Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20104-2005 งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

20104-2005 งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น

Description: แผนการสอน

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ม่งุ เน้นสมรรถนะ บรู ณาการคณุ ธรรม จริยธรรม คา่ นยิ มคุณลกั ษณะที่พึ่งประสงค์ และปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รหสั 20100-1005 รายวิชางานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้ืองตน้ หนว่ ยกติ 1-3-2 (ท-ป-น) หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง ภาคเรยี นที่ 1/2563 จัดทำโดย นายจักรกฤษณ์ ธนสีลังกูร ครูจ้างสอน แผนกวชิ าไฟฟ้ากำลัง วทิ ยาลยั เทคนิคบุรีรัมย์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

หลักสตู รรายวิชา รหสั 20100-1005 รายวชิ างานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์เบื้องต้น หนว่ ยกติ 1-3-2 (ท-ป-น) หลักสูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพ พทุ ธศกั ราช 2562 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟา้ กำลัง สาขางานไฟฟา้ จดุ ประสงค์รายวิชา 1.) เพอื่ ให้มคี วามรู้ความเข้าใจเกย่ี วกบั สว่ นประกอบ และวิธีการใชง้ านของมลั ติมเิ ตอร์ เครือ่ งกำเนดิ สัญญาณไฟฟ้า และออสซิลโลสโคป 2.) เพื่อให้มีทักษะในการใชง้ าน มลั ติมิเตอร์ เครื่องกำเนิดสญั ญาณไฟฟ้า และออสซิลโลสโคป 3.) เพื่อให้มคี วามรับผดิ ชอบในการทำงานเป็นกลุม่ 4.) นอ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ ในการเลอื กซื้อและเลือกใช้ มัลติมิเตอร์ สมรรถนะรายวิชา เลอื กและใช้งาน มลั ติมเิ ตอร์ เครอ่ื งกำเนดิ สัญญาณไฟฟ้า ออสซลิ โลสโคป ในงานไฟฟ้าและ อิเลก็ ทรอนิกส์ได้อย่างถูกตอ้ งตามหลักวธิ ีการ และเหมาะสมกบั งาน คำอธบิ ายรายวิชา วงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ซึ่งไม่สามารถมองเห็นหรือสัมผัสได้ แต่เรามี ความจำเป็นที่จะต้องตรวจสอบและวิเคราะห์ขนาดหรือปริมาณ และรูปร่างของสัญญาณในวงจร สิ่งที่ใช้ในการ สร้างสัญญาณไฟฟ้า คือเครื่องกำเนิดสัญญาณไฟฟ้า หรือฟังก์ชันเจนเนอเรเตอร์ และสิ่งที่ใช้วัดขนาดหรือปริมาณ และรูปร่างของสัญญาณไฟฟ้า คือมัลติมิเตอร์และออสซิลโลสโคป ทั้งนี้เราสามารถศึกษารายละเอียดส่วนประกอบ และการใชง้ านของ “เครอ่ื งมือวัดและทดสอบในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส”์ ดงั กล่าวได้

2 สมรรถนะการเรียนรู้ สมรรถนะวิชาชีพสาขาวชิ า สมรรถนะวิชาสาขางาน สมรรถนะรายวิชา ขอ้ ที่ 1 แสดงความรู้เกี่ยวกับ 3.1 ดา้ นความรู้ - หลกั การวดั ทดสอบ ประกอบ วงจรไฟฟ้า 3.1.2 หลกั การคดิ วิเคราะห์ ข้อท่ี 2 แสดงความรู้เก่ียวกบั หลกั การวัด ทดสอบ ประกอบ ตดั สนิ ใจ วางแผนและแก้ไขปัญหา วงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 3.1.4 หลกั การดา้ นความ ปลอดภยั และข้อกำหนดกฎหมาย ทีเ่ ก่ยี วข้องกับการงานอาชีพ 3.2 ด้านทกั ษะ 3.2.1 ทักษะการเลือกและ ประยุกตใ์ ชว้ ธิ กี าร เคร่ืองมือและ วัสดอุ ปุ กรณ์ในการปฏิบัตงิ าน 3.2.2 ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ และแกป้ ัญหาในการปฏบิ ัตงิ าน 3.2.5 ทักษะด้านสขุ ภาวะและ ความปลอดภยั ตามระเบยี บ ขอ้ บังคับที่เช่อื มโยงกนั ในการ ปฏบิ ตั งิ าน 3.3 ด้านความสามารถในการ ประยุกตใ์ ช้และความรบผดิ ชอบ 3.3.2 ปฏิบัติงานอาชพี ชา่ ง ไฟฟา้ ตามหลกั การและแบบแผน ท่กี ำหนด โดยใช/้ เลือกใช/้ ปรับใช้ กระบวนการปฏิบตั ิงานท่ีเหมาะสม 3.3.3 เลอื กใชแ้ ละบำรุงรักษา เครื่องมือ วัสดุ อปุ กรณ์ในงาน อาชีพตามหลักการและ กระบวนการโดยคำนึกถึงความ ประหยัดและความปลอดภัย

3 ตารางกำหนดหน่วยการเรียน คำอธิบายรายวชิ า หนว่ ยการเรยี น วงจรไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ทำงานด้วยสัญญาณ 1. ระบบความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และ ทางไฟฟ้า ซึ่งไม่สามารถมองเหน็ หรือสมั ผสั ได้ แตเ่ รา อเิ ล็กทรอนกิ ส์ มคี วามจำเปน็ ทจี่ ะต้องตรวจสอบและวิเคราะห์ขนาด 2. ความรู้เบ้ืองต้นเกยี่ วกบั ไฟฟา้ หรือปรมิ าณ และรปู ร่างของสัญญาณในวงจร สิ่งท่ีใช้ 3. เครอ่ื งมือวัดและทดสอบ ในการสร้างสญั ญาณไฟฟ้า คือเครื่องกำเนิด 4. ตวั ต้านทาน สัญญาณไฟฟ้า หรอื ฟงั ก์ชันเจนเนอเรเตอร์ และส่ิงที่ 5. วงจรไฟฟา้ เบ้ืองต้น ใช้วัดขนาดหรือปริมาณ และรูปรา่ งของ 6. ตัวเกบ็ ประจุ สัญญาณไฟฟ้า คอื มัลติมเิ ตอร์และออสซลิ โลสโคป 7. ตวั เหนี่ยวนำ ทั้งน้ีเราสามารถศึกษารายละเอยี ดสว่ นประกอบ และ 8. อปุ กรณส์ ารก่ึงตวั นำ การใช้งานของ “เครอ่ื งมอื วัดและทดสอบในงานไฟฟา้ 9. ไมโครโฟนและลำโพง และอิเล็กทรอนิกส์” ดงั กลา่ วได้ 10. รเี ลย์ 11. หมอ้ แปลงไฟฟ้า 12. วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง อปุ กรณ์ป้องกนั ไฟฟ้า และ การต่อสายดิน 13. การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าเบือ้ งตน้ 14. เทคนคิ การบัดกรี 15. การประกอบวงจรไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ เบ้ืองตน้ บนแผน่ วงจรพิมพ์

4 ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะหนว่ ยการเรียน หนว่ ย ช่ือหน่วย สมรรถนะ สมรรถนะ สมรรถนะ ท่ี วิชาชพี วิชาชพี สาขา รายวิชา งาน ขอ้ 1, 2 1 ระบบความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และ 3.1.4 และ ข้อ 1, 2 ข้อ 1, 2 อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3.2.5 ข้อ 1, 2 ข้อ 1, 2 2 ความรู้เบอื้ งตน้ เก่ียวกับไฟฟ้า 3.1.2 ขอ้ 1, 2 ขอ้ 1, 2 3 เครอ่ื งมือวดั และทดสอบ 3.3.3 ขอ้ 1, 2 ขอ้ 1, 2 4 ตัวต้านทาน 3.2.1 ข้อ 1, 2 ข้อ 1, 2 5 วงจรไฟฟ้าเบ้อื งตน้ 3.3.2 ข้อ 1, 2 6 ตวั เก็บประจุ 3.2.1 ข้อ 1, 2 ขอ้ 1, 2 7 ตวั เหน่ียวนำ 3.2.1 ขอ้ 1, 2 8 อปุ กรณ์สารก่ึงตัวนำ 3.2.1 9 ไมโครโฟนและลำโพง 3.2.1 10 รีเลย์ 3.2.1 11 หม้อแปลงไฟฟา้ 3.2.1 12 วงจรไฟฟ้าแสงสวา่ ง อปุ กรณ์ป้องกนั ไฟฟา้ และ 3.1.2 และ การตอ่ สายดนิ 3.3.3 13 การควบคมุ มอเตอร์ไฟฟ้าเบ้ืองต้น 3.2.1 14 เทคนิคการบัดกรี 3.3.2 15 การประกอบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ 3.1.2 , 3.2.1 เบือ้ งต้นบนแผน่ วงจรพิมพ์ และ 3.3.2

5 ตารางวเิ คราะห์ความสอดคลอ้ งของหนว่ ยการเรยี นและความทันสมยั หลกั สตู ร : ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพพุทธศกั ราช2562 ใบรายการสอน รหัสวิชา : 20100-1005 ชอ่ื วิชา : งานไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ สเ์ บื้องต้น แหลง่ ข้อมลู หมายเหตุ ABCDE ชอ่ื หน่วย 1. ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์   2. ความร้เู บอ้ื งต้นเกย่ี วกบั ไฟฟา้   3. เครอ่ื งมือวัดและทดสอบ  4. ตวั ตา้ นทาน  5. วงจรไฟฟ้าเบื้องตน้  6. ตัวเกบ็ ประจุ  7. ตัวเหนย่ี วนำ  8. อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำ  9. ไมโครโฟนและลำโพง  10. รีเลย์  11. หม้อแปลงไฟฟา้  12. วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง อปุ กรณป์ ้องกันไฟฟ้า และการต่อสายดนิ  13. การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้าเบื้องตน้  14. เทคนิคการบดั กรี  15. การประกอบวงจรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสเ์ บ้อื งตน้ บนแผ่นวงจรพิมพ์  แหล่งข้อมลู ความสำคัญในอาชพี /คำอธิบายรายวิชา A: ความถีใ่ นการทำงาน/ประสบการณ์ B: ความสัมพนั ธข์ องรายวิชาในหลกั สตู ร/ผู้เชย่ี วชาญ C: ทรัพยากรทมี่ ีอยู่/ผู้ชำนาญการ D: ตำราเอกสาร E:

6 ตารางวเิ คราะห์หน่วยการเรียนรู้และพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ รหัส 20100-1005 รายวชิ างานไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกสเ์ บื้องตน้ หนว่ ยกติ 1-3-2 (ท-ป-น) พฤตกิ รรมการเรียนรู้ ความรู้ ทักษะ คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงค์ หนว่ ยการ เรียน/ รายการสอน 1. ความรู้ความเข้าใจ 2. ความเข้าใจ 3. การนำไปใช้ 4. การ ิวเคราะ ์ห 5. การสังเคราะ ์ห 6. การประเมิน ่คา 1. การรับรู้ 2. การเตรียมพร้อม 3. การปฏิ ับ ิตงาน 4. การปฏิ ับ ิตงานได้เอง 5. การป ิฏ ับ ิตงานด้วยความชำนาญ 1. การรับรู้ 2. การตอบสนอง 3. การเ ็หน ุคณ ่คา 4. การจัดระบบ ่คา ินยม 5. การกำหนด ุคณลักษณะ หนว่ ยที่ 1. ระบบความ ปลอดภัยใน งานไฟฟ้า และ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ความ    ปลอดภยั     หลกั ปฏิบัติ   เพ่ือความ    ปลอดภยั การปฐม พยาบาล    เบื้องต้น ความรู้เรื่อง ปรัชญา  เศรษฐกจิ พอเพียง หนว่ ยท่ี 2. ความรู้

เบือ้ งต้น  7 เกี่ยวกบั ไฟฟา้     สสารและ   โครงสร้าง      ของอะตอม    ประจุไฟฟา้    แรงดนั ไฟฟา้    แหลง่ กำเนดิ ไฟฟา้    กฎของโอห์ม    กำลังและ พลงั งาน    ไฟฟา้ ความรู้ พฤติกรรมการเรียนรู้ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ ทักษะ หน่วยการ 1. ความรู้ความเ ้ขาใจ เรยี น/ 2. ความเ ้ขาใจ 3. การนำไปใ ้ช รายการสอน 4. การ ิวเคราะห์ 5. การสังเคราะ ์ห 6. การประเ ิมนค่า 1. การรับรู้ 2. การเตรียมพร้อม 3. การปฏิ ับติงาน 4. การปฏิ ับ ิตงานไ ้ดเอง 5. การป ิฏ ับ ิตงานด้วยความชำนาญ 1. การรับรู้ 2. การตอบสนอง 3. การเ ็หนคุณ ่คา 4. การจัดระบบ ่คา ินยม 5. การกำหนด ุคณลักษณะ หน่วยที่ 3.    เคร่อื งมือวดั    และทดสอบ มลั ติมิเตอร์ เคร่ือง กำเนดิ สัญญาณ

ออสซลิ โลสโค     8  ป    หน่วยที่ 4.     ตวั ตา้ นทาน  ชนิดของตวั ตา้ นทาน    หนว่ ยวดั ความ    ตา้ นทาน การอ่านค่าตวั    ต้านทาน การวัดค่าตวั ตา้ นทาน    หน่วยการ ความรู้ พฤตกิ รรมการเรียนรู้ คณุ ลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ เรียน/ ทักษะ รายการ สอน 1. ความรู้ความเ ้ขาใจ 2. ความเข้าใจ 3. การนำไปใ ้ช 4. การ ิวเคราะห์ 5. การสังเคราะ ์ห 6. การประเมินค่า 1. การรับรู้ 2. การเตรียมพร้อม 3. การป ิฏ ับ ิตงาน 4. การปฏิ ับ ิตงานได้เอง 5. การป ิฏ ับ ิตงานด้วยความชำนาญ 1. การรับรู้ 2. การตอบสนอง 3. การเ ็หนคุณค่า 4. การจัดระบบ ่คานิยม 5. การกำหนด ุคณ ัลกษณะ หน่วยที่ 5.   วงจรไฟฟ้า   เบอ้ื งต้น องคป์ ระกอ    บวงจรไฟฟ้า วงจรไฟฟ้า แบบอนกุ รม   

9 วงจรไฟฟ้า    แบบขนาน    วงจรไฟฟ้า แบบผสม หนว่ ยการ ความรู้ พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ เรียน/ ทักษะ รายการ สอน 1. ความรู้ความเ ้ขาใจ 2. ความเ ้ขาใจ 3. การนำไปใช้ 4. การวิเคราะห์ 5. การสังเคราะ ์ห 6. การประเมินค่า 1. การรับรู้ 2. การเตรียมพร้อม 3. การปฏิ ับ ิตงาน 4. การปฏิ ับ ิตงานไ ้ดเอง 5. การป ิฏ ับ ิตงานด้วยความชำนาญ 1. การรับรู้ 2. การตอบสนอง 3. การเ ็หนคุณ ่คา 4. การจัดระบบ ่คา ินยม 5. การกำหนด ุคณลักษณะ หนว่ ยท่ี 6. ตวั เกบ็ ประจุ หลักการ ทำงาน         เบอ้ื งต้น     ชนิดของ ตวั เก็บ     ประจุ การอ่าน คา่ ความจุ     ของตวั เกบ็ ประจุ การวัด และ ตรวจสอบ     ตัวเก็บ

เหนย่ี วนำ ความ    การอ่านคา่ ชนิดของตัว ตัวเหนย่ี วนำ ทำงานของ    หลักการ เหนยี่ วนำ ตัว หน่วยที่ 7. หน่วยการ ประจุดว้ ย เหน่ียวนำ เรยี น/ โอห์ม มิเตอร์ รายการสอน การตอ่ วงจรใช้  1. ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้ งานตัว     2. ความเข้าใจ เกบ็ ประจุ 3. การนำไปใช้  4. การวเิ คราะห์ พฤตกิ รรมการเรียนรู้   5. การสงั เคราะห์ ทักษะ  6. การประเมนิ คา่ 1. การรบั รู้  2. การเตรียมพรอ้ ม คุณลักษณะท่พี ึงประสงค์ 10  3. การปฏบิ ตั งิ าน   4. การปฏิบตั ิงานได้เอง 5. การปฏบิ ัตงิ านด้วยความชำนาญ 1. การรบั รู้ 2. การตอบสนอง 3. การเหน็ คณุ ค่า 4. การจัดระบบค่านิยม 5. การกำหนดคุณลกั ษณะ

11 ของตวั เหน่ยี วนำ การวดั และ ตรวจสอบตวั เหน่ยี วนำ        ดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ การต่อวงจร ใชง้ านตวั    เหนีย่ วนำ หนว่ ยท่ี 8. อุปกรณ์สาร กึง่ ตัวนำ สารกึ่งตวั นำ        ไดโอด      ทรานซิสเตอ    ร์ ความรู้ พฤตกิ รรมการเรยี นรู้ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ ทกั ษะ หนว่ ยการ 1. ความรู้ความเ ้ขาใจ เรียน/รายการ 2. ความเ ้ขาใจ 3. การนำไปใช้ สอน 4. การวิเคราะห์ 5. การ ัสงเคราะ ์ห 6. การประเ ิมนค่า 1. การรับรู้ 2. การเตรียมพร้อม 3. การปฏิ ับ ิตงาน 4. การปฏิ ับ ิตงานไ ้ดเอง 5. การป ิฏ ับ ิตงานด้วยความชำนาญ 1. การรับรู้ 2. การตอบสนอง 3. การเ ็หน ุคณค่า 4. การจัดระบบ ่คา ินยม 5. การกำหนด ุคณลักษณะ หน่วยที่ 9.    ไมโครโฟน    และลำโพง ไมโครโฟน ลำโพง

หน่วยท่ี 10. 12 รเี ลย์   หลักการ  ทำงานของ         รีเลย์   ชนิดของรเี ลย์         การวัดและ  การตรวจสอบ       รีเลย์ หน่วยที่ 11. หม้อแปลง ไฟฟ้า หลกั การ ทำงานของ     หมอ้ แปลง ชนดิ ของหม้อ  แปลง การวัดและ ตรวจสอบ     หม้อแปลง หน่วยที่ 12. วงจรไฟฟ้า แสงสว่าง อุปกรณ์ ป้องกันไฟฟ้า และการตอ่ สายดนิ แหลง่ กำเนิด  แสง วงจรไฟฟ้า แสงสวา่ ง    

อปุ กรณ์ 13  ปอ้ งกันไฟฟ้า   และการต่อ    สายดิน    13. การ    ควบคุม    มอเตอร์ไฟฟา้ เบอ้ื งตน้ หลักการ ทำงานของ     มอเตอร์ ชนดิ ของ  มอเตอร์ การควบคุม มอเตอรไ์ ฟฟ้า     กระแสตรง 14. เทคนคิ การบดั กรี ความหมาย การบดั กรี     เครื่องมอื และ  อุปกรณ์ เทคนคิ การ  บัดกรี 15. การ ประกอบ วงจรไฟฟา้ และ อิเล็กทรอนกิ สเ์ บื้องตน้ บน แผน่ วงจรพิม พ์

14 ความรู้    เบอ้ื งตน้    แผน่ วงจรพมิ    พ์ การทำ แผน่ วงจรพิม พ์

15 กำหนดการสอน รหัส 20100-1005 รายวิชางานไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์เบื้องต้น หน่วยกิต 1-3-2 (ท-ป-น) หน่วยที่ ชื่อหน่วยการเรยี นร/ู้ หวั ข้อการสอน จำนวน สัปดาห์ท่ี ชวั่ โมง 1 ระบบความปลอดภัยในงานไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 1 4 2 2. ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกี่ยวกบั ไฟฟา้ 2 3 3. เครื่องมือวดั และทดสอบ 4 3-4 4 4. ตวั ตา้ นทาน 8 5 5 5. วงจรไฟฟ้าเบ้ืองตน้ 4 6-7 6 6. ตัวเก็บประจุ 8 8 7 7. ตวั เหน่ียวนำ 4 9 8 8. อปุ กรณ์สารกึ่งตวั นำ 4 10 9 9. ไมโครโฟนและลำโพง 4 11 10 10. รเี ลย์ 4 12 11 11. หมอ้ แปลงไฟฟา้ 4 13 12 12. วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง อุปกรณป์ ้องกนั ไฟฟ้า และการต่อสายดิน 4 14 13 13. การควบคุมมอเตอร์ไฟฟา้ เบ้ืองตน้ 4 15 14 14. เทคนิคการบัดกรี 4 16 15 15. การประกอบวงจรไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ บ้ืองตน้ บนแผ่นวงจรพิมพ์ 4 17-18 8 รวม 72 *หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง (ให้เพ่มิ เติมเขา้ ไปในหนว่ ยการเรียนร)ู้

รหสั วชิ า 20100-1005 โครงการสอน 16 (1-3-2) ชื่อวชิ า งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกสเ์ บื้องต้น สัปดาห์ หัวข้อเรือ่ ง/งานท่สี อน กลยทุ ธ์/ การวัดและ สอื่ การสอน งานท่ี ที่ วิธกี ารสอน ประเมนิ ผล มอบหมาย 1 1. ระบบความปลอดภยั ในงาน บรรยาย แบบทดสอบ หนังสอื แบบทดสอบ ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ทฤษฎี ออนไลน์ 2 2. ความร้เู บอ้ื งต้นเกี่ยวกับ กิจกรรมชน้ั Google ไฟฟ้า เรียน ทดสอบปฏบิ ตั ิ classroom ใบ 3 3. เครื่องมือวดั และทดสอบ มอบหมาย 4 กจิ กรรม Google sheets งาน 5 4. ตวั ต้านทาน ออนไลน์ 6 5. วงจรไฟฟ้าเบ้ืองต้น จัดอันดบั แรงค์ Google drive คำส่ังการ 7 ความสามารถ ปฏบิ ัตงิ าน 8 6. ตวั เก็บประจุ OBS+youtube 9 7. ตวั เหน่ียวนำ ปฏบิ ัติ วีดโี อการสอน 10 8. อปุ กรณส์ ารก่ึงตัวนำ 11 9. ไมโครโฟนและลำโพง Breadboard บอรด์ ทดลอง 12 10. รเี ลย์ ปฏบิ ัติงาน 13 11. หม้อแปลงไฟฟา้ 14 12. วงจรไฟฟ้าแสงสว่าง อุปกรณ์ปอ้ งกนั ไฟฟ้า และการ เครือ่ งมอื ชา่ ง ตอ่ สายดิน 15 13. การควบคุมมอเตอร์ไฟฟ้า เบือ้ งตน้ 16 14. เทคนคิ การบัดกรี 17 15. การประกอบวงจรไฟฟ้า 18 และอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้นบน แผน่ วงจรพมิ พ์

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 คร้ังที่ 1 จานวน 4 ชั่วโมง วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบื้องต้น 20100–1005 ชื่อหน่วย ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 1. สาระสาคัญ การปฏิบัติงาน หรื อการใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มีความเก่ียวข้องโดยตรง กบั ผูค้ นทว่ั ไป และผูป้ ฏิบตั ิงานท่ีเป็ นช่างดา้ นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ “ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและ อิ เ ล็ ก ท ร อ นิ ก ส์ ” นั บ ว่ า เ ป็ น ส่ิ ง ส า คั ญ อ ย่ า ง ยิ่ ง ที่ ต้ อ ง ต ร ะ ห นั ก เ ป็ น อั น ดั บ แ ร ก จ ะ ต้ อ ง รู้ ถึ ง อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า และจะต้องรู้จักหลักปฏิบัติเพื่อความปลอดภัย ในการป้องกันอันตรายท่ีเกิด จากไฟฟ้า แต่หากวา่ ป้องกนั แลว้ ยงั เกิดอุบตั ิเหตุจากความประมาท หรือรู้เทา่ ไมถ่ ึงการณ์ ก็ตอ้ งรู้จกั วธิ ีแกไ้ ข ในการ ช่ ว ย เ ห ลื อ แ ล ะ ป ฐ ม พ ย า บ า ล เ บ้ื อ ง ต้ น ผู้ ไ ด้ รั บ อั น ต ร า ย จ า ก ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ก่ อ น จ ะ ส่ ง ผปู้ ่ วยไปยงั สถานพยาบาลท่ีอยใู่ กลท้ ี่เกิดเหตุ 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ แสดงความรู้ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า และอิเลก็ ทรอนิกส์ไดถ้ กู ตอ้ ง 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงคท์ ว่ั ไป 3.1.1 เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ 3.1.2 เพอื่ ใหม้ ีความรู้ และเห็นความสาคญั เกี่ยวกบั หลกั ปฏิบตั ิเพือ่ ความปลอดภยั ในการป้องกนั อนั ตรายที่เกิดจากไฟฟ้า 3.1.3 เพ่อื ใหม้ ีความรู้เก่ียวกบั การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ผไู้ ดร้ ับอนั ตรายจากไฟฟ้า 3.1.4 นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ ในหลกั การปฏิบตั ิเพ่ือความปลอดภยั ใน งานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3.2.1 อธิบายเกี่ยวกบั ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.2 อธิบายหลกั ปฏิบตั ิ เพ่อื ความปลอดภยั ในการป้องกนั อนั ตรายที่เกิดจากไฟฟ้าไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.3 อธิบายวิธีการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ผไู้ ดร้ ับอนั ตรายที่เกิดจากไฟฟ้าไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.4 ประยกุ ตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปปฏิบตั ิเพอื่ ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและ อิเลก็ ทรอนิกส์ ในชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งปลอดภยั

18 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ 4.1.1 กระแสไฟฟ้าเกิน 4.1.2 ไฟฟ้าดูด 4.2 หลกั ปฏิบตั ิเพ่ือความปลอดภยั ในการป้องกนั อนั ตรายที่เกิดจากไฟฟ้า 4.2.1 หลกั ปฏิบตั ิเพ่อื ความปลอดภยั ในการใชง้ านไฟฟ้า 4.2.2 การป้องกนั อนั ตรายที่เกิดจากไฟฟ้า 4.3 การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ผไู้ ดร้ ับอนั ตรายจากกระแสไฟฟ้า 4.3.1 การช่วยเหลือผปู้ ระสบภยั อนั ตรายจากไฟฟ้าดูด 4.3.2 การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ผถู้ กู ไฟฟ้าดูด 4.4 ใหค้ วามรู้เรื่องหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ไปปฏิบตั ิเพ่ือความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและ อิเลก็ ทรอนิกส์ พอประมาณ มีเหตผุ ล 1. การตรวจสอบเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อมใชง้ าน 3. พบขอ้ บกพร่องของเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า 2. ระวงั อยา่ ใหเ้ ดก็ เลน่ ใกลป้ ลก๊ั ไฟฟ้า ควรทาการแกไ้ ขใหเ้ รียบร้อย 4.หาทางป้องกนั อนั ตราย เช่น หาท่ีปิ ดปลกั๊ ไฟฟ้า หลกั ปฏิบตั ิเพ่อื ความปลอดภยั ใน 5. ลดอุบตั ิเหตทุ ี่เกิดมจภี มูากิคุม้กกานั รใชไ้ ฟฟ้า งานไฟฟ้า ความรู้+ทกั ษะ 6. ใชง้ านไฟฟ้าโดยคานึงถึงความปลอดภยั - หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง - การตรวจสอบและเลือกใชอ้ ปุ กรณ์ไฟฟ้า คณุ ธรรม - การป้องกนั อนั ตรายจากไฟฟ้า - มีความตระหนกั ถึงอนั ตรายที่เกิดจากไฟฟ้า เช่น พบอุปกรณ์ ไฟฟ้าชารุดก็ทาการแกไ้ ขใหพ้ ร้อมท่ีจะใชง้ าน - ไม่ใชไ้ ฟฟ้าในทางท่ีผดิ เช่น ใชก้ ระแสไฟฟ้าในการช็อตปลา สังคม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม ส่ิงแวดลอ้ ม 5,6 1,3 3 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ สัปดาหท์ ่ี 1 ชวั่ โมงที่ 1 – 4 แนะนารายวชิ า กจิ กรรมการเรียนรู้ตลอดภาคเรียน เกณฑ์การให้คะแนน การวดั ผลและประเมินผล การเรียน แหล่งเรียนรู้ สมรรถนะอาชีพ และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (20 นาที)

19 เน่ืองจากเป็นสัปดาห์แรกของการเรียน ครูจะตอ้ งช้ีแจงรายละเอียดต่างๆ ในส่วนที่นกั ศึกษาจะตอ้ งทราบ เก่ียวกบั หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั พุทธศกั ราช 2558 (ปรับปรุง พ.ศ.2562) ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ไดก้ าหนดช่ัวโมงการเรียนวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้นไว้ จานวน 4 ชว่ั โมงตอ่ สัปดาห์ เวลาเรียน 18 สัปดาหต์ อ่ ภาคเรียน หรือมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียน 72 ชวั่ โมง ลักษณะของรายวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้น จุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา คาอธิบายรายวิชา เกณฑก์ ารให้คะแนน เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล ในรายวิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ เบ้ืองตน้ ใชก้ ารสะสมคะแนนจากการทาแบบฝึ กหัดทา้ ยบทเรียน (ประเมินดา้ นความรู้ ความเขา้ ใจ) และใบงาน (ประเมินดา้ นทกั ษะและการนาไปใชง้ าน) คะแนนดา้ นคุณธรรม จริยธรรม คา่ นิยมอนั พงึ ประสงค์ (ประเมินดา้ น เจตคติ) ก่อนนาคะแนนที่ไดไ้ ปจดั ระดบั คะแนนดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ทางงานวดั ผลและประเมินผลได้ จดั ทาไว้ โดยมีรายละเอียดของคะแนนและระดบั คะแนนดงั น้ี คะแนน 80 - 100 ไดร้ ะดบั คะแนน 4 คะแนน 75 - 79 ไดร้ ะดบั คะแนน 3.5 คะแนน 70 - 74 ไดร้ ะดบั คะแนน 3 คะแนน 65 - 69 ไดร้ ะดบั คะแนน 2.5 คะแนน 60 - 64 ไดร้ ะดบั คะแนน 2 คะแนน 55 - 59 ไดร้ ะดบั คะแนน 1.5 คะแนน 50 - 54 ไดร้ ะดบั คะแนน 1 คะแนน 49 - 0 ไดร้ ะดบั คะแนน 0 ทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 1 ( 10 นาที ) แจกแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 1 5.1 ข้ันนา ( 5 นาที) 1) แจง้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้และวธิ ีการเรียนรู้ประจาหน่วยที่ 1 แจกเอกสารประกอบการเรียนรู้ หน่วยท่ี 1 ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า และอิเลก็ ทรอนิกส์ 2) นาเขา้ สู่บทเรียนโดยคาถาม 5.2 ข้ันกจิ กรรม ( 175 นาที) 3) ครูสนทนากบั นกั เรียนเก่ียวกบั ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ โดยนกั ศึกษาฟัง ดว้ ยความต้งั ใจ ซกั ถามและแลกเปล่ียนความคิดเห็นภายในช้นั เรียน 4) มอบหมายงานใบงานที่ 1 โดยแบ่งนกั เรียนออกเป็น 2 กล่มุ ตามเลขท่ีค่แี ละคู่ (ประมาณกลมุ่ ละ 6-10 คน) เลือกหวั หนา้ กลมุ่ เลขานุการ จดบนั ทึก แบ่งหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบภายในกลุ่ม มอบหมายใหน้ กั เรียน กลุ่มเลขที่คี่ รับผดิ ชอบในหวั ขอ้ หลกั ปฏิบตั ิเพื่อความปลอดภยั ในการป้องกนั อนั ตรายท่ีเกิดจากไฟฟ้า จาก เอกสารประกอบการจดั การเรียนรู้ที่ครูแจกให้ สรุปประเด็นท่ีจะอภิปรายหนา้ ช้นั เรียน

20 5) มอบหมายใหน้ กั เรียนกลมุ่ เลขที่คู่ รับผิดชอบในหวั ขอ้ วธิ ีการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ผไู้ ดร้ ับ อนั ตรายที่เกิดจากไฟฟ้า 6) ส่งตวั แทนกลุ่ม อภิปรายหนา้ ช้นั เรียน กล่มุ ละ 10 นาที 7) ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปราย ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า และอิเลก็ ทรอนิกส์ เกี่ยวกบั หลกั ปฏิบตั ิเพ่ือความปลอดภยั ในการป้องกนั อนั ตรายท่ีเกิดจากไฟฟ้า และวธิ ีการปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ผไู้ ดร้ ับอนั ตรายท่ี เกิดจากไฟฟ้า 8) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุป ระบบความปลอดภยั ในงานไฟฟ้า และอิเลก็ ทรอนิกส์ 5.3 ข้ันวเิ คราะห์ ( 20 นาที) 9) ครูแจกแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 1 โดยใชเ้ วลาทาแบบทดสอบ 10 นาที โดยหา้ มปรึกษาและ พูดคุยกนั 10) เก็บรวบรวมกระดาษคาตอบของทุกคน และแจกกระดาษคาตอบสลบั กันตรวจ โดยจะตอ้ งมี ความซ่ือสตั ยต์ ่อตนเอง 11) ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบทีละขอ้ และตรวจใหค้ ะแนนเพอื่ น จนครบทุกขอ้ และ ไม่แกค้ ะแนนใหเ้ พอ่ื น พร้อมกบั ลงช่ือผตู้ รวจกากบั และส่งคืนครู 5.4 ข้นั สรุปและประเมินผล ( 10 นาที) 12) ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายและสรุปความรู้ประจาหน่วยท่ี 1 เพอ่ื ใหเ้ กิดองคค์ วามรู้ดงั น้ี ความปลอดภยั ในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ หลกั ปฏิบตั ิเพอื่ ความปลอดภยั และการป้องกนั อนั ตรายท่ีเกิดจาก ไฟฟ้า และการปฐมพยาลเบ้ืองตน้ ผไู้ ดร้ ับอนั ตรายจากกระแสไฟฟ้า 6. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 6.1 ส่ือส่ิงพมิ พ์ 6.1.1 เอกสารประกอบสอน หน่วยที่ 1 6.1.2 แบบฝึกหดั ที่ 1 6.2 แหล่งการเรียนรู้จากเวบ็ ไซต์ 6.2.1 http://www.pea.co.th/ 7. หลกั ฐานการเรียนรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 7.1.1 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 7.1.2 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 1 จานวน 10 ขอ้ 7.1.3 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 1 จานวน 10 ขอ้ 7.2 หลกั ฐานการปฏิบตั ิงาน 7.2.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน

21 7.2.2 ใบงานท่ี 1.1 8. การวดั และประเมินผล 8.1 เครื่องมือวดั และประเมินผล 8.1.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.1.2 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 1 8.1.3 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 8.2 วิธกี ารวัดและประเมินผล 8.2.1 สังเกตจากแบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.2.2 ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 1 8.2.3 ตรวจแบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ตอ้ งไดค้ ะแนนไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ 80 8.3.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ้ งไดค้ ะแนนไมต่ ่ากว่าร้อยละ 60 9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานทม่ี อบหมาย 9.1 กจิ กรรมเสนอแนะ คน้ ควา้ เพมิ่ เติมทางอินเทอร์เน็ตท่ีเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ 9.2 งานท่มี อบหมาย ทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 1 ส่งสัปดาห์ที่ 2 ทาบอร์ดตามงานกลุ่มในใบงานที่ 1 นามาจดั บอร์ดหนา้ ช้นั เรียน

22 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 คร้ังที่ 2 จานวน 4 ชั่วโมง วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบื้องต้น 20100–1005 ช่ือหน่วย ความรู้เบื้องต้นเกยี่ วกบั ไฟฟ้า 1. สาระสาคัญ ไฟฟ้าเป็นส่ิงที่นบั วา่ มีความจาเป็นอยา่ งยง่ิ ในชีวิตของมนุษยใ์ นยคุ อดีตจนถึงปัจจุบนั ชาวกรีก โบราณไดร้ ู้จกั กระแสไฟฟ้ามานานกวา่ สองพนั ปี แลว้ โดยพบวา่ ถา้ ใชก้ อ้ นอาพนั ผกู หรือถู กบั ผา้ บางชนิด เช่น ผา้ ไหม ผา้ ขนสัตว์ กอ้ นอาพนั น้นั ก็จะดูดฝ่นุ ผง หรือขนนกใหเ้ กาะอยไู่ ด้ คาวา่ กระแสไฟฟ้ามาจากคาในภาษากรี กวา่ “อิเลก็ ตรอน” แปลวา่ “อาพนั ”ใน ค.ศ. 1752 (พ.ศ.2295) เบนจามิน แฟรงคลิน ชาวอเมริกนั ไดพ้ สิ ูจนใ์ หเ้ ห็นวา่ มีประจุไฟฟ้าอยใู่ นกอ้ นเมฆ ไฟฟ้าคอื พลงั งานในรูปแบบ หน่ึงท่ีสามารถกกั เกบ็ และปลดปล่อยออกมาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ โดยแหล่งกาเนิดของไฟฟ้าน้นั อาจจะมาจากหลาย แหลง่ ข้นึ อยกู่ บั วตั ถปุ ระสงคข์ องการใชง้ าน เช่น แบตเตอร์รี่ เซลลแ์ สงอาทิตย์ เจนเนอร์เรเตอร์ เป็นตน้ จึงมี ความจาเป็นอยา่ งยง่ิ ท่ีช่างจะตอ้ งมี “ความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั ไฟฟ้า” 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ แสดงความรู้เบ้ืองตน้ เกี่ยวกบั ไฟฟ้าและกฎของโอห์มไดต้ ามหลกั การกฎของไฟฟ้าไดถ้ กู ตอ้ ง 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงคท์ ว่ั ไป 3.1.1 เพ่อื ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั อะตอม ประจุไฟฟ้า และแรงดนั ไฟฟ้า 3.1.2 เพ่ือใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวในแหล่งกาเนิดไฟฟ้า และการนาพลงั งานไฟฟ้ามาใชง้ าน อยา่ งถกู วิธี 3.1.3 เพื่อใหม้ ีความรับผดิ ชอบในการทางานเป็นกลมุ่ 3.1.4 เพื่อใหม้ ีทกั ษะในการนาแหล่งกาเนิดไฟฟ้ามาประยกุ ตใ์ ชง้ าน 3.1.5 นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าอยา่ งประหยดั 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3.2.1 อธิบายโครงสร้างของอะตอมไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.2 อธิบายวิธีการทาใหเ้ กิดประจุไฟฟ้า ดว้ ยวิธีการตา่ งๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.3 บอกความหมาย และชนิดของแรงดนั ไฟฟ้าไดถ้ กู ตอ้ ง

23 3.2.4 อธิบายคณุ สมบตั ิแหล่งกาเนิดไฟฟ้าแบบตา่ งๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.5 เขียนความสัมพนั ธ์ของ แรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความตา้ นทานทางไฟฟ้าได้ตาม กฎของโอห์มไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.6 คานวณค่าใชจ้ ่ายการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.7 ประยุกต์หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการใช้พลงั งานไฟฟ้าอย่างประหยดั ได้ อยา่ งประหยดั 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 โครงสร้างของอะตอม 4.1.1 สสาร 4.1.2 การแบ่งสารทางไฟฟ้า 4.2 ประจุไฟฟ้า 4.2.1 ความหมายของประจุไฟฟ้า 4.2.2 การเกิดประจุไฟฟ้า 4.3 แรงดนั ไฟฟ้า 4.3.1 ความหมายของแรงดนั ไฟฟ้า 4.3.2 ชนิดของแรงดนั ไฟฟ้า 4.4 แหล่งกาเนิดไฟฟ้า 4.4.1 แบตเตอร์รี่ 4.4.2 เซลลแ์ สงอาทิตย์ 4.4.3 แหล่งจ่ายไฟแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ 4.4.4 เจนเนอร์เรเตอร์ 4.5 กฎของโอหม์ 4.6 กาลงั ไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟ้า 4.6.1 ความหมายของกาลงั ไฟฟ้า 4.6.2 ความหมายของพลงั งานไฟฟ้า 4.6.3 การคานวณคา่ ใชจ้ ่ายไฟฟ้า 4.7 ใหค้ วามรู้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าอยา่ งประหยดั

24 พอประมาณ มีเหตผุ ล 1. การเลือกขนาดของเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าอยา่ งเหมาะสม 3. วเิ คราะห์ความจาเป็นในการเลือกซ้ือ 2. ตรวจสอบสภาพเครื่องใชไ้ ฟฟ้าภายในบา้ น เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า การใชพ้ ลงั งาน 4. สารวจสายไฟฟ้า ปลกั๊ ไฟ พดั ลม ฯลฯ ไฟฟ้าอย่างประหยดั มภี มู คิ ุม้ กนั 5. ลดค่ากระแสไฟฟ้าในระยะยาว ความรู้+ทกั ษะ 6. ป้องกนั การเกิดอบุ ตั ิเหตจุ ากเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าชารุด - หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง - การเลือกซ้ือเครื่องใชไ้ ฟฟ้าตามความจาเป็น คุณธรรม - ความปลอดภยั ในการใชง้ านเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า- มีความตระหนกั ถึงอนั ตรายท่ีเกิดจากไฟฟ้า เช่น พบอปุ กรณ์ ไฟฟ้าชารุดกท็ าการแกไ้ ขใหพ้ ร้อมที่จะใชง้ าน - การประหยดั เช่น การเลือกซ้ือเคร่ืองซกั ผา้ ขนาด เหมาะสมกบั ครอบครัว การจ่ายคา่ กระแสไฟฟ้า นอ้ ยลง สงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม สิ่งแวดลอ้ ม 2 3,5,1 1 6 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ สัปดาห์ท่ี 2 ชว่ั โมงท่ี 5 – 8 ทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 2 ( 10 นาที ) 5.1 ข้ันนา ( 5 นาที) 1) แจง้ จุดประสงคแ์ ละวิธีการเรียนรู้ประจาหน่วยที่ 2 แจกเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 2 2) นาเขา้ สู่บทเรียนโดยคาถาม 5.2 ข้ันกจิ กรรม ( 195 นาที) 3) ครูสนทนาเก่ียวกบั โครงสร้างของอะตอม พร้อมกบั ถามนกั เรียน 4-5 คน 4) ครูอธิบายโครงสร้างของอะตอม และถามตอบนกั เรียนเก่ียวกบั โครงสร้างของอะตอม 5) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั โครงสร้างของอะตอม

25 6) ครูอธิบายเรื่องประจุไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า แหล่งกาเนิดไฟฟ้า กฎของโอหม์ กาลงั ไฟฟ้าและ พลงั งานไฟฟ้า 7) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั เรื่องประจุไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า แหล่งกาเนิดไฟฟ้า กฎของ โอห์ม กาลงั ไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟ้า 8) แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 5 คน คละกนั ตามความสามารถ ทบทวนการคานวณหาค่า พลงั งานไฟฟ้า โดยใชใ้ บงานที่ 2 ครูสงั เกตการทางานเป็นกลุ่ม และคอยช้ีแนะวธิ ีการทีละกล่มุ 9) สุ่มมา 2 กล่มุ โดยใหต้ วั แทนแตล่ ะกล่มุ มาแสดงวธิ ีทาบนกระดาน โดยใหเ้ พ่อื นช่วยตรวจสอบ ผลการคานวณหาค่าพลงั งานไฟฟ้า 10) ครู และนกั เรียนร่วมกนั สรุป และการหาค่าพลงั งานไฟฟ้า 11) ครูอธิบายคุณสมบตั ิของแหลง่ กาเนิดไฟฟ้าแบบตา่ งๆ 12) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปคุณสมบตั ิของแหลง่ กาเนิดไฟฟ้าแบบต่างๆ 13) ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายคณุ สมบตั ิของแหล่งกาเนิดไฟฟ้าแบบต่างๆ 14) สุ่มตวั อยา่ งนกั เรียน 2-3 คน อภิปรายเก่ียวกบั คุณสมบตั ิของแหล่งกาเนิดไฟฟ้าแบบตา่ งๆ 5.3 ข้ันวเิ คราะห์ ( 10 นาที) 15) สุ่มตวั อยา่ งนกั เรียน 3-5 คน สรุปองคค์ วามรู้ประจาหน่วยท่ี 2 16) สังเกตและบนั ทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียนรายบุคคล 5.4 ข้ันสรุปและประเมินผล ( 20 นาที) 17) ครูแจกแบบทดสอบหลงั เรียน ใหน้ กั ศึกษาลงมือทา โดยไม่ปรึกษากนั ภายในระยะเวลา 10 นาที 18) เกบ็ แบบทดสอบของนกั เรียนแตล่ ะคนคืน และแจกแบบทดสอบสลบั กนั ตรวจใหค้ ะแนน 19) ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน โดยนกั เรียนตรวจใหค้ ะแนนเพือ่ น ดว้ ยความ ซ่ือสตั ยส์ ุจริต พร้อมลงช่ือผตู้ รวจ 6. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 ส่ือส่ิงพมิ พ์ เอกสารประกอบการค้นคว้า 6.1.1 หนงั สือ งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบื้องต้น 6.1.2 เอกสารประกอบการสอน หน่วยท่ี 2 6.1.3 แบบฝึกหดั ท่ี 2 6.2 แหล่งการเรียนรู้จากเว็บไซต์ 6.2.1 http://www.pea.co.th/th/index.php 6.2.2 http://www.rmutphysics.com/charud/scibook/electric4/topweek7.htm

26 7. หลกั ฐานการเรียนรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 7.1.1 แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 2 7.1.2 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 2 จานวน 10 ขอ้ 7.1.3 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 2 จานวน 10 ขอ้ 7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ัติงาน 7.2.1 แบบหดั ฝึกที่ 2 8. การวดั และประเมินผล 8.1 เคร่ืองมือวดั และประเมินผล 8.1.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.1.2 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 2 8.1.3 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 2 8.2 วธิ กี ารวดั และประเมินผล 8.2.1 สงั เกตจากแบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.2.2 ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 2 8.2.3 ตรวจแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2 8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ตอ้ งไดค้ ะแนนไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ 80 8.3.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานท่มี อบหมาย 9.1 กจิ กรรมเสนอแนะ คน้ ควา้ เพมิ่ เติมทางอินเทอร์เน็ตที่เวบ็ ไซตต์ า่ งๆ 9.3 งานทม่ี อบหมาย ทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 2 ส่งสัปดาหท์ ่ี 3

27 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 3 คร้ังที่ 3-4 วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์เบื้องต้น 20100–1005 จานวน 8 ช่ัวโมง ชื่อหน่วย เคร่ืองมือวัดและทดสอบ 1. สาระสาคัญ วงจรไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ทางานดว้ ยสัญญาณทางไฟฟ้า ซ่ึงไม่สามารถมองเห็นหรือสมั ผสั ได้ แตเ่ รามีความจาเป็นท่ีจะตอ้ งตรวจสอบและวเิ คราะห์ขนาดหรือปริมาณ และรูปร่างของสญั ญาณในวงจร สิ่งท่ี ใชใ้ นการสร้างสญั ญาณไฟฟ้า คอื เครื่องกาเนิดสัญญาณไฟฟ้า หรือฟังกช์ นั เจนเนอเรเตอร์ และส่ิงที่ใชว้ ดั ขนาด หรือปริมาณ และรูปร่างของสัญญาณไฟฟ้า คอื มลั ติมิเตอร์และออสซิลโลสโคป ท้งั น้ีเราสามารถศึกษารายละเอียดส่วนประกอบ และการใชง้ านของ “เคร่ืองมือวดั และทดสอบในงานไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์” ดงั กล่าวได้ 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ เลือกและใชง้ าน มลั ติมิเตอร์ เคร่ืองกาเนิดสัญญาณไฟฟ้า ออสซิลโลสโคป ในงานไฟฟ้าและ อิเลก็ ทรอนิกส์ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงคท์ ว่ั ไป 3.1.1 เพ่อื ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั ส่วนประกอบ และวิธีการใชง้ านของ มลั ติมิเตอร์ เคร่ืองกาเนิดสญั ญาณไฟฟ้า และออสซิลโลสโคป 3.1.2 เพ่อื ใหม้ ีทกั ษะในการใชง้ าน มลั ติมิเตอร์ เครื่องกาเนิดสญั ญาณไฟฟ้า และ ออสซิลโลสโคป 3.1.3 เพ่ือใหม้ ีความรับผดิ ชอบในการทางานเป็นกลุม่ 3.1.4 นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ ในการเลือกซ้ือ และการใชง้ านมลั ติ มิเตอร์ 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3.2.1 บอกส่วนประกอบ และป่ ุมใชง้ านของมลั ติมิเตอร์ เครื่องกาเนิดสญั ญาณไฟฟ้า และออสซิลโลสโคปไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.2 สามารถใชง้ านมลั ติมิเตอร์ในการวดั ปริมาณตา่ งๆ ทางไฟฟ้าไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.3 สามารถใชง้ านออสซิลโลสโคปในการวดั ปริมาณต่างๆ ทางไฟฟ้าไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.4 ประยกุ ตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชใ้ นการเลือกซ้ือ และการใชง้ านมลั ติ มิเตอร์ ไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง

28 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 มลั ติมิเตอร์ 4.1.1 ส่วนประกอบของมลั ติมิเตอร์ 4.1.2 การอ่านค่าสเกลของมลั ติมิเตอร์ 4.1.3 การวดั คา่ ปริมาณตา่ งๆ ทางไฟฟ้าดว้ ยมลั ติมิเตอร์ 4.2 เครื่องกาเนิดสญั ญาณไฟฟ้า 4.2.1 ส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดสัญญาณไฟฟ้า 4.2.2 วิธีการใชง้ านเครื่องกาเนิดสญั ญาณไฟฟ้า 4.3 ออสซิลโลสโคป 4.3.1 ส่วนประกอบของออสซิลโลสโคป 4.3.2 การวดั คา่ ปริมาณต่างๆ ทางไฟฟ้าดว้ ยออสซิลโลสโคป 4.4 ใหค้ วามรู้เรื่องหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการเลือกซ้ือ และการใชง้ าน มลั ติมิเตอร์ พอประมาณ มเี หตผุ ล 1. การเลือกซ้ือมลั ติมิเตอร์ 3. วิเคราะหค์ วามจาเป็นในการเลือก 2. การบารุงรักษาเครื่องมือ ซ้ือมลั ติมิเตอร์ การเลอื กซ้ือและ 4. ศึกษาการใชง้ านมลั ติมิเตอร์ การใชง้ าน มภี ูมิคมุ้ กนั มลั ติมิเตอร์ 5. ลดคา่ ใชจ้ ่ายในการซ้ือเคร่ืองมือวดั ความรู้+ทกั ษะ 6. ลดความเสียหายและยดื อายกุ ารใช้ งานของ เครื่องมือวดั - หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง คุณธรรม - การเลือกซ้ือมลั ติมิเตอร์ - ใชม้ ลั ติมิเตอร์วดั ขนาดสัญญาณทางไฟฟ้า- มีความตระหนกั ถึงความปลอดภยั การใชเ้ คร่ืองมือวดั - การประหยดั ลดคา่ ใชจ้ ่ายในการซ้ือมลั ติมิเตอร์ สงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม สิ่งแวดลอ้ ม 4,6 1,3,5 2

29 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ สัปดาห์ที่ 3-4 ชว่ั โมงท่ี 9 – 16 ทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 3 ( 10 นาที ) 5.1 ข้ันนา ( 5 นาที) 1) แจง้ จุดประสงคแ์ ละวิธีการเรียนรู้ประจาหน่วยท่ี 3 แจกเอกสารประกอบการสอนหน่วยท่ี 3 2) นาเขา้ สู่บทเรียนโดยคาถาม 5.2 ข้ันกจิ กรรม ( 425 นาที) 3) ครูสนทนาเกี่ยวกบั มลั ติมิเตอร์ พร้อมกบั ถามนกั เรียน 4-5 คน 4) ครูอธิบายเกี่ยวกบั มลั ติมิเตอร์ และถามตอบนกั เรียนเกี่ยวกบั มลั ติมิเตอร์ 5) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั มลั ติมิเตอร์ 6) ครูอธิบายเร่ืองเคร่ืองกาเนิดสัญญาณไฟฟ้า และออสซิลโลสโคป 7) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั เรื่องเครื่องกาเนิดสัญญาณไฟฟ้า และออสซิลโลสโคป 8) แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 5 คน คละกนั ตามความสามารถ ทบทวนเกี่ยวกบั มลั ติมิเตอร์ เคร่ืองกาเนิดสญั ญาณไฟฟ้า และออสซิลโลสโคป โดยใชใ้ บงานที่ 3.1 ส่วนประกอบของมลั ติมิเตอร์ เครื่องกาเนิดสัญญาณไฟฟ้า และออสซิลโลสโคป ครูสงั เกตการทางานเป็นกลมุ่ และคอยช้ีแนะวิธีการทีละกลุม่ 9) สุ่มมา 3 กลุ่ม โดยใหต้ วั แทนแตล่ ะกลมุ่ มาแสดงวิธีทาบนกระดาน โดยใหเ้ พือ่ นช่วยตรวจสอบ การบอก ส่วนประกอบของมลั ติมิเตอร์ เคร่ืองกาเนิดสัญญาณไฟฟ้า และออสซิลโลสโคป 10) ครู และนกั เรียนร่วมกนั สรุป การบอกส่วนประกอบของมลั ติมิเตอร์ เครื่องกาเนิดสญั ญาณไฟฟ้า และออสซิลโลสโคป 11) ครูอธิบายการใชง้ านมลั ติมิเตอร์ยา่ นวดั ต่างๆ 12) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปการใชง้ านมลั ติมิเตอร์ยา่ นวดั ตา่ งๆ 13) นกั เรียนทาใบงานที่ 3 การทดลองท่ี 3.2 การใชม้ ลั ติมิเตอร์วดั ปริมาณต่างๆ ทางไฟฟ้า 14) สุ่มตวั อยา่ งนกั เรียน 2-3 คน อภิปรายเกี่ยวกบั การใชง้ านมลั ติมิเตอร์ยา่ นวดั ต่างๆ 5.3 ข้ันวเิ คราะห์ ( 20 นาที) 15) สุ่มตวั อยา่ ง 3-5 คน สรุปองคค์ วามรู้ประจาหน่วยที่ 3 16) สังเกตและบนั ทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียนรายบคุ คล

30 5.4 ข้ันสรุปและประเมินผล ( 20 นาที) 17) ครูแจกแบบทดสอบหลงั เรียน ใหน้ กั เรียนลงมือทา โดยไมป่ รึกษากนั ภายในระยะเวลา 10 นาที 18) เกบ็ แบบทดสอบของนกั เรียนแต่ละคนคนื และแจกแบบทดสอบสลบั กนั ตรวจใหค้ ะแนน 19) ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน โดยนกั เรียนตรวจใหค้ ะแนนเพ่ือน ดว้ ยความ ซ่ือสัตยส์ ุจริต พร้อมลงชื่อผตู้ รวจ 6. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 ส่ือสิ่งพมิ พ์ เอกสารประกอบการค้นคว้า 6.1.1 หนงั สือ งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์เบือ้ งต้น 6.1.2 เอกสารประกอบการสอน หน่วยที่ 3 6.1.3 แบบฝึกหดั ที่ 3 6.2 แหล่งการเรียนรู้จากเวบ็ ไซต์ 6.2.1 http://en.wikipedia.org/wiki/Sine_wave 6.2.2 http://www.controlelectronics.com.au/used/products.html 6.2.3 http://www.doctronics.co.uk/signals.htm 7. หลกั ฐานการเรียนรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 7.1.1 แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3 7.1.2 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 3 จานวน 10 ขอ้ 7.1.3 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 3 จานวน 10 ขอ้ 7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงาน 7.2.1 แบบหดั ฝึกท่ี 3 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือวดั และประเมินผล 8.1.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.1.2 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 3 8.1.3 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 3

31 8.2 วิธกี ารวัดและประเมินผล 8.2.1 สังเกตจากแบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.2.2 ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 3 8.2.3 ตรวจแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3 8.3 เกณฑ์การประเมนิ 8.3.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ต่ากวา่ ร้อยละ 80 8.3.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานท่ีมอบหมาย 9.1 กจิ กรรมเสนอแนะ คน้ ควา้ เพิม่ เติมทางอินเทอร์เนต็ ท่ีเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ 9.4 งานทมี่ อบหมาย ทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 3 ส่งสัปดาห์ที่ 5-6

32 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 4 คร้ังท่ี 5 จานวน 4 ช่ัวโมง วิชา งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบื้องต้น 20100–1005 ชื่อหน่วย ตัวต้านทาน 1. สาระสาคัญ ตัวตา้ นทานเป็ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เบ้ืองต้น ซ่ึงมีหน้าท่ีหรือคุณสมบตั ิ คือต้านการไหลของ กระแสไฟฟ้าในวงจร มีอยู่หลายชนิด หลายขนาด ซ่ึงแบ่งตามลกั ษณะของการใช้งาน การอ่านค่าความตา้ น ทานบนตวั ตา้ นทาน มีท้งั อ่านค่าจากรหัสสี และตวั อกั ษรที่พิมพไ์ วบ้ นตวั ตา้ นทาน ส่วนการวดั ค่าความตา้ นทาน น้นั สามารถวดั ไดจ้ ากเครื่องมือวดั คอื โอหม์ มิเตอร์ ซ่ึงหน่วยของตวั ตา้ นทานท่ีวดั ได้ คอื โอห์ม () 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ แสดงความรู้ อา่ น วดั ค่า ตวั ตา้ นทานในงานอิเลก็ ทรอนิกส์ไดถ้ กู ตอ้ ง 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงคท์ วั่ ไป 3.1.1 เพื่อใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจรายละเอียดของตวั ตา้ นทานแบบตา่ งๆ 3.1.2 เพื่อใหม้ ีทกั ษะในการอา่ นค่ารหสั สี และวดั ค่าตวั ตา้ นทาน 3.1.3 เพอื่ ใหม้ ีความรับผดิ ชอบในการทางานเป็นกลุ่ม 3.1.4 นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ ในการอ่าน และวดั คา่ ตวั ตา้ นทาน 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3.2.1 อธิบายรายละเอียดของตวั ตา้ นทานแบบต่างๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.2 สามารถเขยี น และแปลงหน่วยของตวั ตา้ นทานไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.3 อ่านค่ารหสั สี ของตวั ตา้ นทานแบบตา่ งๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.4 วดั ค่าตวั ตา้ นทานดว้ ยโอห์มมิเตอร์ไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.5 ประยกุ ตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชใ้ นการอ่าน และวดั ค่าตวั ตา้ นทาน ได้ ถูกตอ้ ง 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ชนิดของตวั ตา้ นทาน 4.1.1 ตวั ตา้ นทานแบบค่าคงท่ี 4.1.2 ตวั ตา้ นทานแบบปรับค่าได้

33 4.1.3 ตวั ตา้ นทานแบบเปลี่ยนคา่ ได้ 4.1.4 ตวั ตา้ นทานชนิดพเิ ศษ (เปลี่ยนค่าความตา้ นทานตามแสง) 4.2 หน่วยของตวั ตา้ นทาน 4.3 การอา่ นค่าตวั ตา้ นทาน 4.3.1 การอา่ นค่าตวั ตา้ นทานชนิด 4 แถบสี 4.3.2 การอา่ นค่าตวั ตา้ นทานชนิด 5 แถบสี 4.3.3 การอ่านค่าตวั ตา้ นทานชนิดที่พมิ พค์ ่า บนตวั ตา้ นทานแบบเซอร์รามิคไวร์วาวด์ 4.4 การวดั คา่ ตวั ตา้ นทาน 4.4.1 การเตรียมโอห์มมิเตอร์ 4.4.2 การวดั และอา่ นคา่ ความตา้ นทานจากโอห์มมิเตอร์ 4.5 ใหค้ วามรู้เร่ืองหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการอา่ น และวดั คา่ ตวั ตา้ นทาน พอประมาณ มเี หตุผล 1. ศึกษาการใชง้ านโอห์มมิเตอร์ 3. ทาความเขา้ ใจการอ่านสเกลโอห์ม 2. ศึกษาการอ่านค่ารหสั สีตวั ตา้ นทาน มิเตอร์ การอา่ นและวดั 4. การท่องจารหสั ประจาสีของตวั ตา้ นทาน คา่ ตวั ตา้ นทาน 5. เขา้ ใจค่าบนสเกมลีภมูโคิอุม้ หกม์นั มิเตอร์ ความรู้+ทกั ษะ 6. เขา้ ใจการแปลค่ารหสั สีของตวั ตา้ นทาน - หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง - การอ่านคา่ สเกลของโอหม์ มิเตอร์ คุณธรรม - การอา่ นค่ารหสั สีและตวั เลขของตวั ตา้ นทาน - มีความไผร่ ู้ศึกษาเร่ืองของตวั ตา้ นทาน - มีความขยนั หมน่ั เพยี รในการทาความเขา้ ใจ การอา่ นคา่ สเกลของโอห์มมิเตอร์ สังคม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม ส่ิงแวดลอ้ ม 1,2,5,6 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ สปั ดาห์ที่ 5 ชว่ั โมงที่ 17 – 20 ทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 3 ( 15 นาที ) 5.1 ข้ันนา ( 5 นาที) 1) แจง้ จุดประสงคแ์ ละวิธีการเรียนรู้ประจาหน่วยท่ี 4 แจกเอกสารประกอบการสอนหน่วยท่ี 4 2) นาเขา้ สู่บทเรียนโดยคาถาม

34 5.2 ข้ันกจิ กรรม ( 190 นาที) 3) ครูสนทนาเกี่ยวกบั ชนิดของตวั ตา้ นทาน พร้อมกบั ถามนกั เรียน 4-5 คน 4) ครูอธิบายเก่ียวกบั ชนิดของตวั ตา้ นทาน และถามตอบนกั เรียนเก่ียวกบั ชนิดของ ตวั ตา้ นทาน 5) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั ชนิดของตวั ตา้ นทาน 6) ครูอธิบายเรื่องหน่วยวดั ค่าความตา้ นทาน การอ่านค่าตวั ตา้ นทาน และการวดั ค่าความตา้ นทาน ดว้ ยโอห์มมิเตอร์ 7) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั เร่ืองหน่วยวดั ค่าความตา้ นทาน การอา่ นค่าตวั ตา้ นทาน และ การวดั คา่ ความตา้ นทานดว้ ยโอห์มมิเตอร์ 8) แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุม่ ๆ ละ 5 คน คละกนั ตามความสามารถ ทบทวนเก่ียวกบั หน่วยวดั ค่าความตา้ นทาน การอ่านค่าตวั ตา้ นทาน และการวดั ค่าความตา้ นทานดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ โดยใชใ้ บงานที่ 4 ครูสังเกตการทางานเป็นกลุม่ และคอยช้ีแนะวธิ ีการทีละกลุ่ม 9) สุ่มมา 3 กลุม่ โดยใหต้ วั แทนแต่ละกลมุ่ มาแสดงวธิ ีการอา่ นค่า และวดั ค่าความตา้ นทาน โดยใหเ้ พ่ือน ช่วยตรวจสอบ 10) ครู และนกั เรียนร่วมกนั สรุป วิธีการอ่านคา่ และวดั คา่ ความตา้ นทาน 11) สุ่มตวั อยา่ งนกั เรียน 2-3 คน อภิปรายเก่ียวกบั วธิ ีการอา่ นค่า และวดั ค่าความตา้ นทาน 5.3 ข้ันวเิ คราะห์ ( 10 นาที) 12) สุ่มตวั อยา่ ง 3-5 คน สรุปองคค์ วามรู้ประจาหน่วยที่ 4 13) สงั เกตและบนั ทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียนรายบคุ คล 5.4 ข้นั สรุปและประเมนิ ผล ( 20 นาที) 14) ครูแจกแบบทดสอบหลงั เรียน ใหน้ กั เรียนลงมือทา โดยไมป่ รึกษากนั ภายในระยะเวลา 10 นาที 15) เก็บแบบทดสอบของนกั เรียนแต่ละคนคืน และแจกแบบทดสอบสลบั กนั ตรวจใหค้ ะแนน 16) ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน โดยนกั เรียนตรวจใหค้ ะแนนเพอื่ น ดว้ ยความ ซ่ือสตั ยส์ ุจริต พร้อมลงช่ือผตู้ รวจ 6. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 สื่อส่ิงพมิ พ์ เอกสารประกอบการค้นคว้า

35 6.1.1 หนงั สือ งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์เบือ้ งต้น 6.1.2 เอกสารประกอบการสอน หน่วยที่ 4 6.1.3 แบบฝึกหดั ท่ี 4 6.2 แหล่งการเรียนรู้จากเว็บไซต์ 6.2.1 http://www.google.co.th/ 7. หลกั ฐานการเรียนรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 7.1.1 แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 4 7.1.2 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 4 จานวน 10 ขอ้ 7.1.3 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 4 จานวน 10 ขอ้ 7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ตั ิงาน 7.2.1 แบบหดั ฝึกที่ 4 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือวดั และประเมินผล 8.1.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.1.2 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 4 8.1.3 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 4 8.2 วธิ ีการวดั และประเมินผล 8.2.1 สังเกตจากแบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.2.2 ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 4 8.2.3 ตรวจแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4 8.3 เกณฑ์การประเมนิ 8.3.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ตอ้ งไดค้ ะแนนไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ 80 8.3.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานท่ีมอบหมาย 9.1 กจิ กรรมเสนอแนะ คน้ ควา้ เพิม่ เติมทางอินเทอร์เนต็ ท่ีเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ 9.5 งานท่มี อบหมาย ทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยที่ 4 ส่งสปั ดาห์ท่ี 5

36 แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 คร้ังที่ 6-7 จานวน 8 ช่ัวโมง วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบื้องต้น 20100–1005 ช่ือหน่วย วงจรไฟฟ้าเบือ้ งต้น 1. สาระสาคัญ วงจรไฟฟ้าคือ การนาเอาแหลง่ จ่ายไฟฟ้ามาจ่ายแรงดนั และกระแสไฟฟ้า หรือวิธีท่ีทาใหก้ ระแสไฟฟ้า ไหลผ่าน อุปกรณ์ไฟฟ้าหรืออิเล็กทรอนิกส์ในวงจรได้ ซ่ึงอุปกรณ์ดงั กล่าวนิยมเรียกว่า “โหลด” (Load) หรือ “ภาระ” โดยใชส้ วิตซ์ในการเปิ ดปิ ดวงจร ในทางปฏิบตั ิจะมีฟิ วส์ในวงจรเพ่ือป้องกนั ขอ้ ผิดพลาดท่ีเกิดข้ึนกับ อุปกรณ์ในวงจร เช่น ภาระเกินหรือไฟฟ้าลดั วงจร วงจรไฟฟ้าเบ้ืองตน้ สามารถแบ่งได้ 3 แบบคือ วงจรอนุกรม วงจรขนานและวงจรผสม ซ่ึงวงจรไฟฟ้าแต่ละแบบมีคุณสมบัติด้านความต้านทาน กระแสไฟฟ้าและ แรงดนั ไฟฟ้า ในวงจรที่แตกต่างกนั ในการเลือกวงจรแต่ละแบบไปประยกุ ตใ์ ชง้ าน ข้ึนอย่กู บั ความตอ้ งการและ ความเหมาะสมตามคุณสมบตั ิของวงจรไฟฟ้าแบบตา่ งๆ 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ แสดงความรู้ และตอ่ วงจรไฟฟ้าเบ้ืองตน้ เพอื่ ประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ไดถ้ กู ตอ้ ง 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงคท์ ว่ั ไป 3.1.1 เพือ่ ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั องคป์ ระกอบของวงจรไฟฟ้าเบ้ืองตน้ 3.1.2 เพื่อใหม้ ีความรู้เกี่ยวกบั คณุ สมบตั ิของวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ขนานและผสม 3.1.3 เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะในการประกอบวงจร และการวดั ค่าแรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความ ตา้ นทาน ในวงจรไฟฟ้าแบบตา่ งๆ 3.1.4 เพื่อใหม้ ีความรับผิดชอบในการทางานเป็นกลุ่ม 3.1.5 นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3.2.1 อธิบายองคป์ ระกอบของวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ขนาน และผสมไดถ้ กู ตอ้ ง

37 3.2.2 อธิบายคุณสมบตั ิ ประกอบวงจร และวดั คา่ แรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และคา่ ความ ตา้ นทาน ของวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรมไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.3 อธิบายคณุ สมบตั ิ ประกอบวงจร และวดั คา่ แรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และคา่ ความ ตา้ นทาน ของวงจรไฟฟ้าแบบขนานไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.4 อธิบายคณุ สมบตั ิ ประกอบวงจร และวดั ค่าแรงดนั ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และคา่ ความ ตา้ นทาน ของวงจรไฟฟ้าแบบผสมไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.5 ประยกุ ตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยกุ ตใ์ ช้ วงจรไฟฟ้าในชีวติ ประจาวนั “วงจรไฟฟ้าแสงสวา่ ง” ไดถ้ ูกตอ้ ง และปลอดภยั 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 องคป์ ระกอบของวงจรไฟฟ้า 4.1.1 แหลง่ จ่ายไฟฟ้า 4.1.2 ลวดตวั นา 4.1.3 อปุ กรณ์ทางไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ 4.1.4 สวิตซ์ 4.1.5 ฟิ วส์ 4.2 วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม 4.2.1 โครงสร้างของวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม 4.2.2 คุณสมบตั ิดา้ นความตา้ นทาน กระแสไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม 4.2.3 การวดั ค่าความตา้ นทาน กระแสไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม 4.3 วงจรไฟฟ้าแบบขนาน 4.3.1 โครงสร้างของวงจรไฟฟ้าแบบขนาน 4.3.2 คณุ สมบตั ิดา้ นความตา้ นทาน กระแสไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้าแบบขนาน 4.3.3 การวดั คา่ ความตา้ นทาน กระแสไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้าแบบขนาน 4.4 วงจรไฟฟ้าแบบผสม 4.4.1 โครงสร้างของวงจรไฟฟ้าแบบผสม 4.4.2 คณุ สมบตั ิดา้ นความตา้ นทาน กระแสไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้าแบบผสม 4.4.3 การวดั คา่ ความตา้ นทาน กระแสไฟฟ้า แรงดนั ไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้าแบบผสม 4.5 ใหค้ วามรู้เร่ืองหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการประยกุ ตใ์ ช้ วงจรไฟฟ้าใน ชีวติ ประจาวนั “วงจรไฟฟ้าแสงสวา่ ง”

38 พอประมาณ มเี หตผุ ล 1. การเลือกซ้ือชุดหลอดไฟฟ้าแสงสวา่ ง 3. วเิ คราะหว์ างแผนติดต้งั ไฟฟ้าแสงสวา่ ง 2. เตรียม / ตรวจสอบอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีอยู่ 4. ปฏิบตั ิตามแผน การประยกุ ตใ์ ช้ มีภมู ิคุม้ กนั วงจรไฟฟ้าใน ชีวิตประจาวนั 5. ประหยดั ค่าใชจ้ ่าย 6. ปฏิบตั ิงานโดยคานึงถึงความปลอดภยั ความรู้+ทกั ษะ คณุ ธรรม - หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง - การเลือกชุดหลอดไฟฟ้าแสงสวา่ ง - มีความตระหนกั ถึงความปลอดภยั ในการใช้ - การประยกุ ตใ์ ชว้ งจรไฟฟ้า ไฟฟ้า - การประหยดั ลดคา่ ใชจ้ ่าย เช่น การเลือกซ้ือชุด หลอดไฟฟ้าแสงสวา่ งท่ีเหมาะสมกบั พ้นื ที่ สงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม สิ่งแวดลอ้ ม 6 1,3,5 2,6 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ สัปดาห์ท่ี 6-7 ชวั่ โมงท่ี 21 – 28 ทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 5 ( 15 นาที ) 5.1 ข้ันนา ( 5 นาที) 1) แจง้ จุดประสงคแ์ ละวิธีการเรียนรู้ประจาหน่วยท่ี 5 แจกเอกสารประกอบการสอนหน่วยท่ี 5 2) นาเขา้ สู่บทเรียนโดยคาถาม 5.2 ข้ันกจิ กรรม ( 420 นาที) 3) ครูสนทนาเก่ียวกบั องคป์ ระกอบของวงจรไฟฟ้า พร้อมกบั ถามนกั เรียน 4-5 คน 4) ครูอธิบายเกี่ยวกบั องคป์ ระกอบของวงจรไฟฟ้า และถามตอบนกั เรียนเกี่ยวกบั องคป์ ระกอบของ วงจรไฟฟ้า

39 5) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั องคป์ ระกอบของวงจรไฟฟ้า 6) ครูอธิบายเร่ืองวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม 7) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั เรื่องวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม 8) แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุม่ ๆ ละ 5 คน คละกนั ตามความสามารถ ทบทวนเกี่ยวกบั วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม โดยใชใ้ บงานที่ 5.1 วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม ครูสงั เกตการทางานเป็นกลุ่ม และคอยช้ีแนะ วธิ ีการทีละกลุ่ม 9) สุ่มมา 2 กลุ่ม โดยใหต้ วั แทนแต่ละกลุ่ม มาแสดงวธิ ีการวดั ค่าความตา้ นทาน แรงดนั ไฟฟ้า และ กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม โดยใหเ้ พ่ือนช่วยตรวจสอบ 10) ครู และนกั เรียนร่วมกนั สรุป วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม 11) ครูอธิบายเรื่องวงจรไฟฟ้าแบบขนาน 12) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั เร่ืองวงจรไฟฟ้าแบบขนาน 13) แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุม่ ๆ ละ 5 คน คละกนั ตามความสามารถ ทบทวนเก่ียวกบั วงจรไฟฟ้าแบบขนาน โดยใชใ้ บงานที่ 5.2 วงจรไฟฟ้าแบบขนาน ครูสงั เกตการทางานเป็นกลมุ่ และคอยช้ีแนะ วธิ ีการทีละกลมุ่ 14) สุ่มมา 2 กลมุ่ โดยใหต้ วั แทนแตล่ ะกลมุ่ มาแสดงวธิ ีการวดั คา่ ความตา้ นทาน แรงดนั ไฟฟ้า และ กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าแบบขนาน โดยใหเ้ พ่ือนช่วยตรวจสอบ 15) ครู และนกั เรียนร่วมกนั สรุป วงจรไฟฟ้าแบบขนาน 16) ครูอธิบายเร่ืองวงจรไฟฟ้าแบบผสม 17) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั เรื่องวงจรไฟฟ้าแบบผสม 18) แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลุ่มๆ ละ 5 คน คละกนั ตามความสามารถ ทบทวนเกี่ยวกบั วงจรไฟฟ้าแบบผสม โดยใชใ้ บงานท่ี 5.3 วงจรไฟฟ้าแบบผสม ครูสงั เกตการทางานเป็นกลุ่ม และคอยช้ีแนะวธิ ีการที ละกล่มุ 19) สุ่มมา 2 กลุม่ โดยใหต้ วั แทนแต่ละกลุ่ม มาแสดงวิธีการวดั คา่ ความตา้ นทาน แรงดนั ไฟฟ้า และ กระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้าแบบผสม โดยใหเ้ พ่อื นช่วยตรวจสอบ 20) ครู และนกั เรียนร่วมกนั สรุป วงจรไฟฟ้าแบบผสม 5.3 ข้ันวเิ คราะห์ ( 20 นาที) 21) สุ่มตวั อยา่ ง 3-5 คน สรุปองคค์ วามรู้ประจาหน่วยท่ี 5 22) สงั เกตและบนั ทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียนรายบคุ คล 5.4 ข้นั สรุปและประเมินผล ( 20 นาที) 23) ครูแจกแบบทดสอบหลงั เรียน ใหน้ กั เรียนลงมือทา โดยไม่ปรึกษากนั ภายในระยะเวลา 10 นาที 24) เก็บแบบทดสอบของนกั เรียนแต่ละคนคืน และแจกแบบทดสอบสลบั กนั ตรวจใหค้ ะแนน

40 25) ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน โดยนกั เรียนตรวจใหค้ ะแนนเพื่อน ดว้ ยความ ซื่อสตั ยส์ ุจริต พร้อมลงชื่อผตู้ รวจ 6. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 ส่ือส่ิงพมิ พ์ เอกสารประกอบการค้นคว้า 6.1.1 หนงั สือ งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบือ้ งต้น 6.1.2 เอกสารประกอบการสอน หน่วยท่ี 5 6.1.3 แบบฝึกหดั ที่ 5 6.2 แหล่งการเรียนรู้จากเวบ็ ไซต์ 6.2.1 http://www.engineerthai.com/electrical.htm 6.2.2 http://www.google.co.th 7. หลกั ฐานการเรียนรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 7.1.1 แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 7.1.2 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 5 จานวน 10 ขอ้ 7.1.3 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 5 จานวน 10 ขอ้ 7.2 หลกั ฐานการปฏบิ ัตงิ าน 7.2.1 แบบหดั ฝึกท่ี 5 8. การวัดและประเมนิ ผล 8.1 เคร่ืองมือวัดและประเมินผล 8.1.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.1.2 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 5 8.1.3 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 5 8.2 วธิ กี ารวัดและประเมินผล 8.2.1 สงั เกตจากแบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.2.2 ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 5

41 8.2.3 ตรวจแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5 8.3 เกณฑ์การประเมิน 8.3.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ตอ้ งไดค้ ะแนนไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ 80 8.3.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานทมี่ อบหมาย 9.1 กจิ กรรมเสนอแนะ คน้ ควา้ เพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตที่เวบ็ ไซตต์ ่างๆ 9.6 งานทม่ี อบหมาย ทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 5 ส่งสปั ดาหท์ ี่ 8-9

42 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 คร้ังท่ี 8 จานวน 4 ชั่วโมง วชิ า งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์เบือ้ งต้น 20100–1005 ชื่อหน่วย ตัวเกบ็ ประจุ 1. สาระสาคญั ตวั เกบ็ ประจุเป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ท่ีมีหลกั การทางาน คอื เก็บประจุหรือรับอิเลก็ ตรอน เรียกวา่ “ชาร์จ” (charge) และสามารถคายประจุได้ เรียกวา่ “ดิสชาร์จ” (discharge) ตวั เก็บประจุแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ แบบค่าคงท่ี แบบปรับคา่ ได้ และแบบเลือกคา่ ได้ และใชง้ านแตกต่างกนั ไปซ่ึงมีท้งั แบบมีข้วั และไม่มีข้วั การต่อ ใชง้ านมีอยู่ 3 ลกั ษณะ คอื ต่อแบบอนุกรม ขนานและผสม เรียกตวั เก็บประจุอีกอยา่ งหน่ึงวา่ “คอนเดนเซอร์” หรือ “ซี” ตวั เก็บประจุที่มีคา่ ความจุสูงช่วงเวลาในการเกบ็ และคายประจุก็ยงิ่ นานไปดว้ ย ค่าความจุของตวั เกบ็ ประจุมีหน่วยเป็นฟารัด (Farad) การวดั และตรวจสอบตวั เกบ็ ประจุเบ้ืองตน้ ทาไดโ้ ดยใชโ้ อห์มมิเตอร์ แตม่ ี เครื่องมือที่ใชว้ ดั คา่ ความจุของตวั เก็บประจุโดยเฉพาะ ซ่ึงสามารถวดั ค่าความจุ ความตา้ นทาน แรงดนั และ คา่ คงที่ไดอิเลก็ ตริกไดด้ ว้ ยเคร่ืองมือวดั ท่ีชื่อวา่ “ยนู ิเวอร์แซล แอล ซี อาร์” (Universal LCR meter) 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ แสดงความรู้ อา่ นและวดั คา่ ตวั เก็บประจุในงานอิเลก็ ทรอนิกส์ ไดถ้ กู ตอ้ ง 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงคท์ ว่ั ไป 3.1.1 เพื่อใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจรายละเอียดของตวั เก็บประจุ 3.1.2 เพ่ือใหม้ ีทกั ษะในการวดั และตรวจสอบตวั เก็บประจุ 3.1.3 เพอ่ื ใหม้ ีทกั ษะในการนาตวั เก็บประจุมาต่อใชง้ านในวงจรอนุกรม ขนานและผสม 3.1.4 เพ่อื ใหม้ ีความรับผิดชอบในการทางานเป็นกลุม่ 3.1.5 นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชใ้ นการวดั ตรวจสอบตวั เก็บประจุดว้ ย โอห์มมิเตอร์

43 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3.2.1 อธิบายหลกั การทางานของตวั เก็บประจุไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.2 บอกชนิดของตวั เกบ็ ประจุแบบต่างๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.3 อา่ นคา่ ความจุของตวั เก็บประจุแบบต่างๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3.2.4 วดั และตรวจสอบตวั เก็บประจุดว้ ยโอห์มมิเตอร์ไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.5 ประกอบวงจรโดยใชต้ วั เกบ็ ประจุแบบอนุกรม ขนาน และผสมไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.6 ประยกุ ตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชใ้ นการวดั ตรวจสอบตวั เกบ็ ประจุ ไดถ้ กู ตอ้ ง 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เกบ็ ประจุ 4.1.1 หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เกบ็ ประจุ 4.1.2 ปัจจยั ที่มีผลต่อการเก็บประจุ 4.2 ชนิดของตวั เก็บประจุ 4.2.1 ตวั เก็บประจุแบบค่าคงที่ 4.2.2 ตวั เกบ็ ประจุแบบปรับคา่ ได้ 4.2.3 ตวั เก็บประจุแบบเลือกคา่ ได้ 4.3 การอา่ นคา่ ความจุของตวั เก็บประจุ 4.3.1 การอ่านค่าความจุของตวั เกบ็ ประจุ 4.3.2 หน่วยของตวั เก็บประจุ 4.4 การวดั และตรวจสอบตวั เก็บประจุดว้ ยโอห์มมิเตอร์ 4.5 การตอ่ วงจรใชง้ านตวั เก็บประจุ 4.5.1 การต่อตวั เก็บประจุแบบวงจรอนุกรม 4.5.2 การต่อตวั เก็บประจุแบบวงจรขนาน 4.5.3 การต่อตวั เก็บประจุแบบวงจรผสม 4.6 ใหค้ วามรู้เร่ืองหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ในการวดั ตรวจสอบตวั เกบ็ ประจุดว้ ยโอห์ม มิเตอร์

44 พอประมาณ มีเหตผุ ล 1. ศึกษาการใชโ้ อหม์ มิเตอร์ 3. วิเคราะหท์ าความเขา้ ใจการอา่ น 2. ศึกษาการอา่ นรหสั สีตวั เกบ็ ประจุ สเกลโอหม์ มิเตอร์ การวดั ตรวจสอบตวั 4. การทาความเขา้ ใจรหสั สี และตวั เลขของ C เกบ็ ประจดุ ว้ ยโอห์ม มภี มู ิคุม้ กนั มิเตอร์ ความรู้+ทกั ษะ 5. เขา้ ใจค่าบนสเกลของโอห์มมิเตอร์ 6. เขา้ ใจการแปลรหสั สีและตวั เลขของ C - หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพียง - การอ่านค่าสเกลของโอห์มมิเตอร์ คุณธรรม - การอ่านคา่ รหสั สีและตวั เลขของ C - มีความใฝ่รู้ศึกษาเร่ืองตวั เก็บประจุ - มีความขยนั หมน่ั เพยี รในการทาความเขา้ ใจการ อา่ นสเกลโอหม์ มิเตอร์ สงั คม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม สิ่งแวดลอ้ ม 1,2,5,6 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ สัปดาหท์ ่ี 8 ชวั่ โมงท่ี 29 – 32 ทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 6 ( 10 นาที ) 5.1 ข้ันนา ( 5 นาที) 1) แจง้ จุดประสงคแ์ ละวิธีการเรียนรู้ประจาหน่วยท่ี 6 แจกเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 6 2) นาเขา้ สู่บทเรียนโดยคาถาม 5.2 ข้ันกจิ กรรม ( 195 นาที) 3) ครูสนทนาเก่ียวกบั หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เก็บประจุ พร้อมกบั ถามนกั เรียน 4-5 คน 4) ครูอธิบายเกี่ยวกบั หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เก็บประจุ และถามตอบนกั เรียนเกี่ยวกบั หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เก็บประจุ 5) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เก็บประจุ 6) ครูอธิบายเรื่องชนิดของตวั เก็บประจุ การอา่ นค่าความจุของตวั เก็บประจุ การวดั และตรวจสอบ ตวั เกบ็ ประจุดว้ ยโอห์มมิเตอร์ และการต่อวงจรใชง้ านตวั เก็บประจุ

45 7) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเก่ียวกบั เร่ืองชนิดของตวั เกบ็ ประจุ การอา่ นค่าความจุของตวั เก็บ ประจุ การวดั และตรวจสอบตวั เก็บประจุดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ และการต่อวงจรใชง้ านตวั เกบ็ ประจุ 8) แบ่งนกั เรียนออกเป็นกลมุ่ ๆ ละ 5 คน คละกนั ตามความสามารถ ทบทวนเก่ียวกบั ชนิดของตวั เก็บประจุ การอ่านคา่ ความจุของตวั เก็บประจุ การวดั และตรวจสอบตวั เก็บประจุดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ และการต่อ วงจรใชง้ านตวั เกบ็ ประจุ โดยใชใ้ บงานที่ 6 ครูสังเกตการทางานเป็นกล่มุ และคอยช้ีแนะวิธีการทีละกลมุ่ 9) สุ่มมา 3 กลมุ่ โดยใหต้ วั แทนแตล่ ะกลุ่ม มาแสดงวิธีการอา่ นค่า และคานวณคา่ ความจุของตวั เกบ็ ประจุ โดยใหเ้ พื่อนช่วยตรวจสอบ 10) ครู และนกั เรียนร่วมกนั สรุป วิธีการอ่านค่า และและคานวณคา่ ความจุของตวั เก็บประจุ ในวงจร แบบตา่ งๆ 11) สุ่มตวั อยา่ งนกั เรียน 2-3 คน อภิปรายเก่ียวกบั วธิ ีการอา่ นค่า และและคานวณคา่ ความจุของตวั เกบ็ ประจุ ในวงจรแบบตา่ งๆ 5.3 ข้ันวิเคราะห์ ( 10 นาที) 12) สุ่มตวั อยา่ ง 3-5 คน สรุปองคค์ วามรู้ประจาหน่วยที่ 6 13) สงั เกตและบนั ทึกพฤติกรรมการเรียนรู้ของผเู้ รียนรายบุคคล 5.4 ข้นั สรุปและประเมินผล ( 20 นาที) 14) ครูแจกแบบทดสอบหลงั เรียน ใหน้ กั เรียนลงมือทา โดยไมป่ รึกษากนั ภายในระยะเวลา 10 นาที 15) เกบ็ แบบทดสอบของนกั เรียนแตล่ ะคนคนื และแจกแบบทดสอบสลบั กนั ตรวจใหค้ ะแนน 16) ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน โดยนกั เรียนตรวจใหค้ ะแนนเพ่ือน ดว้ ยความ ซ่ือสัตยส์ ุจริต พร้อมลงช่ือผตู้ รวจ 6. ส่ือและแหล่งการเรียนรู้ 6.1 ส่ือสิ่งพมิ พ์ เอกสารประกอบการค้นคว้า 6.1.1 หนงั สือ งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบื้องต้น 6.1.2 เอกสารประกอบการสอน หน่วยท่ี 6 6.1.3 แบบฝึกหดั ท่ี 6 6.2 แหล่งการเรียนรู้จากเวบ็ ไซต์ 6.2.1 http://www.google.co.th/ 6.2.2 http://kpp.ac.th/elearning/elearning3/book-03.html

46 6.2.3 http://www.mwit.ac.th/~ponchai/webCapacitor/WBTPI_Model/Capacitor/capacitor5.html 6.2.4 http://www.mwit.ac.th/~ponchai/webCapacitor/WBTPI_Model/Capacitor/capacitor6.html 7. หลกั ฐานการเรียนรู้ 7.1 หลกั ฐานความรู้ 7.1.1 แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 6 7.1.2 แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ 6 จานวน 10 ขอ้ 7.1.3 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 6 จานวน 10 ขอ้ 7.2 หลกั ฐานการปฏิบัติงาน 7.2.1 แบบหดั ฝึกที่ 6 7.2.2 ใบงานท่ี 6 8. การวัดและประเมินผล 8.1 เครื่องมือวัดและประเมินผล 8.1.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.1.2 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 6 8.1.3 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 6 8.2 วธิ กี ารวดั และประเมินผล 8.2.1 สงั เกตจากแบบประเมินการนาเสนอผลงาน 8.2.2 ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 6 8.2.3 ตรวจแบบฝึกหัดหน่วยที่ 6 8.3 เกณฑ์การประเมนิ 8.3.1 แบบประเมินการนาเสนอผลงาน ตอ้ งไดค้ ะแนนไมต่ ่ากวา่ ร้อยละ 80 8.3.2 แบบทดสอบหลงั เรียน ตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 9. กจิ กรรมเสนอแนะ/งานที่มอบหมาย 9.1 กจิ กรรมเสนอแนะ คน้ ควา้ เพิ่มเติมทางอินเทอร์เน็ตท่ีเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ 9.7 งานทม่ี อบหมาย ทาแบบฝึกหดั ประจาหน่วยท่ี 6 ส่งสปั ดาห์ที่ 9

47 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 คร้ังที่ 9 จานวน 4 ช่ัวโมง วิชา งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์เบือ้ งต้น 20100–1005 ชื่อหน่วย ตวั เหนยี่ วนา 1. สาระสาคัญ ตวั เหนี่ยวนา (Inductor) เป็ นอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเหนี่ยวนาไฟฟ้า โดยมีหลกั การทางาน คืออาศัย หลกั การสนามแม่เหล็กตดั ผ่านขดลวด จะทาให้เกิดการไหลของกระแสไฟฟ้าในขดลวด ซ่ึงเกิดการเหนี่ยวนา แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือแบบค่าคงท่ีและแบบปรับค่าได้ การต่อใชง้ านมีอยู่ 3 ลกั ษณะ คือต่อแบบอนุกรม แบบ ขนานและแบบผสม เรียกตวั เหนี่ยวนาอีกอย่างหน่ึงว่า “อินดกั เตอร์” หรือ “ตวั แอล” (L) ค่าความเหน่ียวนาของ ตวั เหน่ียวนามีหน่วยเป็น “เฮนรี่” (Henry) การวดั และตรวจสอบตวั เหน่ียวนาเบ้ืองตน้ ทาไดโ้ ดยใชโ้ อห์มมิเตอร์ แต่มีเคร่ืองมือท่ีใช้วดั ค่าความเหนี่ยวนาของตวั เหน่ียวนาโดยเฉพาะ ซ่ึงสามารถวดั ค่าความเหนี่ยวนา ไดด้ ว้ ย เคร่ืองมือวดั ที่ช่ือวา่ “ยนู ิเวอร์แซล แอล ซี อาร์” (Universal LCR meter) 2. สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ แสดงความรู้ อ่านและวดั คา่ ตวั เหน่ียวนาในงานอิเลก็ ทรอนิกส์ ไดถ้ ูกตอ้ ง 3. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงคท์ ว่ั ไป 3.1.1 เพอ่ื ใหม้ ีความรู้ความเขา้ ใจรายละเอียดของตวั เหนี่ยวนา 3.1.2 เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะในการวดั และตรวจสอบตวั เหนี่ยวนา 3.1.3 เพ่อื ใหม้ ีทกั ษะในการนาเหน่ียวนามาต่อใชง้ านในวงจรอนุกรม ขนานและผสม 3.1.4 เพื่อใหม้ ีความรับผิดชอบในการทางานเป็นกลมุ่ 3.1.5 นอ้ มนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชใ้ นการวดั ตรวจสอบตวั เหนี่ยวนาดว้ ย โอหม์ มิเตอร์ 3.2 จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม 3.2.1 อธิบายหลกั การทางานของตวั เหนี่ยวนาไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.2 อธิบายรายละเอียดของตวั เหนี่ยวนาชนิดตา่ งๆ ไดถ้ ูกตอ้ ง

48 3.2.3 อา่ นค่าความจุของตวั เหนี่ยวนาแบบตา่ งๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.4 วดั และตรวจสอบตวั เหน่ียวนาดว้ ยโอห์มมิเตอร์ได้ถกู ตอ้ ง 3.2.5 ประกอบวงจรโดยใชต้ วั เหน่ียวนาแบบอนุกรม ขนาน และผสมไดถ้ กู ตอ้ ง 3.2.6 ประยกุ ตห์ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใชใ้ นการวดั ตรวจสอบตวั เหน่ียวนาดว้ ย โอหม์ มิเตอร์ ไดถ้ กู ตอ้ ง 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เหนี่ยวนา 4.1.1 สนามแม่เหลก็ เคลื่อนที่ผา่ นตวั เหน่ียวนา 4.1.2 ตวั เหน่ียวนาเคล่ือนท่ีผา่ นสนามแม่เหลก็ 4.1.3 การเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลบั 4.1.4 ปัจจยั ที่มีผลตอ่ ความเหน่ียวนา 4.2 ชนิดของตวั เหน่ียวนา 4.2.1 ตวั เหนี่ยวนาแบบค่าคงท่ี 4.2.2 ตวั เหน่ียวนาแบบปรับค่าได้ 4.3 การอ่านค่าความเหนี่ยวนาของตวั เหนี่ยวนา 4.3.1 การอา่ นค่าความเหนี่ยวนาของตวั เหน่ียวนา 4.3.2 หน่วยของความเหนี่ยวนา 4.4 การวดั และตรวจสอบตวั เหน่ียวนาดว้ ยโอหม์ มิเตอร์ 4.5 การต่อวงจรใชง้ านตวั เหน่ียวนา 4.5.1 การตอ่ ตวั เหน่ียวนาแบบวงจรอนุกรม 4.5.2 การต่อตวั เหนี่ยวนาแบบวงจรขนาน 4.5.3 การตอ่ ตวั เหนี่ยวนาแบบวงจรผสม 4.6 ใหค้ วามรู้เรื่องหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการวดั ตรวจสอบตวั เหน่ียวนาดว้ ยโอห์ม มิเตอร์

49 พอประมาณ มีเหตผุ ล 1. ศึกษาการใชโ้ อห์มมิเตอร์ 3. วเิ คราะห์ทาความเขา้ ใจการอ่าน 2. ศึกษาการอา่ นรหสั สีตวั เหน่ียวนา สเกลโอหม์ มิเตอร์ การวดั ตรวจสอบตวั 4. การทาความเขา้ ใจรหสั สีและตวั เลขของ L เหน่ียวนาดว้ ยโอหม์ มภี มู ิคุม้ กนั มิเตอร์ ความรู้+ทกั ษะ 5. เขา้ ใจคา่ บนสเกลของโอห์มมิเตอร์ 6. เขา้ ใจการแปลรหสั สีและตวั เลขของ L - หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจแบบพอเพยี ง คุณธรรม - การอา่ นค่าสเกลของโอห์มมิเตอร์ - การอ่านค่ารหสั สีและตวั เลขของ L - มีความใฝ่รู้ศึกษาเร่ืองตวั เหน่ียวนา - มีความขยนั หมน่ั เพียรในการทาความเขา้ ใจ การอา่ นสเกลโอห์มมิเตอร์ สังคม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม สิ่งแวดลอ้ ม 1,2,5,6 5. กจิ กรรมการเรียนรู้ สปั ดาห์ที่ 9 ชว่ั โมงที่ 33 – 36 ทดสอบก่อนเรียนหน่วยท่ี 7 ( 10 นาที ) 5.1 ข้ันนา ( 5 นาที) 1) แจง้ จุดประสงคแ์ ละวิธีการเรียนรู้ประจาหน่วยท่ี 7 แจกเอกสารประกอบการสอนหน่วยท่ี 7 2) นาเขา้ สู่บทเรียนโดยคาถาม 5.2 ข้ันกจิ กรรม ( 195 นาที) 3) ครูสนทนาเก่ียวกบั หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เหน่ียวนา พร้อมถามนกั เรียน 4-5 คน 4) ครูอธิบายเกี่ยวกบั หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เหน่ียวนา และถามตอบนกั เรียนเกี่ยวกบั หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เหนี่ยวนา 5) ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปเกี่ยวกบั หลกั การทางานเบ้ืองตน้ ของตวั เหนี่ยวนา