Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore book2

book2

Published by jariyantckk, 2018-05-04 02:43:56

Description: book2

Search

Read the Text Version

กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งาน (ไฟฟา) ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่อง ความปลอดภัยเกย่ี วกบั ไฟฟา อาศัยอาํ นาจตามความในขอ 2 (7) แหงประกาศของคณะปฏิวตั ิ ฉบบั ท่ี 103 ลงวนั ท่ี 16 มนี าคมพุทธศักราช 2515 กระทรวงมหาดไทยจึงกําหนดสวัสดิการเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยสาํ หรับลูกจางไว ดังตอไปนี้ ความท่วั ไป ขอ 1 ในประกาศนี้ “ฉนวน” หมายความวา ฉนวนไฟฟา คือ วสั ดทุ ม่ี ีคณุ สมบตั ิในการก้ัน หรือขดั ขวางตอ การไหลของกระแสไฟฟา หรอื วสั ดทุ ก่ี ระแสไฟฟาไมส ามารถไหลผา นไดงา ย เชน ยางไฟเบอร พลาสติก ฯลฯ “แรงดนั ” หมายความวา แรงดนั ไฟฟา คือ คาความตางศกั ยข องไฟฟา ระหวา งสายกบั สาย หรอื สายกับดินหรือระหวา งจุดหนง่ึ กับจดุ อน่ื ๆ อีกแหง หน่ึง โดยมหี นวยวดั คา ความตา งศกั ยเปน โวลท “กระแส” หมายความวา กระแสไฟฟา คือ อัตราการไหลของอิเลก็ ตรอนในวงจรไฟฟา จากจุดหน่ึงไปยังอกีจดุ หนึง่ โดยมหี นวยวดั เปนแอมแปร “เครอ่ื งกาํ เนิดไฟฟา” หมายความวา เครอ่ื งจักรท่เี ปลีย่ นแปลงพลังงานกลเปนพลังงานไฟฟา ใชใ นการผลติกระแสไฟฟา “มอเตอร” หมายความวา เคร่ืองเปล่ียนพลังงานไฟฟา เปนพลงั งานกล ใชในการขบั เคลื่อนเคร่ืองจักร หรือเครอื่ งมือกลอ่ืนๆ ทําใหเกดิ การหมุน การฉุด การดึงเพอื่ ใหเ กดิ พลงั งาน “อปุ กรณไ ฟฟา” หมายความวา เครือ่ งมอื เครื่องใช หรือเครื่องจกั รทใ่ี ชไ ฟฟาเปน ตนกําลัง หรอื เปนสว นประกอบ หรือใชเ ก่ยี วเน่ืองกับไฟฟา “ขดลวดจาํ กดั กระแส (Reactor)” หมายความวา อปุ กรณท ่ใี ชสําหรับจาํ กัดกระแสไฟฟา “เครอ่ื งปรับแรงดนั (Regulator)” หมายความวา อุปกรณที่ใชส าํ หรับปรบั แรงดันไฟฟา “หมอแปลง” หมายความวา อุปกรณท่ีใชเปลี่ยนแรงดันไฟฟาสูงขึ้นหรือตํ่าลงโดยการเหน่ียวนําของแมเหล็ก “หมอ แปลงเครอื่ งวัด (Instrument Transformer)” หมายความวา อุปกรณทใี่ ชส ําหรบั แปลงกระแส หรือแรงดัน เพ่ือใชกบั เครอื่ งมือและอปุ กรณควบคมุ เครื่องปองกันระบบไฟฟา “สวติ ชห รือเครอ่ื งตัดกระแส” หมายความวา เคร่อื งปดเปด วงจรไฟฟา และอุปกรณไฟฟา ทใี่ ชทาํ หนาท่ีตัดวงจรไฟฟา อาจจะทาํ งานโดยอาศยั อาํ นาจแมเหลก็ หรอื ทาํ งานโดยใชมอื สับโยกก็ได ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา เลม 96 ตอนที่ 84 วนั ที่ 21 พฤษภาคม 2522

กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งาน (ไฟฟา ) “แผงสวทิ ช” หมายความวา แผงทร่ี วมของสวทิ ชต างๆ มหี นา ทีร่ บั ไฟฟาจากตน กําเนิด และแจกจายไปยังสายวงจรตา งๆ “ฟว ส” หมายความวา เครอ่ื งตัดวงจรไฟฟา โดยอาศัยการหลอมละลายของโลหะ “สายเคเบลิ ” หมายความวา สายตวั นาํ หุมดวยฉนวน สายเดียวหรอื หลายสายรวมกนั และอาจจะมีส่งิ อื่นหอหุมอยอู กี ชัน้ หนึง่ เพือ่ ความแขง็ แรงทนทานดว ยกไ็ ด “สายออ น” หมายความวา สายเคเบิลออ น ท่ีตัวนํามีพืน้ ทหี่ นาตดั ไมเกนิ 4 ตารางมลิ ลิเมตร “สายดนิ ” หมายความวา ตวั นําท่ีตอจากโครงโลหะของอปุ กรณแ ละเครอ่ื งใชไฟฟา หรือส่ิงที่เกยี่ วขอ ง เพอื่จะนาํ กระแสไฟฟา ทไี่ มต อ งการใหไ หลลงสูดิน “สายศนู ย (Neutral)” หมายความวา สายใดสายหน่งึ ในระบบไฟฟาสามสายหรอื ส่สี ายซง่ึ แรงดนั ไฟฟาระหวา งสายน้ันไปยงั สายอยา งนอ ยอกี 2 สายตอ งเทา กันและสายน้ันตอ งตอ ลงดินสาํ หรบั ระบบไฟฟา 2 สาย ถาสายใดสายหนง่ึ ไมไ ดตอมาจากสายศนู ยข องวงจรอ่นื แลว ใหก ําหนดเอาสายน้นั เปนสายศูนยไ ด และสายน้นั ตอ งตอลงดนิ ดวย “สายลอ ฟา ” หมายความวา อุปกรณท ่ีตดิ ตงั้ ข้ึนเพอ่ื วัตถปุ ระสงคในการปอ งกนั อันตรายทอ่ี าจเกิดขึ้นจากฟา ผา ซึง่ จะตองประกอบดวยหลักลอฟา สายนําประจุ ตวั จับยดึ สายนําประจุและหลกั ดนิ “สายนําประจุ (Conductor)” หมายความวา สายตวั นําทีต่ ิดต้งั ไวเ พอื่ นําประจุไฟฟาระหวา งหลกั ลอฟากับดิน “หลกั ลอ ฟา (Air Terminal)” หมายความวา หลกั โลหะติดตงั้ ท่สี วนบนของโครงอาคารหรอื สิง่ กอ สรางและมโี ลหะปลายแหลมเพอื่ คายประจไุ ฟฟา หรอื หลักอยางอนื่ ทีม่ วี ตั ถุประสงคอ ยา งเดียวกัน “หลกั ดนิ (Ground Rod)” หมายความวา แทง โลหะซึง่ ปกลงไปในดนิ เพอื่ จะนาํ ประจุหรือกระแสไฟฟาใหไหลลงสดู นิ “นายจาง” หมายความวา ผูซ่ึงตกลงรบั ลูกจา งเขา ทาํ งานโดยจา ยคาจา งให และหมายความรวมถึงผูซงึ่ไดร บั มอบหมายใหท ํางานแทนนายจา ง ในกรณีทีน่ ายจา งเปนนิตบิ ุคคล หมายความวา ผมู ีอํานาจกระทําการแทนนติ บิ คุ คลน้ัน และหมายความรวมถึง ผซู ่งึ ไดรับมอบหมายใหท ํางานแทนผมู อี าํ นาจกระทาํ การแทนนติ ิบุคคล “ลกู จาง” หมายความวา ผซู ง่ึ ตกลงทาํ งานใหแกนายจา งเพ่ือรับคา จางไมว าจะเปน ผูรบั คาจา งดว ยตนเองหรอื ไมก ็ตามและหมายความรวมถึงลกู จา งประจําและลูกจางชั่วคราวแตไมรวมถึงลกู จา งซง่ึ ทํางานเกี่ยวกบั งานบาน “ลกู จางประจาํ ” หมายความวา ลกู จางซึ่งนายจา งตกลงจา งไวเปน การประจํา “ลกู จา งช่วั คราว” หมายความวา ลูกจางซง่ึ นายจา งตกลงจางไวไ มเ ปนการประจาํ เพ่ือทํางานอนั มีลักษณะเปน ครง้ั คราว เปนการจร หรือเปน ไปตามฤดูกาล หมวด 1 ขอ กาํ หนดทัว่ ไป ขอ 2 นายจางตองจัดทาํ แผนผังวงจรไฟฟาท้ังหมดภายในสถานทีป่ ระกอบการ และไดร บั การรบั รองจากการไฟฟา ประจําทองถน่ิ ไวใหตรวจสอบไดตลอดเวลา หากมีการแกไขเพ่มิ เตมิ หรือเปล่ยี นแปลงใหผิดไปจากเดิมตองดําเนินการแกไขแผนผังน้นั ใหถูกตอ ง ขอ 3 นายจา งจะตองจัดใหม ีการตรวจสอบสภาพของสายไฟฟาและสภาพของอปุ กรณไฟฟา ถา หากพบวาชาํ รดุ หรอื มีกระแสไฟฟา ร่วั ใหซอ มแซมหรือเปล่ียนใหมท ันที

กฎหมายความปลอดภยั ในการทํางาน (ไฟฟา) ขอ 4 ใหนายจางจัดใหมีปายเตือนอันตรายติดตั้งในบริเวณที่จะเกิดอันตรายจากไฟฟาใหเห็นไดอยางชัดเจน ขอ 5 หา มมใิ หน ายจางใหลูกจา งเขา ใกล หรือนําสง่ิ ทเ่ี ปนตวั นําซงึ่ ไมมที ีถ่ อื เปนฉนวนอยา งดีหุม อยเู ขา ใกลสง่ิ ทม่ี ไี ฟฟา นอ ยกวา ระยะหา งที่กําหนดไวใ นตารางที่ 1 ยกเวน (1) ลกู จา งผนู ั้นสวมใสเครื่องปองกันอนั ตรายจากไฟฟาซึง่ เปน ฉนวนทใี่ ชตานทานแรงดันไดสูงพอกับสว นทีเ่ ปน ไฟฟาน้ัน หรือ (2) ไดป ด หรอื นําฉนวนมาหุมสง่ิ ทีม่ ีไฟฟา โดยฉนวนทีใ่ ชห มุ น้ันปอ งกันแรงดันไฟฟา น้ันๆ ได หรือ (3) ลกู จา งทปี่ ฏบิ ตั ิงานกบั สิ่งทีม่ ีไฟฟา ดวยเทคนิคการปฏบิ ตั งิ านดว ยมือเปลา และอยภู ายใตก ารควบคมุจากผูท่ไี ดร บั ใบอนญุ าตเปนผปู ระกอบวชิ าชพี วศิ วกรรม (แขนงไฟฟากําลัง) จาก ก.ว.ตารางท่ี 1 ระยะหา งตํา่ สุดในการปฏิบัตงิ านและการใชฮ อทสติก (Hot Stick) สาํ หรบั ไฟฟา กระแสสลบัระดับแรงดันไฟฟาจากสายถึงสาย ระยะหาง (กิโลโวลท) (เมตร) 2.1 ถงึ 15 0.6515.1 ถึง 35 0.7535.1 ถึง 46 0.8046.1 ถงึ 72.5 0.9572.6 ถงึ 121 1.05138 ถงึ 145 1.10161 ถงึ 169 1.15230 ถงึ 242 1.55345 ถงึ 362 2.15500 ถงึ 552 3.35700 ถงึ 765 4.60 ขอ 6 ในกรณีทม่ี กี ารปฏิบตั ิงานตรวจสอบ ซอ มแซม ตดิ ต้งั ไฟฟา นายจางตอ งผูกปายหามสับสวิทชพน้ื สีแดงไวทสี่ วิทช หรอื ใชกุญแจปองกนั การสบั สวิทชไ ว ขอ 7 ในกรณีใชล มท่มี ีกาํ ลังดนั สงู ทาํ ความสะอาดอปุ กรณที่มีไฟฟาอยู ตอ งใชทอ และหวั ฉีดท่เี ปน ฉนวน ขอ 8 ไฟฉายทน่ี ายจางจดั ใหลกู จางทีท่ าํ งานเกยี่ วกบั ไฟฟา ตองเปน ไฟฉายชนิดทกี่ ระบอกไฟฉายมฉี นวนหมุ ตลอด

กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งาน (ไฟฟา) ขอ 9 หา มมใิ หล กู จางสวมใสเครือ่ งนงุ หม ทเี่ ปยกนํ้าหรอื เปนสอ่ื ไฟฟาปฏบิ ัติงานขณะมไี ฟฟา (Hot Line)ยกเวน เมื่อแรงดนั ไฟฟาตํ่ากวา 50 โวลท หรอื สวมใสอปุ กรณค มุ ครองความปลอดภัยสว นบุคคล หรือใชเ ครื่องมือทเ่ี ปนฉนวน ขอ 10 เทปสาํ หรับวัดท่ีนายจา งจดั ใหลกู จางใชป ฏบิ ตั ิงานใกลกับสิง่ ท่ีมไี ฟฟา ตองเปน เทปชนดิ ทีไ่ มเ ปนโลหะ ขอ 11 มาตรฐานและขอกําหนดที่กาํ หนดข้ึนในหมวด 2 ถงึ หมวด 4 มผี ลบังคบั ใชภ ายในบริเวณสถานที่ประกอบการทีใ่ ชไฟฟา เปน ตน กาํ ลงั และมีแรงดันไฟฟาไมเ กิน 600 โวลท หมวด 2 สายไฟฟา ขอ 12 สายไฟฟา ชนดิ เปลอื ย ตอ งเปน สายทองแดงหรอื สายอลูมเิ นยี ม และมคี ณุ สมบตั ิตามมาตรฐานผลิตภณั ฑอุตสาหกรรม ท่ี มอก.64-2517 และ มอก.85-2517 ขอ 13 สายไฟฟาทใ่ี ชใ นอาคาร จะตองเปนสายท่มี ฉี นวนหุมและมีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภณั ฑอตุ สาหกรรม ที่ มอก.11-2518 หามใชส ายเปลือย ยกเวนสายสง กําลงั สาํ หรับเครน (Crane) ขอ 14 สายไฟฟา ที่เดนิ สายใตดนิ ตอ งใชส ายไฟฟาชนิดทม่ี ีฉนวนหมุ สองชั้นและมีเปลือกนอกกันความชนื้ไดไ มผกุ รอนงาย ขอ 15 สายไฟฟา ชนิดมีฉนวนหุมชนั้ เดยี ว ใหใ ชเดินเฉพาะบนลูกถวย บนตมุ พกุ ประกับ หรอื รอ ยในทอเทาน้ัน ขอ 16 ในสายไฟฟาชนดิ ออ นที่มฉี นวนหุม เปนเทอรโ มพลาสตกิ หรือวตั ถุอยา งอ่ืนทมี่ ีคุณสมบัตไิ มน อ ยกวาเทอรโ มพลาสตกิ ใหใชก ับอุปกรณทีย่ กยา ยเคลอ่ื นที่ไดแ ละโคมแขวน ขอ 17 ในสายเมนภายในและสายท่เี ดนิ สําหรบั เตา เสยี บ จะตองมีพื้นทห่ี นา ตัดของตวั นําไมนอยกวา 2ตารางมลิ ลิเมตร ขอ 18 ในสายไฟฟา ท่ีใชใ นสถานทปี่ ระกอบการ ตอ งใชสายไฟฟา ขนาดใหเ หมาะกับกระแสไฟฟา สูงสดุ ท่ีกาํ หนดไวต ามตารางท่ี 2, 3 และ 4 ขอ 19 การเดนิ สายทก่ี าํ หนดในตารางท่ี 2 เฉพาะการเดินสายในทอ ในผนัง ในรางเมือ่ เดินสายมากกวา 3เสน จะตองลดกระแสภายในสายลง โดยใชตวั คณู ตามตาราง 3

กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งาน (ไฟฟา )ตารางท่ี 2 จาํ นวนกระแสสูงสุดที่ยอมใหใชก บั สายไฟฟา ชนิดตางๆ ท่ีเดนิ สายในบริเวณทีอ่ ณุ หภูมิ ไมเกิน 40 องศาเซลเซยี ส ขนาดพ้นื ทีห่ นา ตดั กระแสสูงสดุ สําหรับสายหุม กระแสสูงสุดสําหรับสายหมุ เดนิ ในทอ (ตารางมลิ ลิเมตร) เดนิ ในอากาศ ในเพดาน ในผนัง ในราง หรือสาย (แอมแปร) หลายแกน และใชส ายไมเ กิน 3 เสนสายทองแดง สายอลูมิเนยี ม (แอมแปร) 0.5 - 1- สายทใ่ี ชงานได อุณหภมู ิสูงสุด……….องศาเซลเซียส 1.5 - 2.5 - 60° ซ 75° ซ 60° ซ 75° ซ 4- 6- 774 4 10 16 6 16 25 10 10 6 8 25 35 15 35 50 13 13 8 21 50 70 30 70 95 18 19 14 45 95 120 63 120 150 24 27 19 84 150 185 104 185 240 35 4 27 129 240 300 159 300 400 53 66 37 190 400 500 220 500 625 72 94 49 228 260 96 122 63 292 336 120 152 78 392 436 152 194 94 191 241 122 233 295 147 270 304 170 300 356 192 - 430 - - 478 - - 552 - - 652 - - 748 - ขอ 20 การเดนิ สายในบริเวณทม่ี ีอุณหภูมิสงู กวา 40 องศาเซลเซยี ส กระแสสูงสุดท่กี ําหนดในตารางที่ 2จะตอ งลดกระแสภายในสายลง โดยใชต วั คณู ลดกระแสตามตาราง 4

ตารางที่ 3 คาตัวคณู ลดกระแสเก่ยี วกับจาํ นวนสาย กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งาน (ไฟฟา ) จาํ นวนสายเปน เสน หรอื แกน 4 ถงึ 6 ตวั คณู 7 ถึง 24 0.80 25 ถงึ 42 0.70 0.60 43 และมากกวา 0.50ตารางท่ี 4 คาตวั คูณลดกระแสเกยี่ วกบั อุณหภูมิอุณหภมู ิบรเิ วณเดินสาย ตัวคูณสําหรบั สายซึ่งทนอุณหภูมิใชง านสูงสุด (องศาเซลเซยี ส) 45 60 องศาเซลเซยี ส 75 องศาเซลเซียส 50 55 0.866 0.932 60 70 0.707 0.850 75 0.5 0.761 - 0.659 - 0.398 -- ขอ 21 สายไฟฟา ท่ีใชเดนิ ในสถานท่ีประกอบการท่ีมีอณุ หภมู สิ ูงกวา 40 องศาเซลเซยี สจะตองใชส ายทีท่ นอณุ หภูมใิ ชงานสูงสดุ ดงั นี้ (1) บรเิ วณเดนิ สายอณุ หภมู ิไมเกิน 50 องศาเซลเซยี ส ใหใชสายทที่ นอุณหภมู ใิ ชงานสูงสดุ ไมต า่ํ กวา 60องศาเซลเซยี ส (2) บรเิ วณเดนิ สายอุณหภมู ไิ มเกนิ 60 องศาเซลเซียส ใหใชสายที่ทนอุณหภมู ใิ ชง านสูงสุดไมตา่ํ กวา 75องศาเซลเซยี ส (3) บรเิ วณเดนิ สายอณุ หภมู ไิ มเ กนิ 75 องศาเซลเซยี ส ใหใ ชส ายทท่ี นอุณหภูมิใชง านสูงสุดไมต่ํากวา 85องศาเซลเซียส ขอ 22 สายไฟฟา ท่ีใชกบั เครือ่ งทาํ ความรอนชนดิ ตา งๆ ตอ งเปนสายที่มีฉนวนหมุ ชนิดทนความรอ นได หมวด 3 การเดนิ สายและเคร่อื งประกอบการเดนิ สาย ขอ 23 การเดนิ สายและเครอื่ งประกอบที่กาํ หนดในหมวดน้ี ไมใ หใชในสถานทซ่ี งึ่ อาจจะเกดิ อันตรายเนือ่ งจากวัตถุไวไฟ หรอื ในสถานท่ีท่ีอาจเกดิ อันตรายจากการระเบดิ ไดง า ย ขอ 24 การเดินสายภายในอาคาร (1) การเดินสายเกาะไปตามผนงั โดยใช พุกประกับ ตมุ ลูกถวย หรอื เข็มขดั รดั สาย พกุ ประกับ ตุม หรือลูกถว ยตองเปน ชนิดทสี่ ามารถทนแรงดนั ไฟฟาท่ใี ชว งจรน้นั ได และใหปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑ ดงั ตอ ไปน้ี ก. การเดนิ สายบนพกุ ประกับ

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ไฟฟา ) 1. สายไฟฟาท่ีใชตอ งมพี น้ื ทห่ี นาตัดของตวั นาํ ไมเกิน 6 ตารางมิลลิเมตร 2. ระยะระหวา งชว งพกุ ประกับไมเ กนิ 1 เมตร 50 เซนตเิ มตร 3. ระยะระหวางสายไฟฟาไมตํา่ กวา 2 เซนตเิ มตร 5 มิลลเิ มตร 4. ระยะระหวา งสายไฟฟา กบั สง่ิ กอสรางไมตํ่ากวา 5 มิลลิเมตร ข. การเดินสายบนตุม 1. สายไฟฟาที่ใชต อ งมีพ้ืนท่หี นาตดั ของตัวนําไมเกิน 70 ตารางมลิ ลิเมตร 2. ระยะระหวางตุม ไมเ กิน 2 เมตร 50 เซนติเมตร 3. ระยะระหวางสายไฟฟาไมต่ํากวา 10 เซนติเมตร 4. ระยะระหวางสายไฟฟา กบั ส่ิงกอ สรา งไมต า่ํ กวา 2 เซน็ ติเมตร 5 มลิ ลิเมตร ค. การเดนิ สายบนลูกถวย 1. ระยะระหวางชวงลูกถว ยไมเ กิน 5 เมตร 2. ระยะระหวางสายไฟฟา ไมตา่ํ กวา 15 เซนตเิ มตร 3. ระยะระหวา งสายไฟฟา กบั สงิ่ กอสรางไมต่ํากวา 5 เซนตเิ มตร ง. การเดินสายโดยใชเ ข็มขัดรัดสาย ตองใชสายไฟฟา ทีม่ ีฉนวนหมุ สองชน้ั และยึดดวยเขม็ ขัดรัดสายใหม ั่นคงโดยมีระยะระหวางเขม็ ขดั รัดสายไมเ กนิ 20 เซนตเิ มตร (2) การเดนิ สายฝง ในผนังตึก ตอ งใชส ายไฟฟาชนิดฉนวนหมุ สองชน้ั ทมี่ ีเปลือกนอกกนั ความชนื้ และตอ งเปนแบบใชฝง ในผนัง (3) การเดนิ สายในทอโลหะอยา งหนา (Rigid Metal Conduit) ตอ งปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑดังตอไปนี้ ก. ใหใ ชท อและสวนประกอบ ตองเปน ชนดิ ใชสาํ หรับเดินสายไฟฟาโดยเฉพาะ ซ่งึ มีผวิ ภายในเรียบและผลิตจากโลหะท่ีไมผ กุ รอนไดงา ย หรอื มกี ารปองกันการผุกรอ นทเี่ หมาะสม ข. หามใชท อ ท่มี ขี นาดเสน ผา ศูนยก ลางเลก็ กวา 1.27 เซนตเิ มตร ค. การวางทอ ฝงในดิน ในคอนกรตี ในท่ีเปยก หรือในท่ีมีเถาถา น ตองใชทอ กลอ ง ตู ขอ ตอ หัวตอ เครอ่ื งจับยึด นอต สกรู แหวน และสวนประกอบตางๆ ชนดิ ทมี่ ีการปอ งกนั การผุกรอ นอยา งเหมาะสม หรือทําดวยวัสดุทไี่ มผ ุกรอ นไดงายในสภาพเชนน้นั และกันนา้ํ ได ง. ปลายทอ ทกุ แหง ทีม่ ีการตัดและทาํ เกลียว ตองลบคมภายใน จ. ทุกแหงท่ีมี สวิตซ เตาเสยี บ จดุ ตอ สายออก จดุ ดึงสายรอ ยทอ และการตอสาย ตองใชก ลองทม่ี ีขนาดและชนดิ ท่ีเหมาะสม ฉ. ทอ ขอตอ หวั ตอ กลอ ง ตู และสว นประกอบตางๆ ตอ งตอ ตดิ กันโดยใหก ระแสไฟฟา ไหลผานไดตลอด และยึดอยกู ับทีอ่ ยา งมน่ั คง พรอมทั้งมกี ารตอลงดินตามหมวด 6 ช. สายไฟฟาภายในทอตองเปนเสนเดยี วตลอดไมม รี อยตอ การตอ สายตองทาํ ในตู กลองตอ สายกลอ งตอสวติ ซ กลอ งเตา เสียบ หรอื ในรางตอ สายทเ่ี หมาะสม (4) การเดินสายในทอโลหะอยางบาง (Electrical Metallic Tubing) หามเดนิ ทอ โลหะอยางบางในบริเวณทท่ี อ อาจไดร บั การกระทบกระแทกได เชน บริเวณขนถา ยสนิ คา บริเวณท่ยี านพาหนะผาน ขอ ตอและหวั ตอชนดิ ที่ไมม เี กลียว เมอ่ื สวมกบั ทอตอ งกระชับแนน และหามใชท อขนาดเลก็ กวา 1.27 เซนตเิ มตร หรอื ใหญกวา 10เซนตเิ มตร นอกจากน้แี ลว ใหป ฏิบัตติ ามกฎเกณฑก ารเดินสายในทอ โลหะอยา งหนาตาม (3) (5) การเดินสายในทอ โลหะชนิดออ นตัว (Flexible Metal Conduit) ตอ งปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ ดงั ตอไปนี้

กฎหมายความปลอดภยั ในการทํางาน (ไฟฟา) ก. ใหใชทอ-และสวนประกอบชนิดทใี่ ชส ําหรับเดินสายไฟฟาโดยเฉพาะ ซึ่งมีผวิ ภายในเรียบ และผลติ จากโลหะทไ่ี มผุกรอ นไดง าย หรอื มกี ารปองกันการผุกรอ นท่ีเหมาะสม ข. หา มใชทอทีม่ ีขนาดเสนผา ศูนยก ลางเล็กกวา 1.27 เซนติเมตร เวนแตท อที่ใชส าํ หรบั รอยสายออ นทม่ี พี น้ื ทหี่ นา ตัดของตัวนําไมเกิน 6 ตารางมลิ ลเิ มตร ยาวไมเ กนิ 2 เมตร ในกรณที ่ใี ชตอเขา กบั อุปกรณไฟฟา หรอืทอ ทเ่ี ปนสว นประกอบของดวงโคมอาจใชท อ ขนาดเสน ผาศูนยก ลาง ไมเลก็ กวา 0.95 เซนตเิ มตรได ค. หามเดนิ ทอ ในบรเิ วณที่ทอ อาจถูกกระทบกระแทกไดงาย ในดนิ หรือท่ีพ้ืน หรือในบริเวณทีเ่ ปยกชน้ื หรอื ภายในหอ งแบตเตอร่ี หรือหอ งที่มีไอของกรดหรอื ดาง (6) การเดินสายในทอ โลหะชนิดออนตวั ไดแบบกนั น้ํา (Liquidtight Flexible Metal Conduit) ตองปฏิบัติตามกฎเกณฑ ดังตอ ไปนี้ ก. ใหใ ชท อ และสวนประกอบ ชนดิ ท่ีใชส าํ หรบั เดนิ สายไฟฟาโดยเฉพาะ มลี กั ษณะเชน เดยี วกบั ทอโลหะชนดิ ออนตวั ได แตมเี ปลือกนอกเปน อโลหะกันน้าํ และทนแสงอาทติ ยไ ด ข. หา มใชทอ ทมี่ ขี นาดเสนผา ศนู ยก ลางเล็กกวา 1.27 เซนติเมตร หรือใหญกวา 10 เซนติเมตร เวนแตท อ ทใ่ี ชส ําหรับรอ ยสายออ นทมี่ พี น้ื ท่ีหนา ตัดของตวั นําไมเ กนิ 6 ตารางมลิ ลิเมตร ยาวไมเ กิน 2 เมตร ในกรณที ี่ใชตอเขากับอุปกรณไฟฟาหรือทอท่ีเปนสวนประกอบของดวงโคมอาจใชทอขนาดเสนผาศูนยกลางไมเล็กกวา0.95 เซนติเมตรได ค. หา มเดินทอในบริเวณที่ทออาจถกู กระทบกระแทกไดงาย ในที่ซง่ึ มีอณุ หภมู ขิ องบริเวณเดนิ ทอ หรอือณุ หภมู ขิ องสายในทอ หรือท้งั สองอยา งรวมกันเกินอณุ หภูมใิ ชงานสูงสุดของสายหรือทอและในดิน หรอื ทพี่ ้นื (7) การเดนิ สายในทอ ทไี่ มใ ชโลหะ(Rigid Non-metallic Conduit) จะตองปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑด งั ตอไปนี้ ก. ใหใชทอ ทท่ี าํ ดวยวัสดุชนดิ แข็ง ติดไฟไดยาก และไมผ กุ รอ น หรือเสอื่ มสภาพไดงา ย ข. หา มใชท อ ที่มเี สน ผา ศูนยกลางเลก็ กวา 1.27 เซนตเิ มตร นอกจากจะใชร อยสายเพอ่ื ฝงในคอนกรตี ค. หา มเดนิ ทอในบรเิ วณทีท่ ออาจไดร บั การกระทบกระแทกได ง. หา มเดนิ ทอประเภทพลาสติกในท่ซี งึ่ ถกู แสงอาทติ ย นอกจากทอ นนั้ จะทาํ ดว ยพลาสติกท่สี ามารถทนตอ แสงอาทิตยไ ดโ ดยไมเ สอื่ มคณุ ภาพ หรอื มีการปองกนั ทเี่ หมาะสม จ. หา มเดินทอ พลาสติกในบรเิ วณทีม่ อี ณุ หภมู สิ งู เกนิ กวาอุณหภมู ใิ ชง านของทอ นั้น ฉ. ขอตอ และหัวตอจะเปนชนิดเกลยี วหรือชนิดสวมก็ได ถา เปน ชนดิ สวมจะตองทานา้ํ ยายดึ หวั ตอใหแนน ช.การตอ ทอ ทีไ่ มใ ชโลหะเขา กบั ทอหรอื กลองโลหะใหท ําไดแ ตกลองโลหะนนั้ จะตองมกี ารตอ ลงดินดวย ซ. การเดนิ สายทีม่ แี รงดนั ไฟฟา สูงเกิน 600 โวลทขึ้นไป ใหหุม ทอท่ีใชเดนิ สายนีด้ ว ยคอนกรตี หนาไมน อ ยกวา 5 เซนติเมตร (8) การเดินสายในรางเดินสาย (Wire Way) ตอ งปฏิบตั ติ ามกฎเกณฑ ดังตอไปนี้ ก. รางเดินสายเปนรางที่ทําดวยโลหะ มีพ้ืนทหี่ นา ตัดส่ีเหลยี่ มและเปนชนิดทใ่ี ชส ําหรบั งานเดินสายไฟฟา โดยเฉพาะ ผลิตจากโลหะท่ผี กุ รอนไดงายหรอื มีการปอ งกนั การผุกรอ นท่ีเหมาะสม ถา ใชภายนอกอาคารตอ งเปน ชนดิ กันน้ําได ข. การตอ รางเดนิ สาย ตองตอใหย ดึ กันเองอยางมน่ั คง และหา มติดตง้ั รางเดินสายในบรเิ วณท่ีอาจมีการกระทบกระแทกไดโดยงาย

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ไฟฟา ) ค. หา มวางสายในรางเดนิ สายเกินกวา 30 เสน ไมว าจะเปนขนาดเทาใด และผลรวมของพ้ืนทีห่ นา ตดัของสายรวมเปลอื กนอก ตอ งไมเกินรอ ยละ 20 ของพนื้ ท่ีหนาตดั ภายในของรางเดนิ สายเวนแต - สายของระบบลฟิ ท ผลรวมของพื้นทีห่ นา ตดั ของสายรวมเปลอื กนอกตอ งไมเกนิ รอยละ 50 ของพน้ื ที่หนา ตัดภายในของรางเดินสาย - ถา ใชต วั คูณลดกระแสตามตารางท่ี 3 ในการกําหนดกระแสสูงสดุ ของสายใหวางสายเกนิ 30 เสนได แตพ้ืนท่หี นาตัดของสายรวมเปลือกนอก ตองไมเกินรอยละ 20 ของพ้ืนท่ีหนาตัดภายในของรางเดินสาย ง. การตอ สายภายในรางเดนิ สายสามารถทําได แตต องใชห ัวตอ สายและพันฉนวนทับใหเ รียบรอ ย พืน้ทห่ี นา ตดั ของหัวตอ รวมฉนวนตอ งไมเ กินรอ ยละ 75 ของพื้นที่หนาตัดภายในของรางเดินสาย ณ จดุ นนั้ จ. รางเดนิ สายชว งท่ที ะลุผา นผนังตอ งเปนชน้ิ เดยี วตลอด และปลายสุดของรางเดนิ สายตอ งมแี ผน ปด ขอ 25 การเดนิ สายนอกอาคาร ณ สถานประกอบการตอ งจัดทําใหเ หมาะสมตามวิธีการดังตอ ไปนี้ (1) การเดนิ สายบนตุม ใหใ ชส ายเดียวหมุ ฉนวน ตอ งปฏิบตั เิ ชน เดียวกบั ขอ 24 (1) ข. เวนแตถ า เดินผา นทโ่ี ลง ใหใ ชชวงระหวา งตมุ ไมเกนิ 5 เมตร และขนาดของสายที่ใชเดนิ ตอ งไมเ ล็กกวา 2 ตารางมลิ ลิเมตร (2) การเดนิ สายบนลูกถว ย ใหใ ชส ายเด่ยี วหุมฉนวน ถา เดนิ เกาะไปตามส่งิ กอสรา งตอ งปฏบิ ัตเิ ชน เดียวกับขอ 24 (1) ค. เวนแตถา เดินผานท่โี ลง ปฏบิ ัติตามตารางท่ี 5 ดงั นี้ ตารางที่ 5 ชว งสาย ระยะระหวา งสาย ระยะระหวางสาย ขนาดพืน้ ทห่ี นา ตดั ไฟฟาไมนอ ยกวา ไฟฟากบั ส่ิงกอสรา ง เลก็ ทสี่ ุดที่ใชไมเ กิน 10 เมตร 15 เซนตเิ มตร10 - 25 เมตร 20 เซนตเิ มตร 5 เซนตเิ มตร 2 ตารางมลิ ลิเมตร26 - 40 เมตร 30 เซนติเมตร 5 เซนตเิ มตร 4 ตารางมลิ ลิเมตร 5 เซนตเิ มตร 6 ตารางมลิ ลิเมตร (3) การเดินสายดว ยพุกประกบั และเขม็ ขัดรัดสาย ใหปฏบิ ตั เิ ชนเดียวกบั ขอ 24 (1) ก. และ ง. (4) การเดนิ สายฝงลงไปในผนังตกึ ใหปฏิบัตเิ ชนเดียวกับขอ 24 (2), (3) และ (4) (5) การเดนิ สายภายนอกอาคารดวยวธิ อี น่ื ๆ อาจทาํ ได แตต อ งไดร บั การรบั รองจากการไฟฟา ของทองถ่ินนั้นๆ (6) สายทเ่ี ดนิ ในระดบั ทสี่ ูงกวาพน้ื ดนิ ไมเกนิ 2 เมตร 50 เซนติเมตร ตองเดินในทอโลหะหรือทอ พลาสตกิอยางหนา หรือทอไฟเบอร หรอื ครอบดว ยรางโลหะ (7)สายไฟฟา ท่เี ดินผานท่โี ลงและเปน บริเวณทม่ี ียานพาหนะผานตองสงู ไมนอยกวา 5 เมตร 60 เซนติเมตร ขอ 26 การเดนิ สายฝงดนิ อาจรอยในทอ โดยปฏิบัตติ ามขอ 24 (3), (4) และ (7) สว นการเดนิ สายฝง ดนิโดยตรง ตองใชสายชนิดท่ีมีฉนวนหุมอยางนอยสองชั้น และฉนวนช้ันนอกตองเปนเทอรโมพลาสติกหรือตะกว่ัโดยตอ งฝงใหล ึกไมน อ ยกวา 50 เซนติเมตร และใชท รายกลบแลววางแผน คอนกรตี หรอื แผนอฐิ ทบั ตลอดสายกอ นใชด นิ กลบ ตอนที่สายโผลจากพน้ื ดนิ จะตองปองกันโดยการรอยผา นทอ โลหะหรอื วธิ ีอนื่ ทเ่ี หมาะสม ขอ 27 การเดินสายขนาดตางๆ ไมเทา กนั อาจเดินรวมกันในทอ เดยี วกันไดใ นกรณตี อไปนี้ (1) ขนาดพืน้ ท่ีหนาตัดของตวั นําของสายไฟฟา รวมกันไมเกนิ รอยละ 10 ของขนาดพืน้ ท่ีหนา ตัดของทอ

กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งาน (ไฟฟา) (2) พนื้ ทหี่ นา ตัดของสายไฟฟา ซง่ึ รวมฉนวนและเปลือกนอกรวมกนั ไมเกินรอยละ 30 ของพน้ื ทหี่ นา ตดัของทอ ขอ 28 การเดนิ สายในทอโลหะที่เปน สารแมเหล็ก ถา เปนไฟฟาระบบชนดิ 3 ยก (Three Phases) ใหเดินรวมไปในทอ เดยี วกนั หามเดินแยก ขอ 29 การเดนิ สายในทอ โลหะทเี่ ปนสารแมเ หลก็ ตองจดั ใหเ สนแรงแมเ หล็ก (Electromagnetic Flux) ท่ีเกดิ ข้นึ จากการไหลของกระแสในทอ น้นั สมดลุ ยกนั ขอ 30 การโคงทอ เดินสาย ตองไมทําใหเสน ผาศูนยกลางของทอตรงสว นทโ่ี คงเล็กลง รศั มคี วามโคง ดา นในของทอ ทใ่ี ชร อยสายชนิดท่ีมปี ลอกตะกัว่ จะตองไมนอ ยกวา 10 เทาของเสน ผา ศนู ยกลางของทอ เวนแตท อ ทีม่ เี สนผาศนู ยกลาง 1.27 เซนติเมตร รศั มคี วามโคง ตอ งไมนอ ยกวา 12 เทา สําหรบั สายทม่ี ปี ลอกตะกั่วหมุ ขอ 31ในกรณีท่เี ดนิ สายผานทะลสุ ง่ิ กอสรา ง เชน ผนงั ตึก หรือฝาสังกะสี จะตอ งมปี ลอกฉนวนปองกันสาย ขอ 32 ความตา นทานของฉนวนทว่ี ัดระหวางสายกบั สาย และสายกบั ดินตองเปนดงั น้ี (1) การวัดความตานทานของฉนวนของสายไฟฟาในขณะท่ีสบั สวิตชและตอ ฟว สไว เมอ่ื ถอดหลอดไฟฟาและเครื่องใชไ ฟฟา ออกทงั้ หมด ตองวดั ไดไ มต าํ่ กวา 0.5 เมกโอหม (2) การตดิ ตงั้ สายไฟฟาท้งั หมดหรือวงจรยอย ตองใหม ีความตา นทานไมต าํ่ กวา 0.5 เมกะโอหม มิฉะนนั้จะตองแบงวงจรยอ ยเพิม่ ขน้ึ อีกจนกระทั่งมคี วามตานทานของแตละวงจรยอ ยไมต า่ํ กวา 0.5 เมกโอหม (3) การวัดคา ความตา นทานของฉนวน ใหก ระทาํ โดยใชแ รงดนั ไฟฟากระแสตรงไมต่ํากวา500 โวลท เปนเวลาตอเนอื่ งกนั ไมน อ ยกวา 30 วินาที หมวด 4 ระบบการปองกนั กระแสไฟฟา เกนิ ขนาด ขอ 33 การเดินสายไฟฟา ในสถานทีป่ ระกอบการ จะตอ งมีเครอ่ื งตัดกระแสติดต้ังไว ณ ทด่ี งั ตอไปนี้ (1) ระหวา งเครื่องวดั ไฟฟา กบั สายภายในสถานที่ประกอบการ ในกรณีทม่ี ีมากกวา หน่ึงอาคารขึ้นไปจะตอ งตดิ ต้งั ไวร ะหวางสายภายนอกอาคารกับสายภายในอาคารดว ย (2) จดุ ทม่ี กี ารเปล่ยี นขนาดสาย ยกเวน กรณีที่ ก. เมื่อขนาดของเครื่องตัดกระแสไฟเกินขนาดตนทาง สามารถตัดกระแสไฟฟาสูงสุดที่ยอมใหใชสาํ หรับสายตอ แยกนัน้ ข. สายที่ตอลงเครอื่ งตัดกระแสชนิดอัตโนมัติซงึ่ มีความยาวไมเกิน 3 เมตร ค. สายทต่ี อ แยกมคี วามยาวไมเกนิ 7 เมตร 50 เซนตเิ มตร และมพี ้ืนทหี่ นาตดั ไมน อ ยกวา 1/3 ของสายเมนทจี่ ายไฟฟาใหก ับสายแยกนัน้ ขอ 34 เครอ่ื งตดั กระแสตอ งมคี ุณสมบัติ ดงั ตอ ไปนี้ (1) ตองสามารถตัดกระแสไฟฟาลดั วงจรได (Interrupting Capacity) ไมนอ ยกวา กระแสลัดวงจร ณ จดุน้ันโดยไมระเบดิ

กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งาน (ไฟฟา) (2) ตอ งตดั กระแสไฟฟา ลัดวงจรในสายขนาดเล็กทส่ี ดุ ในวงจรนั้นไดก อนทจ่ี ะรอน (3) ทาํ หนาทตี่ ัดกระแสไฟฟาเกินขนาดไดท นั ทีกอ นท่สี ายจะรอน (4) เคร่อื งตัดกระแสในระบบ 3 ยก ตอ งใชเ ครือ่ งตดั กระแสชนิดท่ีออกแบบใชเฉพาะสาํ หรบั ระบบ 3 ยกเทานน้ั และหา มตดิ ตง้ั เคร่ืองตัดกระแสในเสนศนู ย ขอ 35 เครือ่ งตดั กระแสชนิดมือโยก แบบใบมดี ตองมีคุณสมบัติ ดงั นี้ (1) ตดิ ต้งั ไวในตูเ หลก็ มีฝาปด มิดชิด และมเี คร่ืองปองกนั มใิ หฝาเปด กอนทจ่ี ะยกใบมดี (2) ตดิ ตงั้ ในลักษณะทีใ่ บมดี ไมสามรถสบั สวิตซด ว ยตัวเองได และเม่ือยกใบมีดแลว ดานใบมีดตอ งไมมีกระแสไฟฟา ขอ 36 เม่ือใชอุปกรณไฟฟาท้ังหมดพรอมกัน ในวงจรแตละวงจรจะตองมีกระแสไฟฟาไมเกินขนาดของกระแสไฟฟา สูงสดุ ท่ียอมใหใชกับสายไฟฟาของวงจรนนั้ และตองไมท าํ ใหแรงดนั ไฟฟาตกเกินกวารอยละ 2ระหวางเคร่ืองวดั หนว ยไฟฟา กับสายภายในตอนใดตอนหน่งึ เมอ่ื ใชก ระแสไฟฟา เตม็ ที่ ขอ 37 การตอ สายตอ งตอ ใหแนนดวยวิธีบีบอดั หรือแบบสลกั เกลียว หรอื แบบบัดกรีหรือเช่ือม หรอื ใชอปุ กรณอน่ื ดวยวิธที ่ีถกู ตอ งเพอื่ ใหไ ดผ ลดที างไฟฟาและทางกล และตอ งใชฉนวนหุมรอยตอใหมีคณุ สมบัติเทา กับฉนวนท่ีหมุ ตวั นาํ นั้น ขณะใชงานในอณุ หภมู ขิ องรอยตอ ตอ งไมส ูงกวา อณุ หภูมิของสาย ขอ 38 การตอ สายทุกแหง ตอ งทําในที่ซงึ่ ตรวจไดส ะดวก การตอสายในรางเดนิ สาย (Wire Way) รางเดนิสายตอ งเปน แบบทเี่ ปดฝาออกตรวจได ขอ 39 การเดนิ สายบนตมุ หรือพกุ ประกบั รอยตอ แยก ตองอยูหางจากตมุ หรือพกุ ประกบั ไมเกิน 15เซนตเิ มตร ขอ 40 การเดินสายดวยบสั เวย (Bus Way) หรือบสั ดคั ท (Bus Duct) ตัวนําทใ่ี ชใ นรางจะหุมฉนวนหรอืไมก็ได แตต องมฉี นวนรองรบั การตอ สายแยกจากรางประเภทนต้ี อ งทาํ ณ จดุ ท่เี ปดไวเพ่อื การตอ โดยเฉพาะ การตอ แยกใหใ ชบสั เวย (Bus Way) ถา หากจะตอดว ยสายตองใชสายทม่ี ฉี นวนหมุ โดยรอ ยในทอ หรือใชส ายประเภททใี่ ชก บั อุปกรณไฟฟาเคลอ่ื นยา ยได แตตองมกี ารปองกันไมใ หฉ นวนหมุ สายชาํ รุดจากการเสียดสกี ับราง ขอ 41 สายเคเบิลออ น (Flexible Cable) และสายออ น (Flexible Cord) ทใ่ี ชกับอุปกรณไฟฟาชนดิเคลอ่ื นยา ยได ตอ งเปน เสน ยาวโดยตลอดไมมรี อยตอหรือรอยตอแยก ขอ 42 เตา เสยี บและกระจบุ เสยี บหลายทางหรือทางเดียว หา มใชก ระแสไฟฟาเกนิ ขนาดของสายที่ตอ แยกเขา เตา เสยี บและกระจบุ เสยี บเหลา น้นั และตัวเตา เสียบหรือกระจบุ เสียบท่ีใชต อ งมีขนาดที่สามารถทนกระแสไฟฟาไมต า่ํ กวา กระแสไฟฟา ทกี่ าํ หนดใหใชส ําหรับสายนน้ั ขอ 43 ในสถานทีป่ ระกอบการ ตองตดิ ตั้งเตา เสียบไวใหเ พยี งพอแกการใชงาน เพอื่ มิใหมกี ารตอ ไฟโดยใชวธิ ที ไี่ มปลอดภัย ขอ 44 อปุ กรณไฟฟาและสวนประกอบตองมขี นาดการใชก ระแสไฟฟา ไมเกนิ กระแสไฟฟาท่ียอมใหใช ณ

กฎหมายความปลอดภัยในการทํางาน (ไฟฟา )จดุ นั้น ขอ 45 สว นของอปุ กรณไ ฟฟา ทีใ่ ชแ รงดันตั้งแต 50 โวลทข นึ้ ไปตอ งมีที่ปดกันอนั ตราย ในกรณีท่ีสวนทีม่ ีไฟฟานัน้ ไมมีทป่ี ด ตอ งมแี ผน ยาง (Rubber Matting) ปูไวทีพ่ ้นื เพอื่ ปอ งกนั อันตรายจากการสมั ผสั โดยไมต ง้ั ใจ ขอ 46 อปุ กรณไ ฟฟา ท่ีตดิ ตง้ั หรอื นาํ ไปใชง านในบริเวณทมี่ ไี อระเหยของสารที่มีความไวไฟ หรอื บริเวณที่อาจเกดิ เพลิงไหมไ ด ตอ งใชอุปกรณชนิดท่กี นั ไอระเหยได (Explosion Proof) ขอ 47 อปุ กรณไ ฟฟาตางๆ ท่ตี ิดต้ังหรือนาํ ไปใชง านในทีม่ ลี ะอองน้ํา หรอื มีความช้นื หรอื ไอระเหยกรดตองใชอ ุปกรณช นิดทปี่ องกนั นํ้าหรือไอระเหยของกรดได ขอ 48 เครอื่ งมือไฟฟา ชนดิ ถือหรอื ชนิดเคล่ือนยา ยได ตองมีลกั ษณะ ดังน้ี (1) ตองมีสายดนิ ติดอยทู ี่ครอบโลหะของเครอ่ื งมือนั้นอยางถาวร หรือ (2) เปน แบบทม่ี ีฉนวนหมุ 2 ชนั้ และประทบั คําวา “ฉนวน 2 ชัน้ ” ดวย หรือ (3) เครอ่ื งมอื น้นั ใชไฟฟา ที่มีแรงดนั ไมเกนิ 50 โวลทซ่งึ ตอจากหมอ แปลงแบบแยกขดลวด และขดลวดทางดา นแรงตา่ํ ไมไ ดต อลงดนิ (4) ใชก บั วงจรที่ใชเครอื่ งตัดกระแสไฟฟา ร่วั โดยอัตโนมตั ิ (Ground Fault Circuit Interrupter) หมวด 5 การออกแบบตดิ ตัง้ อุปกรณไ ฟฟา ขอ 49 หมอแปลงไฟฟา หมอแปลงเครอ่ื งวดั ขดลวดจาํ กัดกระแส และเคร่ืองปรับแรงดัน เมื่อตดิ ต้ังใชงานตองตอ เปลือกหมุ ทเ่ี ปน โลหะลงดิน ขอ 50 หมอ แปลงไฟฟา (Power Transformer) ท่ีมแี รงดันสงู กวา 600 โวลทข ้ึนไป (1) ตดิ ตง้ั ภายนอกอาคาร ตอ งใหเ ปนไปตามกฎเกณฑ ดังตอ ไปน้ี ก. การตดิ ต้ังบนเสาหรือโครงสรา งท่มี ีเสา ตองปฏิบตั ดิ งั น้ี 1. เสาหรอื โครงสรางตองสามารถรบั น้ําหนักของหมอ แปลงไฟฟา ไดโดยปลอดภัย 2. ไมกีดขวางการปฏิบัตงิ านของผูปฏิบัตงิ านไฟฟา 3. ตอ งไมอ ยูในบรเิ วณทส่ี ํารองไวสําหรับการปน เสา 4. สว นท่ีมีไฟฟา ของหมอแปลงและสวนประกอบ ตอ งมีระยะหา งจากอาคารและส่งิ กอ สรา งอ่นื ๆตามระยะท่ีกาํ หนด ดังนี้ - แรงดันไมเกิน 5 กโิ ลโวลท ระยะหางตํา่ สุด 1 เมตร ถา เปนผนังปดมดิ ชดิ ระยะหางตํา่ สุด 30เซนตเิ มตร - แรงดนั เกนิ กวา 5 กโิ ลโวลท ถงึ 8.75 กิโลโวลท ระยะหา งต่ําสุด 1 เมตร - แรงดนั เกินกวา 8.75 กโิ ลโวลท ถงึ 15 กโิ ลโวลท ระยะหางตาํ่ สดุ 1 เมตร 50 เซนติเมตร - แรงดันเกนิ กวา 15 กิโลโวลท ถึง 50 กโิ ลโวลท ระยะหา งตํา่ สดุ 2 เมตร 50 เซนติเมตร 5. ถา อยใู นสถานทีไ่ มม ียานพาหนะผา น ตองสงู เหนอื พื้นไมนอ ยกวา 3 เมตร 40 เซนติเมตรถา อยใู นสถานทที่ ่ียานพาหนะผานได ตอ งสูงไมนอ ยกวา 4 เมตร ข. การติดตั้งกับกาํ แพงอาคาร ตอ งไดรับการรับรองจากการไฟฟา ในเขตนั้นกอ น

กฎหมายความปลอดภยั ในการทํางาน (ไฟฟา ) ค. การตดิ ตั้งบนพืน้ ตองปฏบิ ัติดังน้ี 1. จดั ใหมรี ั้วลอมรอบ ปอ งกันมิใหผูไ มม ีหนา ทีเ่ กยี่ วขอ งเขาไป 2. รวั้ ตองหางจากหมอแปลงไฟฟาอยา งนอย 1 เมตร และถาเปน ร้ัวโลหะตอ งตอ ลงดิน 3. ประตูรั้วตอ งเปด ออกขา งนอกได 4. จดั ใหม ีแสงสวา งในเวลากลางคืน (2) ตดิ ตัง้ ภายนอกอาคาร ตอ งใหเ ปน ไปตามกฎเกณฑ ดังตอ ไปนี้ ก. ถาเปนหมอแปลงไฟฟา ประเภทที่บรรจนุ ้ํามนั ซึ่งตดิ ไฟได ตองติดตงั้ ในหอ งท่ีมีฝาทัง้ 4 ดา น และฝาผนงั ตอ งมีระยะหา งจากหมอ แปลงไฟฟา ไมน อ ยกวา 1 เมตร และประตูตองมธี รณีเพ่อื กันนา้ํ มันท่อี าจจะรั่วออกมาหรอื จัดใหมีทางระบายนํ้ามันโดยเฉพาะ ผนงั หอ งและเพดานตองทนไฟไดนานไมน อยกวา 3 ชว่ั โมง หองหมอแปลงไฟฟา ตองมชี องระบายอากาศเพยี งพอโดยไมท ําใหอณุ หภมู ขิ องหมอแปลงไฟฟาสูงเกนิ กาํ หนด ข. หมอแปลงไฟฟาประเภทบรรจขุ องเหลวทไ่ี มต ิดไฟ ถาขนาดไมเ กนิ 25 เค.วี.เอ. ตอ งมีทอระบายความดนั (Pressure Relief Vent) หอ งหมอ แปลง ตอ งมีทางระบายอากาศเพียงพอโดยไมท าํ ใหอณุ หภมู ิของหมอแปลงสงู เกนิ กําหนด และถา การระบายอากาศไมดีพอตอ งตอทอจากทางระบายความดันออกสบู รรยากาศภายนอก ค. หมอ แปลงไฟฟาแบบแหง (Dry Type Transformer) หรือหมอ แปลงไฟฟา ประเภทบรรจขุ องเหลว ทไ่ี มต ิดไฟและขนาดตํา่ กวา 25 เค.ว.ี เอ. ตดิ ต้งั ท่ใี ดกไ็ ดแตต องมรี ้วั ลอ มรอบปอ งกนั มิใหบ คุ คลที่ไมม หี นาที่เกยี่ วขอ งเขา ไปได และตองมีระยะหา งจากหมอ แปลงไฟฟาอยางนอย 1 เมตร ขอ 51 หมอ แปลงเครอื่ งวดั (Instrument Transformer) ท่มี แี รงดันสงู กวา 600 โวลทข ้ึนไป ตอ งปฏบิ ัติตามกฎเกณฑ ดังตอ ไปน้ี (1) สายทางดานแรงดันตํ่าตอ งตอลงดนิ เวนแตส ายแรงดนั ต่ํานัน้ เปน สายหุมฉนวนชนดิ มเี ปลือกโลหะซง่ึตอลงดินและรอยอยใู นทอโลหะที่ตอลงดนิ ดว ย หรือทอชนดิ อนื่ ที่เหมาะสม (2) ถา เปน หมอ แปลงไฟฟาประเภทแปลงกระแส (Current Transformer) วงจรทางดา นแรงดนั ต่าํ ตองตอใหเ ปนวงจรปดอยเู สมอ ขอ 52 แผงสวทิ ช ตอ งมลี ักษณะและตดิ ต้งั ตามกฎเกณฑ ดงั ตอไปน้ี (1) สวติ ชทุกตวั และทุกแบบทตี่ ดิ ตั้งบนแผงสวทิ ช ตอ งสามารถตัดกระแสไฟฟา ไดตามอัตราทกี่ าํ หนดไวสาํ หรบั สวทิ ชน ั้น ถาเปนชนดิ ท่ไี มไ ดออกแบบใหทาํ งานตัดวงจรขณะมกี ระแสไฟ จะตอ งระบไุ วใหช ดั เจน (2) สวทิ ชทกุ ตัว ตองมีอัตรากระแส (Ampere Rating) สงู พอทจี่ ะใชกับกระแสสูงสดุ ทีย่ อมใหใ ชใ นวงจรท่ีสวิทชนั้นควบคุมอยู ถาเปนสวทิ ชป ระเภทอตั โนมตั ิ ตอ งมคี วามสามารถตัดกระแสไฟฟาไดไมนอยกวา กระแสไฟฟาลัดวงจรสูงสุด ณ จดุ ท่ีต้งั สวิทชน น้ั (3) สวิตชท กุ ตวั บนแผงสวทิ ช ตองเขาถงึ ไดงา ยเพ่ือความสะดวกในการปลดและสับ (4) ตอ งมีพ้ืนที่ทาํ งานเพยี งพอทจี่ ะทําการซอมแซมหรือเปลี่ยนอปุ กรณตา งๆ ได (5) แผงสวิทช ตองมตี ปู ด มดิ ชดิ และตอ งติดตัง้ หา งจากเครื่องจกั รพอที่ผปู ฏบิ ัติจะไมไ ดรับอันตรายจากเคร่ืองจักรและตองมีแสงสวางเพียงพอ ในกรณีที่ไมมีตูปดมิดชิดตองมีรั้วลอมรอบเพื่อปองกันมิใหผูไมมีหนาที่เกย่ี วของเขา ไป (6) แผงสวิทชตองทําดว ยวสั ดุทนไฟ และไมดดู ความชน้ื (7) แผงสวทิ ช ตองตดิ ตั้งใหม คี วามแข็งแรงเพียงพอทจ่ี ะทนแรงปลดและสบั ไดเปนอยา งดี

กฎหมายความปลอดภัยในการทาํ งาน (ไฟฟา ) (8) การตดิ ตง้ั และการตอ สายทีแ่ ผงสวทิ ชต อ งเปนระเบียบ สวิทชทุกตัวตอ งมีอกั ษรกํากับบอกถึงวงจรท่ีสวิทชน ้ันควบคมุ อยู และตองมีแผนผังทางไฟฟาใหตรวจสอบได (9) สว นทีเ่ ปนโลหะของแผงสวิทช ตองตอลงดิน ขอ 53 เครื่องกําเนิดไฟฟา (1) เคร่ืองกําเนดิ ไฟฟา ตอ งตดิ ตัง้ ในบรเิ วณพนื้ ท่ีกวางพอท่จี ะปฏิบัตงิ านซอมแซมได (2)ถา ตดิ ตั้งภายในหอ งตองมีทางระบายอากาศเพียงพอและทอ ไอเสยี จากเคร่อื งยนตตองตอ ออกภายนอก (3) ตองมีเครื่องปอ งกันกระแสไหลเกินขนาด (4) ตอ งมเี คร่อื งดบั เพลงิ ชนดิ ทีใ่ ชด ับเพลิงซึ่งเกดิ จากไฟฟา และตองมขี นาดโตพอท่ีจะดบั เพลงิ ท่ีเกดิ จากนา้ํ มนั ท่ีเก็บไวใ นหองเครอ่ื งไดเพียงพอ (5) ในกรณที มี่ ีเคร่อื งกําเนิดไฟฟา สาํ รองจะตอ งตอผานสวิตช 2 ทางหรืออุปกรณอ ยางอนื่ ซึ่งมีจุดประสงคเหมอื นกนั เทานนั้ หมวด 6 สายดนิ และการตอสายดนิ ขอ 54 หา มมใิ หใ ชส ายศนู ยเ ปนสายดินหรือใชส ายดินเปนสายศนู ย ขอ 55 สายดินตอ งเปนโลหะทไี่ มผ ุกรอ นงา ย ขอ 56 รอยตอหรอื ตอ แยก ตอ งไมเ ปนเหตใุ หเ กดิ ความตา นทานสูงกวาท่กี ําหนดไวในสายดินนนั้ ขอ 57 หา มตอ ฟว สหรือเครอ่ื งตัดกระแสอตั โนมตั ิไวใ นสายดนิ ยกเวนในกรณีทีเ่ คร่อื งตัดกระแสอตั โนมตั ินนั้ จะทํางานพรอมกันกบั เครอื่ งตดั กระแสท่จี า ยไฟฟาใหอุปกรณนัน้ ทกุ ทาง ขอ 58 หามตอ สวทิ ชไวในสายดนิ ยกเวนในกรณที ี่ตดิ ตั้งไวในทเ่ี ห็นไดช ดั โดยทาํ เครอื่ งหมายแสดงใหรูชดั เจนวา เปน สวิตชสายดิน และใหใ ชไ ดเ ฉพาะผมู หี นาท่ีโดยตรงเทาน้นั ขอ 59 สายดินของเครอ่ื งลอฟา (Lightning Arrester) ตอ งตรงและสน้ั เทาท่จี ะทําไดโ ดยปราศจากมุม ขอ 60 ขนาดของสายดินทใ่ี ช ตอ งมขี นาด ดังนี้ (1) สาํ หรบั วงจรไฟฟา กระแสตรง ขนาดของสายดนิ ตอ งไมเ ล็กกวาสายตัวนําทใ่ี หญท ี่สุดในวงจรนั้น และไมเ ลก็ กวา สายทองแดงท่มี ขี นาดพืน้ ที่หนาตดั 8 ตารางมิลลเิ มตร หรือโลหะชนิดอนื่ ท่มี ีความแข็งแรงและความเปน ตวั นําไมนอ ยกวานั้น (2) สาํ หรบั วงจรไฟฟา กระแสสลับ ขนาดของสายดินตองไมเ ล็กกวา 1/5 ของสายตัวนาํ ท่ีใหญท ่สี ดุ ในวงจรนน้ั และไมเ ล็กกวา สายทองแดงที่มพี นื้ ทห่ี นาตดั 8 ตารางมิลลิเมตร หรือโลหะชนิดอ่ืนท่ีมีความแขง็ แรงและความเปนตัวนาํ ไมน อยกวา น้ัน (3) สาํ หรับวงจรของหมอแปลงหรอื เครือ่ งวัด (Instrument Transformer) ขนาดของสายดินตอ งมีพนื้ ท่ีหนา ตดั ไมนอ ยกวาสายทองแดงขนาด 3.6 ตารางมิลลเิ มตร หรอื โลหะชนดิ อื่นท่มี ีความแข็งแรงและความเปน ตวันาํ ไมน อยกวาน้นั

กฎหมายความปลอดภัยในการทาํ งาน (ไฟฟา ) (4) สาํ หรบั เคร่ืองลอ ฟา แรงสูง (Lightning Arrester) ขนาดของสายดินตอ งมพี น้ื ทห่ี นา ตดั ไมน อยกวาสายทองแดงขนาด 14 ตารางมิลลเิ มตร หรอื โลหะชนิดอื่นทม่ี ีความแขง็ แรงและความเปนตัวนําไมน อยกวาน้นั (5) สําหรับอุปกรณที่หอยแขวนหรือเคล่ือนยายไดซึ่งมีเครื่องตัดกระแสอัตโนมัติหรือฟวสไมเกิน 20แอมแปร ขนาดของสายดินตอ งมีพนื้ ทหี่ นา ตดั ไมน อยกวา สายทองแดงขนาด 0.8 ตารางมลิ ลิเมตร หรอื โลหะชนดิอื่นทีม่ คี วามแข็งแรงและความเปนตัวนําไมนอยกวานัน้ ขอ 61 การตอสายดนิ ตอ งตอ ตวั นาํ อยางถาวรกบั ดินโดยผานรอยตอซ่งึ มคี วามตานทานกระแสไฟฟาตํา่เพยี งพอและสามารถรับกระแสที่ไหลผา นลงดนิ ไดโ ดยไมเกิดมแี รงดนั ไฟฟา ขน้ึ ระหวางสายกบั ดิน ขอ 62 ส่ิงตอ ไปน้ีตอ สายดิน (1) สายศูนย (2) อุปกรณเ คร่อื งมือเครื่องใชไฟฟาตางๆ ทมี่ เี ปลือกหุมภายนอกเปนโลหะ (3) สวนของแผงสวติ ชทเ่ี ปนโลหะ (4) โครงเหล็กหรือส่ิงที่เกี่ยวของท่ีเปน โลหะอันอาจมีกระแสไฟฟา ยกเวน ในกรณดี งั ตอ ไปนี้ ไมตองตอสายดนิ (1) เครอ่ื งมอื เครื่องใชไ ฟฟาทีม่ ลี กั ษณะตามขอ 48 (2), (3) และ (4) (2) เครอ่ื งมือเครอื่ งใชป ระจาํ สาํ นกั งานทไี่ มไดอ ยใู นทชี่ น้ื แฉะหรอื บนพนื้ ทที่ ําการซงึ่ เปนสอ่ื ไฟฟา ขอ 63 ในกรณที รี่ ะบบจาํ หนายแรงตํา่ มีการตอลงดนิ ทห่ี มอแปลงหรอื ท่ใี ดท่ีหนงึ่ แลวสายดนิ ภายในอาคารอาจใชส ายดินเดินรว มกันระหวา งอปุ กรณไ ฟฟา ได ถาเปน ไปตามขอ 60 ขอ 64 สายดนิ สาํ หรบั อุปกรณและวงจรท่ีกลา วขา งลางนตี้ อ งใชส ายดนิ แยกตางหากเพื่อตอกับหลักดนิ หรอืสง่ิ อน่ื ทีเ่ ปน โลหะมคี วามคงทนและมคี ณุ สมบตั ิเปนตวั นําไฟฟาไดด ีไมนอ ยกวา หลักดินทก่ี ําหนดไวเ ปนมาตรฐาน (1) เครือ่ งลอฟาแรงสูง (Lightning Arrester) ยกเวน ในกรณที นี่ ายจางมวี ศิ วกรไฟฟากาํ ลงั ที่ไดใ บอนญุ าตจาก ก.ว. เปน ผอู อกแบบ (2) สายแรงต่ําที่ตอใชกับไฟฟาและไฟแสงสวาง ยกเวนกรณีท่ีระบบสายจําหนายแรงต่ํานั้นเปนระบบจาํ หนายแรงต่ํานั้นเปน ระบบที่มสี ายดินไมนอ ยกวา 2 แหง (3) เปลอื กโลหะของอปุ กรณรถรางไฟฟาทใี่ ชก ระแสตรงและของอปุ กรณท ่ีใชแรงดนั สงู กวา 600 โวลท (4) หลักลอ ฟา ขอ 65 หลกั ดินและส่ิงทใ่ี ชแ ทนหลักดิน ตองมีมาตรฐาน ดังนี้ (1) แทงเหล็กอาบโลหะชนิดกันผุกรอน ตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางไมน อ ยกวา 1 เซนตเิ มตร 6มลิ ลเิ มตร ยาวไมน อ ยกวา 2 เมตร 40 เซนตเิ มตร และปลายขางหนง่ึ ปกลกึ ลงดนิ ไมน อ ยกวา 2 เมตร 40เซนติเมตร (2) ทอเหล็กอาบสังกะสีหรือโลหะกันผุกรอนชนิดอื่น มีขนาดเสนผาศูนยกลางภายในไมนอยกวา 1เซนตเิ มตร 9 มิลลเิ มตร ยาวไมนอยกวา 2 เมตร 40 เซนติเมตร และปลายขา งหน่ึงปก ลกึ ลงดนิ ไมน อยกวา 2เมตร 40 เซนตเิ มตร (3) โครงสรา งอาคารท่เี ปน เหล็กซึ่งเช่ือมติดตอกนั ทงั้ อาคารและมีการตอ ลงดนิ อยางถูกตอ ง

กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งาน (ไฟฟา ) (4) แผน เหลก็ ท่มี ีพนื้ ที่ไมน อยกวา 1,800 ตารางเซนติเมตร ถา เปนเหล็กอาบโลหะชนดิ กันผกุ รอน ตอ งหนาไมน อ ยกวา 6 มลิ ลเิ มตร ถาเปนโลหะอืน่ ซึง่ ไมผ ุกรอ น ตอ งหาไมนอยกวา 1.5 มลิ ลิเมตร ฝง ลึกจากผิวดนิ ไมนอ ยกวา 2 เมตร 40 เซนตเิ มตร (5) เหลก็ เสน หรอื สายทองแดงเปลอื ยขนาดพ้ืนทหี่ นาตัดไมน อ ยกวา 25 ตารางมิลลิเมตร ยาวไมน อยกวา 6 เมตร มว นเปน ขด แลว ฝง ลึกลงดนิ ไมน อ ยกวา 2 เมตร 40 เซนติเมตร และเทคอนกรีตทับหนาไมนอ ยกวา5 เซนติเมตร ขอ 66 ความตา นทานของดินตองไมเ กิน 24 โอหม ณ จดุ ที่ปกหลักดิน ขอ 67 วงจรหรอื ระบบไฟฟา ตอไปนี้ ใหย กเวน ไมต อ งตอลงดิน (1) ระบบไฟฟา กระแสตรง ก. เม่อื วงจรน้นั มีเคร่ืองมอื ชี้บอกกระแสไฟรวั่ (Ground Detector) และเปนการใชอ ุปกรณไ ฟฟาทางอตุ สาหกรรมในบริเวณจาํ กัด ข. เมอ่ื ระบบจา ยกระแสไฟนัน้ มคี วามตางศักยไมเ กิน 50 โวลทระหวา งสายกบั สาย ค. เมือ่ ระบบจายกระแสไฟมีความตา งศักยเกิน 300 โวลท ระหวางสายกบั สาย ง.ระบบไฟฟากระแสตรงน้ันไดมาจากเคร่ืองแปลงกระแสสลับเปนกระแสตรง (Rectifier) ซึง่ ดา นกระแสสลับไดต อลงดินไวแลว จ.วงจรท่ใี ชก บั สัญญาณแจงเพลิงไหมซ ่ึงมีกระแสสูงสดุ ในวงจรไมเ กิน 30 มลิ ลแิ อมแปร (2) ระบบไฟฟากระแสสลับ ก. เมือ่ ระบบไฟฟาน้ันมแี รงดนั ไฟฟาระหวา งสายกบั สายนอยกวา 50 โวลท ข. ระบบไฟฟา ทจี่ ะจา ยกระแสไฟใหก ับเตาหลอมไฟฟา (Arc Furnace) ค.วงจรไฟฟา เหลา นน้ั มกี ารปองกันไวดวยเครอ่ื งตัดวงจรกระแสไฟรวั่ โดยอตั โนมตั ิ (Ground FaultCircuit Interrupter) หมวด 7 การติดต้งั สายลอ ฟา ขอ 68 ปลอ งควนั ทเ่ี ปน โลหะ ตองมีการปองกนั ฟาผา ดังน้ี (1) ปลอ งควันทเ่ี ปนโลหะไมจ าํ เปน ตอ งติดตัง้ สายลอฟา แตตอ งมีสายดินตอไวใ หถ กู ตอ งตามหมวด 6 (2) สายลวดโลหะที่ยดึ ปลองควัน (Metal Guy Wires) ตองตอ ลงดิน แตถา สายลวดโลหะยึดปลองควนันยี้ ดึ ติดกบั สมอเหล็กที่ฝงลึกลงไปในดิน และมีความตา นทานของดิน (Ground Resistance) ไมเกนิ 25 โอหม ใหถือวาไดต อลงดนิ แลว ขอ 69 ปลอ งควันทเ่ี ปน อิฐกอ หรอื คอนกรีตตอ งมีการปองกันฟา ผา ดังน้ี (1) ตดิ ต้ังหลักลอฟา (Air Terminal) ทีป่ ลายของปลองควนั ดงั น้ี ก. หลักลอฟาตองเปนเหล็กท่ีแข็งแรงไมเปน สนมิ หรอื โลหะชนิดอ่นื ทม่ี คี วามคงทนตอ การผุกรอนไดและมคี วามนําไฟฟาไมนอยกวาทอ ทองแดงท่ีมเี สน ผา ศนู ยกลาง 16 มิลลเิ มตร และมีความหนาของทอ ไมนอ ยกวา0.8 มิลลิเมตร

กฎหมายความปลอดภยั ในการทํางาน (ไฟฟา) ข. ติดต้ังรอบปลองโดยใหม รี ะยะหางกันไมเกิน 2 เมตร 40 เซนตเิ มตร และมีสายตอ เช่ือมถงึ กนั ใหครบวงจร (Closed Loop) ถาปลอ งควนั ท่มี ีฝาครอบโลหะอยูดว ยก็ใหต อกับหลกั ลอ ฟาดว ย ค. ความสูงของหลักลอ ฟา เหนอื ขอบปลองควันใหเ ปน ดงั น้ี 1.ปลอ งควนั ทั่วไป สงู ไมน อ ยกวา 50 เซนติเมตร และไมเ กนิ กวา 75 เซนติเมตร 2. ปลอ งระบายควนั ท่เี ปนฝุน ไอ หรอื แกส ซงึ่ ระเบดิ ไดเมอ่ื มีประกายไฟจะตองสูงไมน อยกวา1 เมตร 50 เซนติเมตร แตถ า เปน ปลองชนดิ ปลายเปด หลักลอ ฟา จะตองตดิ ตั้งใหสูงกวา ปลายปลอ งไมนอ ยกวา4 เมตร 50 เซนติเมตร (2) หลกั ลอ ฟา ตอ งตอ ลงดินดวยสายดิน ดังน้ี ก. สายดินทใ่ี ชต องเปนทองแดงชนดิ ที่มีคณุ สมบตั ใิ ชใ นงานไฟฟา ซง่ึ มีความนําไฟฟา ไดตามมาตรฐานอตุ สาหกรรมที่ มอก. 64-2517 และตอ งมีขนาดพ้ืนที่หนาตัดไมเลก็ กวา 70 ตารางมลิ ลิเมตร ข. สายที่เปนทอ กลวง ตอ งเปน ทองแดง โดยมีพืน้ ท่หี นา ตดั ของเน้อื ทองแดงและความนาํ ไฟฟา ไมนอยกวาขอ ก. และความหนาของทอ ตองไมนอ ยกวา 1.5 มิลลิเมตร ค. สายดินท่เี ปนแผน ยาวหรอื สายถัก ความหนาตอ งไมน อยกวา 2 มลิ ลเิ มตร โดยตองมพี ื้นทีห่ นาตดัของเนอ้ื ทองแดงและความนาํ ไฟฟา ไมน อยกวา ขอ ก. ง. ถา มหี ลักลอ ฟามากกวาหนง่ึ หลัก ตอ งมสี ายดนิ อยา งนอ ย 2 สายตรงขามกนั โดยตอ จากสายทีต่ อเชอื่ มครบวง (Closed Loop) จากสว นบนของปลอ งไปยังดนิ สายดินทง้ั 2 นี้ จะตอ งตอ เช่ือมกันที่ฐานของปลองควนั และแตล ะสายแยกตอกับหลกั ดนิ จ. ถา ปลอ งควันสูงต้ังแต 50 เมตรข้ึนไป ตองตอ เชอ่ื มครบวงจรสายดนิ ที่ตรงจุดกงึ่ กลางของปลองควัน ใหถ ึงกัน (3) ตวั จับยึดสายดิน ตองมรี ะยะหา งและลักษณะ ดงั นี้ ก. ตองเปน ทองแดงหรอื โลหะผสมทองแดง ข. ระยะหา งระหวา งตวั จับยดึ ในการยึดลงดนิ ตองไมห า งเกิน 1 เมตร 20 เซนติเมตรตามแนวตง้ั และ60 เซนติเมตร ตามแนวนอน ขอ 70 หลกั ลอฟาท่ีเปน ทองแดง สายดินและตวั จบั ยดึ จะตองฉาบผิวดว ยตะกั่วหนาอยา งนอย 1.6มลิ ลเิ มตร ในระยะ 7 เมตร 50 เซนติเมตร จากปลายปากปลอ งลงมา และสงู ข้ึนไปตลอดจนถงึ ปลายหลกั ลอฟา ขอ 71 สายดนิ ตอ งมีรอยตอ นอยท่สี ุดเทา ท่จี ะทาํ ได และตองมคี วามแขง็ แรงรบั แรงดึงไดไมนอ ยกวา รอยละ 50 ของความแขง็ แรงของสาย และจะตอ งไมมมี มุ ขอ 72 การตอ ลงดิน จะตอ งทําเชน เดยี วกับการตอ สายดินตามหมวด 6 ขอ 73 สวนของสายดินทส่ี ูงจากพนื้ ดนิ 2 เมตร 50 เซนติเมตร ตอ งมกี ารปอ งกนั การกระทบกระแทก โดยใชไ มห รอื วสั ดทุ ีไ่ มเปน สารแมเ หลก็ หอ หมุ ถา ใชทอโลหะทไ่ี มเ ปน สารแมเ หลก็ หอหุม สายดนิ ตองตอ เช่ือมปลายดา นบนและลางของทอเขากบั สายดวย ขอ 74 ปลองควันทบ่ี ุผิวดว ยโลหะหรือมีบันไดเปน โลหะ ตองตอผวิ โลหะหรอื บันไดน้ันเขา กับสายดนิ ดวยทงั้ สวนบนและสว นลาง ขอ 75 ปลอ งควนั ท่อี ยูใ นกรอบรศั มีคุมกนั ของระบบปอ งกันฟาผา ซง่ึ มีรศั มที ่พี น้ื ดินเปน 2 เทาของความสูง

กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งาน (ไฟฟา)ของสายหลักลอ ฟา ไมตอ งติดตง้ั สายลอ ฟา ขอ 76 ถงั ซง่ึ เก็บของเหลวไวไฟหรอื แกสไวไฟตองมกี ารปอ งกันอนั ตรายจากฟาผา ถงั โดยตดิ ต้ังระบบลอฟาในกรณีท่ีเปนถังเหล็กและมีหลังคาไมเปนโลหะตองติดหลักลอฟาหรือสายลอฟาหรือทั้งสองอยาง ใหมีความสูงและจํานวนเพียงพอท่ีจะปองกันฟาผาถังไดโดยตัวถังตองอยูภายในกรวยของรัศมีคุมกันของหลักลอฟาหรือสายลอ ฟา ซงึ่ ทํามุมไมเ กนิ 45 องศากบั แนวด่ิง สายลอฟาและ/หรือหลกั ลอฟานัน้ ตองตอเชื่อมกับถงั เหลก็ และตอลงดินโดยถูกตอ ง ยกเวน ในกรณที ่ีถงั นัน้ ต้งั อยูภ ายในรัศมคี มุ กนั ของสายลอ ฟาหรือเสาลอ ฟา (Mast) ทต่ี ิดต้งั อยูแลว กรณที ห่ี ลงั คาทมี่ ีบางสวนเปน โลหะอยบู าง ใหต อ เชื่อมสวนท่เี ปน โลหะนนั้ เขา กบั ระบบสายลอ ฟาดวย ยกเวน ในกรณี ดังตอ ไปนี้ (1) ถงั เหลก็ ที่มีหลังคาเปน โลหะมีคณุ สมบัติ ดงั ตอ ไปนี้ ก. ทกุ ๆ รอยตอระหวา งแผนเหล็ก จะตอ งยึดโดยใชห มดุ ยํ้า สลักยึดหรอื เชอื่ มถงึ กนั ข. ทอ ทุกทอ ทีต่ อ กับถงั จะตองมีการตอ ชนดิ โลหะตอ โลหะกับถังทุกจุดท่ีตอ ค. ทางออกของไอหรอื แกส จะตอ งปด แนน ง. หลังคา จะตอ งมีความหนาไมน อ ยกวา 2.7 มลิ ลเิ มตร จ. หลังคาสว นบนของถงั จะตองเช่อื ม หรือยํ้าหมดุ หรอื ใชส ลกั เกลยี วยดึ กับเปลือกถงั และอดุ รอยรวั่ตามตะเขบ็ กันรว่ั ทกุ สวนจะตองมกี ารตอเน่อื งทางไฟฟา ถงึ กนั ตลอด ฉ. ตัวถงั ตอ งตอ ลงดนิ โดยถูกตอ ง (2) ถงั เก็บของเหลวไวไฟภายใตค วามกดดัน ไมจาํ เปนตอ งมีการปอ งกนั ฟาผา หมวด 8 การใชอ ุปกรณปองกนั อนั ตรายจากไฟฟา ขอ 77 นายจา งตอ งจดั หาอุปกรณป อ งกันอันตรายจากไฟฟา เชน ถุงมือยาง แขนเส้ือยาง ถุงมอื หนงั ถุงมือทาํ งาน แผนยาง ผา หม ยาง ฉนวนคลอบลกู ถว ย ฉนวนหมุ สาย หมวกแขง็ กนั ไฟฟา ฯลฯ ใหแ กลกู จางทีจ่ ะปฏิบตั ิเกย่ี วกบั งานไฟฟา ตามความเหมาะสมของงาน ในเมอื่ อปุ กรณไฟฟา เหลานน้ั มแี รงดนั ไฟฟามากกวา 50 โวลทหรอื ในกรณที ่ีอุปกรณไ ฟฟา ที่มีแรงดนั ต่าํ กวา 50 โวลท แตมโี อกาสทจี่ ะเกดิ แรงดันสงู เพมิ่ ขึ้นในกรณีผิดปกติ ขอ 78 ลกู จา งทตี่ องขนึ้ ปฏิบตั งิ านสงู กวาพื้นดนิ ตั้งแต 4 เมตรขึน้ ไป นายจา งจะตองจัดหาเข็มขดั นิรภยั(Safety Belt) หมวกแขง็ ชนิด ค. ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง มาตรฐานของอปุ กรณค ุม ครองความปลอดภัยสวนบุคคลวาดวยหมวกแข็งและอุปกรณอ่ืนๆ ที่เหมาะสมกับงานน้ันๆ ใหลูกจางสวมใสตอดเวลาที่ปฏบิ ตั งิ านอยู เวน แตอ ปุ กรณน ั้นจะทาํ ใหล กู จางเสีย่ งอันตรายมากกวา เดมิ ในกรณีน้ใี หใชอ ปุ กรณเพ่อื ความปลอดภยั อยางอืน่ แทน ขอ 79 นายจา งตองจดั หารองเทาพนื้ ยางหมุ ขอ ชนดิ มีสน ใหกบั ลูกจา งสวมใสตลอดเวลาของการทาํ งาน ขอ 80 อปุ กรณป องกนั อันตรายจากไฟฟา จะตอ งมคี ณุ สมบัติไดม าตรฐาน ดงั ตอ ไปนี้ (1) อุปกรณฉนวนท่ีใชกันกระแสไฟฟา จะตองมีคุณสมบัติท่ีเหมาะสมกับแรงดันสูงสุดในบริเวณท่ีปฏบิ ตั ิงานใกลเ คยี ง และมมี าตรฐานตามขอกาํ หนดในมาตรฐานอุปกรณค มุ ครองความปลอดภัยสวนบคุ คล

กฎหมายความปลอดภยั ในการทํางาน (ไฟฟา ) (2) อุปกรณคุม ครองความปลอดภยั สว นบคุ คลเกี่ยวกบั ไฟฟา ตองมคี ณุ สมบตั ิเหมาะสมกับแรงดันสงู สุดในบริเวณที่ปฏิบัติงานหรือใกลเคียง และมีมาตรฐานตามขอ กําหนดในมาตรฐานอปุ กรณคุมครองความปลอดภัยสวนบคุ คล (3) ถงุ มอื หนงั ที่ใชสวมทบั ถุงมือยาง ตอ งมีความยาวหมุ ถึงขอ มือ มลี ักษณะใชส วมทบั ถงุ มอื ยางไดพ อเหมาะ และมคี วามคงทนตอการฉกี ขาดไดด ี (4) ถุงมือยางกันไฟฟา มีลกั ษณะสวมกบั นว้ิ มือไดทุกน้ิว และตอ งใชค กู ับถุงมอื หนังตามขอ (3) ทกุ คร้ังท่ีใชป ฏิบัตงิ าน โดยมคี ุณสมบัติทก่ี ําหนดไวต ามมาตรฐานอปุ กรณคุม ครองความปลอดภัยสว นบคุ คล หมวด 9 เบด็ เตลด็ ขอ 81 ขอ กาํ หนดมาตรฐานและการปฏบิ ตั งิ านเพอ่ื ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟา ท่ีกาํ หนดไวในประกาศนี้เปนมาตรฐานขั้นตาํ่ ทจี่ ะตองปฏบิ ตั เิ ทา นนั้ ขอ 82 นายจา งตอ งจัดทําขอบังคบั เกย่ี วกับวิธปี ฏบิ ตั ิงานดวยความปลอดภยั โดยใหม มี าตรฐานไมตาํ่ กวาท่ีกาํ หนดไวในประกาศนี้ เพื่อแจกจายใหเปนคมู ือสาํ หรับลูกจา งถอื ปฏบิ ตั ิ ขอ 83 นายจางตองจัดใหมีการฝกอบรมใหกับลูกจางท่ีทํางานเกี่ยวของกับไฟฟามีความรูและความสามารถในเร่อื งตอไปนี้ (1) วธิ ปี ฏิบตั เิ มอ่ื มีลูกจางประสบอันตรายจากไฟฟา (2) การปฐมพยาบาลและการชวยชวี ิตโดยวิธีใชป ากเปาอากาศเขา ทางปากหรือจมกู ของผูป ระสบอันตรายและวิธกี ารนวดหัวใจจากภายนอก ขอ 84 ถา ปฏบิ ตั ิงานในเวลากลางคืน นายจางตอ งจดั ใหมแี สงสวางในบรเิ วณท่ีปฏบิ ตั งิ านอยา งเพียงพอโดยใหเ ปน ไปตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอ่ื ง ภาวะแวดลอมเกีย่ วกบั เร่ืองแสง ขอ 85 เมอ่ื ลกู จางตองปฏบิ ตั ิงานเกีย่ วกบั ไฟฟาในบริเวณท่ีอยูใกลห รือเหนือนํ้า จะตอ งจดั ใหมเี ครือ่ งชูชพีกนั จมนํ้าดวย ขอ 86 งานใดที่มีลักษณะไมเหมาะสมแกการที่จะใหลูกจางใชอุปกรณคมุ ครองความปลอดภยั สวนบุคคลดงั ทรี่ ะบไุ วในหมวดน้ี นายจางอาจผอ นผนั ใหลูกจา งระงับการใชอ ปุ กรณน ัน้ เฉพาะการปฏิบัติงานในลักษณะเชนวานั้นเปน การช่วั คราวได แตน ายจางตองเปนผูรับผิดชอบตามประกาศนี้ ขอ 87 สถานประกอบการใดท่มี ไิ ดป ฏิบัติใหเ ปนไปตามท่ีกาํ หนดไวใ นประกาศน้ี พนักงานเจาหนา ท่อี าจออกคาํ เตอื นหรอื คาํ แนะนาํ เปนลายลักษณอ ักษรใหน ายจา งปฏบิ ตั ใิ หถ กู ตอ งภายในระยะเวลาท่ีกําหนดกอนก็ได ขอ 88 ขอความใดในประกาศน้ีท่ีอาจตีความไดหลายนัย นัยใดจะทําใหเกิดความปลอดภัยแกชวี ติ หรอืทรพั ยส นิ ใหถ อื เอานยั นัน้ ขอ 89 ใหน ายจา งเปน ผูออกคาใชจ ายตามประกาศน้ี ขอ 90 ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนใ้ี ชบงั คับเมือพน กาํ หนดหนง่ึ รอยแปดสบิ วันนับตั้งแตป ระกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน ตนไป

กฎหมายความปลอดภยั ในการทาํ งาน (ไฟฟา ) ประกาศ ณ วนั ท่ี 8 มีนาคม 2522 ดาํ ริ นอยมณีรฐั มนตรีชวยวาการฯ ปฏบิ ตั ริ าชการแทน รฐั มนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook