ) 1. พอเพยี ง ไม่ทุกข์ 2. การมีเหตุผล 3. การวางแผนในการดำเนนิ ชวี ิต 4. ประหยัด อดออม 5. กระบวนการคดิ หรือคดิ เป็น 6. สร้างแบรนด์ของตนเอง 7. ปรัชญาการคดิ เปน็ >>>รู้ตนเอง/สงั คม >>ออกแบบ ส่ิงท่ไี ดร้ ับ 1. ความรู้ความเข้าใจหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2. ความรู้ความเข้าใจการดำเนินชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลักสตู ร การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้ม 5

3. การวิเคราะหห์ ลกั สูตร มาตรฐานการเรยี นรูแ้ ละตัวช้ีวดั ผลการเรยี นรู้ โดย ผอ.วรรณิศา ใจกลม ➢ หลกั สูตรแกนกลาง >>> สถานศึกษา >>> วเิ คราะหห์ ลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน (18 กันยายน 2551) ➢ คำอธิบายรายวชิ า ตอบสนองอดุ มการณ์ >>> การศึกษาตลอดชีวิต สรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ >>> หลกั ปรัชญาการคิดเป็น ➢ หลกั การ 1. เปน็ หลักสูตรทยี่ ืดหยนุ่ เนน้ การบรู ณาการเนื้อหาสอดคลอ้ งกบั วถิ ีชวี ิต 2. เทียบโอนผลการเรียน (ในระบบ นอกระบบ ตามอัธยาศัย) 3. พฒั นาและเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชวี ติ (ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั ) 4. ภาคเี ครอื ข่ายมสี ว่ นร่วม ➢ จดุ มุ่งหมาย 1. คณุ ธรรมจริยธรรม 2. พนื้ ฐานการดำรงชีวิต 3. ประกอบสัมมาอาชีพ 4. มที กั ษะการดำเนินชวี ติ 5. เข้าใจประวัติศาสตร์ 6. มีจติ สำนกึ 7. บคุ คลแห่งการเรยี นรู้ ➢ สาระการเรียนรู้ 5 สาระการเรยี นรู้ 1. ทกั ษะการเรยี นรู้ 2. ความรู้พ้ืนฐาน 3. ทักษะการประกอบอาชีพ 4. ทกั ษะการดำเนนิ ชีวิต 5. การพัฒนาสังคม หลักการวเิ คราะหห์ ลกั สูตร วิเคราะหต์ ัวชี้วดั ผลการเรยี นรู้ คำอธบิ ายรายวิชา 1. ชื่อเรอ่ื ง 2. ตงั้ เป้าหมายวเิ คราะห์วชิ าเลอื ก 3. เลือกระดับการศึกษา 4. มาตรฐานสาระวิชา >>> มาตรฐานระดับ >>> หนว่ ยกิต 5. นำเขา้ สู่การวิเคราะหห์ ลกั สตู ร >>> ตวั ชวี้ ดั >>> คำอธบิ ายรายวิชา รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลักสูตร การเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้ 6

สิง่ ท่ีไดร้ บั 1. ความรคู้ วามเข้าใจในการทำหลกั สตู รสถานศึกษา 2. ความรู้ความเข้าใจการวิเคราะห์หลักสตู ร คำอธิบายรายวิชา การจดั ทำหลักสตู รสถานศึกษา 3. การออกแบบการจดั การเรยี นรู้ท่ีเน้นผ้เู รยี นเป็นสำคัญและส่งเสรมิ กระบวนการคิด โดย ผอ.เสาวนยี ์ ชาพัฒิพงศ์ - เปา้ หมาย คือ ความสขุ ของผู้เรียน - จุดม่งุ หมายหรอื เปา้ หมายของผู้เรียน - ความแปลกใหม่ หรือกระบวนการเรยี น หรอื วธิ ารทส่ี รา้ งสรรค์ - สรา้ งแรงบนั ดาลใจ กระบวนการเรียนการสอน >>>> ผ้เู รียนเป็นสำคัญ >>>เกิดขน้ึ ตลอดเวลาและต่อเน่ือง >>> เกิดศรัทธา ผู้เรียน เปน็ คนเก่ง ดี มีสุข รปู แบบการสอนทเี่ ป็นระบบ เตรียม >>> ดำเนนิ การ >>> ประเมนิ ผล การกำหนดเป้าหมายการเรยี นรู้ 1. ความคิดเชงิ สร้างสรรค์ 2. ความคดิ อยา่ งวิเคราะห์ 3. ความแก้ปัญหาได้ 4. เรียนรู้ได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 5. ความมีวนิ ยั ในตนเอง การออกแบบหนว่ ยการจดั การเรียนรู้ 1. แกป้ ัญหาอยา่ งเปน็ ระบบ 2. คำนกึ ถึงผลการเรียนรู้ มหี ลักการพน้ื ฐาน 3. จัดการเรยี นการสอน 4. คำนกึ ถึงปจั จัยทส่ี ง่ ผลต่อการเรียนรู้ 5. ร้จู กั ประยุกตใ์ ชห้ ลักการเรยี นการสอน 6. ใช้วิธีการและสื่อทห่ี ลากหลาย 7. มกี ารพฒั นาอย่างต่อเน่ือง การเรยี นการสอนท่ีมคี ณุ ภาพ 8. มกี ารประเมินผลครอบคลุม รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลกั สตู ร การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม 7

9. องค์ประกอบการเรยี นการสอนมีความสัมพันธก์ ัน รปู แบบการออกแบบการจดั การเรียนรู้ รปู แบบแอดด(ิ ADDIE model) ADDIE Model เป็นกระบวนการพัฒนารูปแบบการสอนที่นักออกแบบการเรียนการสอนและ นักพัฒนาการฝึกอบรมนิยมใช้กัน ซึ่ง ADDIE Model มีลำดับการพัฒนาเป็น 5 ขั้น ซึ่งประกอบด้วย การ วิเคราะห์ (Analysis) การออกแบบ (Design) การพัฒนา (Development) การนำไปใช้ (Implemen tation) และการประเมินผล (Evaluation) ซึ่งแต่ละขั้นตอนเป็นแนวทางที่มีลักษณะที่ยืดหยุ่นเพื่อให้สามารถ นำไปสร้างเป็นเครือ่ งมอื ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ADDIE Model เป็นระบบการออกแบบการสอน การออกแบบรูปแบบการสอนส่วนมากในปัจจุบัน เปน็ ลกั ษณะทเี่ ปลย่ี นแปลงมาจาก ADDIE Model รปู แบบอ่ืนไม่วา่ จะเป็น Dick & Carey, Kemp ISD Model สิ่งหนึ่งที่เปน็ ที่ยอมรับกันทั่วไปในการปรบั ปรุงรูปแบบคือการใช้หรือเริ่มจากรปู แบบดังเดิม ซึ่งนี้เป็นแนวคิดที่ ยอมรับกนั มาอยา่ งต่อเนื่องหรือเปน็ ข้อมูลสะท้อนท่ีได้รับเพ่ือการพัฒนารูปแบบในขณะทว่ี ัสดุการสอนถูกสร้าง ขนึ้ รูปแบบน้ีพยายามทำใหป้ ระหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายโดยการเขา้ ใจปัญหาท่ีต้องการแกไ้ ข รปู แบบดคิ และแคร่ี (Dick and Carey’s instruct) 1. วเิ คราะห์ 2. วเิ คราะหก์ ารจัดการเรยี นรู้ 3. วเิ คราะหผ์ เู้ รยี น 4. เขยี นจดุ ประสงค์ 5. พัฒนาเครื่องมือในการประเมินผล 6. พัฒนากลยุทธก์ ารเรียนการสอน 7. พฒั นาและเลือกส่ือ วสั ดุ อปุ กรณก์ ารเรียนการสอน 8. ออกแบบและประเมนิ ความก้าวหนา้ (ตัวต่อตัว กลมุ่ ยอ่ ย ภาคสนาม) 9. การปรับปรุงการสอน 10. การประเมนิ ผลสรปุ บทบาทผ้สู อน เดิม ใหม่ ถ่ายทอด ผชู้ ้ีแนะ ซักถาม ใชส้ ื่อให้มาก ครูเปน็ ศนู ย์กลาง มอบงาน สอนหน้าช้ัน รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลักสตู ร การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอย่างเขม้ 8

กิจกรรม เดิม ใหม่ บรรยาย จดั ประสบการณ์ ให้งาน ดูงาน สาธิต ซักถามมากขึน้ สิ่งท่ไี ด้รับ 1. ความรคู้ วามเข้าใจการออกแบบการจัดการเรยี นรู้ท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั 2. ความรู้ความเข้าใจการจัดบรรยากาศในห้องเรียนที่เอ้ือต่อการเรยี นรขู้ องผเู้ รียน วนั ที่ 10 ตุลาคม 2563 1. การจดั กิจกรรมและการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผู้เรยี นเป็นสำคญั และสง่ เสริมกระบวนการจดั การเรียนรู้ 1.วเิ คราะหผ์ ้เู รีนนรายบคุ คล 2.ออกแบบการเรยี นรู้ทีส่ อดคลอ้ งความต้องการของผู้เรยี น **เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ แสวงหาและพฒั นาความรู้ ตามธรรมชาตแิ ละเต็มศกั ยภาพ ลกั ษณะของการจัดการเรียนรู้ 1. วางแผนการเรียนร้ดู ้วยตนเอง 2. เรียนตรงกบั ความต้องการ ความสนใจและความถนัด 3. คดิ วเิ คราะห์อย่างสรา้ งสรรค์ 4. สามารถแสดงออกอย่างอิสระ 5. ผ้ปู ฏบิ ตั ดิ ้วยตนเอง 6. เรยี นรจู้ ากสภาพจรงิ และไดร้ ับประสบกานณ์ตรง ลกั ษณะของการจดั กจิ กรรม เน้นผเู้ รียน 1. Active learning (ผู้เรยี นเปน็ ผู้กระทำ) 2. Construct (องค์ความรู้ใหม่ๆ) 3. Resource (แหล่งเรียนร้)ู “การเรียนรูเ้ กิดได้ทุกท่ที กุ เวลา) 4. Thinking (สง่ เสริมกระบวนการคิด) 5. Happiness (ผเู้ รยี นเรยี นอย่างมคี วามสขุ ) 6. Participation (ใหผ้ ้เู รียนมีสว่ นร่วม) 7. Individualization (ยอมรับในความสามารถ ความคิดเหน็ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล มงุ่ พฒั นา ผเู้ รยี นได้พัฒนาตนเอง) 8. Good Habit (พฒั นาคุณลักษณะนสิ ยั ทดี่ งี าม) 9. Self education รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลกั สตู ร การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้ม 9

วธิ ีการจดั กิจกรรม 1.สร้างบรรยากาศ 2. สนับสนนุ /ทำกิจกรรมตามแผน 3. จัดกจิ กรรมตามแผน 4. ดแู ลผู้เรียนดำเนินกจิ กรรม 5. อำนวยความสะดวกแก่ผู้เรียน 6. สงั เกต ใหค้ ำแนะนำ ตัวอยา่ งรปู แบบหรอื เทคนิค 1. การใช้ปัญหาเปน็ ฐาน 2. การเรยี นวจิ ัย 3. การเรียนโครงงาน 4. การเรียนการสอนแบบคน้ หา 5. การเรียนการสอนแบบร่วมมือ 6. การเรียนการสอนแบบเรยี น CAI 7. การเรียนการสอนแบบหมวก 6 ใบ 8. การเรียนการสอนแบบบทบาทสมมติ ส่ิงที่ไดร้ ับ 1. ความร้คู วามเข้าใจการจัดกิจกรรมและการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั 2. ความรคู้ วามเข้าใจการจดั กระบวนการเรียนดว้ ยรปู แบบต่างๆ 2. การเลอื กหรือสรา้ งหรือพัฒนาสื่อ เทคโนโลยแี ละแหล่งเรียนรู้ โดย ผอ.อรุณี การเลือกการคัดสรรใชส้ รา้ งและพัฒนาส่ือนวัตกรรม ส่ือการเรียนรู้>>> สื่อ สงิ่ ใดกต็ ามทีบ่ รรจุขอ้ มลู เพ่ือใหผ้ ูส้ ง่ และผู้รับสามารถสื่อสารกนั ได้ สอ่ื 1.วสั ดุ = สไลด์ แผ่นใส เอกสาร ตำรา 2. อปุ กรณ์ = ของจรงิ หุ่นจำลอง เครื่องเล่น เทปเสียง 3. เทคนิคหรือวธิ ีการ =?สาธิต อภิปรายกลมุ่ ฝกึ ปฏิบตั ิ 4. คอมพิวเตอร์ = CAI การนำเสนอดว้ ยคอม รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลกั สตู ร การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเขม้ 10

หลกั การการเลือกสื่อ 1. สัมพนั ธก์ บั เนื้อหาบทเรยี นและจุดมงุ่ หมายทส่ี อน 2. เน้อื หา ถกู ต้อง ทันสมัย น่าสนใจและเป็นสือ่ ที่สง่ ผลตอ่ การเรียน 3. เหมาะกบั วยั ระดับช้ัน ความรู้ 4. ราคาไม่แพงเกินไป นวัตกรรม มาตรา 67 สง่ เสริมให้มีการวิจยั และพฒั นาการผลิตและพัฒนาเทคโนโลยี มาตรา 22 ยึดหลกั ผูเ้ รยี นทุกคนมคี วามสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้ ประเภทของนวัตกรรม หลักสูตร = วิธีการใหม่ๆ,ตอบสนองความต้องการสอนบุคคล = บูรณาการ >>> ผู้เรียนเป็นคนดี = รายบุคคล >>> ตามอตั ภาพ = กจิ กรรมและประสบการณ์ >>> กระบวนการ (กิจกรรมและประสบการณ)์ = ท้องถ่นิ >>> วัฒนธรรม ส่งิ แวดล้อม ความเปน็ อยู่ การเรยี นการสอน = ปรบั ปรุงและคดิ คน้ พัฒนาวธิ กี ารสอนแบบใหมๆ่ และตอบสนองการเรียนรู้ ประเมินผล = ประยกุ ต์ใช้ program (คอมพิวเตอร์) สนับสนุนการวัดและประเมนิ ผล สอ่ื การสอน = การนำศกั ยภาพของเทคโนโลยตี า่ งๆมาใช้ในการผลิตสอ่ื ใหมๆ่ การบริหารจดั การ = ฐานขอ้ มลู นักเรียนและนักศึกษา = ขอ้ มูลครูและบุคลากรในสถานศึกษา = ด้านการเงนิ บัญชี พสั ดุ ครภุ ัณฑ์ แหล่งเรยี นรู้ = ขอ้ มลู ขา่ วสาร ความรู้ ประสบการณ์ สารสนเทศ ความสำคัญของแหล่งเรียนรู้ 1. เสริมสร้างจนิ ตนาการ 2. ศึกษาตามอัธยาศัย 3. แหล่งเรยี นรตู้ ลอดชีวิต 4. สรา้ งความรู้ ความคิด 5. ปลกู ฝงั คา่ นิยม 6. สรา้ งความคิดเกดิ อาชพี ใหม่ 7. เสริมสรา้ งประสบการณต์ รง 8. สง่ เสริมมิตรภาพ รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลกั สูตร การเตรียมความพรอ้ มและพฒั นาอยา่ งเข้ม 11

การจัดกระบวนการเรียนรแู้ ละแหล่งเรียนรู้ 1. กระบวนการสื่อสาร 2. เนน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคญั 3. พัฒนาศักยภาพ 4. เนน้ การมีสว่ นร่วม 5. กระบวนการเรียนการสอนของสถานศึกษา แนวทางการสร้างและพัฒนาสือ่ 1. กำหนดจดุ ประสงค์ ข้อดี 1. เรียนรจู้ ากของจรงิ (เกดิ ประสบการณต์ รง) 2. เกดิ ความสนุกสนาน 3. มเี จตคติท่ีดีและกระบวนการเรียนรู้ 4. เห็นคุณค่า แหลง่ เรยี นรู้ ภูมปิ ัญญา 5. เกิดความรักท้องถ่นิ และเกิดความรูใ้ นการอนุรักษ์ เทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยี >>> วธิ ีการปฏบิ ัตทิ ี่มกี ารจดั ลำดบั อยา่ งมีรปู แบบ 1. การใช้ส่อื CAI 2. แผนการสอนแบบ ICT ส่งิ ทไี ด้รับ 1. ความร้คู วามเข้าใจการเลือกใช้สอ่ื นวัตกรรมการเรียน 2. ความรู้ความเข้าใจการพฒั นาสอื่ และการเลือกใชส้ ่ือทีส่ อดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค์ 3. การวดั และประเมินผลการเรยี นรู้ วดั และประเมินผล สภาพจริง. การสร้างเครอ่ื งมือ การทดสอบ. (Test) ปัญหา(ส่งิ ที่จะวัด) >>>>> เครือ่ งมือ >>>>>ผลการวดั • ด้านกายภาพ • ด้านจติ วทิ ยา การประเมินผล >>>>>> การตดั สินคุณค่า รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลกั สตู ร การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม 12

ประเมินผล = วดั + ตัดสนิ ธรรมชาติของการวดั ผลการศึกษา (จิตวิทยา) หลักการวัดผลและประเมนิ ผล 1. ตรงกบั จุดมงุ่ หมาย 2. เคร่อื งมอื ท่ีมีคุณภาพ 3. คำนึงถงึ ความยุติธรรม 4. แปลผลใหถ้ ูกต้อง 5. ใช้ผลการวัดและประเมนิ ผลใหค้ มุ้ ค่า ปรชั ญาของการประเมนิ ผล ระยะแรก >>>> ตัดสนิ ผล ระยะต่อมา >>>> การเรยี นการสอน แนวคดิ เกี่ยวกบั การวดั และประเมนิ ผล ก่อนเรยี น >>>>> พ้ืนฐาน + ทกั ษะของผเู้ รียน คณุ ธรรมของผู้ทำหนา้ ทป่ี ระเมินผล 1. มีความยุตธิ รรม 2. ซื่อสตั ย์ 3. รับผิดชอบ การประเมินตามสภาพจริง 1. กำหนดจดุ ประสงค์ 2. ออกแบบการวดั และประเมินผล (สอดคล้องจดุ ประสงค์) 3. สร้างเคร่ืองมอื 4. เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล การสรา้ งเครื่องมือ พฤติกรรม 1. พทุ ธพิสัย 2. จิตพสิ ัย 3. ทกั ษะพิสยั รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลักสตู ร การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเขม้ 13

ส่ิงท่ไี ด้รับ 1. ความรคู้ วามเข้าใจการวัดและประเมนิ ผลการเรียน 2. ความรคู้ วามเข้าใจการออกแบบเคร่ืองมือการวัดและประเมินผลท่ตี อ้ งสอดคล้องกบั วัตถุประสงคก์ าร เรียนรู้ 4. การจัดสภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศทเี่ อ้ือต่อการเรยี นรู้ บรรยากาศในชั้นเรียนมีส่วนสำคัญในการส่งเสริมความสนใจใคร่รู้ใคร่เรียนให้แก่ผู้เรียน ชั้นเรียนที่มี บรรยากาศเต็มไปด้วยความอบอุ่น ความเห็นอกเห็นใจ และความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกันและกัน ย่อมเป็น แรงจูงใจภายนอกที่กระตุ้นให้ผู้เรียนรักการเรียน รักการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน และช่วยปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ความประพฤติอันดีงามให้แกน่ ักเรียน นอกจากนกี้ ารมหี ้องเรียนท่ีมีบรรยากาศแจ่มใส สะอาด สว่าง กวา้ งขวางพอเหมาะ มโี ต๊ะเกา้ อท้ี ี่เป็นระเบียบเรียบร้อย มมี มุ วิชาการส่งเสริมความรู้ มีการตกแต่งห้องให้สดใส ก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ส่งผลทำให้ผู้เรียนพอใจมาโรงเรียน เข้าห้องเรียนและพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ เรียนการสอน ดังนั้น ผู้เป็นครูจึงต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสำคัญ ประเภทของ บรรยากาศ หลักการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนและการจัดการเรียนรู้อย่างมีความสุข เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี ลักษณะตามทหี่ ลักสูตรไดก้ ำหนดไว้ ดา้ นกายภาพ 1. ภายใน 2. ภายนอก ดา้ นจติ วิทยา = ชว่ ยสง่ เสรมิ ผู้เรยี น เรียนรู้และพฒั นาตนเอง 1. คุณลักษณะของครู 2. จดั กระบวนการเรยี นการสอน 3. ความสมั พันธ์ระหวา่ งครู ผู้ปกครองและชุมชน สิ่งทีไ่ ดร้ บั 1. ความรู้ความเข้าใจการจดั สภาพแวดล้องที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ 2. ความรู้ความเข้าใจการบรรยากาศทั้งภายในและภายนอก 5. ระบบดแู ลช่วยเหลือผเู้ รียน โดย ครวู ชั ญาณ์ ยอดหล้า การดแู ลช่วยเหลือผู้เรียน 1. รู้จักผูเ้ รยี นเป็นรายบคุ คล 2. การออกเย่ยี มบา้ น 3. การติวขอ้ สอบ 4. การแนะแนว รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลกั สูตร การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม 14

ระบบดูแลช่วยเหลือผเู้ รียน 1. แบบประเมิน 2. การจัดการเรียนการสอน 3. ลำดบั ขัน้ ตอน 4. มีกระบวนการดำเนินงาน 5. เคร่อื งมือ. Input >>> process >>> Output ขนั้ ตอนการดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียน 1. รจู้ กั ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล 2. คดั กรองผูเ้ รยี น 3. สง่ เสริมและพัฒนาผ้เู รยี น (ปฐมนเิ ทศ ประชมุ ผู้ปกครอง พัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น เยย่ี มบ้าน การทำ สัญญาการเรียนรู้ การสอนเสริม) 4. ป้องกนั และแก้ไข 5. ส่งต่อ วนั ที่ 11 ตลุ าคม 2563 1. การอบรมบ่มนสิ ัยใหผ้ ้เู รยี น มคี ุณธรรม จริยธรรม คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์และคา่ นิยมที่ดี โดย ครนู พดล แสนอนิ ตะ๊ คุณธรรม = ปจั จัย. จริยธรรม = ผล(ความประพฤต)ิ คุณธรรมของครู 1. ปิโย = นา่ รกั 2. ครุ = น่าวางใจ 3. ภาวนโี ย = น่าเจรญิ ใจ 4. วตั ตา = รูจ้ ักพดู 5. รจนกั ขโม = รูจ้ ักฟัง 6. คมั ภีรัญจะ กะถัง กัตตา = แถลงเร่ืองลกึ ซ้งึ ได้ 7. โน จัฎฐาน นโิ ยชเยท = ไม่ชักจงู การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมครู 1. ดา้ นตนเอง 2. ด้านการประกอบอาชีพ หรอื วิชาชพี 3. ดา้ นสังคมมสี ่วนรว่ ม รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลักสตู ร การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเขม้ 15

คณุ ธรรมท่สี ำคัญ 1. ศรทั ธา 2. ยตุ ิธรรม 3. รับผิดชอบ 4. ใฝ่รู้ 5. ระเบียบวินยั 6. ซือ่ สตั ย์ 7. ขยันและประหยัด ประเภทของครู 1.เปลือกครู (เปลือกไม้) 2. เนือ้ ครู (เน้ือคร)ู 3. แก่นครู (แก่นไม้) จิตวิญญาณของครู ส่งิ ท่ไี ดร้ ับ ความรู้ความเข้าใจในการอบรมบ่มนสิ ยั และปลูกฝงั ใหผ้ เู้ รยี นร้จู ักคณุ ธรรม จรยิ ธรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ 2. การทำงานเปน็ ทมี (teamwork) โดย ผอ.สุรียภ์ รณ์ หนอ่ คำ ทมี = การรวมตวั ของกลมุ่ คนที่ต้อวพ่ึงพาอาศัยกนั และกนั ซึง่ มีจำนวน 2 คนขึน้ ไป มเี ปา้ หมาย เดยี วกนั จดุ ประสงค์เดียวกัน ทีม = ความสัมพนั ธ์ทค่ี ่อนข้างจะใกล้ชดิ (หวั หนา้ งานและเพ่ือร่วมงาน) 1.วตั ถุประสงคต์ ้องชดั เจน 2.จัดลำดบั ความสำคญั ในการทำงาน 3. มีผลการทำงาน ลกั ษณะของทีม 1. ปฏิสมั พันธ์ทางสังคม 2. มีจดุ มงุ่ หมายและเปา้ หมาย 3. มีโครงสรา้ งทีม 4. สมาชิกมีบทบาทและมีความรู้สกึ ร่วมกัน การพฒั นาทีม 1.สรา้ งความไว้เนอ้ื เช่อื ใจ 2. ส่ือสารระหวา่ งกนั แบบเปิด 3. ปรึกษาหารอื 4. การสร้างความรว่ มมือ รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลักสตู ร การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ 16

แนวทางการทำงานเปน็ ทมี 1.รู้สกึ เป็นเจ้าของรว่ มมากขึ้น 2. รว่ มหัวจมท้าย 3. ตอ้ งสำเรจ็ ร่วมกัน 4. ยอมรบั กันและกัน 5. รู้หนา้ ที่ตัวเอง มอบหมายท่ีชัดเจน. ไวว้ างใจ กนั เอง ปจั จัย. ความสำเรจ็ . บทบาท สิ่งที่ได้รบั ความร้คู วามเข้าใจในการทำงานเป็นทีม และกระบวนการท่ีจะสร้างความสำเรจ็ ในการทำงานเปน็ ทีม เพอ่ื ให้งานมปี ระสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลทีแ่ ท้จรงิ 3. งานกจิ กรรมตามภารกจิ ของสถานศึกษา 1. จดั การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน 2. สง่ เสริม สนับสนุน 3. ดำเนนิ การตามนโยบาย 4. วิจัยและพัฒนาคุณภาพหลักสูตร สอ่ื กระบวนการ 5. เทียบโอนความรู้ และประสบการณ์ 6. กำกับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศ 7. พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 8. ดำเนินการประกนั คุณภาพ 9. ปฏิบัติงานอน่ื บรหิ ารงานท่วั ไป 1. พัฒนาระบบและเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ 2. ประสานงานและพัฒนาเครือขา่ ยการศึกษา 3. วางแผนการบริหารงานการศึกษา 4. งานวจิ ยั เพ่อื พัฒนานโยบายและแผน 5. การจัดระบบและพฒั นาองค์กร 6. การพัฒนามาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลกั สตู ร การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเขม้ 17

7. ระดมทรัพยากร 8. กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น 9. กจิ การนกั ศึกษา 10. ประชาสัมพนั ธ์งานการศึกษา 11. สง่ เสริม สนับสนนุ และประสาน 12. การจดั ระบบการควบคุมภายใน งานบรหิ ารวิชาการ 1. วางแผนงานดา้ นวิชาการ 2. จดั การเรียนการสอน 3. พฒั นาหลักสูตรสถานศึกษา 4. พฒั นากระบวนการ 5. การวัดผลและประเมินผล 6. พัฒนาหลกั สูตรท้องถน่ิ 7. วิจยั 8. พฒั นาและส่งเสริมแหลง่ เรียนรู้ งานกจิ การนักศึกษา 1. คุณลักษณะ 2. คุณธรรม 3. คุณคา่ ส่งิ ท่ไี ด้รับ ความร้คู วามเข้าใจงานกจิ กรรมตามภารกจิ งานของสถานศึกษา ซ่งึ การทำงานต้องมคี วามรับผดิ ชอบ และตอ้ งปฏบิ ตั ิตามหนา้ ที่ที่ได้รับมอบหมาย รายงานการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลักสตู ร การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเขม้ 18

4. ชมุ ชนแห่งการเรียนรู้ plc (professional learning community) การรวมตัว ร่วมมือร่วมใจ และร่วมเรยี นรรู้ ่วมกนั ของครู ผบู้ ริหาร และนกั การศกึ ษา บนพ้ืนฐาน ความสัมพนั ธแ์ บบกลั ยาณมิตร มีวิสยั ทัศน์ คุณค่า เป้าหมาย และภารกิจรว่ มกนั โดยทำงานร่วมกนั แบบทีม การเรยี นรูท้ ม่ี ีครูเป็นผูน้ ำร่วมกนั และผู้บริหารเปน็ ผ้ดู แู ลสนับสนุนส่กู ารเรียนรู้และพฒั นาวิชาชีพเปลี่ยนแปลง คุณภาพตนเอง สูค่ ุณภาพการจัดการเรียนร้ทู ่ีเน้นความสำเรจ็ หรือประสทิ ธผิ ลของผเู้ รียนเปน็ สำคัญและ ความสุขของการทำงานรว่ มกันของสมาชิกในชุมชนการเรยี นรู้ องค์ประกอบสำคญั ของ plc 1. มีวิสัยทศั นร์ ว่ มกนั 2. รว่ มแรง รว่ มใจ รว่ มมือ 3. ภาวะผู้นำรว่ ม (ผูน้ ำและผู้ตาม) 4. กลั ยาณมิตร 5. ปรับเปลีย่ นวัฒนธรรมองค์กร 6. การเรียนรู้และพฒั นาวชิ าชพี วิธีการทำงาน 1. รวมกลุม่ ครูทีม่ ลี ักษณะใกลเ้ คียงกัน 2. จำนวนสมาชกิ 6-8 คน 3. ระยะเวลา 2-3 ชม/สัปดาห์ 4. จัดชั่วโมงอย่ใู นภาระงาน 12 ตุลาคม 2563 1.ทกั ษะการใช้ภาษาและทคโนโลยี และเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่อื พัฒนาตนเอง 2.ทักษะการใช้ภาษาและทคโนโลยี และเทคโนโลยีดิจิทัลเพ่ือพฒั นาผู้เรียน 3. ทกั ษะการใชภ้ าษาและทคโนโลยี และเทคโนโลยดี ิจิทัลเพอื่ การส่อื สาร การเรยี นรผู้ ่าน google app. 1. Blogger บล็อก หมายถึงเว็บไซต์ ในรูปแบบย่อส่วน ที่มีรูปแบบเนื้อหาเรียบง่าย เป็นกันเอง เหมือนกับการบันทึก เรื่องพูดคุยกันของคนที่ชอบหรือสนใจในเรื่องเดียวกัน คล้ายกับบันทึกส่วนตัวออนไลน์ มีส่วนของการ แลกเปล่ียน แสดงความคิดเหน็ comments ให้กับผเู้ ข้าชม และกจ็ ะมี link แนะนำไปยังเวบ็ อ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง อีกด้วย บล็อก (Blog) เป็น เว็บไซต์ที่เจ้าของสามารถบันทึกบทความ รูปภาพ วีดีโอ ของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนื้อหาของ blog นั้นจะครอบคลุมได้ทุกเรื่อง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวส่วนตัว หรือ เป็นบทความเฉพาะด้านต่างๆ สามารถบันทึกเรื่องราวของตนเองลงในเว็บได้ตลอดเวลา การสร้างเว็บบล็อก รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลกั สตู ร การเตรยี มความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้ม 19

สามารถทำได้งา่ ยๆ ด้วยตวั เอง ไม่ซับซ้อน ไม่เสยี สตางค์ ไมจ่ ำเป็นต้องรู้ภาษา HTML อยา่ งน้อยขอให้มีความรู้ พนื้ ฐานเก่ียวกับอนิ เทอรเ์ นต็ และเว็บไซต์บ้าง 2. Youtube เป็นเว็บไซต์แลกเปลี่ยนภาพวิดีโอที่มีชื่อเสียง(www.youtube.com) โดยในเว็บไซต์นี้ ผู้ใช้สามารถอัพ โหลดภาพวิดีโอเข้าไป เปิดดูภาพวิดีโอที่มีอยู่ และแบ่งภาพวิดีโอ เหล่านี้ให้คนอื่นดูได้โดยไม่เสยี ค่าใช้จ่ายใดๆ ใน YouTube จะมีข้อมูลเนื้อหารวมถึงคลิปภาพยนตร์สั้นๆ และคลิปที่มาจากรายการโทรทัศน์ มิวสิกวิดีโอ และวิดีโอบล็อกกิ้ง (ซึ่งเป็นการสร้างบล็อกโดยมีส่วนของข้อมูลที่เป็นภาพ วิดีโอเป็นส่วนประกอบ โดยเฉพาะ เป็นภาพวิดีโอที่เกิดจากมือสมัครเล่นถ่ายกันเอง) คลิปวิดีโอที่เผยแพร่อยู่บนเว็บไซต์ YouTube ส่วนมากเป็น ไฟล์คลิปสั้นๆ ประมาณ 1 - 10 นาที ถ่ายทำโดยประชาชนทั่วไป แล้วอัพโหลดขึ้นสู่เว็บไซต์ของ YouTube โดยมีการแบ่งประเภทและจัดอันดับคลิปเอาไว้ด้วย เช่น ไฟล์ล่าสุด, ไฟล์ที่มีผู้ชมมากที่สุด, ไฟล์ที่ได้รับการ โหวตมากทสี่ ดุ ฯลฯ 3. Google Drive โปรแกรมการจดั การเอกสารออนไลน์ของทาง Google หลกั การทำงานจะคลา้ ยกบั โปรแกรมเอกสาร ผใู้ ช้ สามารถเข้าถึงเอกสารแบบออนไลน์ได้โดยผ่านการใช้บเว็บเบราว์เซอร์ต่างๆเช่น Inter Explorer, Chrome, Firefox และSafari ซง่ึ จะทำใหก้ ารใช้งานของเอกสารมคี วามสะดวกมากขนึ้ สามารถใชง้ านหรอื แกไ้ ขข้อมูลได้ ทุกที่ทุกเวลาทำให้เอกสารต่างๆเหลา่ นั้นมีความเปน็ ปจั จุบันมากขึ้น และยังสามารถใช้งานรว่ มกับผู้อื่นได้ โดย บุคคลที่จะเข้ามาใช้งานต้องได้รับอนุญาตหรือคำเชิญจากเจ้าของเอกสารผ่าน ทางอีเมล์ และสามารถทำงาน บนเอกสารเดียวกัน ได้หลายครั้งและหลายคนพร้อมๆกัน ซึ่งแต่จะทำให้เห็นว่า ใครกำลังพิมพ์อะไรอยู่ และ สามารถกำหนดสิทธิ์ในการเข้าใช้งานได้ ว่าคนไหนสามารถแก้ไขข้อมูล หรือ อ่านข้อมูลได้อย่างเดียว และท่ี สำคัญสามารถรองรับประเภทไฟล์ได้หลายแบบ เช่น Document, Spreadsheets, Presentations, Drawings, Forms (แบบสอบถาม) เป็นต้น 4. Google meeting จัดการประชุมทางวิดีโอกับสมาชิกในทีมจากคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์เคลื่อนที่ได้อย่างง่ ายดายทุกที่ทุก เวลา คุณจะเข้ารว่ มการประชมุ ทางวิดีโอได้ หากมีคนเพิม่ คุณไปยังกิจกรรมในปฏิทนิ หรอื หากคุณอยูใ่ นองค์กร เดียวกับผู้จัดประชุม ผู้เข้าร่วมเดิมอาจต้องอนุมัติให้คุณเข้าประชุมก่อน หากคุณพยายามเข้าร่วมการประชุม ขององค์กรอื่นหรือหากไม่มีบัญชี Google จะมีเสียงแจ้งเตือนเมื่อผู้เข้าร่วม 5 คนแรกเข้าร่วมการประชุม ผเู้ ข้ารว่ มหลังจากนัน้ จะไมม่ ีเสียงแจ้งเตือนเม่อื เข้ารว่ มและจะปิดเสยี งโดยอัตโนมตั ิ 5. Google sheet เป็นแอปพลิเคชันในกลุ่มของ Google Drive (กูเกิล ไดรฟ์) ซึ่งเป็นนวัตกรรมของ Google (กูเก้ิล) มี ลักษณะการทำงานคล้ายกันกับ คือสามารถสร้าง Column, Row สามารถใส่ข้อมูลต่างๆ ลงไปใน Cell (เซลล)์ ได้ และ คำนวณสูตรตา่ งๆได้ รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพฒั นาตามหลกั สูตร การเตรยี มความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเข้ม 20

6. Google doc จดั การเอกสารได้แบบไมต่ อ้ งเสียเงนิ เป็นการพิมพร์ ายงานแบบท่คี ุน้ เคย การทำสไลดเ์ พื่อนำเสนองาน สำคญั หรอื จะจัดการเอกสารแบบ Spreadsheets ได้เหมอื น Excel กส็ ามารถทำได้ Google Docs ทำงาน เหมอื น Microsoft Office แต่ทกุ อยา่ งจะทำงานอยู่บนเวบ็ สามารถทำงานไดท้ ันทที มี่ ี การเชอื่ มตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ โดยไมต่ ้องเสยี เวลาติดตั้งโปรแกรมลงในเคร่อื ง หรือเสยี เงนิ คา่ ลิขสทิ ธกิ์ ่อนใช้งานแต่อยา่ งใด เพียง แคเ่ ข้าไปยัง Google Docs เรากส็ ามารถสรา้ ง แก้ไข หรือเปดิ อา่ นเอกสารได้เลย โดยตัวเอกสารน้นั จะถกู เกบ็ ไว้ในเซริ ฟ์ เวอร์ของ Google และทส่ี ำคัญเราสามารถแชรเ์ อกสารให้กับเพ่ือนเพ่ือแก้ไข ข้อมลู ไปพร้อมๆ กัน โดยจะเหน็ วา่ อกี ฝา่ ยกำลังพิมพอ์ ะไรอยู่ 7. Google form แบบสอบถามออนไลน์ หรือใชส้ ำหรับรวบรวมข้อมลู ได้อย่างรวดเร็ว โดยท่ีไมต่ อ้ งเสียค่าใช้จา่ ย ในการใช้ งาน Google Form ผใู้ ชส้ ามารถนำไปปรบั ประยุกต์ใชง้ านไดห้ ลายรูปแบบอาทิ เชน่ การทำแบบฟอรม์ สำรวจ ความคดิ เหน็ การทำแบบฟอร์มสำรวจความพงึ พอใจ การทำแบบฟอรม์ ลงทะเบยี น และการลงคะแนนเสยี ง เป็นต้น 8. Google classroom เป็นบริการสำหรบั Google Apps for Education ซงึ่ เปน็ ชุดเคร่ืองมือทีม่ ีประสิทธภิ าพ ไดร้ ับการ ออกแบบมาเพื่อชว่ ยใหผ้ ูส้ อนสามารถสรา้ งและเก็บงานได้โดยไม่ต้องสิน้ เปลืองกระดาษ มคี ณุ ลักษณะทชี่ ว่ ย ประหยดั เวลา เช่น สามารถทำสำเนาของ Google เอกสารสำหรับผูเ้ รยี นแตล่ ะคนได้โดยอัตโนมตั ิ โดยระบบ จะสร้างโฟลเดอร์ของไดรส์ ำหรบั แต่ละงานและผเู้ รียนแต่ละคนเพ่ือช่วยจัดระเบียบใหผ้ เู้ รียนสามารถตดิ ตามวา่ มีอะไรครบกำหนดบา้ งในหนา้ งาน และเร่ิมท างานได้ดว้ ยการคลิกเพยี งครงั้ เดยี ว ผู้สอนสามารถดูได้อยา่ ง รวดเร็ววา่ ใครทำงานเสร็จหรอื ไม่เสร็จบา้ ง ตลอดจนสามารถแสดงความคดิ เหน็ และให้คะแนนโดยตรงได้แบบ เรียลไทมใ์ น Google Classroom รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลักสตู ร การเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอย่างเขม้ 21

รายงานผลการเข้ารับการพฒั นาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลกั สตู ร การเตรียมความพร้อมและพฒั นาอยา่ งเข้ม ตำแหน่ง ครูผู้ช่วยสงั กัดสำนกั งาน กศน. ณ โรงแรมเอ็มบูทรีด รีสอรท์ จังหวดั เชียงราย สงิ่ ทไ่ี ด้รบั แนวทางการปฏบิ ัติ 1. ความรู้ความเขา้ ใจบทบาทหน้าท่ีความเปน็ ครู 1. การปฏิบตั ติ นและการปฏิบัตงิ านตอ่ เพ่ือนรว่ มงาน อุดมการณ์ความเป็นครู 2. การรักษาวนิ ยั คุณธรรมธรรม จรยิ ธรรม 2. ความรู้ความเขา้ ใจวนิ ัยและการรักษาวินัย จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ 3. การปฏิบตั ติ นและการปฏิบตั ิงานตอ่ เพ่ือนรว่ มงาน 3. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ทสี่ อดคล้องกับ 4. ความรู้ความเข้าใจการดำเนนิ ชีวิตตามหลัก ความต้องการของผูเ้ รยี น ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. การเลอื กใช้สอ่ื และการพัฒนาส่ือที่สอดคล้องกบั 5. ความรู้ความเขา้ ใจการวเิ คราะห์หลักสูตร วตั ถุประสงค์ของการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ดั ผลการเรียนรู้ 5. การวิเคราะหห์ ลักสูตร และการจัดทำหลกั สูตร 6. ความรคู้ วามเข้าใจการออกแบบการจดั การเรียนรู้ สถานศึกษา ที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ 6. การทำวิจัยในช้นั เรยี น 7. ความรูค้ วามเขา้ ใจการจัดกิจกรรมและการเรยี นรู้ 7. การพัฒนาตนเองเองในดา้ นเทคโนโลยี การใช้ ทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ระบบเทคโนโลยีในการติดตามช่วยเหลอื ผ้เู รยี น 8. ความรูค้ วามเขา้ ใจการเลือกใช้ส่ือ พัฒนาสื่อ เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรู้ 9. ความรูค้ วามเขา้ ใจระบบดูแลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น 10. ความรคู้ วามเข้าใจการใช้เทคโนโลยีเพอ่ื พฒั นา ตนเอง ผเู้ รียน และเพื่อการสื่อสาร รายงานการพัฒนาตนเอง โครงการอบรมพัฒนาตามหลกั สตู ร การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอยา่ งเข้ม 22


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook