Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice 62

Best Practice 62

Published by satjamas6473, 2019-09-13 02:07:05

Description: Best Practice 62

Search

Read the Text Version

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานที่ดคี รูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 1 ~

คานา แผนปฏิบตั กิ ารประจาปีงบประมาณ ของสานกั งาน กศน. ดาเนนิ การภายใตท้ ศิ ทางการ บรหิ ารประเทศและกระทรวงศกึ ษาธิการ รวมทั้งกฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง แผนปฏิบตั ิราชการประจาปงี บประมาณ ของกระทรวงศึกษาธกิ าร แผนปฏิบัติราชการของสานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและเจตนารมณ์ของ พระราชบญั ญตั สิ ง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ มตคิ ณะรัฐมนตรี นโยบายด้านการศกึ ษาของรฐั บาลปจั จบุ ันโดยเนน้ การสร้างโอกาสทางการศกึ ษา ครอบคลมุ ๒ เรือ่ ง คอื ๑) สร้างโอกาสทางการศึกษาให้ครอบคลุมผู้ยากไร้ ผดู้ อ้ ยโอกาส ผ้พู กิ ารทุพลภาพ อย่างทวั่ ถงึ ๒) การศกึ ษา ตอ่ เนอื่ งตลอดชวี ิต รวมท้งั นโยบายและจุดเน้นการดาเนนิ งาน สานักงาน กศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕ 61 โดยมคี วามมุ่งหวงั ท่จี ะให้ “ คนไทยได้รบั การศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อการมงี านทาทม่ี ี คุณภาพ ไดท้ กุ ที่ ทกุ เวลา อยา่ งทว่ั ถึง และเท่าเทยี มกัน เพื่อให้เกิดสังคมฐานความรู้ การมอี าชีพและการมี ความสามารถเชงิ การแขง่ ขนั ในประชาคมอาเซียนอย่างยง่ั ยนื ” การดาเนินงานเพื่อให้บรรลุวสิ ัยทศั น์ทกี่ าหนด ไวอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ สานกั งาน กศน. ได้กาหนดใหห้ นว่ ยงานและสถานศึกษาในสงั กัด จดั ทาแผนปฏบิ ัติการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62 ภายใต้ภารกิจ และผลผลิตที่รบั ผดิ ชอบ ตามวงเงินงบประมาณท่ีไดร้ ับการ จัดสรร และนาแผนปฏิบตั ิการเสนอต่อหนว่ ยงานต้นสงั กัดตามลาดบั ตอ่ ไป ผูจ้ ัดทาครอู าสาสมคั ร การศึกษานอกโรงเรียน จงึ หวงั เป็นอย่างยิ่งวา่ เอกสารเลม่ นี้ จะบ่ง บอกถึงการบรรลวุ ตั ถุประสงค์ของ ผลการปฏิบัติงานที่ดี : Best Practice งานแผนงานและโครงการ และจะ เปน็ ประโยชนต์ อ่ การจดั กิจกรรมการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั สามารถเผยแพรต่ ่อ สาธารณชนได้ขอขอบคุณผูม้ สี ว่ นเกี่ยวข้องและให้ความรว่ มมือในการจัดทาทกุ ทา่ นไว้ ณ โอกาสนดี้ ้วย นางสาวสัจมาศ กลั ยาโพธ์ิ ครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน รายงานผลการปฏิบตั งิ านที่ดีครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 2 ~

สารบัญ หนา้ 3-59 เรื่อง คานา สารบัญ ผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีดี : Best Practice งานแผนงานและโครงการ ภาคผนวก คณะผูจ้ ัดทา รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ีครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 3 ~

ผลการปฏิบัติงานทดี่ ี : Best Practice  งานแผนงานและโครงการ หน้าที่ความรบั ผดิ ชอบในบทบาทครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น ปฏิบัติงานเกีย่ วกับการจัดและสง่ เสริมการจดั กิจกรรมกระบวนการเรยี นรู้ การศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ให้แกก่ ล่มุ เป้าหมายในพน้ื ทท่ี รี่ ับผิดชอบ ประสานงานร่วมกับภาคเี ครือข่าย องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน ชมุ ชน และภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่ ในการจดั กจิ กรรมการเรียนร้ใู นชมุ ชน และปฏบิ ัติ หนา้ ทอี่ ่ืน ๆ ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย รายงานผลการปฏิบตั ิงานทด่ี ีครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 4 ~

นโยบายและจดุ เน้นการดาเนนิ งานสานักงานกศน.ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ วสิ ยั ทศั น์ คนไทยได้รบั โอกาสการศึกษาและการเรียนร้ตู ลอดชีวิตอย่างมคี ุณภาพสามารถดารงชวี ิตทเ่ี หมาะสม กับช่วงวยั สอดคล้องกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงและมีทกั ษะท่จี าเป็นในโลกศตวรรษที่๒๑ พนั ธกิจ ๑. จัดและส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ท่มี ีคณุ ภาพเพอ่ื ยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของประชาชนทกุ กลุ่มเปา้ หมายใหเ้ หมาะสมทุกช่วงวยั พรอ้ มรบั การเปลี่ยนแปลงบรบิ ท ทางสงั คมและสร้างสงั คมแห่งการเรยี นรูต้ ลอดชวี ิต ๒. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคีเครือขา่ ยในการมสี ว่ นรว่ มจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษา ตามอัธยาศัยและการเรียนรู้ตลอดชีวิตรวมทัง้ การดาเนินกจิ กรรมของศนู ยก์ ารเรยี นและแหล่งการเรียนรู้อ่ืน ในรปู แบบต่างๆ ๓. ส่งเสรมิ และพฒั นาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ้ หเ้ กดิ ประสิทธภิ าพ ในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ให้กบั ประชาชนอยา่ งท่ัวถึง ๔. พัฒนาหลักสตู รรูปแบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ส่อื และนวัตกรรมการวดั และประเมินผล ในทกุ รูปแบบให้สอดคลอ้ งกับบริบทในปจั จุบัน ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบรหิ ารจดั การใหม้ ปี ระสิทธิภาพเพ่ือมุ่งจดั การศึกษาและการเรียนรู้ ทม่ี ีคุณภาพโดยยดึ หลักธรรมาภิบาล เป้าประสงค์ ๑. ประชาชนผดู้ อ้ ยพลาดและขาดโอกาสทางการศกึ ษารวมทง้ั ประชาชนทั่วไปไดร้ ับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐานการศกึ ษาตอ่ เนือ่ งและการศึกษา ตามอธั ยาศยั ที่มีคณุ ภาพอย่างเทา่ เทียมและทวั่ ถึงเป็นไปตามสภาพปญั หาและความตอ้ งการของแตล่ ะ กลมุ่ เปา้ หมาย ๒. ประชาชนไดร้ ับการยกระดบั การศกึ ษาสรา้ งเสริมและปลกู ฝังคณุ ธรรมจริยธรรมและความเป็น พลเมืองอนั นาไปส่กู ารยกระดับคณุ ภาพชีวิตและเสริมสรา้ งความเข้มแข็งให้ชุมชนเพื่อพัฒนาไปส่คู วามม่นั คง และยงั่ ยนื ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมวฒั นธรรมประวัติศาสตร์และสิ่งแวดลอ้ ม ๓. ประชาชนได้รบั โอกาสในการเรยี นรู้และมีเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีทเี่ หมาะสม สามารถคิดวิเคราะห์และประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวันรวมทั้งแก้ปัญหาและพัฒนาคณุ ภาพชีวิตได้อย่าง สรา้ งสรรค์ ๔. ประชาชนไดร้ บั การสรา้ งและส่งเสริมใหม้ นี ิสยั รกั การอ่านเพอ่ื การแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ๕. ชมุ ชนและภาคเี ครอื ข่ายทกุ ภาคส่วนรว่ มจัดสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การดาเนนิ งานการศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รวมท้งั การขบั เคลอื่ นกจิ กรรมการเรยี นรู้ของชุมชน ๖. หน่วยงานและสถานศกึ ษาพัฒนาเทคโนโลยที างการศึกษาเทคโนโลยดี ิจทิ ลั มาใชใ้ นการยกระดับ คุณภาพในการจดั การเรยี นร้แู ละเพิม่ โอกาสการเรยี นรใู้ หก้ บั ประชาชน ๗. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาพัฒนาส่อื และการจัดกระบวนการเรียนร้เู พื่อแกป้ ัญหาและพัฒนา คุณภาพชีวิตทตี่ อบสนองกับการเปลย่ี นแปลงบริบทด้านเศรษฐกิจสงั คมการเมืองวฒั นธรรมประวัติศาสตร์ และสงิ่ แวดลอ้ มรวมทัง้ ตามความตอ้ งการของประชาชนและชุมชนในรปู แบบท่ีหลากหลาย รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านท่ดี คี รูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 5 ~

๘. หนว่ ยงานและสถานศกึ ษามีระบบการบรหิ ารจัดการท่เี ป็นไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล ๙. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพฒั นาเพอ่ื เพม่ิ สมรรถนะในการปฏบิ ตั งิ าน การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ตวั ชีว้ ัด ตัวชว้ี ดั เชิงปริมาณ ๑. จานวนผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานท่ีได้รบั การสนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยตาม สิทธิท่กี าหนดไว้ ๒. จานวนของคนไทยกลมุ่ เป้าหมายต่างๆทีเ่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมการเรียนรู้/ไดร้ ับบริการกจิ กรรม การศึกษาตอ่ เน่ืองและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยท่ีสอดคล้องกบั สภาพปญั หาและความต้องการ ๓. รอ้ ยละของกาลังแรงงานที่สาเรจ็ การศึกษาระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้นขึ้นไป ๔. จานวนภาคเี ครอื ข่ายทเี่ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการจดั /พัฒนา/ส่งเสรมิ การศึกษา (ภาคีเครอื ขา่ ย : สถานประกอบการองค์กรหนว่ ยงานท่มี ารว่ มจัด/พัฒนา/ส่งเสรมิ การศกึ ษา) ๕. จานวนประชาชนเด็กและเยาวชนในพ้ืนทส่ี งู และชาวไทยมอแกนในพื้นท่ี๕จงั หวดั ๑๑อาเภอ ไดร้ ับบริการการศึกษาตลอดชีวติ จากศศช. สงั กดั สานักงานกศน. ๖. จานวนผ้รู ับบรกิ ารในพน้ื ที่เปา้ หมายได้รบั การส่งเสรมิ ดา้ นการรู้หนงั สือและการพัฒนาทกั ษะชีวิต ๗. จานวนนกั เรียน/นักศึกษาท่ีไดร้ บั บรกิ ารตวิ เข้มเต็มความรู้ ๘. จานวนประชาชนกลมุ่ เปา้ หมายที่เขา้ รบั การฝกึ อาชีพเหน็ ช่องทางในการประกอบอาชพี ๙. จานวนครกู ศน. ต้นแบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการส่อื สารสามารถเป็นวิทยากรแกนนาได้ ๑๐. จานวนประชาชนท่ีได้รับการฝึกอบรมภาษาองั กฤษเพือ่ การส่อื สารดา้ นอาชพี ๑๑. จานวนผูส้ งู อายุภาวะพึง่ พิงในระบบ Long Term Care มผี ดู้ ูแลทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน ๑๒. จานวนกลมุ่ เปา้ หมายไดร้ ับการพฒั นาศกั ยภาพเป็นวทิ ยากรแกนนา กศน. ในเรอ่ื งเศรษฐกิจ ดจิ ทิ ลั และสามารถขยายผลเชิงพ้นื ท่ี “ศูนยด์ จิ ิทลั ชมุ ชน” ได้จนเกดิ เป็นรปู ธรรม ๑๓. จานวนประชาชนในพน้ื ทีท่ ี่สามารถนาความรูเ้ กีย่ วกับเศรษฐกิจและการใช้เคร่ืองมอื ดิจทิ ัลต่างๆ ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตประจาวัน ๑๔. จานวนเกษตรกรท่ผี ่านการอบรมเป็น Master Trainer ตวั ชว้ี ัดเชิงคณุ ภาพ ๑. รอ้ ยละของคะแนนเฉล่ยี ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติการศกึ ษานอกระบบ (N-NET) ทกุ รายวชิ าทกุ ระดบั ๒. รอ้ ยละของผู้เรียนทไี่ ดร้ บั การสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานเทียบกับค่าเป้าหมาย ๓. ร้อยละของประชาชนกล่มุ เปา้ หมายท่ลี งทะเบยี นเรยี นในทกุ หลักสูตร/กิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ือง เทยี บกบั เป้าหมาย ๔. รอ้ ยละของผผู้ า่ นการฝกึ อบรม/พัฒนาทักษะอาชพี ระยะส้นั สามารถนาความรไู้ ปใชใ้ นการประกอบ อาชพี หรือพฒั นางานได้ ๕. ร้อยละของผเู้ รยี นในเขตพ้ืนที่จงั หวัดชายแดนภาคใตท้ ไ่ี ดร้ บั การพฒั นาศักยภาพหรอื ทกั ษะด้าน อาชพี สามารถมีงานทาหรอื นาไปประกอบอาชีพได้ ๖. รอ้ ยละของผจู้ บหลักสูตร/กจิ กรรมท่สี ามารถนาความรูค้ วามเขา้ ใจไปใชไ้ ด้ตามจุดมงุ่ หมายของ หลักสูตร/กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนือ่ ง รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านท่ดี คี รอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 6 ~

๗. รอ้ ยละของประชาชนทไี่ ดร้ ับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจตอ่ การบริการ/เข้ารว่ มกจิ กรรมการเรยี นรู้ การศึกษาตามอธั ยาศัย ๘. ร้อยละของประชาชนกลมุ่ เป้าหมายท่ีไดร้ บั บรกิ าร/เข้ารว่ มกิจกรรมทม่ี ีความรู้ความเข้าใจ/เจตคติ/ ทกั ษะตามจุดมุ่งหมายของกจิ กรรมทีก่ าหนดของการศึกษาตามอธั ยาศยั ๙. รอ้ ยละของผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมทีส่ ามารถอา่ นออกเขียนได้และคดิ เลขเป็นตามจุดม่งุ หมายของ กิจกรรม ๑๐. รอ้ ยละของนกั เรยี น/นกั ศึกษาท่มี ีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นในวชิ าทีไ่ ด้รับบรกิ ารติวเขม้ เต็มความรู้ เพิ่มสงู ขึน้ ๑.ยุทธศาสตรด์ ้านความมน่ั คง ๑.๑พัฒนาและเสริมสร้างความจงรกั ภักดตี อ่ สถาบันหลกั ของชาติโดยปลกู ฝงั และสร้างความ ตระหนักร้ถู ึงความสาคญั ของสถาบันหลกั ของชาติรณรงคเ์ สริมสร้างความรักและความภาคภูมใิ จในความเปน็ คนไทยและชาตไิ ทยนอ้ มนาและเผยแพรศ่ าสตร์พระราชาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งรวมถึงแนวทาง พระราชดารติ า่ งๆ ๑.๒เสรมิ สร้างความรคู้ วามเข้าใจที่ถกู ต้องและการมสี ว่ นร่วมอย่างถูกตอ้ งกับการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ มีความเปน็ พลเมอื งดยี อมรบั และเคารพความแตกต่างใน สงั คมพหวุ ฒั นธรรมและความหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ์ ๑.๓รว่ มขับเคล่อื นการพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนยิ มย่ังยืนโดยบรู ณาการขบั เคลื่อนการ ทางานตามแนวทางประชารฐั ดาเนินโครงการ/กจิ กรรมในพน้ื ท่ที ้งั ในระดับตาบลหมูบ่ ้านโดยใชท้ ีมขับเคล่ือน การพัฒนาประเทศตามโครงการไทยนิยมย่ังยนื ระดบั ตาบลเป็นแกนหลักและสนบั สนุนกลไกการขบั เคล่ือน ในพนื้ ท่ที ุกระดับตัง้ แต่จังหวัดอาเภอตาบลและหมู่บ้าน ๑.๔พฒั นาการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในเขตพฒั นาพิเศษ เฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพนื้ ท่ีชายแดน ๑) พฒั นารูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหม้ ีความสอดคล้องกับ บริบทของสังคมวฒั นธรรมและพื้นทีเ่ พ่อื สนบั สนุนการแก้ไขปญั หาและพฒั นาพน้ื ที่ ๒) เร่งจัดทาแผนและมาตรการดา้ นความปลอดภยั ทช่ี ัดเจนสาหรับหนว่ ยงานและสถานศกึ ษารวมทั้ง บุคลากรทป่ี ฏบิ ัติงานในพืน้ ท่ีเขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใต้โดยบรู ณาการแผนและ ปฏบิ ัติงานรว่ มกับหน่วยงานความมั่นคงในพน้ื ท่ี ๓) สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั กระบวนการเรยี นรู้ในสถาบันศึกษาปอเนาะในรปู แบบตา่ งๆ ทห่ี ลากหลายตรงกบั ความตอ้ งการของผ้เู รียนอาทกิ ารเพิม่ พูนประสบการณ์การเปดิ โลกทศั นก์ ารยดึ ม่นั ในหลกั คุณธรรมและสถาบนั หลักของชาติ ๔) สนบั สนนุ ใหม้ กี ารพฒั นาบคุ ลากรทุกระดบั ทุกประเภทใหม้ ีสมรรถนะทสี่ ูงขึ้นเพอ่ื ให้สามารถ ปฏิบตั งิ านได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๒. ยุทธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ๒.๑เร่งรดั ดาเนินการจดั การศกึ ษาอาชีพเพอื่ ยกระดับทกั ษะอาชพี ของประชาชนสู่ฝมี ือแรงงาน ๑) จดั การศกึ ษาอาชพี เพ่อื การมีงานทาทส่ี อดคลอ้ งกับศกั ยภาพของชุมชนและความต้องการของ ตลาดใหป้ ระชาชนสามารถนาไปประกอบอาชีพได้จริงโดยใหเ้ นน้ หลกั สตู รการศึกษาอาชพี ช่างพนื้ ฐาน โดยประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดการเรยี นการสอนด้านอาชพี เช่นการเรียนผา่ นYoutubeการเรียนผ่าน รายงานผลการปฏิบตั งิ านทีด่ ีครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 7 ~

Facebook Live ระบบการเรียนรู้ในระบบเปิดสาหรบั มหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) เปน็ ตน้ รวมถึงสนับสนนุ ใหเ้ กดิ ระบบการ ผลิตที่ครบวงจรและเปดิ พืน้ ท่สี ่วนราชการเปน็ ทแี่ สดงสินค้าของชมุ ชนเพ่ือเป็นการสร้างรายได้ใหก้ ับชมุ ชน ๒) บรู ณาการความร่วมมือในการพฒั นาฝีมอื แรงงานกับสานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา ผ่านศนู ย์ประสานงานการผลติ และพัฒนากาลังคนอาชีวศึกษาภาคทว่ั ประเทศเพอื่ มุ่งพฒั นาทักษะของ ประชาชนโดยใช้ประโยชน์จากศกั ยภาพและภมู ิสังคมเฉพาะของพ้ืนที่และดาเนนิ การเชงิ รกุ เพ่ือเสรมิ จุดเดน่ ใน ระดับภาคในการเปน็ ฐานการผลิตและการบริการท่ีสาคัญรวมถงึ มุ่งเน้นสรา้ งโอกาสในการสร้างรายไดเ้ พ่อื ตอบสนองตอ่ ความต้องการของตลาดแรงงานทง้ั ภาคอุตสาหกรรมและการบรกิ าร ๓) พฒั นากลมุ่ อาชพี พน้ื ฐานทร่ี องรบั การพฒั นาเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษเชน่ เขตพัฒนาพเิ ศษ ภาคตะวันออกเขตเศรษฐกจิ ตะวันตกทส่ี ามารถพฒั นาศักยภาพไปสรู่ ะดับฝมี ือแรงงาน ๒.๒พัฒนาทกั ษะใหป้ ระชาชนเพอื่ การสร้างมลู ค่าเพม่ิ ใหก้ ับสินคา้ และบริการ ๑) พฒั นาทักษะและสง่ เสรมิ ให้ประชาชนประกอบธรุ กิจการคา้ ออนไลน์ (พาณชิ ย์อิเลก็ ทรอนกิ ส์) มีการใช้ความคดิ สร้างสรรค์เชิงนวตั กรรมในการประกอบอาชีพสรา้ งทกั ษะอาชพี ทส่ี ูงขึน้ ใหก้ บั ประชาชน เพ่อื ร่วมขับเคลือ่ นเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั ๒) สง่ เสริมให้ประชาชนใชเ้ ทคโนโลยีในการทาช่องทางเผยแพรแ่ ละจาหนา่ ยผลติ ภณั ฑ์ของวิสาหกิจ ชุมชนใหเ้ ปน็ ระบบครบวงจรและสนบั สนนุ การจาหน่ายสนิ คา้ และผลติ ภัณฑผ์ ่านศนู ย์จาหน่ายสินคา้ และ ผลติ ภณั ฑ์ออนไลน์กศน . (ONIE Online Commerce Center : OOCC) เพือ่ จาหน่ายสนิ ค้าออนไลนร์ ะดับ ตาบลรวมทงั้ ดาเนินการเปิดศูนย์ให้คาปรึกษา OOCC กศน. เพือ่ เปดิ ชอ่ งทางในการใหค้ าปรึกษากับประชาชน เกย่ี วกับการคา้ ออนไลน์เบอ้ื งต้น ๓) พฒั นาทกั ษะภาษาอังกฤษเพ่อื การสอื่ สารของประชาชนในรปู แบบตา่ งๆอยา่ งเปน็ รูปธรรม โดยเน้นทกั ษะภาษาเพอ่ื อาชพี ท้งั ในภาคธุรกิจการบรกิ ารและการทอ่ งเทยี่ วรวมท้งั พฒั นาสอ่ื การเรียนการสอน ภาษาองั กฤษเพอ่ื สง่ เสรมิ การใชภ้ าษาเพื่อการสอ่ื สารและการพัฒนาอาชีพ ๓. ยุทธศาสตร์ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย์ ๓.๑สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทีป่ ลูกฝังคุณธรรมสร้างวินยั จิตสาธารณะความรับผดิ ชอบ ตอ่ สว่ นรวมและการมจี ติ อาสาผ่านกจิ กรรมรูปแบบต่างๆเชน่ กิจกรรมลูกเสอื กศน. กจิ กรรมจติ อาสาตลอดจน สนับสนนุ ให้มีการจดั กจิ กรรมเพ่อื ปลูกฝงั คณุ ธรรมจรยิ ธรรมใหก้ บั บคุ ลากรในองค์กร ๓.๒สง่ เสริมการจัดกระบวนการเรียนรู้ทต่ี อบสนองกบั การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี๒๑รวมท้งั ความตอ้ งการของประชาชนและชมุ ชนในรปู แบบทีห่ ลากหลายใหป้ ระชาชนคิดเป็นวิเคราะห์ไดต้ ัดสนิ ใจ ภายใตข้ อ้ มูลทีถ่ ูกตอ้ ง ๓.๓พฒั นาศักยภาพคนด้านทกั ษะและความเขา้ ใจในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ัล (Digital Literacy) ๑) พฒั นาความร้แู ละทกั ษะเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั ของครูและบุคลากรทางการศกึ ษาเพ่ือใหส้ ามารถ ใช้ Social Media และ Application ต่างๆในการพฒั นารปู แบบการจัดการเรยี นการสอน ๒) สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมีทกั ษะความเขา้ ใจและใช้ เทคโนโลยีดจิ ิทลั ทสี่ ามารถนาไปใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวันรวมท้ังสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั ตนเองได้ ๓.๔ พฒั นาทักษะด้านภาษาองั กฤษและภาษาอืน่ ๆเพื่อรองรับการพฒั นาประเทศ ๑) พฒั นารูปแบบการจดั การเรยี นการสอนภาษาองั กฤษและภาษาอื่นๆทสี่ อดคลอ้ งกับบริบท ของพ้ืนทโ่ี ดยใชส้ ่อื เทคโนโลยดี จิ ิทัล Social Media และ Application ตา่ งๆ รายงานผลการปฏิบตั งิ านทีด่ คี รอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 8 ~

๒) จดั และสง่ เสรมิ การเรียนการสอนภาษาอังกฤษและภาษาอ่ืนๆทีส่ อดคลอ้ งกับบริบทของพน้ื ท่ี และความตอ้ งการของประชาชนเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ๓.๕ส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทกุ วยั โดยการสร้างความร้คู วามเข้าใจ การสนับสนนุ กจิ กรรมสขุ ภาวะและสรา้ งเครอื ข่ายภาคประชาชนในการเฝ้าระวังปอ้ งกนั และควบคมุ โรค ให้กับประชาชนทุกช่วงวยั โดยเฉพาะในพืน้ ท่ีห่างไกลพื้นทช่ี ายแดนและชายแดนภาคใตโ้ ดยประสานงาน ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลและเจ้าหน้าที่ อสม. ในการให้ความรเู้ กยี่ วกบั การดแู ลสุขภาวะ อนามัยใหก้ ับประชาชนรวมท้งั ผลติ ชดุ ความร้เู ก่ยี วกับสขุ ภาวะสุขอนามัยเพ่อื ใชป้ ระกอบการเรยี นร้ใู นหลักสูตร การศึกษาของ กศน. ๓.๖เพ่มิ อัตราการอ่านของประชาชน โดยการจดั กจิ กรรมสง่ เสรมิ การอา่ นในรูปแบบตา่ งๆ เช่นอาสาสมัครสง่ เสริมการอ่านห้องสมดุ ประชาชนบ้านหนังสอื ชุมชนห้องสมุดเคลอื่ นท่ผี ลักดนั ให้เกดิ หอ้ งสมดุ สกู่ ารเป็นหอ้ งสมดุ เสมอื นจริงต้นแบบเพือ่ พฒั นาใหป้ ระชาชนมีความสามารถในระดับอ่านคล่องเข้าใจ ความคิดวเิ คราะหพ์ น้ื ฐานและสามารถรบั รูข้ อ้ มูลข่าวสารท่ีถูกตอ้ งและทนั เหตกุ ารณร์ วมทง้ั นาความรู้ทีไ่ ด้รับไป ใช้ปฏบิ ัตจิ รงิ ในชีวติ ประจาวัน ๓.๗เตรยี มความพร้อมการเข้าสสู่ งั คมผู้สูงอายุที่เหมาะสมและมคี ณุ ภาพ ๑) ส่งเสรมิ การจดั กจิ กรรมใหก้ ับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนกั ถงึ การเตรียมพรอ้ มเข้าสู่สงั คม ผูส้ งู อายุ (Aging Society) มคี วามเข้าใจในพฒั นาการของชว่ งวัยรวมท้ังเรยี นรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล รับผดิ ชอบผู้สงู อายใุ นครอบครวั และชุมชน ๒) พฒั นาการจัดบริการการศึกษาและการเรยี นรสู้ าหรับประชาชนในการเตรยี มความพร้อม เขา้ สูว่ ยั สูงอายุที่เหมาะสมและมคี ณุ ภาพ ๓) จดั การศึกษาเพอ่ื พัฒนาคุณภาพชวี ติ สาหรบั ผู้สงู อายภุ ายใต้แนวคดิ “Active Aging” การศึกษา เพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวิตและพฒั นาทกั ษะชวี ติ ให้สามารถดูแลตนเองทัง้ สุขภาพกายและสุขภาพจติ และรจู้ ักใช้ ประโยชน์จากเทคโนโลยี ๔) สรา้ งความตระหนักถงึ คุณค่าและศกั ดศิ์ รขี องผู้สงู อายุเปดิ โอกาสใหม้ ีการเผยแพรภ่ ูมิปัญญา ของผูส้ ูงอายแุ ละใหม้ สี ่วนรว่ มในกิจกรรมด้านตา่ งๆในชมุ ชนเช่นดา้ นอาชพี กีฬาศาสนาและวฒั นธรรม ๕) จัดการศกึ ษาอาชพี เพื่อรองรับสังคมผู้สูงอายโุ ดยบูรณาการความรว่ มมือกับหน่วยงานที่ เกย่ี วข้องในทุกระดบั ๓.๘พัฒนาหลักสตู รการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานโดยใช้กระบวนการ “สะเต็มศึกษา” (STEM Education) ๓.๙การส่งเสริมวทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ การศกึ ษา ๑) จดั กิจกรรมวิทยาศาสตรเ์ ชิงรกุ ท้งั ในสถานศกึ ษาและในชุมชน ๒) ให้ความรวู้ ิทยาศาสตรอ์ ย่างงา่ ยวิทยาศาสตร์ในวิถีชีวติ วทิ ยาศาสตรใ์ นชีวิตประจาวันกับประชาชน ๒) ร่วมมือกับหน่วยงานวิทยาศาสตรอ์ นื่ ในการพฒั นาสอื่ และรปู แบบการจัดกจิ กรรมทางวิทยาศาสตร์ ๓.๑๐ส่งเสรมิ และพัฒนาระบบการสะสมและเทยี บโอนหน่วยการเรียน (Credit Bank System) ของสถานศกึ ษาให้มคี ุณภาพมาตรฐานและสามารถตอบสนองความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายเพ่ือประโยชน์ ในการดาเนินการเทยี บโอนความรู้และประสบการณไ์ ดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๓.๑๑สรา้ งกระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบ E-learning ทีใ่ ชร้ ะบบเทคโนโลยเี ขา้ มาบริหารจัดการ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านทีด่ ีครูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 9 ~

เรียนรู้เพอ่ื เปน็ การสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรู้ใหก้ ับกลุ่มเป้าหมายไดส้ ะดวกรวดเร็วตรงตาม ความตอ้ งการของประชาชนผู้รบั บรกิ ารเช่นระบบการเรยี นร้ใู นระบบเปดิ สาหรบั มหาชน (Massive Open Online Courses : MOOCs) คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI) ๓.๑๒ส่งเสริมการรภู้ าษาไทยเพิ่มอัตราการรหู้ นังสือและยกระดับการร้หู นงั สอื ของประชาชน ๑) ส่งเสรมิ การรภู้ าษาไทยใหก้ ับประชาชนในรปู แบบตา่ งๆโดยเฉพาะประชาชนในเขตพฒั นา พิเศษเฉพาะกิจจงั หวัดชายแดนภาคใตใ้ ห้สามารถฟงั พดู อ่านและเขียนภาษาไทยเพื่อประโยชน์ในการใช้ ชีวิตประจาวันได้ ๒) เรง่ จัดการศกึ ษาเพื่อเพิม่ อัตราการรหู้ นงั สือและคงสภาพการรูห้ นงั สอื ใหป้ ระชาชนสามารถ อ่านออกเขียนได้และคิดเลขเป็นโดยมกี ารวดั ระดบั การรหู้ นังสอื การใช้สอื่ กระบวนการและกจิ กรรมพฒั นา ทักษะในรูปแบบตา่ งๆที่เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพพน้ื ทแ่ี ละกลุ่มเป้าหมาย ๓) ยกระดับการรูห้ นังสอื ของประชาชนโดยจัดกจิ กรรมพัฒนาทกั ษะการรูห้ นังสอื ในรปู แบบ ตา่ งๆรวมทัง้ พัฒนาใหป้ ระชาชนมที กั ษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษที่๒๑เพอ่ื เป็นเครื่องมอื ในการเรียนรู้ตลอดชวี ิตของ ประชาชน ๔. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๔.๑เพมิ่ โอกาสทางการศกึ ษาให้กบั ประชากรวยั เรยี นที่อยู่นอกระบบการศึกษา ๑) เร่งดาเนนิ การหาตัวตนของประชากรวัยเรยี นท่ีอยูน่ อกระบบการศึกษาใหก้ ลับเขา้ สรู่ ะบบ การศกึ ษาโดยใชก้ ลวิธี “เคาะประตูบ้านรุกถงึ ท่ลี ยุ ถงึ ถ่ิน” โดยประสานกับสานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดเพอื่ ดาเนินการตรวจสอบข้อมลู ทะเบียนราษฎร์เทยี บกบั ข้อมลู การลงทะเบยี นเรียนของทกุ หนว่ ยงานค้นหาผ้ทู ีไ่ มไ่ ด้ อยู่ในระบบการศกึ ษาเปน็ รายบคุ คลและรวบรวมจัดทาเปน็ ฐานข้อมูลและลงพน้ื ท่ตี ิดตามหาตวั ตนของ กลุ่มเป้าหมายหาสาเหตขุ องการไมเ่ ข้าเรยี นและสอบถามความต้องการในการศกึ ษาตอ่ พรอ้ มทั้งจาแนกขอ้ มลู ตามประเภทของสาเหตุและประเภทความต้องการในการศกึ ษาตอ่ และสง่ ต่อกลุม่ เป้าหมายเพื่อให้รับการศึกษา ต่อตามความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ๒) ตดิ ตามผลของกล่มุ เปา้ หมายประชากรวัยเรียนท่ีอย่นู อกระบบการศึกษาทไ่ี ดร้ ับการจัดหา ทเ่ี รียนและทงั้ จดั ทาฐานข้อมลู ผู้สาเร็จการศึกษาของกลมุ่ เป้าหมายรวมท้ังพฒั นาระบบเพอ่ื การติดตาม กลุ่มเป้าหมายที่ได้รบั การชว่ ยเหลือใหก้ ลบั เขา้ สู่ระบบการศึกษาแบบครบวงจรโดยติดตามตงั้ แต่การเข้าศึกษา ตอ่ จนจบการศกึ ษา ๔.๒พัฒนารปู แบบการจัดการศกึ ษาทางไกลใหม้ ีความทนั สมยั มหี ลักสตู รและสาระการเรียนรู้ ทีห่ ลากหลายและสถานศึกษากศน. สามารถนาไปใชใ้ นการจัดการเรียนรูใ้ หก้ บั กลุม่ เปา้ หมายได้อย่างเหมาะสม ๔.๓ยกระดบั การศกึ ษาให้กบั กลมุ่ เปา้ หมายทหารกองประจาการรวมทัง้ กลุม่ เป้าหมายพเิ ศษอ่นื ๆ เช่นผตู้ ้องขังคนพิการเด็กออกกลางคนั ให้จบการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐานสามารถนา ความร้ทู ่ีไดร้ ับไปพฒั นาตนเองได้อยา่ งตอ่ เน่อื ง ๔.๔สง่ เสรมิ และสนับสนุนให้เกดิ ตน้ แบบเมืองแหง่ การเรียนรู้เพื่อสง่ เสรมิ การเรียนรอู้ ย่างต่อเนอ่ื ง ให้กบั ประชาชนในชุมชนโดยกาหนดพ้ืนที่นารอ่ งที่ผ่านมาตรฐานเทยี บวัด (Benchmark) ของสานักงานกศน. ๔.๕พัฒนาหลกั สตู รการจดั การศึกษาอาชีพระยะส้ันใหม้ คี วามหลากหลายทนั สมัยเหมาะสมกบั บรบิ ทของพื้นที่และตอบสนองความต้องการของประชาชนผ้รู ับบรกิ าร ๔.๖ขับเคลอื่ นการดาเนนิ งานภายใต้แผนพฒั นาการศึกษาระดบั ภาค ๑) สร้างความรู้ความเขา้ ใจให้กับบคุ ลากรของสานกั งานกศน. เก่ยี วกับการดาเนนิ งานภายใต้ รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านทด่ี คี รูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 10 ~

แผนพัฒนาการศึกษาระดับภาคเพอ่ื ร่วมขบั เคลอื่ นยทุ ธศาสตร์การพฒั นาภาค ๒) เรง่ จัดทายทุ ธศาสตร์และแผนพฒั นาการศกึ ษาระดับภาคของสานักงานกศน. ใหส้ อดคล้อง กับแผนพัฒนาการศึกษาระดบั ภาค ๕. ยทุ ธศาสตรด์ า้ นการสรา้ งการเติบโตบนคุณภาพชีวติ ที่เปน็ มิตรตอ่ สิง่ แวดลอ้ ม ๕.๑ส่งเสริมให้มกี ารใหค้ วามรกู้ บั ประชาชนเก่ยี วกบั การป้องกันผลกระทบและปรับตวั ตอ่ การ เปลยี่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภยั พิบัตธิ รรมชาติ ๕.๒สรา้ งความตระหนักถึงความสาคัญของการสรา้ งสงั คมสีเขยี วสง่ เสริมความร้ใู หก้ บั ประชาชน เกี่ยวกับการคดั แยกการแปรรูปและการกาจดั ขยะรวมทง้ั การจัดการมลพษิ ในชุมชน ๕.๓ส่งเสรมิ ใหห้ นว่ ยงานและสถานศกึ ษาใช้พลงั งานท่ีเป็นมิตรกับสงิ่ แวดล้อมรวมท้งั ลดการใช้ ทรพั ยากรทสี่ ง่ ผลกระทบต่อส่งิ แวดลอ้ มเชน่ รณรงคเ์ ร่ืองการลดการใชถ้ ุงพลาสติกการประหยดั ไฟฟา้ เปน็ ต้น ๖. ยุทธศาสตร์ดา้ นการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจดั การภาครัฐ ๖.๑พฒั นาและปรับระบบวธิ กี ารปฏบิ ัติราชการใหท้ ันสมยั มคี วามโปรง่ ใสปลอดการทจุ ริตและ ประพฤตมิ ิชอบบรหิ ารจดั การบนข้อมูลและหลกั ฐานเชงิ ประจักษม์ ่งุ ผลสมั ฤทธ์มิ คี วามโปร่งใสนานวัตกรรม และเทคโนโลยีระบบการทางานท่เี ปน็ ดจิ ทิ ลั มาใชใ้ นการบรหิ ารและการตัดสินใจ ๖.๒พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลสารสนเทศด้านการศึกษาเพ่อื การบรหิ ารจดั การอยา่ งเป็นระบบและ เชอ่ื มโยงกบั ระบบฐานขอ้ มลู กลางของกระทรวงศึกษาธิการเพอ่ื การบริหารจดั การและบรู ณาการขอ้ มูลของ ประชาชนอยา่ งเปน็ ระบบ ๖.๓สง่ เสรมิ การพัฒนาบคุ ลากรทกุ ระดับอยา่ งตอ่ เนือ่ งให้มีความรูแ้ ละทักษะตามมาตรฐาน ตาแหนง่ ใหต้ รงกบั สายงานความชานาญและความต้องการของบคุ ลากร ๑. ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ ๑.๑การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ๑) สนับสนนุ การจดั การศึกษานอกระบบตงั้ แต่ปฐมวยั จนจบการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานโดยดาเนนิ การ ให้ผูเ้ รียนไดร้ บั การสนับสนุนคา่ จัดซื้อหนังสอื เรียนคา่ จดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนและคา่ จดั การเรยี น การสอนอยา่ งทั่วถึงและเพยี งพอเพ่ือเพิม่ โอกาสในการเขา้ ถงึ บรกิ ารทางการศกึ ษาทมี่ คี ุณภาพโดยไมเ่ สยี ค่าใชจ้ า่ ย ๒) จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานใหก้ ับกลุ่มเปา้ หมายผดู้ ้อยพลาดและขาดโอกาส ทางการศกึ ษาทงั้ ระบบการให้บรกิ ารระบบการเรียนการสอนระบบการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นผา่ นการ เรียนแบบเรียนรูด้ ว้ ยตนเองการพบกลุ่มการเรยี นแบบชนั้ เรียนและการจัดการศกึ ษาทางไกล ๓) จดั ใหม้ ีการประเมินเพอื่ เทยี บระดับการศึกษาและการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ ทม่ี คี วามโปรง่ ใสยตุ ธิ รรมตรวจสอบได้มีมาตรฐานตามทีก่ าหนดและสามารถตอบสนองความต้องการ ของกลุ่มเป้าหมายไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ๔) จดั ให้มีกิจกรรมพฒั นาคุณภาพผูเ้ รยี นท่มี ีคณุ ภาพท่ผี ู้เรยี นตอ้ งเรยี นรู้และเขา้ ร่วมปฏบิ ัติ กจิ กรรมเพ่ือเปน็ ส่วนหนึ่งของการจบหลักสูตรอาทกิ จิ กรรมเสรมิ สรา้ งความสามัคคีกิจกรรมเกย่ี วกบั การป้องกันและแกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ การบาเพ็ญสาธารณประโยชนอ์ ยา่ งตอ่ เนอ่ื งการส่งเสรมิ การปกครอง ในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุขกิจกรรมลูกเสอื เนตรนารแี ละยวุ กาชาดกิจกรรม จติ อาสาและการจัดต้ังชมรม/ชุมนมุ พรอ้ มท้งั เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นนากจิ กรรมการบาเพญ็ ประโยชน์อน่ื ๆ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีดคี รูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 11 ~

นอกหลักสูตรมาใช้เพมิ่ ชัว่ โมงกจิ กรรมให้ผเู้ รยี นจบตามหลักสูตรได้ ๑.๒การส่งเสรมิ การร้หู นังสือ ๑) พัฒนาระบบฐานข้อมูลผไู้ ม่รูห้ นงั สือให้มีความครบถ้วนถกู ต้องทันสมัยและเป็นระบบเดยี วกนั ท้ังส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ๒) พฒั นาหลกั สูตรสื่อแบบเรียนเครือ่ งมือวัดผลและเครื่องมือการดาเนินงานการส่งเสรมิ การรหู้ นังสือทีส่ อดคลอ้ งกบั สภาพแตล่ ะกลุ่มเปา้ หมาย ๓) พฒั นาครูกศน. และภาคเี ครือข่ายทีร่ ว่ มจดั การศกึ ษาให้มคี วามรู้ความสามารถและทักษะ การจดั กระบวนการเรียนรใู้ ห้กับผไู้ มร่ ู้หนังสอื อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและอาจจัดใหม้ อี าสาสมคั รสง่ เสริมการรู้ หนงั สือในพืน้ ทีท่ ี่มีความตอ้ งการจาเป็นเป็นพิเศษ ๔) สง่ เสริมสนับสนนุ ใหส้ ถานศกึ ษาจัดกจิ กรรมสง่ เสริมการร้หู นงั สอื การคงสภาพการรูห้ นังสือ การพัฒนาทกั ษะการรู้หนังสือให้กับประชาชนเพือ่ เป็นเครอื่ งมือในการศกึ ษาและเรียนรอู้ ยา่ งต่อเนื่องตลอด ชวี ติ ของประชาชน ๑.๓การศกึ ษาตอ่ เน่ือง ๑) จดั การศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมงี านทาอยา่ งยั่งยนื โดยให้ความสาคัญกบั การจัดการศึกษาอาชีพ เพ่อื การมงี านทาในกลุ่มอาชีพเกษตรกรรมอุตสาหกรรมพาณชิ ยกรรมคหกรรมและอาชีพเฉพาะทาง หรอื การบริการรวมถึงการเนน้ อาชีพชา่ งพื้นฐานทีส่ อดคล้องกับศักยภาพของผูเ้ รียนความต้องการและ ศกั ยภาพของแตล่ ะพื้นทตี่ ลอดจนสร้างความเขม้ แข็งใหก้ บั ศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชนโดยจัดให้มหี นึง่ อาชพี เดน่ ตอ่ หนึง่ ศูนยฝ์ ึกอาชีพรวมท้ังใหม้ ีการกากับติดตามและรายงานผลการจดั การศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทาอย่าง เปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง ๒) จดั การศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวิตให้กับทกุ กลุ่มเป้าหมายโดยเฉพาะคนพกิ ารผูส้ งู อายุ ทีส่ อดคล้องกับความตอ้ งการจาเป็นของแต่ละบุคคลและมุ่งเนน้ ให้ทุกกลมุ่ เปา้ หมายมที ักษะการดารงชวี ิต ตลอดจนสามารถประกอบอาชีพพ่ึงพาตนเองไดม้ ีความรู้ความสามารถในการบรหิ ารจัดการชีวติ ของตนเอง ให้อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ สามารถเผชญิ สถานการณ์ตา่ งๆท่ีเกดิ ข้นึ ในชวี ิตประจาวนั ได้อยา่ งมี ประสิทธภิ าพและเตรยี มพร้อมสาหรบั การปรบั ตัวใหท้ ันต่อการเปล่ียนแปลงของขา่ วสารขอ้ มูลและเทคโนโลยี สมัยใหม่ในอนาคตโดยจัดกจิ กรรมทม่ี เี นื้อหาสาคัญต่างๆเชน่ สขุ ภาพกายและจิตการป้องกนั ภัยยาเสพติด เพศศึกษาคุณธรรมและคา่ นิยมทพี่ งึ ประสงค์ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรัพย์สินผ่านการศกึ ษารูปแบบตา่ งๆ อาทิค่ายพัฒนาทกั ษะชีวติ การจดั ตั้งชมรม/ชมุ นมุ การส่งเสริมความสามารถพเิ ศษต่างๆ ๓) จัดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาสังคมและชุมชนโดยใชห้ ลักสตู รและการจดั กระบวนการเรียนรู้ แบบบรู ณาการในรปู แบบของการฝึกอบรมการประชมุ สัมมนาการจัดเวทแี ลกเปลีย่ นเรียนรกู้ ารจดั กิจกรรม จิตอาสาการสรา้ งชมุ ชนนกั ปฏิบตั แิ ละรปู แบบอื่นๆท่เี หมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมายและบรบิ ทของชมุ ชน แต่ละพนื้ ท่เี คารพความคิดของผ้อู ื่นยอมรบั ความแตกต่างและหลากหลายทางความคิดและอดุ มการณร์ วมทง้ั สงั คมพหุวัฒนธรรมโดยจดั กระบวนการให้บุคคลรวมกลมุ่ เพอื่ แลกเปลยี่ นเรียนรู้ร่วมกนั สรา้ งกระบวนการจติ สาธารณะการสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตยการเคารพในสทิ ธแิ ละรับผดิ ชอบต่อหน้าท่ีความเปน็ พลเมืองดีการสง่ เสรมิ คณุ ธรรมจริยธรรมการบาเพญ็ ประโยชน์ในชุมชนการบริหารจดั การน้าการรับมือกบั สา ธารณภัยการอนรุ กั ษพ์ ลังงานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ มช่วยเหลอื ซง่ึ กนั และกนั ในการพัฒนาสังคม และชุมชนอยา่ งยงั่ ยืน ๔) การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งผา่ นกระบวนการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานทดี่ ีครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 12 ~

ในรูปแบบต่างๆให้กับประชาชนเพือ่ เสริมสรา้ งภูมิค้มุ กันสามารถยนื หยัดอยไู่ ด้อยา่ งม่ันคงและมีการบรหิ าร จัดการความเสีย่ งอยา่ งเหมาะสมตามทิศทางการพัฒนาประเทศส่คู วามสมดุลและยงั่ ยนื ๑.๔การศึกษาตามอัธยาศัย ๑) สง่ เสรมิ ใหม้ ีการพฒั นาแหล่งการเรยี นรใู้ นระดบั ตาบลเพ่อื การถา่ ยทอดองคค์ วามรแู้ ละจัดกิจกรรม เพอ่ื เผยแพรอ่ งคค์ วามร้ใู นชุมชนไดอ้ ยา่ งท่ัวถึง ๒) จัดกจิ กรรมสง่ เสริมการเรยี นร้เู พ่ือปลกู ฝงั นสิ ัยรักการอา่ นและพัฒนาความสามารถในการอ่าน และศกั ยภาพการเรยี นรู้ของประชาชนทกุ กลุ่มเปา้ หมาย ๓) สง่ เสริมให้มกี ารสร้างบรรยากาศและสงิ่ แวดลอ้ มทเ่ี อื้อตอ่ การอา่ นให้เกิดขึ้นในสังคมไทย โดยสนบั สนุนการพัฒนาแหลง่ การเรยี นรู้ให้เกิดขนึ้ อย่างกวา้ งขวางและท่วั ถงึ เช่นพัฒนาหอ้ งสมดุ ประชาชน ทกุ แห่งใหเ้ ป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชวี ิตของชุมชนส่งเสรมิ และสนบั สนุนอาสาสมัครสง่ เสริมการอ่านการสร้าง เครอื ข่ายสง่ เสรมิ การอา่ นจัดหนว่ ยบรกิ ารเคล่ือนท่พี ร้อมอปุ กรณ์เพ่ือจดั กิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านและการ เรยี นรู้ทห่ี ลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นท่ตี ่างๆอยา่ งท่ัวถึงสมา่ เสมอรวมทั้งเสรมิ สร้างความพร้อมใน ด้านสื่ออปุ กรณ์เพื่อสนับสนุนการอ่านและการจัดกิจกรรมเพอื่ ส่งเสริมการอา่ นอย่างหลากหลาย ๔) จัดสร้างและพฒั นาศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่อื การศึกษาใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ตลอดชวี ติ ของประชาชนและเป็นแหลง่ ทอ่ งเท่ียวประจาท้องถ่นิ โดยจัดทาและพัฒนานทิ รรศการส่อื และกิจกรรม การศกึ ษาทเ่ี น้นการเสรมิ สรา้ งความร้แู ละสร้างแรงบนั ดาลใจสอดแทรกวิธกี ารคิดและปลกู ฝงั เจตคติ ทางวิทยาศาสตรผ์ ่านการฝกึ ทกั ษะกระบวนการที่บรู ณาการความรูด้ ้านวทิ ยาศาสตร์ควบคูก่ ับเทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณติ ศาสตร์รวมทงั้ สอดคลอ้ งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งบรบิ ทของของชุมชน และประเทศรวมท้งั การเปล่ียนแปลงระดบั ภมู ภิ าคและระดบั โลกเพอ่ื ใหป้ ระชาชนมีความรู้และความสามารถ ในการคิดเชิงวิเคราะหม์ ีทกั ษะทจี่ าเป็นในโลกศตวรรษที่๒๑มีความสามารถในการปรบั ตวั รองรับผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพและสามารถนาความรแู้ ละทกั ษะไปประยุกตใ์ ช้ในการ ดาเนินชวี ิตการพฒั นาอาชีพการรักษาสง่ิ แวดลอ้ มการบรรเทาและป้องกันภยั พบิ ัติทางธรรมชาติ ๑.๕พัฒนากศน. ตาบลสู่ “กศน.ตาบล 4 G” ๑) พัฒนาครูกศน. และบุคลากรท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การจัดกจิ กรรมการศกึ ษาและการเรยี นรู้ : Good Teacher ใหเ้ ปน็ ตัวกลางในการเชอื่ มโยงความรูก้ บั ผ้รู บั บรกิ ารมีความเปน็ “ครมู ืออาชีพ” มจี ิตบรกิ ารมคี วาม รอบรู้และทนั ตอ่ การเปล่ียนแปลงของสังคมเป็นผูจ้ ดั กจิ กรรมการเรียนรแู้ ละบริหารจัดการความรู้ที่ดีรวมทัง้ เป็นผู้ปฏิบตั ิงานอยา่ งมคี วามสุข ๒) พัฒนากศน.ตาบลให้มีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มเอ้อื ต่อการเรียนร้อู ย่างต่อเน่อื ง : Good Place Best Check-In มีความพรอ้ มในการใหบ้ ริการกจิ กรรมการศึกษาและการเรียนรู้เป็นแหล่งข้อมลู สาธารณะที่ งา่ ยตอ่ การเข้าถงึ และสะดวกต่อการเรยี นรูต้ ลอดชีวติ อย่างสรา้ งสรรค์มีสง่ิ อานวยความสะดวกดงึ ดูดความสนใจ และมีความปลอดภยั สาหรับผรู้ บั บริการ ๓) สง่ เสรมิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรภู้ ายในกศน.ตาบล : Good Activities ใหม้ ีความหลากหลาย นา่ สนใจตอบสนองความต้องการของชุมชนเพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพการเรียนร้ขู องประชาชนรวมทั้งเปดิ โอกาส ให้ชุมชนเข้ามาจัดกิจกรรมเพอ่ื เชอื่ มโยงความสัมพันธข์ องคนในชมุ ชน ๔) เสรมิ สร้างความรว่ มมอื กบั ภาคีเครือข่าย : Good Partnership ทั้งภาครัฐภาคเอกชนและ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่นรวมทัง้ ส่งเสริมและสนบั สนนุ การมสี ว่ นร่วมของชุมชนเพอื่ สร้างความเข้าใจและให้ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีดีครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 13 ~

เกิดความร่วมมือในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และจดั การศึกษาและการเรยี นรูใ้ ห้กับประชาชนอย่างมคี ณุ ภาพ ๑.๖ประสานความรว่ มมือหนว่ ยงานองค์กรหรือภาคส่วนต่างๆท่มี แี หลง่ เรียนรอู้ ่ืนๆเช่นพพิ ธิ ภัณฑ์ ศูนย์เรียนรู้แหล่งโบราณคดีหอ้ งสมดุ เพื่อส่งเสริมการจัดการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหม้ ีรปู แบบทห่ี ลากหลาย และตอบสนองความต้องการของประชาชน ๒. ดา้ นหลักสูตรสื่อรปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรกู้ ารวัดและประเมนิ ผลงานบรกิ ารทาง วชิ าการและการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ๒.๑ส่งเสรมิ การพัฒนาหลกั สตู รรปู แบบการจัดกระบวนการเรยี นรู้และกจิ กรรมเพ่ือส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ท่หี ลากหลายทันสมัยรวมทงั้ หลกั สูตรท้องถิน่ ท่ีสอดคล้องกับ สภาพบริบทของพ้ืนท่ีและความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายและชุมชน ๒.๒ส่งเสริมการพฒั นาสอื่ แบบเรยี นสอื่ อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละสอื่ อื่นๆทีเ่ อ้ือต่อการเรยี นรูข้ องผูเ้ รียน กลุ่มเปา้ หมายทัว่ ไปและกลุม่ เป้าหมายพิเศษ ๒.๓พฒั นารูปแบบการจดั การศึกษาทางไกลให้มคี วามทนั สมยั ดว้ ยระบบหอ้ งเรียนและการควบคมุ การสอบออนไลน์ ๒.๔พัฒนาระบบการประเมินเพ่อื เทยี บระดับการศกึ ษาและการเทยี บโอนความรู้และประสบการณ์ ให้มีคณุ ภาพมาตรฐานและสามารถตอบสนองความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๒.๕พฒั นาระบบการวัดและประเมนิ ผลการศกึ ษานอกระบบทุกหลักสูตรโดยเฉพาะหลักสตู ร ในระดบั การศึกษาขนั้ พื้นฐานให้ไดม้ าตรฐานโดยการนาแบบทดสอบกลางและระบบการสอบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Exam) มาใชอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ๒.๖ส่งเสรมิ และสนับสนุนการศึกษาวิจยั พัฒนาหลักสตู รรปู แบบการจดั กระบวนการเรียนรกู้ ารวัด และประเมนิ ผลและเผยแพร่รูปแบบการจดั ส่งเสรมิ และสนับสนุนการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษา ตามอธั ยาศยั เพอื่ ใหม้ กี ารนาไปสกู่ ารปฏิบตั ิอยา่ งกวา้ งขวางและมีการพัฒนาให้เหมาะสมกับบรบิ ทอย่าง ต่อเนอื่ ง ๒.๗พัฒนาระบบประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษาให้ไดม้ าตรฐานเพอื่ พร้อมรับการประเมนิ คุณภาพภายนอกโดยพฒั นาบุคลากรให้มีความรคู้ วามเข้าใจตระหนักถงึ ความสาคัญของระบบการประกัน คณุ ภาพและสามารถดาเนินการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษาไดอ้ ย่างตอ่ เนือ่ งโดยใชก้ ารประเมนิ ภายในด้วยตนเองและจัดใหม้ ีระบบสถานศึกษาพี่เล้ยี งเข้าไปสนบั สนนุ อยา่ งใกลช้ ดิ สาหรบั สถานศึกษาทย่ี ัง ไม่ได้เขา้ รบั การประเมนิ คณุ ภาพภายนอกใหพ้ ัฒนาคุณภาพการจดั การศกึ ษาให้ได้คณุ ภาพตามมาตรฐานท่ี กาหนด ๓. ด้านเทคโนโลยเี พื่อการศกึ ษา ๓.๑ผลิตและพัฒนารายการวทิ ยุและรายการโทรทัศน์เพ่อื การศึกษาใหเ้ ชือ่ มโยงและตอบสนองตอ่ การจดั กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ของสถานศกึ ษาเพ่อื กระจายโอกาส ทางการศกึ ษาสาหรบั กลมุ่ เปา้ หมายตา่ งๆใหม้ ีทางเลอื กในการเรียนร้ทู ี่หลากหลายและมคี ุณภาพสามารถพฒั นา ตนเองให้รเู้ ท่าทนั สอื่ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การสื่อสารเช่นรายการพฒั นาอาชพี เพือ่ การมงี านทา รายการติวเข้มเตมิ เต็มความรฯู้ ลฯเผยแพรท่ างสถานีวทิ ยศุ ึกษาสถานวี ทิ ยุโทรทศั นเ์ พ่ือการศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอนิ เทอร์เน็ต ๓.๒พฒั นาการเผยแพรก่ ารจดั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยผา่ นระบบ เทคโนโลยดี จิ ิทลั และชอ่ งทางออนไลน์ตา่ งๆเชน่ Youtube Facebook หรือ Application อ่นื ๆเพ่ือส่งเสริม รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานท่ดี คี รอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 14 ~

ใหค้ รูกศน. นาเทคโนโลยีดิจิทลั มาใช้ในการสร้างกระบวนการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) ๓.๓พฒั นาสถานีวทิ ยศุ กึ ษาและสถานโี ทรทัศน์เพอื่ การศึกษาเพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพการผลิต และการออกอากาศใหก้ ลมุ่ เปา้ หมายสามารถใชเ้ ปน็ ช่องทางการเรียนรู้ที่มีคุณภาพไดอ้ ยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวิต โดยขยายเครือข่ายการรบั ฟงั ใหส้ ามารถรับฟงั ได้ทกุ ท่ที กุ เวลาครอบคลมุ พื้นทีท่ ่ัวประเทศและเพม่ิ ช่องทาง ใหส้ ามารถรับชมรายการโทรทัศน์ได้ทั้งระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอรเ์ นต็ พรอ้ มที่ จะรองรับการพฒั นาเป็นสถานวี ิทยโุ ทรทศั นเ์ พื่อการศึกษาสาธารณะ (Free ETV) ๓.๔พฒั นาระบบการให้บรกิ ารสือ่ เทคโนโลยเี พือ่ การศกึ ษาให้ไดห้ ลายช่องทางทงั้ ทางอนิ เทอร์เนต็ และรูปแบบอน่ื ๆเชน่ Application บนโทรศพั ท์เคลอ่ื นทแ่ี ละ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP3 เปน็ ต้น เพอ่ื ใหก้ ล่มุ เป้าหมายสามารถเลือกใช้บริการเพือ่ เขา้ ถงึ โอกาสทางการศกึ ษาและการเรยี นรูไ้ ด้ตามความตอ้ งการ ๓.๕สารวจวจิ ัยติดตามประเมนิ ผลด้านการใชส้ ่ือเทคโนโลยเี พื่อการศึกษาอยา่ งต่อเนอ่ื งและนาผล มาใช้ในการพฒั นางานใหม้ ีความถกู ตอ้ งทันสมัยและสามารถส่งเสริมการศึกษาและการเรียนรตู้ ลอดชวี ิต ของประชาชนได้อยา่ งแท้จริง ๔. ดา้ นโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริหรือโครงการอันเกี่ยวเนือ่ งจากราชวงศ์ ๔.๑สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การดาเนินงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริหรอื โครงการ อันเกี่ยวเนือ่ งจากราชวงศ์ ๔.๒จัดทาฐานขอ้ มลู โครงการและกจิ กรรมของกศน. ที่สนองงานโครงการอนั เน่อื งมาจาก พระราชดาริหรือโครงการอนั เกี่ยวเนือ่ งจากราชวงศ์ทสี่ ามารถนาไปใช้ในการวางแผนการติดตามประเมนิ ผล และการพฒั นางานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๔.๓สง่ เสรมิ การสร้างเครอื ข่ายการดาเนินงานเพ่อื สนบั สนุนโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ เพอื่ ให้เกิดความเข้มแข็งในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ๔.๔พฒั นาศูนย์การเรยี นชมุ ชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟา้ หลวง” ให้มคี วามพร้อมในการจดั การศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหนา้ ทที่ กี่ าหนดไวอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ๔.๕จัดและส่งเสรมิ การเรียนรู้ตลอดชวี ติ ใหส้ อดคล้องกับวถิ ีชีวติ ของประชาชนบนพ้นื ที่สงู ถิน่ ทุรกันดารและพืน้ ที่ชายขอบ ๕. ดา้ นการศกึ ษาในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้พ้นื ท่ีเขตเศรษฐกิจพเิ ศษและพนื้ ที่บริเวณชายแดน ๕.๑พฒั นาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ในจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ๑) จัดและพฒั นาหลกั สตู รและกจิ กรรมส่งเสริมการศึกษาและการเรยี นรทู้ ีต่ อบสนองปัญหา และความต้องการของกลมุ่ เปา้ หมายรวมทัง้ อัตลักษณ์และความเปน็ พหวุ ัฒนธรรมของพ้ืนที่ ๒) พฒั นาคุณภาพการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐานอยา่ งเข้มข้นและต่อเนอ่ื ง เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถนาความรทู้ ี่ได้รับไปใชป้ ระโยชน์ได้จริง ๓) ให้หนว่ ยงานและสถานศกึ ษาจัดใหม้ มี าตรการดแู ลรกั ษาความปลอดภัยแก่บุคลากร และนักศกึ ษากศน. ตลอดจนผูม้ าใช้บริการอยา่ งทว่ั ถงึ ๕.๒พฒั นาการจดั การศึกษาแบบบรู ณาการในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ ๑) ประสานความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งในการจัดทาแผนการศึกษาตามยุทธศาสตร์ และบริบทของแต่ละจังหวดั ในเขตพฒั นาเศรษฐกจิ พเิ ศษ ๒) จดั ทาหลกั สูตรการศึกษาตามบริบทของพน้ื ทโ่ี ดยเนน้ สาขาท่เี ปน็ ความตอ้ งการของตลาด รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานทด่ี ีครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 15 ~

ให้เกดิ การพัฒนาอาชีพได้ตรงตามความต้องการของพน้ื ที่ ๕.๓จัดการศกึ ษาเพอ่ื ความมน่ั คงของศนู ย์ฝึกและพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบรเิ วณชายแดน (ศฝช.) ๑) พฒั นาศนู ย์ฝกึ และพฒั นาอาชพี ราษฎรไทยบริเวณชายแดนให้เป็นศูนย์ฝกึ และสาธติ การประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรมและศูนย์การเรยี นรู้ต้นแบบการจดั กจิ กรรมตามแนวพระราชดาริปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพียงสาหรบั ประชาชนตามแนวชายแดนด้วยวธิ กี ารเรยี นร้ทู ี่หลากหลาย ๒) ม่งุ จดั และพฒั นาการศกึ ษาอาชพี โดยใช้วธิ ีการหลากหลายใชร้ ูปแบบเชิงรกุ เพือ่ การเข้าถงึ กลุม่ เปา้ หมายเช่นการจัดมหกรรมอาชีพการประสานความร่วมมือกบั เครือข่ายการจัดอบรมแกนนาด้านอาชีพ ท่เี น้นเร่อื งเกษตรธรรมชาตทิ ่ีสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของชุมชนชายแดนให้แกป่ ระชาชนตามแนวชายแดน ๖. ด้านบคุ ลากรระบบการบริหารจัดการและการมสี ่วนรว่ มของทกุ ภาคสว่ น ๖.๑การพัฒนาบคุ ลากร ๑) พฒั นาบคุ ลากรทุกระดับทกุ ประเภทให้มสี มรรถนะสงู ขน้ึ อย่างต่อเนื่องท้งั กอ่ นและระหว่าง การดารงตาแหนง่ เพ่อื ให้มีเจตคติทีด่ ใี นการปฏิบตั งิ านสามารถปฏิบตั ิงานและบรหิ ารจัดการการดาเนนิ งาน ของหนว่ ยงานและสถานศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพรวมทงั้ สง่ เสรมิ ใหข้ ้าราชการในสังกดั พัฒนาตนเอง เพ่อื เล่อื นตาแหน่งหรอื เล่อื นวิทยฐานะโดยเนน้ การประเมนิ วิทยฐานะเชิงประจกั ษ์ ๒) พัฒนาศึกษานิเทศกก์ ศน. ให้มีสมรรถนะท่จี าเป็นครบถว้ นมคี วามเป็นมืออาชพี สามารถ ปฏิบัติการนเิ ทศได้อยา่ งมีศกั ยภาพเพ่อื รว่ มยกระดบั คณุ ภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัยในสถานศกึ ษา ๓) พฒั นาหัวหนา้ กศน. ตาบล/แขวงให้มสี มรรถนะสงู ขึ้นเพ่อื การบรหิ ารจัดการกศน. ตาบล/แขวง และการปฏิบัตงิ านตามบทบาทภารกิจอย่างมปี ระสทิ ธิภาพโดยเนน้ การเป็นนกั จัดการความร้แู ละผู้อานวย ความสะดวกในการเรียนรูเ้ พื่อให้ผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรทู้ ี่มปี ระสิทธภิ าพอย่างแทจ้ รงิ ๔) พฒั นาครกู ศน. และบคุ ลากรทเี่ ก่ยี วข้องกับการจดั การศกึ ษาให้สามารถจดั รูปแบบการเรยี นรู้ ไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพโดยสง่ เสริมใหม้ คี วามรู้ความสามารถในการจดั ทาแผนการสอนการจัดกระบวนการเรยี นรู้ การวัดและประเมนิ ผลและการวจิ ยั เบอื้ งต้น ๕) พัฒนาศักยภาพบุคลากรท่ีรบั ผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรยี นร้ใู ห้มีความรู้ ความสามารถและมคี วามเป็นมืออาชีพในการจัดบริการสง่ เสริมการเรยี นรู้ตลอดชีวิตของประชาชน ๖) ส่งเสริมใหค้ ณะกรรมการกศน. ทุกระดบั และคณะกรรมการสถานศกึ ษามีสว่ นร่วมในการบริหาร การดาเนินงานตามบทบาทภารกิจของกศน. อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๗) พัฒนาอาสาสมคั รกศน. ใหส้ ามารถทาหน้าทีส่ นับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ๘) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคลากรรวมท้ังภาคเี ครอื ขา่ ย ท้งั ในและตา่ งประเทศในทกุ ระดับโดยจัดให้มีกิจกรรมเพือ่ เสริมสรา้ งสัมพนั ธภาพและเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการ ทางานร่วมกนั ในรูปแบบท่ีหลากหลายอย่างตอ่ เน่อื ง ๖.๒การพัฒนาโครงสรา้ งพ้นื ฐานและอตั รากาลัง ๑) จัดทาแผนการพฒั นาโครงสร้างพ้นื ฐานและดาเนินการปรับปรงุ สถานท่ีและวสั ดุอุปกรณ์ ใหม้ ีความพรอ้ มในการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้ ๒) บริหารอตั รากาลงั ทม่ี ีอยูท่ ้งั ในส่วนทีเ่ ปน็ ข้าราชการพนกั งานราชการและลกู จา้ งใหเ้ กิด ประสิทธิภาพสูงสุดในการปฏบิ ตั งิ าน ๓) แสวงหาความร่วมมอื จากภาคีเครือขา่ ยทุกภาคสว่ นในการระดมทรัพยากรเพื่อนามาใช้ในการ รายงานผลการปฏิบตั งิ านท่ีดคี รอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 16 ~

ปรับปรงุ โครงสรา้ งพน้ื ฐานใหม้ คี วามพรอ้ มสาหรับดาเนินกจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยและการสง่ เสริมการเรยี นรสู้ าหรบั ประชาชน ๖.๓การพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การ ๑) พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลใหม้ คี วามครบถ้วนถกู ตอ้ งทนั สมยั และเช่อื มโยงกันทว่ั ประเทศ อยา่ งเป็นระบบเพอื่ ใหห้ น่วยงานและสถานศกึ ษาในสงั กัดสามารถนาไปใชเ้ ป็นเคร่อื งมอื สาคัญในการบริหาร การวางแผนการปฏบิ ตั งิ านการตดิ ตามประเมินผลรวมทงั้ จัดบรกิ ารการศึกษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๒) เพิม่ ประสทิ ธิภาพการบริหารจดั การงบประมาณโดยพัฒนาระบบการกากบั ควบคุมและเร่งรัด การเบิกจ่ายงบประมาณให้เป็นตามเปา้ หมายทก่ี าหนดไว้ ๓) พฒั นาระบบฐานข้อมลู รวมของนกั ศกึ ษากศน. ใหม้ คี วามครบถว้ นถกู ตอ้ งทนั สมยั และเชือ่ มโยงกนั ทัว่ ประเทศสามารถสบื ค้นและสอบทานไดท้ นั ความตอ้ งการเพื่อประโยชนใ์ นการจดั การศกึ ษา ใหก้ บั ผู้เรียนและการบริหารจัดการอยา่ งมีประสิทธิภาพ ๔) ส่งเสริมให้มกี ารจัดการความร้ใู นหน่วยงานและสถานศึกษาทุกระดับรวมทง้ั การศกึ ษาวิจยั เพอื่ สามารถนามาใชใ้ นการพฒั นาประสิทธภิ าพการดาเนินงานที่สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของประชาชน และชุมชนพรอ้ มทง้ั พัฒนาขดี ความสามารถเชิงการแข่งขนั ของหน่วยงานและสถานศึกษา ๕) สร้างความร่วมมือของทกุ ภาคสว่ นทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศในการพัฒนาและส่งเสรมิ การจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการเรียนรู้ตลอดชีวติ ๖) ส่งเสรมิ การใช้ระบบสานักงานอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-office) ในการบรหิ ารจดั การเชน่ ระบบการลา ระบบสารบรรณอเิ ลก็ ทรอนิกสร์ ะบบการขอใชร้ ถราชการระบบการขอใช้หอ้ งประชุมเป็นตน้ ๖.๔การกากับนิเทศติดตามประเมนิ และรายงานผล ๑) สรา้ งกลไกการกากบั นเิ ทศติดตามประเมนิ และรายงานผลการดาเนนิ งานการศกึ ษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยใหเ้ ชื่อมโยงกับหน่วยงานสถานศกึ ษาและภาคีเครือขา่ ยทงั้ ระบบ ๒) ใหห้ น่วยงานและสถานศึกษาทเ่ี กี่ยวขอ้ งทกุ ระดับพฒั นาระบบกลไกการกากับตดิ ตาม และรายงานผลการนานโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั ิให้สามารถตอบสนองการดาเนินงานตามนโยบายในแต่ละเร่ือง ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ๓) สง่ เสริมการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและสื่ออ่ืนๆท่ีเหมาะสมเพอื่ การกากบั นิเทศติดตามประเมินผลและรายงานผลอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ๔) พัฒนากลไกการตดิ ตามประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิราชการตามคารับรองการปฏบิ ัติราชการประจาปี ของหน่วยงานสถานศึกษาเพอ่ื การรายงานผลตามตัวช้ีวดั ในคารับรองการปฏบิ ตั ริ าชการประจาปี ของสานกั งาน กศน. ใหด้ าเนนิ ไปอยา่ งมีประสิทธภิ าพเปน็ ไปตามเกณฑว์ ิธีการและระยะเวลาท่กี าหนด ๕) ให้มกี ารเช่อื มโยงระบบการนเิ ทศในทกุ ระดับท้ังหนว่ ยงานภายในและภายนอกองค์กรตง้ั แต่ ส่วนกลางภูมภิ าคกลุม่ จงั หวดั จงั หวดั อาเภอ/เขตและตาบล/แขวงเพอื่ ความเปน็ เอกภาพในการใช้ข้อมูล และการพัฒนางานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านท่ดี ีครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 17 ~

ผลการดาเนนิ งาน ดาเนินการจดั ทาโครงการการจดั ทาแผนจุลภาคระดบั ตาบลและแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี งบประมาณ 2562 โดยไดด้ าเนินในแตล่ ะตาบลมอบหมายใหค้ รอู าสาสมคั รฯและครู กศน.ตาบลรว่ มกันลง พนื้ ท่ีเพื่อดาเนนิ การจดั ทาเวทีแลกเปลย่ี นเรียนรู้ โดยไดค้ ัดเลอื กตวั แทนกลมุ่ อาชพี ผ้นู าชุมชน หนว่ ยงาน ราชการในพืน้ ท่ี มารว่ มแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ท้ังเพอื่ ให้ได้ความตอ้ งการทางดา้ นการจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั จากคนในชมุ ชนโดยแท้จรงิ ทั้งน้ไี ด้กาหนดวันดาเนินการในเดอื นพฤศจิกายน 2562 สถานที่ ณ กศน.ตาบลทกุ ตาบล ท้ังนไ้ี ด้ดาเนินการจดั ทาคาส่ังมอบหมายงานตามโครงการจัดทาแผนจุลภาคระดบั ตาบลและ แผนปฏิบัตกิ ารประจาปงี บประมาณ 2562 คาส่ังที่ 067/2562 ส่งั ณ วนั ท่ี 3 พฤศจิกายน 2562 เพ่ือใหบ้ ุคคลที่ได้รับคาสั่งปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสทิ ธภิ าพ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อทาง ราชการ การจัดเวทีประชาคม ประชาคม คือ การรวมตวั ของสมาชกิ ในชมุ ชนเพอ่ื ร่วมกันทากิจกรรมตา่ งๆของชุมชนดว้ ย ตนเอง เป็นเวทขี องการพดู คยุ แลกเปล่ยี นถกแถลง( ไม่ใช้โต้เถียง) เกีย่ วกบั ขอ้ มลู เช่น การแก้ไขปญั หาใน ชมุ ชน การวางแผนพัฒนาชุมชน การกาหนดขอ้ ตกลงรว่ มกนั โดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ท่ี มวี ัตถปุ ระสงคห์ รือสนใจในเรอื่ งเดยี วกัน เปน็ การรวมตัวกนั ตามสถานการณ์หรอื สภาพปญั หาที่เกิดขนึ้ มี ๒ ลกั ษณะ คอื 1. อยา่ งเปน็ ทางการ โดยการจัดเวทีหรือการจัดประชมุ 2. อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการ เช่นการสนทนากลุ่มเลก็ ในศาลาวัด การพบปะพูดคยุ อาจเป็นคร้ัง คราว วิธกี ารและเทคนิคการจัดเวทปี ระชาคมหมู่บา้ น/ตาบล วงจรข้ันตอนการดาเนินการ 1. การเตรยี มการ ๓.การประเมินผลและ ๒. การดาเนนิ การ และตดิ ตามผล วงจรการจัดเวทีประชาคม รายงานผลการปฏิบัตงิ านท่ีดคี รูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 18 ~

๑ ขั้นเตรยี มการ วตั ถปุ ระสงค์ เพื่อใหผ้ ูจ้ ดั และทมี งานดาเนินงานเวทีประชาคม เขา้ ใจถงึ สภาพปัญหา ของ หมบู่ า้ น ตาบล ชุมชน ในดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม การเมือง การปกครอง และความสัมพนั ธ์ของผคู้ นในชมุ ชน เพ่อื นนาไปสูก่ ารจัดเวทีประชาคม ระดบั หมูบ่ ้าน ตาบล โดยมีขนั้ ตอน ดงั นี้ ๑.๑ ศกึ ษาข้อมูลชมุ ชน โดยการศึกษาขอ้ มลู ท่ีเกีย่ วขอ้ งในชุมชน จากหน่วยงานต่างๆ หรือศกึ ษา ข้อมูลด้านลกึ เพมิ่ เติมจากชาวบ้าน กลุ่มผ้นู าทเี่ ป็นทางการและไม่เปน็ โดยทางการ โดยการพูดคยุ รว่ มกิจกรรม ขอ้ มูลอ่ืนๆทจี่ ะเปน็ ประโยชนใ์ นการจัดเวทีประชาคม ๑.๒ การกาหนดทีมดาเนินงาน ๑.๒.๑ ทีมดาเนนิ งาน ควรมีผนู้ าชมุ ชนเข้าร่วมดว้ ย เรยี นรู้เรอื่ งประชาคมตั้งแตเ่ ร่ิมแรกใน อนาคต ในอนาคตผู้นาเหล่านอี้ าจจะเป็นผู้จัดเวทีประชาคมได้เอง จานวนของทมี ดาเนินงาน จะมจี านวน มากน้อยกับขนาดของเวที ( จานวนกลุ่มเป้าหมายที่เข้ารว่ มเวที ) อาจจะเรมิ่ ตัง้ แต่ ๓๐ คน หรือมากกวา่ น้ี แลว้ แตค่ วามเหมาะสม ๑.๒.๒ ผู้ดาเนินการในการจดั เวที ควรประกอบดว้ ย (๑) ผ้กู ระตุ้นนา ทาหนา้ ท่หี ลักในการดาเนนการตามประเดน็ ที่ได้เตรยี มมาและปรบั ตาม สถานการณ์ (๒) ผู้สรา้ งบรรยากาศทาหน้าที่ชว่ ยและเก็บตกจากผกู้ ระตุ้นหลกั ของทมี หลงลมื หรอื พลาด รวมทง้ั เปน็ ผูส้ ร้างบรรยากาศใหต้ ่ืนตวั ไม่น่าเบ่อื (๓) ผู้สังเกตการณ์ ทาหน้าท่ีสังเกตพฤติกรรมของผรู้ ว่ มเวที ให้ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไข สถานการณ์ และสรา้ งสรรคบ์ รรยากาศ ( ๔) ผู้อานวยความสะดวก ทาหนา้ ทีใ่ นดา้ นการบรหิ ารอปุ กรณ์ ที่ผูเ้ ข้ารว่ มเวทตี อ้ งการ ตามขน้ั ตอนของเทคนคิ ท่ีใช้ ๑.๓ การกาหนดวัตถปุ ระสงค์ วัตถุประสงค์จะถูกกาหนดจากผลการศึกษา วเิ คราะห์ข้อมูลชุมชน มาเปน็ แนวทางในการ กาหนด ๑.๔ การกาหนดกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้ข้อมูล และผลวิเคราะห์ ซึง่ จานวนกลุม่ เป้าหมายควรอยู่ระหว่าง ๓๐ – ๕๐ คน ผูท้ เี่ ขา้ รว่ มเวทคี วรประกอบดว้ ย กรรมการหมู่บา้ น ผูแ้ ทนกลุ่มต่าง ผู้อาวุโส ผ้นู าทอ้ งถิ่น ผูน้ าธรรมชาติ อาสาสมัคร ผมู้ สี ่วนได้สว่ นเสยี สมาชิก อบต. ๑.๕ ระยะเวลาในการจัดเวทปี ระชาคม พิจารณาตามความเหมาะสม อาจจะเป็นเพียง ๑ วัน ๒ วัน หรือ ๓ วัน สดุ แลว้ แล้วแตป่ ระเด็น ในการพูดคุย เวลาในการประกอบอาชีพ ๑.๖ ประเด็นเน้ือหาในการจดั เวทปี ระชาคมทส่ี าคัญๆคือ (๑) การคน้ หาความคาดหวงั ของชมุ ชน (๒) การเรียนรูช้ มุ ชนร่วมกัน (๓) การคน้ หาปัญหาของชุมชนและแนวโน้มของอนาคต (๔) การคน้ หาโอกาสที่เออ้ื ต่อการพัฒนาชมุ ชน (๕) การคน้ หาเพื่อนรว่ มพฒั นาทั้งในและนอกชุมชน รายงานผลการปฏิบัตงิ านทีด่ คี รอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 19 ~

(๖) การกาหนดเปา้ หมายการพัฒนา (๗) การวางแผน วางโครงการ และกิจกรรม (๘)การแบง่ งานเพ่อื การปฏบิ ัติ ให้เปน็ ตามเป้าหมายการพฒั นาทีก่ าหนด ๒. ขน้ั ดาเนนิ การ วิธีการ/เทคนิค สอ่ื /อปุ กรณ์ กิจกรรม -ปรับใช้ตามความเหมาะสม เชน่ เกม -ส่ือท่ใี ชใ้ นการประกอบเกม เพลง 1. สรา้ งความคนุ้ เคย ๑.๑ แนะนาตวั ผ้เู ขา้ รว่ ม ท่เี สรมิ สรา้ งความคุ้นเคยต่างๆ เพลง อ่นื ๆเทา่ ทีจ่ าเป็น ประชมุ การปรบมอื การพูดคุย ฯลฯ ๑.๒. ละลายพฤตกิ รรม -พูดคยุ -ปากกาเคมี 2. แจง้ วตั ถุประสงคแ์ ละขอ้ ตกลง -เขยี นใสบ่ ัตรคา -บตั รคา ร่วมกนั ในการประชุม นาเสนอบตั รคาตดิ แผ่น -การดาษฟลิปชาร์ท 3.กาหนดความคาดหวงั ฟลปิ ชาร์ท -เทปกาว ๔.การใหก้ ารศกึ ษาชมุ ชน -สรุปรวมเป็นขอ้ ตกลงของที่ประชมุ -ปากกาเคมี ๕. ค้นหาความปญั หาร่วมกัน -แบ่งกลุ่มยอ่ ยเพอ่ื ระดมสมอง หา -บัตรคา ความคาดหวงั ของกลุม่ โดยเขียนลง -การดาษฟลปิ ชาร์ท ๖. ค้นหาความหวังและโอกาส ในบัตรคา -เทปกาว -สรปุ ผลรวมผลความคิดของกลุ่ม ย่อยเปน็ ของทีป่ ระชมุ ใหญ่ ปากกาเคมี -บตั รคา -สะท้อนภาพรวมของชมุ ชนในดา้ น -การดาษฟลปิ ชารท์ ต่างๆ เช่น โครงสรา้ งพนื้ ฐาน กลมุ่ -เทปกาว องคก์ ร การประกอบอาชีพ -ผอู้ าวโุ ส /ปราชญ์ ชาวบ้าน ทรัพยากร ประเพณี วัฒนธรรม ความผูกพนั ธ์ ของชุมชน สภาพ -ปากกาเคมี ปญั หา โดยใช้เทคนคิ การกระตุ้นที่ -บัตรคา เหมาะสม -การดาษฟลปิ ชารท์ -เทปกาว - ใช้ระดมสมอง -ให้มีอาสาสมัครรวบรวมความคิด -ปากกาเคมี จากการระดมสมองเพ่อื สรุปตอ่ ท่ี -บตั รคา ประชมุ ใหญข่ องเวที -การดาษฟลปิ ชารท์ - นาเสนอโดยจดั ลาดบั -เทปกาว ความสาคัญของปญั หา -ผูเ้ ขา้ รว่ มเวทตี ้องกาหนดปญั หา รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านทดี่ ีครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 20 ~

กจิ กรรม วิธีการ/เทคนคิ สอ่ื /อุปกรณ์ ๗.ค้นหาส่ิงดีในชุมชน -ใหผ้ รู้ ่วมประชุมเสนอสง่ิ ดีท่มี อี ย่ใู น ชมุ ชนวา่ มีอะไรบา้ ง -กระดาษฟลิปชาร์ท 8. คน้ หาเพือ่ นรว่ มพฒั นา -ปากกาเคมี -ช้ีแจง กระตุ้น ใหช้ ่วยคน้ หา -เทปกาว สรปุ ประเดน็ ลงในกระดาษ ฟลิปชารท์ -ปากกาเคมี -การดาษฟลิปชารท์ -เทปกาว 9. กาหนดเปา้ หมายการพฒั นา -ผ้เู ขา้ ร่วมประชมุ ร่วมกาหนด -ปากกาเคมี 10.รว่ มกันวางแผน วางโครงการ เปา้ หมายการพัฒนา โดยคานึงถึง -การดาษฟลปิ ชารท์ ปจั จยั เชิงบวก -เทปกาว ๙. เลอื กกลมุ่ แกนเพ่ือรับผดิ ชอบ -บอร์ดภาพรวมของชมุ ชนทั้งหมด ดาเนินการตามโครงการ -ผเู้ ขา้ ร่วมเวทรี ่วมกนั กาหนดแผน -ปากกาเคมี -กระดาษฟลปิ ชารท์ โครงการ และกิจกรรม เขียนลงในฟ -เทปกาว ลิปชาร์ทจดั หมวดหมโู่ ครงการ กิจกรรม ออกเป็น ๓ ประเภท -ปากกาเคมี ๑)ประเภทดาเนินการเองได้ -การดาษฟลปิ ชารท์ ๒)ประเภทตอ้ งดาเนินการ -เทปกาว ร่วมกับผู้อ่ืน ๓)ประเภทรฐั เปน็ ผดู้ าเนนิ การให้ โดยผู้ดาเนินการและผูร้ ่วมเวที สรปุ แผน โครงการ และกิจกรรมที่ จะดาเนนิ การใหบ้ รรลผุ ล -เปดิ โอกาสให้ท่ปี ระชุมเลอื กกลมุ่ แกนรบั ผดิ ชอบปฏิบัติการตาม โครงการท่กี าหนด ๓.ข้ันการประเมินและตดิ ตามผล ๓.๑ ผ้ดู าเนินการและผู้เขา้ ร่วมเวที รว่ มกันสรปุ ผลการจัดเวทีประชาคม และประเมิน จดุ เด่น จุดดอ้ ย ข้อบกพรอ่ ง สงิ่ ท่คี วรปรับปรงุ แก้ไขสาหรบั การจัดเวทีครง้ั ต่อไป ตลอดจนนาผลงานที่ ปรากฏในระหวา่ งการจัดเวทีประชาคม จดั เข้าแฟ้มข้อมลู และแสดงผลการดาเนนิ การเวทปี ระชาคมให้ ผู้เข้าร่วมประชาหรอื ผทู้ ส่ี นใจทราบ ๓.๒ เจา้ หน้าท่ผี ู้นาชุมชน ผ้นู าทอ้ งถน่ิ และผเู้ ก่ียวขอ้ ง ประสานภาค องคก์ รต่างๆ เพื่อ สนับสนุน การปฏบิ ัติงานของกลมุ่ แกนทีร่ ับผดิ ชอบโครงการน้นั ๆ และเพือ่ เป็นการการใหก้ าลังใจแกก่ ลุ่มแกน ดว้ ย พร้อมช่วยเหลอื แก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดข้ึนระหวา่ งดาเนนิ การ ๓.๓ เจา้ หนา้ ที่ ผู้นาทอ้ งถน่ิ ผู้นาชุมชน ชว่ ยกนั กระตุ้นให้เกดิ การจัดเวทปี ระชาคมครง้ั ต่อๆไป รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านที่ดีครอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 21 ~

สง่ิ ทคี่ วรคานงึ ในการจดั เวทีประชาคม 1. กอ่ นดาเนนิ การจดั เวทปี ระชาคม ในแตล่ ะกิจกรรม ผดู้ าเนนิ การและทีมงานจะตอ้ ง ศึกษาชุมชนให้ชดั เจนทกุ แงม่ มุ ซงึ่ จะนาไปส่กู ารกาหนดประเดน็ เน้ือหา วธิ กี าร และเทคนคิ ทีใ่ ชใ้ ห้ถูกต้อง เหมาะสม 2. การเลือกวิธกี าร และเทคนคิ การจัดเวทีประชาคม สามารถปรบั ประยกุ ต์ใช้ให้เหมาะสม กับความถนดั ความสามารถ ของผู้จัด และกลมุ่ เปา้ หมายได้ 3. กระบวนการจัดเวทีประชาคม ไมว่ ่าจะดาเนนิ การในระดบั ใดจะต้องยดึ ขนั้ ตอนตาม กระบวนการพฒั นาชมุ ชน ๕ ขนั้ ตอน ๑) การคกึ ษาชุมชน ๒) ใหก้ ารศึกษาชุมชน ๓) การวางแผน ๔) การดาเนนิ การ ๕) การติดตามประเมินผล (โดยตอ้ งยดึ หลกั การมีสว่ นร่วม) ๔. ตอ้ งใช้ทีมงานหลายคนในการจัดเวทปี ระชาคม ๕. ใช้ระยะเวลาในการดาเนินการงาน รายงานผลการปฏิบัตงิ านทด่ี ีครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 22 ~

ปฏิทินการจัดทาแผนจุลภาคและแผนป ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศ ท่ี กศน.ตาบล วันท่ดี าเนินการ เวลา 1. ทา่ ศาลา 2. โพธ์ิทอง 9 พฤศจิกายน 2562 09.00-12.00 น. กศน.ต 3. ไทยบรุ ี 4. หัวตะพาน 14 พฤศจกิ ายน 2562 13.00-16.00น. กศน.ต 5. กลาย 6. โมคลาน 14 พฤศจกิ ายน 2562 13.00-16.00น. กศน.ต 7. ท่าขึ้น 8. สระแกว้ 15 พฤศจกิ ายน 2562 13.00-16.00น. กศน.ต 9. ดอนตะโก 10. ตลิ่งชนั 15 พฤศจกิ ายน 2562 13.00-16.00น. กศน.ต 16 พฤศจกิ ายน 2562 13.00-16.00น. กศน.ต 19 พฤศจิกายน 2562 13.00-16.00น. กศน.ต 22 พฤศจกิ ายน 2562 13.00-16.00 น. กศน.ต 22 พฤศจิกายน 2562 13.00-16.00 น. กศน.ต 22 พฤศจิกายน 2562 13.00-16.00 น. กศน.ต รายงานผลการปฏิบตั งิ านที่ดีครูอาสาสมัครการศึกษานอกโร

ปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ 2562 ศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอท่าศาลา สถานที่ เบอรโ์ ทรผู้ ผรู้ ับผดิ ชอบ ประสานงาน ตาบลท่าศาลา 094-5955429 นางสาวอาทติ ยด์ าว แสงวจิ ิตร นางกสุ ุมาลย์ พลู แกว้ ตาบลโพธท์ิ อง 081-2724491 นายทรงชยั ชูประสตู ิ นายวริ ตั น์ มัจฉาชาญ ตาบลไทยบุรี 086-2806166 นายวทิ ยา โชติกะ นางกสุ มุ าลย์ พูลแก้ว ตาบลหวั ตะพาน 083-6352079 นายปญั ญา ราหุกาญจน์ นางสาวสัจมาศ กลั ยาโพธ์ิ ตาบลกลาย 0833898796 นางสาวทิพยวลั ย์ พรมมา นางจุไรรตั น์ ช่วยชู ตาบลโมคลาน 093-1930321 นางสดุ ารตั น์ จันทรอ์ าไพ นางสาวสจั มาศ กัลยาโพธิ์ ตาบลทา่ ขึ้น 089-8683924 นายจาตุรนต์ วงศ์สวัสดิ์ นางมะลพิ รรณ วงศส์ วัสดิ์ ตาบลสระแกว้ 081-0842368 นางสาวสภุ าณี มะหมนี นางมะลพิ รรณ วงสวัสด์ิ ตาบลดอนตะโก 0647169196 นางวนิดา เกดิ ด้วยทอง นายวิรตั น์ มัจฉาชาญ ตาบลตล่งิ ชัน 088-2757706 นางนลนิ รชั ต์ ยเุ หล็ก นางจไุ รรตั น์ ช่วยชู รงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 23 ~

สรปุ การจดั ทาแผนพฒั นา กศน.ตาบลโมคลาน ประจาปีงบประมาณ 2562 ประเด็นเสวนา การเตรยี มการ 1. แนวทาง / แผนชมุ ชน คอื อะไร ทาเพอ่ื อะไร แผนชมุ ชน คอื อะไร ปัญหาว่าคอื อะไรและจะทาอยา่ งไร คือการวิเคราะหท์ างเลอื ก เปน็ กระบวนการทางปัญญาท่ีทรงพลงั เมื่อวิเคราะห์แล้วนาไปสู่การเปล่ียนแปลงซ่งึ จะนาไปสู่การแกป้ ญั หา กระบวนการจัดทาแผนชุมชนเปน็ การเรียนรูจ้ ากการปฏบิ ตั จิ รงิ ” ดังนัน้ แผนชุมชนจึง หมายถงึ  แผนทีค่ นในชุมชนร่วมกันคดิ ร่วมกันกาหนดเพ่ือวางเปา้ หมายในการพัฒนาชุมชนของ ตนเอง โดยใช้ขอ้ มลู เป็นฐาน  แผนทเ่ี กีย่ วข้องกับชีวิตของคนในชุมชนโดยตรง  แผนงานหรือกจิ กรรมทางเลือกทเี่ กี่ยวกับการพฒั นาและแกไ้ ขปัญหาของคนในชุมชน  แผนงานหรือกิจกรรมท่คี นในชุมชนชว่ ยกนั คดิ เพื่อทาให้อนาคตของคนในชุมชนเปน็ ไปอย่าง ท่ีหวัง แผนชมุ ชน หมายถงึ กจิ กรรมพฒั นาท่เี กดิ ข้นึ จากคนในชุมชนท่ีมีการรวมตวั กนั เพ่ือจดั ทา แผนข้นึ มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชนหรอื ทอ้ งถน่ิ ของตนเอง ใหเ้ ป็นไปตามทตี่ ้องการและสามารถ แก้ปัญหาท่ชี มุ ชนเผชิญอยรู่ ว่ มกันได้ โดยคนในชุมชนได้มารว่ มกนั คดิ รว่ มกาหนดแนวทาง และกิจกรรมการ พัฒนาของชุมชน โดยยึดหลักการพึง่ พาตนเอง ลดการพึง่ พงิ ภายนอก ดว้ ยการคานงึ ถึงศกั ยภาพ ทรพั ยากร ภมู ิ ปญั ญา วิถชี ีวติ วัฒนธรรม และส่ิงแวดลอ้ มในทอ้ งถิ่นเปน็ หลกั ซึ่งบางกิจกรรมทช่ี ุมชนไม่สามารถทาเองได้ ก็ สามารถขอรบั การสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอกได้ โดยชมุ ชนเสนอแผนชมุ ชนเขา้ เป็นแผนขององค์การ บริหารส่วนตาบล (อบต.)หรอื แผนงาน/โครงการของราชการได้ แผนชมุ ชนมีช่อื เรียกแตกตา่ งกนั ตามความ เขา้ ใจของแตล่ ะทอ้ งถ่นิ อาทิ แผนแม่บทชุมชน แผนชุมชนพงึ่ ตนเอง แผนชีวติ เปน็ ต้น ทาไมต้องทาแผนชุมชน  เพราะเราอยูใ่ นชุมชนเราจงึ ตอ้ งกาหนดอนาคตของชมุ ชนเราเอง  เพราะชุมชนต้องมีกระบวนการจัดการของชมุ ชนท่ตี อ้ งเรยี นรู้รว่ มกัน เพือ่ นาไปสกู่ ารวาง แนวทางในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชน  เพราะชมุ ชนจะไดม้ เี ปา้ หมาย แนวทางทช่ี ัดเจนในการพฒั นาให้คนในชมุ ชนอย่ดู มี ีสขุ ทาแผนชุมชนแลว้ ไดป้ ระโยชนอ์ ะไร 1. คนในชุมชนไดแ้ ลกเปลยี่ นเรียนรู้รว่ มกนั 2. คนในชุมชนได้เห็นข้อดี ขอ้ ด้อย โอกาส และข้อจากดั ในการพัฒนาชมุ ชนอย่างมเี ป้าหมาย 3. คนในชุมชนมีชอ่ งทางในการแกไ้ ขปัญหาของชุมชนอย่างเหมาะสมและครอบคลุม 4. คนในชมุ ชนสามารถกาหนดกจิ กรรมท่ตี อบสนองความต้องการของชุมชนได้ 5. คนในชมุ ชนสามารถคดิ เปน็ และกล้าตัดสนิ ใจดว้ ยตนเอง 6. ชมุ ชนสามารถวางแผนจดั การทรัพยากรหรอื ทุนในชมุ ชนไดอ้ ย่างถูกต้องและเหมาะสม 7. คนในชมุ ชนสามารถรับผลประโยชนร์ ว่ มกันได้อย่างทัว่ ถงึ และเท่าเทียม รายงานผลการปฏิบตั งิ านที่ดคี รูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 24 ~

8. ความรว่ มมอื ของคนในชมุ ชนจะกอ่ ใหเ้ กดิ ทัศนคตทิ ดี่ ี เออื้ อาทรตอ่ กัน 9. ปลกู ฝงั ทศั นคติ คา่ นิยมท่ีดีให้ลูกหลาน 10. สามารถหาแนวรว่ มในการพฒั นาท้องถนิ่ ของตนเองอยา่ งงา่ ยดาย สะท้อนสภาพชุมชน 1. สะท้องภาพอดตี สู่ ปัจจุบนั ของชุมชน เปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง อดตี ปัจจบุ นั ประชาชนพงึ พาอาศยั ซง่ึ กันและกัน ประชาชนมกี ารแข่งขนั เพ่ือความอยู่รอดใหท้ ันกับโลก โลกาภวิ ัฒน์ เป็นชมุ ชนเกษตรอินทรยี ์ เกษตรกร อาชพี เกษตรกรเหลอื นอ้ ย เชน่ การทาสวน ทานา ทาไร่ เป็นชมุ ชนชนบท มคี วามเจริญอย่างรวดเร็ว มเี คร่อื งสาธารณปู โภคอานวย ความสะดวก เทคโนโลยีกา้ วลา้ ทันสมัย ประชาชนอาศัยในท้องถ่นิ ตนเอง ยา้ ยถิ่นฐาน เกดิ อาชีพรบั จา้ งมากขึ้น ประชาชนดารงชวี ิตอยา่ งมีความสขุ เกดิ ปญั หาอาชญากรรมมากมาย 2. การวเิ คราะห์ ค้นหาจดุ แข็ง จุดออ่ น โอกาส และปญั หาอุปสรรค สรา้ งความตระหนักในประเดน็ ดังกลา่ ว กศน.ตาบลโมคลาน สรุปสถานการณ์พฒั นา ของสถานศึกษาวเิ คราะห์หาจุดแขง็ และจดุ อ่อนโดยใช้ วิธกี าร SWOT ในการตรวจสอบ เพอ่ื หาวิธกี ารทีจ่ ะทางานใหไ้ ปสู่ความสาเรจ็ ตามเป้าหมายทว่ี างไว้ตลอดจน หาหนทางในการควบคุมจดุ ออ่ นไม่ใหเ้ กิดข้นึ หรอื เกิดข้ึนนอ้ ยท่ีสดุ ซง่ึ จะช่วยใหส้ ถานศึกษามที ิศทางในการ ทางานและมีความมนั่ ใจมากขึน้ 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน จดุ ออ่ น (Weaknesses - W) จดุ อ่อนของ กศน.ตาบลโมคลาน 1. บุคลากรของ กศน.ตาบลโมคลาน มีจานวนจากดั 2. คนในชุมชนส่วนใหญเ่ ป็นผ้ใู ชแ้ รงงาน เกษตรกรทอี่ อกไปทางานตง้ั แตเ่ ช้าจนถึงค่า ผรู้ บั บรกิ าร ของ กศน.ตาบล คอ่ นขา้ งนอ้ ย 3. ไม่มรี ะบบการจัดเกบ็ และสบื คน้ ขอ้ มูลท่ีทันสมยั จดุ อ่อนของพื้นทต่ี าบลโมคลาน 1. กระบวนการกลมุ่ ขาดความต่อเนอ่ื ง 2. ประชากรมากจดั การศึกษาได้ไม่ทั่วถึง 3. พนื้ ท่ีประสบปญั หาน้าทว่ มขังและพ้นื ที่มอี ย่างจากัด 4.. ขาดการประชาสมั พนั ธ์ รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานทดี่ คี รูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 25 ~

จุดแขง็ (Strengths - S) จดุ แข็งของ กศน.ตาบลโมคลาน 1. อาคารมสี ภาพม่ันคง แข็งแรง ร่มรน่ื อยใู่ จกลางชุมชน ทาให้การติดประสานงาราชการสะดวก 2. มีความพร้อมด้านสอ่ื สอนเสรมิ เช่น CD , Internet , จานรับสญั ญาณดาวเทียมเพอื่ การศกึ ษา และสื่อมลั ตมิ ีเดยี ฯลฯ 3. มรี ะบบการให้บริการหนงั สือเรียน และหนงั สือทว่ั ไป จดุ แข็งของพื้นท่ีตาบลโมคลาน 1. ประชาชนของตาบลโมคลาน มคี วามรักความสามัคคี ช่วยเหลือ ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี 2. ประชาชนของตาบลโมคลาน มกี ารร่วมมกลุม่ การทางาน และมกี ารรวมกลุ่มเพ่ือจดั ตั้งกล่มุ องคก์ ร เช่น กลมุ่ ออมทรัพย์ กองทนุ 3. ตาบลโมคลานมภี ูมปิ ัญญาท้องถิ่นมีแหลง่ เรียนรู้ ที่หลากหลาย 2. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก โอกาส (Opportunites -O) โอกาสของ กศน.ตาบลโมคลาน 1. สถานศกึ ษา ต้งั อย่ใู กลส้ ่วนราชการของตาบลทาใหส้ ะดวกในการจัดกิจกรรม และสะดวกตอ่ การประสานงานกบั หนว่ ยงานภาคีเครอื ขา่ ยตา่ งๆ 2. ผู้นาชมุ ชน หัวหน้าส่วนราชการ แกนนาหมบู่ า้ นใหค้ วามร่วมมือในการจดั กิจกรรม การศึกษานอกโรงเรียนและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย เป็นอยา่ งดี โอกาสของพนื้ ทตี่ าบลโมคลาน 1. องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลโมคลานใหส้ นับสนุนการศกึ ษา 2. เป็นชุมชนเกษตรอนิ ทรีย์ 3. โครงการสอดคล้องกบั ความตอ้ งการชมุ ชน อุปสรรค/ความเสย่ี ง (Threats - T) อปุ สรรคของ กศน.ตาบลโมคลาน 1. นักศกึ ษา กศน.บางคนไมม่ าพบกลมุ่ บางคนเนอื่ งจากทางาน แตบ่ างคนขี้เกยี จ 2. การจัดสรรงบประมาณ กระทาได้ไมค่ รอบคลมุ ทุกพืน้ ท่ี เนือ่ งจากมงี บประมาณจานวน จากัด อปุ สรรคของพื้นทีต่ าบลโมคลาน 1.บคุ ลากร กศน. มนี อ้ ย มีจานวนจากดั 2. งบประมาณทจ่ี ดั สรรเวลาจากัด 3. เปน็ พ้ืนท่ปี ระสบภัยนา้ ทว่ มและมีพน้ื ทีจ่ ากดั 4. การจดั การขาดการติดตาม รายงานผลการปฏิบัติงานทด่ี คี รูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 26 ~

3. ตัวอย่างกลุ่มอาชพี ทป่ี ระสบความสาเร็จหรอื ตัวแทนกลุ่มอาชพี เลา่ ประสบการณก์ ารดาเนินงานที่ ประสบความสาเรจ็ กลมุ่ จะตอ้ งมีความสามัคคี มเี หตผุ ลในการตัดสินแกป้ ญั หา สมาชกิ ทกุ คนจะต้องให้ ความสาคญั กับกลุม่ อย่ามองทกุ อย่างเป็นปญั หา ถ้ามโี อกาสพยายามศึกษาแลกเปล่ยี นเรียนรู้ หาความรู้ ใหม่ๆ มาพฒั นาใหเ้ กดิ ประโยชน์กบั กลุ่มของตนเอง 4. ทิศทางในอนาคตของกล่มุ / ชมุ ชน เมอ่ื เกดิ กลุม่ อาชีพ พยายามพฒั นากลุ่มใหม้ ่ันคง รบั ขา่ วสารจากหน่วยงานตา่ งๆ เพ่ือทจี่ ะ ไดร้ ับงบประมาณมาพัฒนากล่มุ เพิ่มเติม 5. กาหนดแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม - การทาขนม - การทาผ้ามัดย้อม - การแปรรูปอาหาร - กิจกรรมสง่ เสริมสุขภาพสาหรับผูส้ งู อายุ - โครงการจดั กระบวนการเรยี นรู้ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ภาพประกอบการจัดทาแผนจลุ ภาคระดบั ตาบลและแผนปฏิบตั กิ ารประจาปงี บประมาณ 2562 กศน.ตาบลโมคลาน รายงานผลการปฏิบัติงานท่ดี คี รอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 27 ~

จากการดาเนินการจดั ทาแผนจุลภาคระดับตาบลและแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 2562 ในระดบั ตาบลเสรจ็ เรยี บรอ้ ย ไดม้ กี ารนาแผนดังกล่าวมานาเสนอ ร่วมแลกเปลย่ี นเรยี นร้กู ันภายใน สถานศกึ ษา ทง้ั น้ีเปน็ การนาเสนอ ปรบั เปลี่ยน ตามนโยบายสกู่ ารปฏิบตั ใิ นลาดบั ต่อไป เมื่อไดจ้ ัดทาแผนจลุ ภาคระดบั ตาบลและแผนปฏิบัตกิ ารประจาปี 2562 เสรจ็ เรยี บรอ้ ย ใน ลาดับถดั ไปคอื เข้าสู่กระบวนการลงมือปฏิบตั จิ รงิ ตามแผนทีไ่ ดก้ าหนดไว้ ตามบญั ชีสรปุ โครงการ/กจิ กรรม แผนปฏิบัติการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ที่ โครงการ/กจิ กรรม งบดาเนนิ งาน ผู้รับผดิ ชอบ หมายเหตุ การจดั การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน 1. โครงการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ - นางจุไรรัตน์ ช่วยชู พื้นฐาน 2. โครงการปฐมนเิ ทศนกั ศกึ ษาใหมป่ ระจาปี - นางจุไรรตั น์ ช่วยชู 3. โครงการ กศน.สอนเสริมเตมิ ความรู้ - นางจุไรรัตน์ ช่วยชู 4. โครงการตวิ เข้มเติมเต็มความรู้ - นางจุไรรตั น์ ช่วยชู 5. โครงการอบรมการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละอินเตอรเ์ น็ต - นางจุไรรตั น์ ชว่ ยชู 6. กิจกรรม กศน.ท่าศาลา เปดิ ประตสู ู่ประชาคม - นางจุไรรัตน์ ช่วยชู อาเซยี น 7. กจิ กรรมความจงรักภักดตี ่อสถาบนั ชาติ ศาสนา - นางจไุ รรัตน์ ช่วยชู พระมหากษัตริย์ 8. กจิ กรรมการจัดกระบวนการสง่ เสรมิ การเรียนรตู้ าม - นางจไุ รรตั น์ ช่วยชู แนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 9. โครงการเทียบระดับการศึกษา - นางจุไรรตั น์ ช่วยชู 10. โครงการอบรมยวุ กาชาดนอกโรงเรียนหลักสูตร - นางจุไรรัตน์ ช่วยชู พืน้ ฐานยุวกาชาด 11. โครงการอบรมอาสายวุ กาชาดนอกโรงเรยี น - นางจไุ รรตั น์ ชว่ ยชู 12. โครงการสง่ เสรมิ การรหู้ นงั สือ - นางกสุ ุมาลย์ พูลแก้ว 13. โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม - นางมยรุ ี สตุ ศริ ิ อัธยาศัยสาหรบั คนพกิ าร การจัดการศกึ ษาต่อเน่อื ง 1. โครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน นางกนกวรรณ ชสู วุ รรณ 2. โครงการจัดการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวิต นางกนกวรรณ ชสู ุวรรณ 3. โครงการจัดการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชุมชน นางกนกวรรณ ชสู วุ รรณ 4. โครงการจดั กระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา นางกนกวรรณ ชูสุวรรณ เศรษฐกิจพอเพียง การจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย 1. โครงการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน : ด้านจิตอาสาฯ - นางวาสนิ ี นาคงาม (บรรณารักษ์อาสาฯ ) 2. โครงการจัดสร้างแหลง่ เรียนร้ใู นชุมชนในตาบล - นางวาสินี นาคงาม 3. โครงการสง่ เสริมการอ่านและพัฒนาห้องสมดุ - นางวาสนิ ี นาคงาม ประชาชนอาเภอทา่ ศาลา รายงานผลการปฏบิ ัติงานที่ดีครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 28 ~

โครงการตามยทุ ธศาสตร์ 1. โครงการนเิ ทศตดิ ตามผลการดาเนินงานเพอ่ื พฒั นา - นางกุสุมาลย์ พูลแกว้ คณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั 2. โครงการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา - นางสาวสัจมาศ กัลยาโพธ์ิ 3. โครงการประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการ - นางสาวสัจมาศ กัลยาโพธ์ิ ประจาปีงบประมาณ 2562 4. โครงการราชการใสสะอาด - นางกนกวรรณ ชสู ุวรรณ 5. โครงการอบรมพฒั นาครแู ละบคุ ลากร เพอ่ื พัฒนา - นางสาวลดั ดา ลือชา หลกั สตู รสถานศกึ ษา กศน.อาเภอทา่ ศาลา 6. โครงการประชมุ ปฏบิ ตั ิการจดั ทาแผนการบริหาร - นางมยรุ ี สตุ ศริ ิ ความเสี่ยง เม่อื ไดด้ าเนนิ การจดั ทาแผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ 2562 เสรจ็ เรียบรอ้ ยครบทุก ภารกจิ ของสถานศึกษา กจ็ ะนาเสนอ สานกั งาน กศน.จงั หวัดในลาดบั ต่อไป และจากนัน้ จะเขา้ สกู่ ารจดั สรรเงนิ งบประมาณตามที่ไดร้ ับจัดสรรจากต้นสังกดั ลงสู่ กศน.ตาบล ซึง่ การดาเนินการโดยผา่ น ระบบฐานข้อมลู เพือ่ การบริหารจัดการ สานักงาน กศน. DMIS 62  รายงานผลการปฏิบตั งิ านทด่ี คี รูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 29 ~

การรายงานผล รายงานขอ้ มูลสารสนเทศ การรายงานผลการดาเนนิ งานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ประจาปีงบประมาณ 2562 ได้ดาเนนิ การรายงานผลการดาเนินงานรายบุคคลข้อมลู ผา่ นระบบ DMIS 62 ออนไลน์ทางหนา้ เวบ็ ไซด์ สานกั งาน กศน. ผา่ นระบบรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตามนโยบาย รายงานเมอ่ื สน้ิ ไตรมาสแตล่ ะไตรมาส ท้ังนีเ้ พ่อื เปน็ การนาไปสู่การปฏบิ ตั ิท่ีถกู ตอ้ ง ชดั เจน ตลอดจนสามารถจัดการศึกษาไปใน ทิศทางเดยี วกนั และบรรลุเปา้ หมาย การยกระดบั คุณภาพนอกระบบแบบมุ่งผลสมั ฤทธไ์ิ ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ  ระบบฐานขอ้ มูลเพ่อื การบรหิ ารจดั การ สานกั งาน กศน. DMIS 62 กศน.อาเภอท่าศาลา ลาดับข้ันตอนการดาเนินการในระบบข้อมูลเพ่อื การบริหารจดั การ สานักงาน กศน. DMIS 60  ผลการค้นหา DMIS62-สานกั งาน กศน. - ระบบฐานขอ้ มลู เพ่ือการบริหารจดั การ 202.29.172.133/DSMIS/ 1. ขณะน้ี ระบบการรายงาน รายบุคคล ที่สามารถพิมพเ์ ป็นแบบ PDF. ยงั ไม่สามารถใชง้ านไดใ้ นขณะน้ี เนื่องจาก ผลการรวมยงั ไม่ถูกตอ้ ง สมบรู ณ์ ... โครงสร้าง กศน. ภาคกลาง ระบบฐานขอ้ มลู เพ่อื การบริหารจดั การสานกั งาน กศน. กรุงเทพมหานคร · นนทบุรี · ปทุมธานี · DMIS62 : . หนา้ หลกั ... พระนครศรีอยธุ ยา · อ่างทอง ... รายงานผลการปฏบิ ัติงานที่ดคี รูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 30 ~

ระบบฐานขอ้ มลู เพื่อการบริหารจดั การ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ระบบฐานขอ้ มลู เพอื่ การบริหารจดั การ. สานกั งาน กศน. หนา้ หลกั · ทาเนียบ กศน. ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ... ปี งบประมาณ 2562 ... ทาเนียบ กศน. อุดรธานี ทาเนียบ กศน.ทว่ั ประเทศ. กรุณาเลือกขอ้ มลู . ภาคกลาง ... จงั หวดั อุดรธานี. รวมบุคลากร 0 ขา้ ราชการ 0 ลกู จา้ งประจา 0 ... ผลการคน้ หาเพม่ิ เติมจาก 202.29.172 » DMIS62-สานกั งาน กศน. 203.172.142.101/d_DMIS62/ 1. Toggle sidebar. ระบบฐานขอ้ มูลเพอ่ื การบริหารจดั การสานกั งาน กศน. DMIS62. . หนา้ หลกั ; โครงสร้าง กศน. เขา้ สู่ระบบ · หนา้ หลกั . #438EB9 ... สานกั งาน กศน.ข่าวประชาสมั พนั ธ์.  รายงานผลการปฏิบัตงิ านทดี่ คี รูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 31 ~

  รายงานผลการปฏิบตั งิ านทดี่ คี รูอาสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 32 ~

  และเมือ่ ดาเนนิ การกิจกรรม/โครงการ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ครบ ตามแผนที่กาหนดไว้ บุคลากรทร่ี ับผิดชอบในการจดั กจิ กรรมทกุ กจิ กรรมตอ้ งดาเนนิ การรายงานผลผ่านระบบ ข้อมลู เพื่อการบรหิ ารจัดการ สานกั งาน กศน. DMIS 62 ทุกไตรมาส รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีดีครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 33 ~

ตามนโยบายของ สานักงาน กศน.จังหวดั นครศรธี รรมราช ไดก้ าหนดให้มกี ารรายงานผลการ ดาเนินงานทุกไตรมาส ซง่ึ ในปีงบประมาณ 2562 ไดม้ กี ารรายงานผลการดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ระดับจงั หวดั ซงึ่ จดั ขึ้นโดย สานกั งาน กศน.จังหวัดนครศรีธรรมราช ในวันท่ี 6-7 มิถุนายน 2562 ณ ขนอมซนั ไรสร์ ีสอร์ท อาเภอขนอม จงั หวัดนครศรีธรรมราช โดยการรับการตรวจเยย่ี ม จาก ผอู้ านวยการ สานกั งาน กศน.จงั หวัดนครศรีธรรมราช และไดร้ ว่ มแลกเปล่ียนเรยี นรู้ประสบการณ์การจดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ทง้ั นบ้ี ุคลากรทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรมจะนาประสบการณ์ จากการเสวนาแลกเปลยี่ นเรียนร้มู าปรบั ปรงุ ประยกุ ต์ใช้ ในการปฏิบัตงิ านของตนใหม้ ปี ระสิทธิภาพในลาดบั ต่อไป รายงานผลการปฏิบตั ิงานทดี่ คี รอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 34 ~

ผลการปฏบิ ัติงานทีด่ ี : Best Practice รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านท่ดี คี รอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 35 ~

ผลการปฏบิ ัติงานทีด่ ี : Best Practice รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านท่ดี คี รอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 36 ~

ผลการปฏบิ ัติงานทีด่ ี : Best Practice รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านท่ดี คี รอู าสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 37 ~

ผลการปฏบิ ตั งิ านภาพรวมอาเภอของ กศน.อาเภอท่าศาลา รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ีครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 38 ~

ผลการปฏบิ ตั งิ านภาพรวมอาเภอของ กศน.อาเภอท่าศาลา รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ีครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 39 ~

ผลการปฏบิ ตั งิ านภาพรวมอาเภอของ กศน.อาเภอท่าศาลา รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านทด่ี ีครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4~ 40 ~

ภาคผนวก รายงานผลการดาเนนิ งานครอู าสาสมคั รการศกึ ษานอกโรงเรยี น ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4 ~41 ~

ตัวอย่างการรายงาน ในระบบ DMIS 62 กศน.ตาบลโมคลาน รายงานผลการดาเนนิ งานครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน ประจาปีงบประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4 ~42 ~

รายงานผลการดาเนนิ งานครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเ

เรยี น ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4 ~43 ~

รายงานผลการดาเนนิ งานครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเ

เรยี น ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4 ~44 ~

รายงานผลการดาเนนิ งานครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเ

เรยี น ประจาปงี บประมาณ 2562 ไตรมาส 3-4 ~45 ~

รายงานผลการดาเนนิ งานครูอาสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook