Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 4.เครื่องดนตรีไทยจริง190518

4.เครื่องดนตรีไทยจริง190518

Published by jw.pluem, 2020-06-15 01:20:16

Description: 4.เครื่องดนตรีไทยจริง190518

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการเรยี น ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 1 เลม่ 4 เครื่องดนตรีไทย(ต,ี เป่า) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เล่มที่ 4 เรอื่ ง เคร่อื งดนตรีไทย(ตี, เปา่ ) คาชแ้ี จง  ใหน้ กั เรยี น  ทบั อักษรหน้าคาตอบทถี่ ูกที่สดุ เพียงคาตอบเดยี ว ( 5 คะแนน ) 1. เครอื่ งดนตรชี นดิ ใดนิยมใช้เปน็ เครื่องตีกากับจงั หวะ ก. ขลยุ่ ข. ซอ ค. กลอง ง. ฉาบ 2. ขลุ่ยชนดิ ใด มขี นาดเล็กทส่ี ุด ก. ขล่ยุ นก ข. ขลุย่ กรวด ค. ขลยุ่ หลีบ ง. ขลุ่ยเพียงออ 3. เครอ่ื งดนตรแี บง่ ตามลักษณะการทาให้เกิดเสยี งมีกปี่ ระเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท 4. จากภาพคือเคร่อื งดนตรใี ด ก. ระนาดเอก ข. ฆอ้ งวง ค. ตะโพนมอญ ง. ระนาดทมุ้

เอกสารประกอบการเรยี น ชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 2 เลม่ 4 เคร่อื งดนตรีไทย(ตี,เป่า) ให้นกั เรียนพิจารณาขอ้ ความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามขอ้ 5 1. ฆอ้ งวงเลก็ มลี ูกฆอ้ ง 18 ลูก 2. ฆอ้ งวงใหญ่ ฆ้องวงใหญ่ มีลกู ฆอ้ ง 16 ลกู 3. ฆ้องโหมง่ ใช้ตีกากบั จังหวะ เปน็ ฆอ้ งทม่ี ีขนาดใหญท่ ีส่ ดุ ในวงดนตรไี ทย มีอีก ชอ่ื วา่ ฆอ้ งชัย อาจเปน็ เพราะสมยั โบราณ อาจใช้ฆอ้ งชนดิ น้ตี เี ปน็ สัญญาณใน กองทพั 4. ฆ้องโหม่ง ใช้ตีกากับจังหวะ มีขนาดใหญ่ รองลงมาจากฆ้องหุ่ย ได้ช่ือนี้ตาม เสียงทเ่ี กิดจากการตี ก. ข้อ 1 ,2 และ 3 ถูก ข. ข้อ 1 ,2 และ 4 ถูก ค. ข้อ 2 ,3 และ 4 ถกู ง. ข้อ 1 ,3 และ 4 ถกู ผลการประเมนิ ได้............................คะแนน

เอกสารประกอบการเรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 3 เลม่ 4 เคร่อื งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) เอกสารประกอบการเรยี น เลม่ ท่ี 4 เร่อื ง เครอ่ื งดนตรไี ทย เครอื่ งดนตรไี ทย ประเภทดีด เคร่ืองดนตรี ไทยแบ่งตามลักษณะการทาให้เกดิ เสยี งไดเ้ ป็น 4 ประเภท คอื ดดี สี ตี เป่า กระจับป่ี ท่ีมา : www.nontasang.wordpress.com กระจับปี่ เป็นพณิ ชนดิ หน่ึง มี 4 สาย กระพุ้งพิณมีลักษณะ เป็น กล่องแบนรูปทรงสี่เหล่ียมคางหมูมุมมนด้านหน้าทาเป็นช่อง ให้เสียง กังวาน ทวนทาเป็นก้านเรียวยาวและกลมกลึงปลายแบน และงอนโค้ง ไปด้านหลัง ตรงปลายทวนมีลิ่มสลักเป็นลูกบิดไม้ สาหรับข้ึนสาย 4 ลูก สายส่วนมากทาด้วยสายเอ็น หรือลวดทองเหลือง ตลอดแนวทวน ด้านหน้าทาเป็น \"สะพาน\"หรือ นม ปักทาด้วยไม้ เขาสัตว์หรือกระดูก สัตว์ สาหรับหมุนสายมี 11 นม

เอกสารประกอบการเรยี น ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 4 เลม่ 4 เครื่องดนตรีไทย(ตี,เป่า) ท่มี า : ww.nontasang.wordpress.com พิณน้าเต้า สันนิษฐานว่า พิณมีกาเนิดในประเทศ ทางตะวันออก พิณโบราณเรียนพิณน้าเต้า ซ่ึงมีลักษณะเป็น พิณสายเดี่ยว สันนิษฐานว่า ชาวอินเดียนามาแพร่หลาย ในดินแดนสุวรรณภูมิ การท่ีเรียกว่าพิณน้าเต้า เพราะใช้ เปลือกผลน้าเต้ามาทา คันพิณที่เรียกว่า ทวน ทาด้วยไม้เหลา ให้ ปลายข้างหนึ่ง เรียวงอนโค้งข้ึนสาหรับผูกสาย ท่ีโคนทวน เจาะรูแล้วเอาไม้ มาเหลาทาลกู บิด สาหรบั บิดให้สายตงึ หรือหย่อน เพื่อใหเ้ สียงสงู ตา่ สายพิณ มีสายเดียวเดิมทาด้วยเส้นหวาย ต่อมาใช้เส้นไหม และใช้ลวดทองเหลืองใน ปัจจุบัน

เอกสารประกอบการเรยี น ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 5 เล่ม 4 เครอ่ื งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) จะเข้ เปน็ เคร่อื งดนตรีที่วางดีดตามแนวนอน ทาด้วยไม้ท่อนขุดเป็นโพรงอยู่ภายใน นยิ มใช้ไม้แก่นขนุน เพราะ ให้เสียงกังวานดี ด้านล่างเป็นพนื้ ไม้ ซ่ึงมกั ใช้ไม้ ฉาฉา เจาะรไู ว้ให้เสียงออกดขี น้ึ มขี าอยู่ตอนหัว 4 ขา ตอนท้าย 1 ขา มี สาย 3 สาย คอื สายเอก(เสยี งสูง) สายกลาง(เสียงทุ้ม) ทั้งสองสายน้ีทาดว้ ย เอน็ หรอื ไหมฟัน่ เปน็ เกลยี ว สายที่สามเรียก สายลวด(เสยี งต่า) ทาด้วยลวด ทองเหลอื ง ทัง้ สามสายนี้ขึงจากหลกั ตอนหัวผ่าน โต๊ะ (กล่องทองเหลือง กลวง) ไปพาดกับ \"หย่อง\" แล้วสอดลงไปพันกนั ดา้ นลูกบดิ (ปักทาด้วยไมห้ รือ งา) สายละลกู โต๊ะน้ที าหน้าที่ขยายเสียงของจะเข้ให้คมชดั ขึ้น ระหว่างราง ดา้ นบนกับสายจะเข้ จะมีชนิ้ ไมเ้ ลก็ ๆ ทาเปน็ สันหนาเรยี กว่า \"นม\" 11 นม วางเรยี งไปตามแนวยาว เพื่อรองรับการกด จากนิ้วมือขณะบรรเลง นม เหลา่ นม้ี ขี นาดสงู ต่าลดหล่ันกนั ไป ทาให้เกิดเสยี งสูง-ต่า เวลาดีดจะใชไ้ ม้ดีด ท่ที าด้วยงาหรอื เขาสัตว์ กลงึ เป็นท่อนกลม ปลายเรียวแหลมมน ดีดปัดสาย ไปมา ไมด้ ดี นจี้ ะพันติดกับนิ้วชมี้ อื ขวา ส่วนมือซ้ายใช้กดนวิ้ บนสายถดั จากนม ไปทางซา้ ยเลก็ นอ้ ย เพือ่ ให้เกิดเสียงสูงต่าตามท่ีตอ้ งการ จะเข้ ท่มี า : www.nontasang.wordpress.com

เอกสารประกอบการเรยี น ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1 6 เล่ม 4 เครอื่ งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) ประเภทสี ซท่ีมา : www.nontasang.wordpress.com อด้วงเป็นซอชนิดหน่ึงของไทย ให้เสียงสูงแหลม การท่ีได้ชื่อนี้เพราะส่วนที่เป็นเครื่องอุ้มเสียง มี รูปร่างคล้ายเครื่องดักสัตว์ชนิดหนึ่ง ที่เรียกว่า ด้วง มสี ว่ นประกอบ ดงั น้ี - กระบอก เปน็ ส่วนที่อมุ้ เสียงให้เกดิ กงั วาน รปู รา่ งเหมอื นกระบอกไม้ไผ่ ทาดว้ ยไม้เนอ้ื แข็ง บางทที าด้วยงาชา้ ง - คนั ซอ ทาด้วยไมห้ รอื งาชา้ ง ลกั ษณะ กลมยาว สอดปกั ที่ กะบอกตงั้ ตรงข้นึ ไป แบ่งออกเป็น 2 ชว่ ง ชว่ งบนต้ังแต่ ใต้ลกู ปิดขนึ้ ไป จนถึงปลายคนั รปู ร่างคล้ายโขนเรอื เรียกว่า \"โขน\" ปลายโอนโค้งงอนไปทางด้านเปดิ ของ กระบอก ช่วงลว่ งนบั ตั้งแตล่ กู บิดลงไปเรยี กว่า \"ทวนลา่ ง\" - ลูกบิด มีอยู่สองลูก เสียบอยู่ที่ช่วงล่างของโขน ปลายลูกบิดเจาะรูไว้สาหรับร้อย สายซอ เพื่อขึงให้ตึงตามที่ต้องการ ลูกบิดลูกบน สาหรับสายเสียงต่า เรียกว่า ลูกบิดสาย ทมุ้ ลกู บดิ ลูกล่าง สาหรับสายทีม่ ีเสียงสงู เรียกว่า ลกู บิดสายเอก - รดั อก เป็นบว่ งเชือกสาหรับรั้งสายซอ นิยมใช้ขนาดเดียวกับสายเอก ใช้ผูกร้ังสาย ซอทง้ั สองเขา้ กบั ทวนล่าง - หย่อง เป็นไม้ชิ้นเล็กใช้หมุนสายซอให้พ้นขอบกระบอก และเป็นตัวรับความ สน่ั สะเทอื นจากสายซอไปสหู่ นา้ ซอ - คันชัก ทาด้วยไม้เนื้อแข็งหรืองาช้าง รูปโค้ง ด้ามมือจับมีหมุดสาหรับให้เส้นหาง ม้าคล้อง อีกด้านหนึ่งเจาะรูไว้ร้อยเส้นหางม้า ซึ่งมีประมาณ 250 เส้น สอดเส้นหางม้าให้ อยู่ภายในระหว่างสายเอกกับสายทุ้ม สาหรับสี การเทียบเสียง เทียบเสียงให้ตรงกับเสียง ขลุย่ เพียงออ ทั้งสายเอกและสายทุ้ม โดยใชส้ ายเอกเปน็ หลกั

เอกสารประกอบการเรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 7 เลม่ 4 เครื่องดนตรีไทย(ตี,เป่า) ซอสามสายเป็นซอชนิดหน่ึงของไทย มมี าแตโ่ บราณ มเี สยี งไพเราะ นุ่มนวล รปู รา่ งวิจิตรสวยงามกว่าซอชนดิ อนื่ ถือเปน็ เครอ่ื งดนตรีชัน้ สงู ใชใ้ นราชสานัก มีสว่ นประกอบ ดังนี้ ซอสามสาย ที่มา www.nontasang.wordpress.com ท่ีมา : https://sites.google.com/site/hs2kvo/dntri-thiy - กะโหลก ทาด้วยกะลามะพรา้ ว ตัดตามด้านขวาง ด้านหน้าตอ่ ตดิ กับ กรอบไมเ้ นอื้ แขง็ เดิมนิยมใชไ้ ม้สักเรยี กว่า \"ขนงไม้สัก\" มรี ูปร่างคลา้ ยกรอบ หนา้ นาง ใชห้ นงั ลกู วัวหรือหนังแพะขงึ ปดิ ทับขอบขนงไม้สักและขอบกะลาให้ ตงึ พอดี - คันซอ แบ่งออกเปน็ สามส่วน คอื ทวนบน ทวนกลาง และทวนลา่ ง ทวนบน คอื สว่ นท่ีนบั จากรอบตอ่ เหนือรดั อกข้นึ ไป ทวนกลาง คอื สว่ นตซอ่ อจอากู้ ทวนบนลงมาถงึ กะโหลก ทวนล่างหรือแข้งไก่ คือ ส่วนทต่ี ่อจากกะโหลก ทม่ี า www.nontasang.wordpress.com

เอกสารประกอบการเรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 8 เล่ม 4 เคร่อื งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) - กะโหลก ทาด้วยกะลามะพรา้ ว ตัดสว่ นท่ีกวา้ งใกลก้ ับขัว้ ใหพ้ ูทง้ั สามอยู่ ดา้ นบน ใช้หนังลกู วัวหรือหนังแพะ ขงึ เป็นหน้าตรงท่ีตัด - คนั ซอ ทาดว้ ยไมห้ รอื งาชา้ งกลงึ แบ่งเป็นสองส่วน คอื ทวนบน นับตง้ั แตล่ ูกบิด ไปถงึ ปลายคนั ทวนล่าง นับตั้งแต่ลูกบดิ ลงมาทต่ี วั คันมีลวดหรอื ลกู แก้วคัน่ เป็น ระยะ ปลายทวนล่างสอดทะลุ กะโหลกลงไป เพ่อื คลอ้ งสายซอทั้งสองเสน้ - ลกู บดิ มีสองลกู เสียบอยู่ท่ที วนบน ใชข้ ึงสายซอ ซึ่งทาให้ด้วยไหมฟ่นั เป็นเกลียว หรือทาดว้ ยเอน็ ผูก คลอ้ งปลายทวนล่างสุด ลูกบนสาหรับสายทมุ้ ลูกล่าง สาหรบั สายเอก - รดั อก เปน็ บ่วงเชอื กใช้ลูกล่างสาหรับสายเอกร้งั สายซอ เพื่อใหไ้ ดค้ ู่เสียงสายเปลา่ ชดั เจน - หมอน เป็นวัสดทุ ีว่ างหนุนระหวา่ งหน้าซอกบั สาย ซอเพอ่ื ใหไ้ ดเ้ สียงกับวาน บางทีเรยี กว่า หย่อง - คันชัก ทาดว้ ยไมเ้ นอื้ แข็ง กลงึ ให้ไดร้ ปู ขึงเสน้ หางมา้ ประมาณ 250 เสน้ เส้นหางม้านจ้ี ะสอดเขา้ ระหวา่ ง สายเอกกบั สายทุ้ม การเทียบเสยี ง สายเอกมีระดบั เสยี งตรงกบั สายทมุ้ ของซอดว้ ง สายทมุ้ มีเสียงตา่ กว่าสายเอก 5 เสียง - หนวดพราหมณ์ ใชส้ ายไหมฟ่ันเกลยี วอย่างสายซอ ผกู เป็นสายบว่ ง ร้อยเข้า ไปในรูทท่ี วนลา่ ง เพอื่ รงั้ ปมปลายสายซอทงั้ สาม - ถ่วงหน้า ทาดว้ ยแกว้ หรือโลหะ ข้ึนรูปเปน็ ตลบั กลมเลก็ ๆ ข้างบนประดับ พลอยสตี ่าง ๆ หรอื ถม หรือลงยา ภายในบรรจุสีผง้ึ ผสมตะกั่ว เพอ่ื ใหไ้ ด้นา้ หนัก ใช้ ชนั ปดิ หนา้ ใช้ปรบั เสียงให้สายเอกเขา้ กบั สายทุ้ม - เท้า เท้าซอสามสายยาวประมาณ ๒๖ ซม. มลี ักษณะปลายแหลม ใช้แทง ติดกบั พื้น เวลาสีจะไดพ้ ลิกคนั ซอไดส้ ะดวก

เอกสารประกอบการเรยี น ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 9 เล่ม 4 เครอ่ื งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) ประเภทตี กรบั พวง กรับพวง ทาดว้ ยไมห้ รือโลหะ ลักษณะเป็นแผ่นบาง หลายแผน่ รอ้ ยเข้าดว้ ยกนั ใชไ้ ม้ หนาสองช้ินประกบไว้วิธีตี ใชม้ อื หน่ึงถือกรับ แลว้ ตีกรับลงไปบนอีกมือหน่งึ ท่ีรองรับ ทาให้เกิดเสียงกระทบจากแผ่นไม้ หรอื แผ่นโลหะดงั กลา่ ว ใชต้ ใี นการบรรเลงมโหรโี บราณ เลน่ เพลงเรอื และโขนละคร ทมี่ า : www.nontasang.wordpress.com กรับสภา กรบั เสภา ทาดว้ ยไม้เนอ้ื แข็ง ลักษณะเปน็ แท่งส่เี หล่ียม มีสันมน วิธตี ี การตใี ชข้ ยับมือท่ีละคู่ การขับเสภาใชก้ รับสองคู่ ถอื มอื ละคู่ ผู้ขบั เสภาจะขยบั กรบั สองคู่น้ีตามท่วงทานอง ท่เี รียกเป็นไม้ตา่ ง ๆ เช่น ไมก้ รอ ไม้หนึง่ ไมร้ บ หรือไมส้ ่ี ท่มี า : www.nontasang.wordpress.com

เอกสารประกอบการเรียน ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 10 เลม่ 4 เครอ่ื งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) ระนาดเอก ระนาดเอก ที่ใหเ้ สียงนุ่มนวล นยิ มทาดว้ ยไมไ้ ผบ่ ง ถ้าตอ้ งการ ให้ไดเ้ สียง เกรียวกราว นิยมทาด้วยไมแ้ กน่ ลกู ระนาดมี 21 ลูก ลูกท่ี 21 หรือลูกยอด จะมีขนาดส้ันท่สี ุด ลูกระนาด จะร้อยไวด้ ้วยเชือกตดิ กันเปน็ ผนื แขวนไวบ้ นราง ซ่งึ ทาด้วยไม้เนอื้ แข็ง รูปร่างคลา้ ยเรอื ด้ามหวั และทา้ ยโคง้ ข้ีน เพ่ือให้อุ้มเสียง มีแผน่ ไมป้ ิดหัว และทา้ ยรางเรียกวา่ \"โขน\" จะมขี อ สาหรบั หอ้ ยผืนระนาดข้างละอนั ระนาดเอก เปน็ เคร่ืองดนตรบี รรเลงในวงปพี่ าทย์และวงมโหรี โดยทาหน้าที่ เป็นผู้นาวง วธิ ีตี เมื่อตีตามจังหวะของลูกระนาดแล้วจะเกดิ เสยี งกังวาน ลดหลน่ั กันไปตาม ลูกระนาด ระนาดที่ให้เสียงแกรง่ กรา้ ว อนั เปน็ ระนาดด้ังเดิมเรยี กว่า ระนาดเอก ระนาดทุม้ ระนาดทุ้ม เลียนแบบระนาดเอก สร้างขี้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว ลูกระนาดมีจานวน 17-18 ลูก ตัวลูกมีขนาดกว้างและยาวกว่าของระนาดเอก ตวั รางก็แตกต่าง จากระนาดเอก คอื เปน็ รปู คล้ายหีบไมแ้ ต่เว้ากลาง มีโขนปดิ หัวท้าย มีเท้า อยสู่ มี่ มุ ราง ไมต้ ตี อนปลายใชผ้ ้าพันพอกให้โต และนุ่ม เวลาตีจะได้เสียงท้มุ วิธีตี ตีตามจังหวะของลูกระนาดใช้บรรเลงในวงปีพาทย์ท่ัวไป มีวิธีการบรรเลง แตกต่างไปจากระนาดเอก คือไมไ่ ด้ยดึ การบรรเลงคู่ 8 เป็นหลัก

เอกสารประกอบการเรยี น ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 11 เลม่ 4 เครือ่ งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) ฉิ่ง เปน็ เคร่ืองตกี ากบั จังหวะ ทาด้วยโลหะ หล่อหนา รูปร่างกลม เว้ากลาง ปากผาย คล้ายฝาขนมครกไมม่ ีจุก สารับหนง่ึ มสี องฝาเจาะรตู รงกลางท่ีเว้า สาหรบั ร้อยเชือกโยงฝาทง้ั สอง เพ่อื สะดวกในการถือตี ฉิ่งมีสองขนาด ขนาดใหญใ่ ชป้ ระกอบวงปีพาทย์ ขนาดเล็กใช้กบั วงเครอื่ งสายและมโหรี ฆ้องมโหรี ฆอ้ งมโหรี เป็นฆอ้ งวงที่ใช้บรรเลงในวงมโหรีโดยเฉพาะ มีอยู่สองขนาด คอื ฆ้องวงใหญ่ มโหรแี ละฆ้องวงเล็กมโหรี ฆอ้ งวงใหญ่มโหรเี ดมิ มีลกู ฆอ้ ง 17 ลกู ตอ่ มานิยมใช้ 18 ลกู ที่มา : http://tkapp.tkpark.or.th ฆ้องมอญ ฆ้องมอญ เป็นฆ้องวงท่ีตงั้ โคง้ ขึ้นไปท้ังสองขา้ ง ไม่วางราบเหมือนฆ้องไทย มีลกู ฆ้อง 15 ลูก ใช้บรรเลงในวงปีพาทยม์ อญ ตัวรางประดษิ ฐต์ กแต่งงดงาม

เอกสารประกอบการเรียน ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 12 เลม่ 4 เคร่อื งดนตรีไทย(ตี,เป่า) ฉาบ เปน็ เคร่ืองตีกากบั จังหวะ ทาดว้ ยโลหะ รปู รา่ งคล้ายฉง่ิ แต่ มขี นาดใหญ่ กวา่ และ หล่อบางกว่า มีสองขนาด ขนาดใหญ่กว่าเรียกว่า ฉาบใหญ่ ขนาดเลก็ กว่า เรียกวา่ ฉาบเลก็ การตจี ะตีแบบประกบ และตีแบบเปิดใหเ้ สียงต่างกนั [ ฆ้องวงเลก็ ฆอ้ งวงเล็ก มีลูกฆอ้ ง 18 ลูก สรา้ งขนี้ ใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าฯ ใช้ บรรเลงร่วมในวง ปีพาทย์ มีหน้าท่ีเก็บสอด แทรก ฯลฯ ฆ้องวงใหญ่ ฆอ้ งวงใหญ่ มลี กู ฆอ้ ง 16 ลูก ลกู เสยี งตา่ สดุ เรียกว่า ลูกทวน ลูกเสยี งสูงสดุ เรยี กว่า ลูกยอด ไมท้ ่ใี ชต้ ีมีสองอัน ผตู้ ถี งึ ไมต้ ีมือละอนั

เอกสารประกอบการเรียน ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 13 เลม่ 4 เครือ่ งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) ฆ้อง ฆอ้ ง ตัวฆอ้ งทาดว้ ยโลหะแผ่นรปู วงกลมตรงกลาง ทาเปน็ ปมุ่ นูน เพ่ือใชร้ องรับการตใี หเ้ กดิ เสียง เรยี กวา่ ปุม่ ฆอ้ ง ต่อจากปุ่มเปน็ ฐานแผอ่ อกไป แลว้ งองุม้ ลงมาโดยรอบเรียกวา่ \"ฉัตร\"ส่วนท่เี ปน็ พืน้ ราบรอบปมุ่ เรียกวา่ \"หลังฉัตร\"หรือ \" ชานฉตั ร\" ส่วนที่งอเปน็ ขอบเรียกวา่ \"ใบฉัตร\"ทใ่ี บฉตั รนจ้ี ะมีรเู จาะ สาหรบั รอ้ ยเชือก หรอื หนงั เพือ่ แขวนฆอ้ งถา้ แขวนตีทางตั้งจะเจาะสองรู ถ้าแขวนตที างนอนจะเจาะส่รี ู การบรรเลง ฆอ้ งใช้ในการบรรเลงได้สองลกั ษณะคอื ใช้ตีกากับจังหวะ และใช้ตี ดาเนนิ ทานอง ฆ้องที่ใช้ตกี ากับจงั หวะได้แก่ ฆอ้ งห่ยุ หรอื ฆ้องชยั ฆ้องโหม่ง ฆ้องเหมง่ ฆ้องระเบ็ง และฆ้องคู่ ฆอ้ งทใ่ี ชต้ ีดาเนนิ ทานอง ไดแ้ ก่ ฆ้องราง ฆ้องวงใหญ่ ฆอ้ งวงเล็ก ฆอ้ งมโหรี ฆอ้ งมอญ ฆ้องกะแตและฆอ้ งหุ่ยหรอื ฆอ้ งชัย ฆอ้ งระเบ็ง ท่ีมา : www.nontasang.wordpress.com ฆ้องระเบ็ง ใชต้ ีประกอบการแสดงระเบง็ ชุดหนึง่ มสี ามลกู มขี นาดและให้เสยี งสูง-ต่า ต่างกนั มีชอื่ อีกอย่างหนงึ่ ตามลกั ษณะว่า \"ฆอ้ งราว\" ฆ้องราง ใช้ตดี าเนนิ ทานอง ชดุ หนง่ึ มี 7-8 ลกู เสยี งลูกท่ี 1 กับลูกท่ี 8 เป็นเสยี งเดียวกนั แตต่ า่ งระดบั เสยี ง ปัจจบุ นั ไมม่ กี ารใชใ้ นวง

เอกสารประกอบการเรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 14 เล่ม 4 เคร่ืองดนตรีไทย(ต,ี เป่า) ฆอ้ งหุย่ ฆอ้ งห่ยุ ใช้ตกี ากบั จงั หวะ เป็นฆอ้ งที่ มีขนาดใหญท่ ่สี ุด ในวงดนตรไี ทย มอี กี ชือ่ ว่า ฆ้องชยั อาจเปน็ เพราะสมยั โบราณ อาจใชฆ้ อ้ งชนดิ นตี้ เี ป็นสัญญาณใน กองทพั ปจั จุบนั ใช้ตใี นงานพธิ ี งานมงคล ต่าง ๆ ทมี่ า : www.nontasang.wordpress.com ฆอ้ งโหมง่ ฆ้องโหมง่ ใช้ตกี ากับจังหวะ มีขนาดใหญ่ รองลงมาจากฆอ้ งหยุ่ ไดช้ อ่ื น้ตี ามเสยี งที่เกิด จากการตี ทีม่ า : www.nontasang.wordpress.com

เอกสารประกอบการเรยี น ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 15 เล่ม 4 เครื่องดนตรีไทย(ตี,เป่า) ประเภทเปา่ ขลุ่ยหลีบ ขลยุ่ กรวด ขลุ่ยเพยี งออ ขลุย่ อู้ ขล่ยุ นก ขลยุ่ หลีบ ขลยุ่ กรวด ขล่ยุ เพยี งออ ขลุ่ยอู้ ขลยุ่ นก ขลุ่ยหลีบ เปน็ ขล่ยุ กรวด มี ทาจากไม้รวก ขลุย่ อู้เป็นขลยุ่ ทมี่ ี ขลุย่ นก เปน็ ขลุย่ ขลุ่ยขนาดเล็ก มี ขนาดเลก็ กว่า ปลอ้ งยาวๆ ขนาดใหญ่ท่ีสดุ ใน พิเศษ ทาขนึ้ เพ่ือ เสียงสูงแหลม ขล่ยุ เพยี งออ ด้านหนา้ เจาะรู บรรดาขลุ่ย เสียงสัตว์ต่าง ๆ เลก็ ระดับเสยี ง ระดบั เสยี งตา่ สดุ เรยี งกัน สาหรับ ทง้ั หลาย และเป็น โดยเฉพาะนก ใช้ ต่าสดุ สงู กว่า สูงกว่าระดบั เสียง ปิดเปิดเพื่อ ขลุ่ยทมี่ เี สียงต่า บรรเลง ประกอบ เสยี งตา่ สุด ของขลุ่ยเพียงออ เปล่ียนเสียงเสียง ที่สดุ คือต่ากวา่ ในวงดนตรี ของขลยุ่ เพียงออ อยู่ 1 เสยี ง โดของขลยุ่ เสียงโดต่าของ เพ่ือใหเ้ กิด ขน้ึ มา 3 เสียง เพยี งออ เทยี บได้ ขลุ่ยเพยี งออ 2-3 จนิ ตนาการ ใน ใชเ้ ป่าคู่กบั ขลุ่ย เทา่ กับ เสยี ง เสียง ขลุย่ อู้ทามา การฟงั เพลงไดด้ ี เพยี งออ หรือ ทีแฟลต็ ในระดับ จากไมร้ วกปลอ้ ง ย่ิงข้ึน บางครั้งยัง ขลยุ่ กรวด เสียงทางสากล ใหญย่ าวประมาณ ใช้ ลน้ิ ปีม่ า 60 เซนตเิ มตร ประกอบกับตัว กวา้ ง 4 ซม. ขล่ยุ เพ่อื เลียน ขล่ยุ อูใ้ ชบ้ รรเลง เสียงไก่ ขลุ่ย ในวงป่พี าทย์ พเิ ศษน้นี ยิ มใช้ ดกึ ดาบรรพ์ บรรเลง เพลงตับ นกและ ตบั ภมู รนิ ทร์

เอกสารประกอบการเรียน ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 16 เลม่ 4 เครอ่ื งดนตรีไทย(ตี,เป่า) แบบฝึกกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 4 .1 เลม่ ท่ี 4 เรือ่ ง เครอ่ื งดนตรไี ทย (ต,ี เป่า) จุดประสงค์การเรียนรู้ : จาแนกฆอ้ งและบอกลกั ษณะของฆอ้ งแต่ละชนิดได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมชือ่ เครอ่ื งดนตรใี ห้ถูกตอ้ งและอธิบายรปู รา่ งลกั ษณะมา ให้เข้าใจ (10 คะแนน) เคร่ืองดนตรี ชอ่ื รูปร่างลกั ษณะ

เอกสารประกอบการเรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 17 เลม่ 4 เครอ่ื งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) แบบฝึกกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 4.2 เลม่ ที่ 4 เร่อื ง เครือ่ งดนตรีไทย(ตี,เปา่ ) จุดประสงค์การเรยี นรู้ : บอกลักษณะท่สี าคญั ของเครื่องดนตรแี ตล่ ะชนดิ ได้ คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนนาขอ้ ความท่ีกาหนดให้เตมิ หนา้ ประโยคใหส้ มั พนั ธก์ ัน (10 คะแนน) กรับพวง กรบั เสภา ระนาดเอก ระนาดทมุ้ กลองทดั ฆ้องมโหรี ฉิ่ง ฉาบ ขลยุ่ กรวด ขลุ่ยหลีบ .................. 1. เป็นฆ้องวงที่ใชบ้ รรเลงในวงมโหรีโดยเฉพาะ .................. 2. ใช้มอื หนงึ่ ถือกรับ แล้วตกี รบั ลงไปบนอีกมือหนึ่งท่รี องรับ .................. 3. การตีใชข้ ยบั มือท่ลี ะคู่ .................. 4. เสยี งนมุ่ นวล นยิ มทาด้วยไมไ้ ผ่ตงมี 1 ขา เวลาตีมกั ใชค้ ู่ 8 .................. 5. เสยี งน่มุ นวล นิยมทาด้วยไม้ไผต่ งมี 4 ขา มี 18 ลูก .................. 6. เปน็ เคร่ืองตกี ากับจงั หวะ ทาด้วยโลหะ รูปรา่ งคล้ายฉิง่ แต่ .................. มีขนาดใหญ่กว่าและหลอ่ บางกวา่ .............. 7. เป็นเครือ่ งตกี ากบั จงั หวะ ทาด้วยโลหะรปู ร่างกลม เว้ากลาง .............. 8. เปน็ เครื่องตกี ากบั จังหวะ ทาดว้ ยโลหะ รูปรา่ งคลา้ ยฉิง่ .............. 9. มรี ะดับเสยี งตา่ สดุ สูงกว่าระดับเสียงของขลยุ่ เพียงอออยู่ 1 เสยี ง 10. เป็นขลุ่ยขนาดเล็ก มเี สยี งสูงแหลมเลก็

เอกสารประกอบการเรยี น ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 18 เล่ม 4 เครอ่ื งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) แบบฝกึ กิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ี 4.3 เล่มที่ 4 เรอ่ื ง เคร่อื งดนตรีไทย(ตี,เป่า) จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ : จาแนกเคร่ืองดนตรีแต่ละประเภทตามลักษณะการบรรเลงได้ คาชีแ้ จง ใหน้ กั เรยี นเขยี นเครอ่ื งดนตรจี าแนกตามลักษณะการบรรเลง (10 คะแนน) ประเภทตี ประเภทเปา่ 1. ……………………….…………… 1. ……………………….…………… 2. ……………………….…………… 2. ……………………….…………… 3. ……………………….…………… 3. ……………………….…………… 4. ……………………….…………… 4. ……………………….…………… 5. ……………………….…………… 5. ……………………….……………

เอกสารประกอบการเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 19 เล่ม 4 เคร่อื งดนตรีไทย(ตี,เป่า) แบบทดสอบหลงั เรียน เลม่ ที่ 4 เร่อื ง เคร่ืองดนตรไี ทย( ต,ี เป่า ) คาชี้แจง  ให้นกั เรียน  ทับอกั ษรหน้าคาตอบทถี่ ูกทส่ี ดุ เพยี งคาตอบเดียว ( 5 คะแนน ) 1. จากภาพคือเครอื่ งดนตรีใด ก. ระนาดเอก ข. ระนาดทุ้ม ค. ตะโพนมอญ ง. ฆอ้ งวง 2. ขลุ่ยชนดิ ใด มีขนาดเล็กที่สดุ ข. ขลยุ่ เพียงออ ก. ขลยุ่ นก ง. ขลยุ่ กรวด ค. ขลยุ่ หลบี 3. เครือ่ งดนตรีแบง่ ตามลักษณะการทาให้เกดิ เสียงมีก่ปี ระเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท 4. เครอ่ื งดนตรชี นิดใดนิยมใช้เป็นเครือ่ งตกี ากบั จงั หวะ ก. ขล่ยุ ข. ซอ ค. กลอง ง. ฉาบ

เอกสารประกอบการเรียน ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 20 เลม่ 4 เครื่องดนตรีไทย(ตี,เป่า) ใหน้ กั เรยี นพิจารณาขอ้ ความต่อไปน้ี แลว้ ตอบคาถามขอ้ 5 1. ฆ้องวงเลก็ มีลกู ฆอ้ ง 18 ลูก 2. ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงใหญ่ มีลูกฆอ้ ง 16 ลกู 3. ฆ้องโหมง่ ใชต้ ีกากับจังหวะ เป็นฆอ้ งทม่ี ีขนาดใหญท่ ี่สดุ ในวงดนตรไี ทย มีอีก ชื่อวา่ ฆอ้ งชัย อาจเป็นเพราะสมัยโบราณ อาจใชฆ้ ้องชนิดนต้ี ีเปน็ สญั ญาณใน กองทัพ 4. ฆ้องโหม่ง ใช้ตีกากับจังหวะ มีขนาดใหญ่ รองลงมาจากฆ้องหุ่ย ได้ช่ือนี้ตาม เสยี งท่เี กดิ จากการตี ก. ข้อ 1 ,2 และ 3 ถูก ข. ข้อ 2 ,3 และ 4 ถูก ค. ขอ้ 1 ,2 และ 4 ถูก ง. ข้อ 1 ,3 และ 4 ถกู ผลการประเมินได.้ ...........................คะแนน

เอกสารประกอบการเรียน ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 21 เล่ม 4 เครอ่ื งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) เฉลยคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน เลม่ ที่ 4 เรือ่ ง เครอ่ื งดนตรีไทย(ต,ี เปา่ ) 1. ง 2. ค 3. ง 4. ก 5. ข

เอกสารประกอบการเรยี น ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 1 22 เล่ม 4 เคร่อื งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) เฉลยคาตอบแบบฝึกกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ี่ 4.1 เลม่ ท่ี 4 เรือ่ ง เครอ่ื งดนตรไี ทย (ตี, เปา่ ) จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ : จาแนกฆ้องและบอกลกั ษณะของฆอ้ งแต่ละชนิดได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมช่ือเครือ่ งดนตรใี ห้ถกู ตอ้ งและอธิบายรปู ร่างลกั ษณะมา ให้เขา้ ใจ (10 คะแนน) เครอ่ื งดนตรี ชื่อ รูปรา่ งลกั ษณะ ฆอ้ งมอญ เปน็ ฆอ้ งวงทต่ี ั้งโคง้ ขน้ึ ไปทั้งสองข้าง ไม่วางราบเหมือนฆอ้ งไทย มลี ูก ฆ้องวง ฆ้อง 15 ลูก ใหญ่ มลี กู ฆอ้ ง 16 ลูก ลูกเสยี งต่าสดุ เรยี กว่า ลูก ทวน ลูกเสียงสูงสดุ เรยี กว่า ลูกยอดไม้ท่ีใช้ ตมี สี องอนั ผตู้ ีถึงไม้ตมี อื ละอัน ฆอ้ งระเบง็ ชุดหน่ึงมีสามลกู มีขนาดและให้เสียงสงู -ต่า ต่างกัน ฆ้องวงเลก็ มีลกู ฆอ้ ง 18 ลกู สรา้ งข้ึนในรชั สมยั ฆอ้ งหุ่ย พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าฯ ใชบ้ รรเลง ร่วมในวงปีพาทย์ ใช้ตีกากับจงั หวะ เปน็ ฆ้องท่ีมีขนาดใหญ่ ท่ีสดุ ในวงดนตรีไทย มีอีกช่ือวา่ ฆ้องชัย

เอกสารประกอบการเรยี น ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 23 เล่ม 4 เครอ่ื งดนตรีไทย(ตี,เป่า) เฉลยคาตอบแบบฝึกกิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ี 4.2 เลม่ ที่ 4 เรอ่ื ง เครอ่ื งดนตรีไทย(ต,ี เป่า) จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ : บอกลกั ษณะทส่ี าคญั ของเครือ่ งดนตรีแต่ละชนิดได้ คาชแี้ จง ใหน้ กั เรียนนาขอ้ ความท่ีกาหนดใหเ้ ติมหน้าประโยคให้สมั พันธ์กัน (10 คะแนน) กรับพวง กรบั เสภา ระนาดเอก ระนาดท้มุ กลองทดั ฆ้องมโหรี ฉง่ิ ฉาบ ขลยุ่ กรวด ขลุ่ยหลีบ ฆ้องมโหรี 1. เป็นฆ้องวงท่ีใชบ้ รรเลงในวงมโหรโี ดยเฉพาะ กรบั พวง 2. ใช้มือหนึง่ ถอื กรับ แลว้ ตกี รบั ลงไปบนอีกมือหนงึ่ ทรี่ องรับ กรับเสภา 3. การตีใช้ขยับมือทีล่ ะคู่ ระนาดเอก 4. เสียงนุ่มนวล นยิ มทาด้วยไมไ้ ผ่ตงมี 1 ขา เวลาตีมักใชค้ ู่ 8 ระนาดทุ้ม 5. เสียงนุม่ นวล นยิ มทาด้วยไมไ้ ผ่ตงมี 4 ขา มี 18 ลูก กลองทัด 6. ทาจากหนังววั ตรงึ ดว้ ยหมดุ กลึงควา้ นขา้ งในจนเป็นโพรง ฉงิ่ 7. เปน็ เคร่ืองตีกากบั จังหวะ ทาด้วยโลหะรปู ร่างกลม เว้ากลาง ฉาบ 8. เปน็ เคร่อื งตกี ากับจังหวะ ทาด้วยโลหะ รูปรา่ งคลา้ ยฉ่ิง ขลยุ่ กรวด 9. มรี ะดบั เสียงต่าสุดสูงกว่าระดับเสียงของขลุ่ยเพียงอออยู่ 1 เสยี ง ขลุ่ยหลีบ 10. เป็นขลยุ่ ขนาดเลก็ มีเสียงสูงแหลมเล็ก

เอกสารประกอบการเรยี น ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 24 เล่ม 4 เคร่ืองดนตรีไทย(ต,ี เป่า) เฉลยแบบฝึกกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี 4.3 เล่มท่ี 4 เรื่อง เครือ่ งดนตรไี ทย(ต,ี เป่า) จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ : จาแนกเคร่ืองดนตรีแตล่ ะประเภทตามลักษณะการบรรเลงได้ คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นเขยี นเครื่องดนตรจี าแนกตามลักษณะการบรรเลง (10 คะแนน) แนวคาตอบ ประเภทเปา่ ประเภทตี 1. ขล่ยุ หลบี 2. ขลุ่ยเพียงออ 1. ระนาดเอก 3. ขลยุ่ กรวด 2. กรบั 4. ปี่ 3. ฉ่งิ 5. สงั ข์ 4. ฉาบ 5. โหม่ง

เอกสารประกอบการเรยี น ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 25 เล่ม 4 เคร่อื งดนตรีไทย(ตี,เป่า) เฉลยคาตอบแบบทดสอบหลังเรยี น เล่มที่ 4 เร่อื ง เครื่องดนตรีไทย(ตี, เปา่ ) 1. ก 2. ค 3. ง 4. ง 5. ค

เอกสารประกอบการเรียน ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 26 เลม่ 4 เครือ่ งดนตรีไทย(ตี,เป่า) บรรณานุกรม กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ผังมโนทัศน์และสาระการเรียนรู้ แกนกลางกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ หลกั สูตรการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพ ฯ : ครุ ุสภาลาดพร้าว. . (2551). หลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551. กรงุ เทพฯ : คุรสุ ภาลาดพรา้ ว. . (2549). หนังสอื เรียนสาระการเรียนรพู้ ้นื ฐาน เร่อื ง รักดนตรี กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ลิ ปะ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 1. กรงุ เทพฯ : คุรุสภาลาดพรา้ ว. บญุ รบั ศักดิ์มณี และคณะ. (2551). คมู่ ือครูสาหรบั ประกอบชดุ กจิ กรรม ดนตรี หรรษา พัฒนาความรู้ ช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1. ฉะเชิงเทรา : ประสานมิตร. รชั นี ขวญั บญุ จันและคณะ. (2553). หนังสือเรียนสาระการเรยี นรพู้ ื้นฐานศิลปะ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 1. กรงุ เทพฯ : ไทยวฒั นาพานิช. สมศักดิ์ สนิ ธุระเวชญ์และคณะ. (2549). รกั ดนตรี พฒั นาทกั ษะกระบวนการ. กรงุ เทพ ฯ : วฒั นาพานชิ . สุนทรี ทองชิตร์. (2551). เสรมิ ศกั ยภาพดนตรี. กรงุ เทพ ฯ : เดอะบคุ ส.์ เอกรินทร์ ส่ีมหาศาลและคณะ. (2553). สือ่ การเรียนร้สู าระพืน้ ฐานชดุ แมบ่ ท มาตรฐาน ศิลปะ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1. กรุงเทพฯ : อกั ษรเจรญิ ทัศน.์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook