Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมตอนต้น รายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002

แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมตอนต้น รายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002

Description: แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ระดับมัธยมตอนต้น
รายวิชาศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค21002

Search

Read the Text Version

1

2 แผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง หน่วยการเรยี นรู้ ผสานหลักธรรมนำใจ พอใจในวถิ พี อเพยี ง สาระการพัฒนาสังคม รายวชิ า ศาสนาและหนา้ ทพี่ ลเมอื ง สค21002 สาระทกั ษะการดำเนนิ ชวี ติ รายวชิ า เศรษฐกิจพอเพยี ง ทช 21001 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ โดย นางสาวศุลีรตั น์ ขมุ พทุ รา และคณะทำงาน ครู กศน.ตำบลดอนใหญ่ ลงชือ่ ..............................................ผเู้ สนอ (...............................................) ตำแหน่ง..........................................  อนมุ ัติ ลงชือ่ ..............................................ผูอ้ นุมัติ (นายคมพสิ ษิ ฐ์ ดงั ไธสงฆ์) ผอู้ ำนวยการศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคง สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั นครราชสีมา

3 บนั ทึกข้อความ ส่วนราชการ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอคง ท่ี ศธ 0210.3620 / …………………. วนั ท่ี............เดือน.................................พ.ศ................. เรอ่ื ง แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับ ม.ต้น ………………………………………………………………………………………………………….................................................... เรยี น ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอคง ด้วยขา้ พเจ้า...............................................................ตำแหนง่ ....................................................... และคณะครู ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอคง ได้ดำเนินการร่วมกันจดั ทำและรวบรวม แผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดับ ม.ปลาย เรยี บร้อยแล้ว จงึ ขอสง่ เอกสารดังกลา่ วฯ เพ่อื เสนอตอ่ ผบู้ ริหารฯ เอกสารดังแนบ จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดทราบ ลงชือ่ ……………………….................……. (...............................................) ตำแหน่ง.............................................. ทราบ ลงชื่อ………………........……......…… (นายคมพสิ ิษฐ์ ดงั ไธสงฆ์) ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอคง

ก คำช้ีแจงการใชแ้ ผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรบู้ ูรณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร มุ่งพัฒนาสถานศึกษาทกุ แห่งให้สามารถจัดกระบวนการเรยี นการสอนตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และเพ่อื ให้การพฒั นาเปน็ ไปอย่างมคี ณุ ภาพด้วยความยงั่ ยืนจึงพัฒนา “สถานศกึ ษา พอเพียง” ใหเ้ ป็น “ศูนย์การเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา” เพื่อเป็นเครื่องมือสำคัญใน การขยายผลการขับเคลื่อนสถานศกึ ษาพอเพยี ง โดยได้กำหนดแนวทางในการพัฒนาและประเมินศูนยก์ ารเรียนรู้ตาม หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งดา้ นการศึกษา แผนการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอคง จัดทำข้นึ เพ่อื ใชเ้ ปน็ แผนสำหรบั จัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้หลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย โดยการบูรณาการกับกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สาระการพัฒนาสังคม รายวิชา ศาสนาและหน้าที่ พลเมือง (สค31002) สาระทักษะการดำเนินชีวติ รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพียง (ทช 31001) ซง่ึ ผู้สอนจะต้องประเมนิ ผล ก่อนเรียน มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนมีโอกาสฝึกทักษะ แสดงความคิดเห็น ปฏิบัติกิจกรรมอย่างอิสระและ สร้างสรรค์ มีการประเมนิ ผลหลังเรยี น มีแบบประเมนิ การปฏิบัตงิ านกลุ่ม และบันทึกหลงั การสอน ซึ่งผู้สอนสามารถ นำไปใชเ้ พ่ือประเมินความก้าวหน้าในการเรียนรูข้ องผู้เรยี นให้สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง การจัดทำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ฉบับนี้ ขอขอบคุณ นายคมพิสิษฐ์ ดังไธสงฆ์ ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอคง ทใี่ ห้คำปรึกษา จนเกดิ กจิ กรรมการเรยี นรู้อย่างครบถ้วนตามตัวชีว้ ัดของศนู ย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงดา้ นการศกึ ษา คณะผูจ้ ดั ทำหวงั เป็นอยา่ งยงิ่ วา่ เอกสารเล่มนจี้ ะเปน็ ประโยชน์ต่อการจัดกจิ กรรมการ เรยี นรู้ เพื่อใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ แกผ่ ู้เรยี นอย่างมปี ระสิทธภิ าพตอ่ ไป คณะผูจ้ ัดทำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอคง

ข สารบญั หนา้ คำชีแ้ จง ก สารบัญ ข แผนการจัดกจิ กรรมการเรียนร้บู ูรณาการหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1 หนว่ ยการเรียนรู้ 1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ัด 1 สาระการเรียนรู้ 1 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 สมรรถนะสำคัญ 1 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 2 กจิ กรรมการเรียนรู้ 2 ภาระงาน/ชิน้ งาน 3 ส่ือ /แหล่งเรียนรู้ 3 การวดั และประเมินผล 3 ชุดคำถามเพือ่ กระตุ้นคุณลักษณะอยอู่ ย่างพอเพียง 3 แบบประเมนิ การสรปุ ความรู้ 5 แบบประเมินการปฏิบตั ิงานรายบคุ คล/กลมุ่ 6 บันทกึ หลังการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 7 ภาคผนวก 8 ก. ชดุ คำถามกระตนุ้ คดิ เพอ่ื ปลูกฝังหลกั คิดพอเพยี งในกิจกรรมการเรยี นรู้ ข. แนวทางการนำหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชอ้ อกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ ค. ผลทีเ่ กิดขน้ึ กบั ผเู้ รยี นสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งจากการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน คณะผ้จู ัดทำ

1 แผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้บรู ณาการหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. หน่วยการเรียนรู้ ผสานหลกั ธรรมนำใจ พอใจในวถิ ีพอเพียง สาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ า ศาสนาและหน้าทีพ่ ลเมอื ง สค21002 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนต้น สาระทกั ษะการดำเนนิ ชวี ติ รายวชิ า เศรษฐกิจพอเพียง ทช 21001 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน้ แผนการเรียนรเู้ รอื่ ง 1. ผสานหลกั ธรรมนำใจ พอใจในวิถพี อเพยี ง 2. การแกป้ ัญหาชุมชนกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง จำนวน เวลา 3 ชว่ั โมง ผู้สอน นางสาวศุลรี ตั น์ ขุมพุทรา 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชวี้ ดั มาตรฐานการเรยี นรรู้ ะดับ รายวชิ า ศาสนาและหน้าทพี่ ลเมือง มคี วามรู ความเขาใจ เหน็ คุณคา และสืบทอดศาสนา วฒั นธรรม ประเพณี เพอ่ื การอยูรว่ มกันอยา่ ง สันติสุข ตวั ชวี้ ัด ฝกึ ปฏิบัติพฒั นาจติ เพื่อใหสามารถพัฒนาตนเองใหมี สติปัญญาในการแกปญหา ต่าง ๆ และพัฒนา ตนเอง ครอบครวั สังคม ชุมชน มาตรฐานการเรียนรรู้ ะดบั รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง รู้ เขา้ ใจ ตระหนัก และเห็นคุณค่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ยอมรบั ประยุกต์ใชใ้ น ชมุ ชน และ มีคมุ้ กันในการดำเนินชวี ติ และการอย่รู ว่ มกนั ในครอบครวั ชุมชน และสังคม อย่างสันตสิ ุข สรา้ งความร่วมมือในการ พฒั นาชุมชน ท้องถน่ิ ตัวช้วี ัด สํารวจและวเิ คราะหปญหาของ ชุมชนดา้ นสังคม เศรษฐกิจ สงิ่ แวดลอมและวฒั นธรรม-พื้นฐาน ของ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง 3. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด การบรู ณาการทกั ษะต่าง ๆ ไปพรอ้ มกับการสร้างสรรค์ เพ่อื ใหสามารถพฒั นาตนเองใหมี สตปิ ัญญาในการ แก้ปญั หาตา่ ง ๆ และพฒั นาตนเอง ครอบครัว สังคม ชุมชน มีเจตคตทิ ี่ดีต่อการเรียนรูด้ ้วยตนเอง และมีความรู้ในหลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี ง และสามารถประยุกตห์ ลักแนวคิดของ เศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตของ ตนเองได้ 4. สาระการเรียนรู้ สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ า ศาสนาและหนา้ ที่พลเมือง สาระทักษะการดำเนนิ ชีวติ รายวชิ า เศรษฐกจิ พอเพยี ง 5. จดุ ประสงค์ 1. เปน็ ผนู้ ำในการปองกันและแกไขปญหาพฤตกิ รรมตามคานยิ มที่ไม่พ่งึ ประสงคของสังคมไทย

2 2. สามารถสํารวจและวิเคราะหปญหาของ ชมุ ชนด้านสังคม เศรษฐกจิ สง่ิ แวดลอมและวฒั นธรรม-พนื้ ฐาน ของหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง 6. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียน 1. ความสามารถในการส่ือสาร : อธบิ าย เขียน นำเสนอหน้าช้ัน 2. ความสามารถในการคดิ : คิดวเิ คราะห์ แปลงความหมาย อภปิ ราย สรปุ ผล 3. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : ใชก้ ระบวนการกลมุ่ และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในการ ปฏิบตั กิ จิ กรรมกลมุ่ และกจิ กรรมการเรยี นรู้ 7. คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย : มีความรับผดิ ชอบ ความตรงต่อเวลา อย่อู ย่างพอเพียง คดิ และตัดสนิ ใจในการปฏิบตั ิกจิ กรรมท่ี ไดร้ บั มอบหมายได้เหมาะสมกับศักยภาพตนเอง/ กลุ่ม ใช้เวลาไดอ้ ยา่ งเหมาะสมในการทำกิจกรรม ใชค้ วามรู้สติปญั ญา 2. ขยัน : ใฝเ่ รียนรู้ ตัง้ ใจเรยี นรแู้ ละทำกิจกรรม แสวงหาความรูใ้ หม่แลว้ สรุปเป็นความรู้ 3. ซื่อสตั ย์ : มีความซ่ือสัตย์สุจริต เตรียมพร้อมและวางแผนการปฏิบตั ิกิจกรรมอย่างเปน็ ระบบรอบคอบ สมเหตุสมผล และร่วมกันลงมือทำกิจกรรมอยา่ งระมดั ระวงั 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ผเู้ รยี นทำแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-test) กิจกรรมที่ 1 วเิ คราะห์หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เวลา 1.5 ช่วั โมง (วิธีสอนแบบ ONIE) ขั้นที่ 1 กำหนดสภาพปัญหาความต้องการ ครูใหผ้ ู้เรยี นดู Youtube เรอ่ื ง ปญั หาของภาคเกษตรไทย https://www.youtube.com/watch?v=sQzuUfZO0SI แล้วร่วมกันสนทนาเกีย่ วกบั เร่ืองทดี่ ู เช่น ให้ผ้เู รยี นยกตวั อยา่ งเกีย่ วกบั ปญั หาของเกษตรกรมาคนละหนงึ่ ปญั หา เพอ่ื ผู้ เรียนรถู้ ึงปญั หาของเกษตรไทยในปจั จบุ ันเพือ่ นำปญั หาาประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ ขน้ั ที่ 2 แสวงหาขอ้ มลู และการจัดการเรยี นรู้ 1. ครใู หผ้ ู้เรียนวเิ คราะหข์ อ้ มลู ท่ีศึกษาคน้ คว้าจากขนั้ ตอนที่ 1 ซง่ึ แสดงถึงความสนใจของผู้เรยี น ครู มอบหมายผู้เรยี นศึกษาจากใบความรู้ - ใบความรู้ที่ 1 เร่ือง ประวัติความเปน็ มาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ความร)ู้ - ใบความร้ทู ่ี 2 เร่ือง ผสานหลกั ธรรมนำใจ พอใจในวถิ พี อเพียง (ความรู้) - ใบความรทู้ ่ี 3 เรื่อง บญั ชคี รัวเรอื นบนั ทึกเพ่ือวางแผนอนาคต จดแลว้ ไมจ่ น (ความรู้) 2. ผเู้ รยี นร่วมกันอภปิ รายสรปุ เปน็ ความคิดรวบยอดเก่ียวกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. ครอู ธบิ ายเชอ่ื มโยงให้ผเู้ รยี นเข้าใจว่าผลทไ่ี ด้รบั จากการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน และการประกอบอาชีพ คือการพฒั นาที่สมดุลและยง่ั ยืน พรอ้ มรับต่อการเปลี่ยนแปลงใน ทกุ ดา้ น ท้ังด้าน เศรษฐกจิ สงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม ความรดู้ า้ นเทคโนโลยี (ความร้)ู ข้นั ท่ี 3 การปฏิบตั ิและนำไปประยกุ ต์ใช้ 1. ครแู บ่งกล่มุ ผ้เู รยี นคละกนั เพื่อให้ผูเ้ รยี นมีความพอประมาณในการเลือกกล่มุ เพอ่ื นมาเป็นสมาชกิ โดย ใช้เหตุผลประกอบการเลือกกล่มุ พร้อมทงั้ ใหค้ วามช่วยเหลอื เพอื่ นทีเ่ รยี นออ่ นมาเขา้ กลุม่

3 2. ใหผ้ ู้เรียนทำใบงานท่ี 1,2,และ3 โดยศกึ ษาจากใบความร้แู ละค้นควา้ เพม่ิ เตมิ จากแหล่งเรยี นรู้ 3. ครูให้แต่ละกลุม่ ออกไปนำเสนอใบงานที่ 2 หน้าชัน้ เรียนเพ่อื เปน็ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ร่วมกนั 4. ครูและผเู้ รียนร่วมกันสรปุ เนื้อหาการประยุกต์ใช้หลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนาสำหรบั เกษตรกรภายใต้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชวี ิตในชมุ ชน เหน็ ความสำคญั คุณคา่ และประโยชน์ของหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งต่อสังคมไทย ขนั้ ที่ 4 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้ 1. ผเู้ รยี นรว่ มกนั วิเคราะห์ผลงานและปรับปรุงแก้ไข พฒั นาใหม้ คี ุณภาพตามเป้าหมาย 2. ผู้เรยี นรว่ มกนั สรปุ จากการวิเคราะหข์ องแต่ละคน และเขยี นบนกระดานเปน็ ข้อๆ เพ่อื สรปุ แนวทาง ในฐานะท่ีผเู้ รียนเปน็ เยาวชนของชาติ จะรว่ มกนั นอ้ มนำแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียง ไปพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม ประเทศชาติ เพื่อความสมดุลอย่างยง่ั ยนื ม่ันคง ของเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรมและส่งิ แวดล้อม ไดอ้ ย่างไรบ้าง กิจกรรมที่ 2 การแก้ปัญหาชุมชนกับเศรษฐกิจพอเพยี ง (1.5 ชวั่ โมง) 1. ผู้เรยี นคน้ คว้าขอ้ มลู การแกป้ ญั หาชมุ ชนกับเศรษฐกิจพอเพียง จาก Internet เร่ือง การแก้ปัญหาชุมชน ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง และ Youtube เรื่อง ความพอเพยี งระดับบคุ คลและครอบครวั และความพอเพยี งระดบั ชุมชน https://www.youtube.com/watch?v=TUsBKycX2qI 2. ผเู้ รยี นศึกษาจากใบความรู้ท่ี 4 เรือ่ ง การแก้ปญั หาชมุ ชนกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง (ความร)ู้ 3. ผเู้ รียนทำใบงานท่ี 4 การแก้ปัญหาชมุ ชนกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง โดยใหผ้ ู้เรยี นเขยี นบรรยาย วาดภาพ ประกอบใหส้ วยงาม ลงกระดาษ A4 พร้อมนำเสนอหนา้ ชนั้ เรียน 4. ครูมอบหมายให้ผู้เรียนออกมานำเสนอชิ้นงานเพื่อเป็นการแลกเปลีย่ นเรียนร้รู ่วมกนั 9. ภาระงาน /ชนิ้ งาน - ใบงาน / ผลงานผเู้ รียน 10. สือ่ /แหล่งเรียนรู้ 1. ส่อื การเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน 3. หนงั สือเรยี นรายวิชา ศาสนาและหน้าท่ีพลเมอื ง และรายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง 2. แหลง่ เรียนรู้ 1. หอ้ งสมุด 2. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ 11. การวดั และประเมินผล 1. การประเมนิ กอ่ นเรยี น - แบบทดสอบกอ่ นเรียน (Pre-test) 2. การประเมนิ ระหว่างการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้

4 - ใบงานท่ี 1 เรื่องประวัตคิ วามเปน็ มาของเศรษฐกิจพอเพยี ง - ใบงานท่ี 2 เร่อื งผสานหลกั ธรรมนำใจ พอใจในวิถพี อเพยี ง - ใบงานที่ 3 เรื่องบัญชีครัวเรือนบันทกึ เพอ่ื วางแผนอนาคต จดแลว้ ไม่จน - ใบงานที่ 4 เร่อื งการแกป้ ญั หาชมุ ชนกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง - ประเมินผลการวเิ คราะห์ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการเขยี นเรยี งความ - สงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล 3.การประเมินหลังเรยี น - แบบทดสอบหลังเรยี น (Post-test) 12. ชุดคำถามเพ่ือกระตุ้นคุณลกั ษณะอยู่อยา่ งพอเพียง - ผ้เู รียนรู้ความหมายและหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (Q1) - ความพอเพยี งมีลักษณะอยา่ งไร (Q2) - ความพอเพียงมอี ะไรบ้าง (Q3) - ความพอเพยี งมปี ระโยชนอ์ ย่างไร (Q4) - ยกตวั อยา่ งความพอเพยี งในชีวติ ประจำวันมอี ะไรบ้าง (Q5)

5 การประเมนิ ชน้ิ งาน / ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินผลชิน้ งาน รายการ ระดับคุณภาพ/ระดบั คะแนน ประเมนิ ดมี าก(4) ด(ี 3) พอใช้(2) ปรบั ปรุง(1) 1. รปู แบบ -รปู แบบช้นิ งานถกู ตอ้ ง -รปู แบบแปลกใหม่ -รปู ภาพมสี ีสัน -รปู ภาพสมั พันธก์ ับ ช้นิ งาน ตามที่กำหนด น่าสนใจ สวยงาม เนื้อหา -รปู แบบแปลกใหม่ -รปู ภาพมีสสี ันสวยงาม -รูปภาพสมั พนั ธก์ บั น่าสนใจ -รปู ภาพสัมพนั ธก์ บั เน้ือหา 2. ภาษา -รปู ภาพมสี สี ันสวยงาม เนื้อหา -มีการเว้นวรรค --มรูปกี ภาราใพชสภ้ มั าพษนัาอธ์กยา่บั ง -ประโยคสอดคลอ้ งกับ -สะกดคำถกู ต้อง ถูกต้อง ถเนกู ือ้ ตห้อาง เน้อื หา -มกี ารเว้นวรรค -มีการใชภ้ าษาอยา่ ง -ประโยคสอดคล้องกบั -สะกดคำถกู ตอ้ ง ถกู ต้อง เนอ้ื หา -มีการเวน้ วรรคถกู ต้อง -มีการใชภ้ าษาอยา่ ง สรา้ งสรรค์ -สะกดคำถูกต้อง -มกี ารใช้ภาษาอย่าง สร้างสรรค์ -มกี ารเวน้ วรรคถกู ตอ้ ง สร้างสรรค์ -มีการใช้ภาษาอยา่ ง 3. เนื้อหา สร-เา้ นงอ้ืสหรราคถ์กู ตอ้ ง -เน้ือหาตรงตามหัวขอ้ -เน้ือหาเปน็ ไปตามท่ี -รายละเอยี ด -เนื้อหาตรงตามหวั ขอ้ เร่ือง กำหนด ครอบคลมุ เรือ่ ง -เนอ้ื หาเป็นไปตามที่ -รายละเอยี ด -เนอื้ หาสอดคล้อง -เนอื้ หาเปน็ ไปตามท่ี กำหนด ครอบคลุม กำหนด -รายละเอยี ดครอบคลมุ -เนอ้ื หาสอดคลอ้ ง -รายละเอยี ดครอบคลมุ -เนือ้ หาสอดคลอ้ ง 4. เวลา --สเนง่ ื้อชห้ินางสานอภดคายลใ้อนงเวลาที่ -สง่ ชน้ิ งานช้ากว่ากำหนด -สง่ ช้ินงานช้ากว่า -สง่ ชน้ิ งานชา้ กวา่ กำหนด 1 วนั กำหนด 2 วัน กำหนด 3 วนั เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ ชว่ งคะแนน ดมี าก 4 ดี 3 พอใช้ 2 ปรบั ปรงุ 1

6 แบบประเมินการสรปุ ความรู้ เรอ่ื ง...................................................................................................................................................................... วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้......................................................................................................................................... ชอ่ื บคุ คล/กลุ่ม................................................ระดับ...................................ภาคเรยี นท่ี............../.................... กศน. /ศูนย์การเรยี นชมุ ชน............................................................................................................................ แสวงหาขอ้ มูล นำเสนอข้อมูลได้ สรุปขอ้ มลู ถูกตอ้ ง นำเสนอเขา้ ใจ สมาชิกกลมุ่ จากแหล่งเรียนรทู้ ่ี ครบถว้ น ครอบคลมุ นำไปใช้ประโยชน์ได้ ท่ี ชอ่ื -สกุล กำหนด รวม 54321543215432154 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คำชี้แจง 5 หมายถงึ มผี ลการปฏิบัตริ ะดับดมี าก 4 หมายถึง มีผลการปฏิบัติระดับดี 3 หมายถึง มีผลการปฏบิ ัตริ ะดบั พอใจ 2 หมายถึง มีผลการปฏิบัตริ ะดับตอ้ งปรบั ปรงุ 1 หมายถึง มีผลการปฏิบัตริ ะดบั ต้องปรบั ปรุงเร่งด่วน เกณฑ์การประเมนิ ดา้ นใดได้ 2 ควรให้ผเู้ รียนปรับปรงุ ลงชอื่ ..............................................................ผู้ประเมนิ (......................................................)

7 แบบประเมนิ การปฏบิ ตั ิงานกล่มุ เร่อื ง .................................................................................................................................................................. วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ ..................................................................................................................................... ช่อื บคุ คล/กลมุ่ ............................................................ระดับ............................ภาคเรยี นที่ .................................. กศน. / ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน ............................................................................................................................... ระดบั พฤตกิ รรม ระดบั รายการแสดงพฤติกรรม ดีมาก ดี พอใจ ปรับปรงุ ปรบั ปรุง คะแนน การทำงานกล่มุ (5) (4) (3) (2) เรง่ ดว่ น 1. มคี วามรว่ มมอื ทำงานเป็นกลุ่ม 2. มีความรับผิดชอบ รูจ้ กั บทบาทหนา้ ท่ีของตนเอง (1) 3. มคี วามเปน็ ผนู้ ำและผตู้ ามที่ดี 4. มีการแสดงความคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ภายในกลมุ่ 5. มกี ารตัดสินใจและแกป้ ญั หาร่วมกนั คา่ เฉลีย่ ระดบั คะแนนการทำงานกลมุ่ กระบวนการทำงาน 1. มีการวางแผนทำงาน 2. มีการสร้างความเขา้ ใจและ แบ่งงานตามท่ถี นดั 3. มกี ารสืบค้น ประยุกตแ์ ละใช้ขอ้ มูลจากแหลง่ เรยี นรู้ 4. มีการแลกเปลีย่ นความรูค้ วามเข้าใจในกลุม่ 5. มีการสรุปและจดั ระเบียบความรู้ คา่ เฉลี่ยระดบั คะแนนกระบวนการทำงาน ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1. มคี วามกระตือรอื ร้น ทำงานเตม็ ความสามารถ 2. มกี ารยอมรบั ฟังความคดิ เห็นผู้อืน่ 3.มนี ้ำใจเอ้อื เฟ้อื ชว่ ยเหลือผ้อู นื่ 4. มีความรบั ผิดชอบ ทำงานเสร็จทนั เวลา 5. มกี ารใชว้ ัสดุ อุปกรณค์ มุ้ คา่ ประหยัด ค่าเฉลย่ี ระดับคะแนนลักษณะอนั พึงประสงค์ คา่ เฉล่ยี รวม ลงชอื่ ....................................................... ผปู้ ระเมิน (.....................................................)

8 บนั ทกึ ผลหลังการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 1. ผลทเ่ี กิดกับผู้เรยี น (K P A) .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. 2. ปญั หา / อปุ สรรค .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. 3. ข้อเสนอแนะ / วิธีแก้ไข .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ……………………..……………………..ครผู ู้สอน () กจิ กรรมเสนอแนะ ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... บนั ทกึ ขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหารหรอื ผู้ทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชอ่ื .......................................................

9 ภาคผนวก ก. ชุดคำถามกระต้นุ คดิ เพ่อื ปลูกฝังหลกั คิดพอเพียงในกจิ กรรมการเรยี นรู้ ข. แนวทางการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชอ้ อกแบบกิจกรรมการเรยี นรู้ ค. ผลทเ่ี กิดข้ึนกับผเู้ รียนสอดคล้องกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจากการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ผเู้ รียนไดเ้ รียนรู้หลกั คดิ และฝกึ ปฏิบตั ิตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. ผเู้ รยี นได้เรยี นรกู้ ารใชช้ ีวิตทส่ี มดลุ และพรอ้ มรบั การเปลย่ี นแปลง 4 มติ ติ ามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง ง. ใบความรู้ จ. ใบงาน ฉ. เฉลยใบงาน ฯลฯ

10 ก.ชุดคำถามกระต้นุ คิดเพอ่ื ปลกู ฝงั หลกั คิดพอเพยี งในกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. Q1 ผ้เู รียนสามารถเรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได้อย่างไร 2. Q2 ผู้เรยี นคดิ ว่าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมปี ระโยชน์อยา่ งไร 3. Q3 ผูเ้ รยี นคิดว่าเศรษฐกิจพอเพยี งคืออะไร มอี งค์ประกอบอะไรบ้าง 4. Q4 ผู้เรียนวางแผนแบง่ หน้าทีก่ ารทำงานกลมุ่ อย่างไรให้เหมาะสมกบั ความสามารถของสมาชกิ และให้งานสำเร็จ ตามเป้าหมายทนั เวลาทก่ี ำหนด (ภมู ิคุ้มกนั ,พอประมาณ) 5. Q5 การปฏิบตั ิกิจกรรมให้สำเรจ็ ตามท่ไี ด้รับมอบหมายงานจากกลมุ่ ผ้เู รยี นจำเป็นจะตอ้ งปฏบิ ัติ ตนอยา่ งไรบา้ ง (คณุ ธรรม) 6. Q6 การเลอื กวธิ นี ำเสนอผลการศึกษาที่ได้รบั มอบหมาย ผู้เรียนในกลุ่มมเี หตผุ ลอะไรในการเลือก วิธีนำเสนอ (มี เหตผุ ล) 7. Q7 การช่วยกันทำงานในกลุ่มจะส่งผลดตี ่อผู้ปฏบิ ัตอิ ย่างไร และเปน็ คณุ ธรรมด้านใด (คุณธรรม) 8. Q8 การปฏิบตั กิ ิจกรรมการเรียนรู้ไดส้ ำเร็จจำเปน็ ต้องมีความรอู้ ะไร (ความรู้) 9. Q9 การปฏบิ ัติกิจกรรมการทำงานกลุ่มและการนำเสนอใหส้ ำเรจ็ จำเปน็ ตอ้ งมคี ุณธรรมข้อใด อธิบายเหตผุ ล ประกอบ (คุณธรรม) 10.Q10 เพราะเหตุใดผู้เรียนจงึ ต้องปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ (เหตุผล) 11.Q11 แหล่งเรียนรูใ้ นท้องถิ่นมีประโยชน์กับผเู้ รยี นอยา่ งไร (เหตุผล) 12.Q12 ทำใบงานให้สำเร็จทนั เวลาตามท่รี ับมอบหมาย กล่มุ ของผู้เรียนพจิ ารณาถึงความเหมาะสม กบั ปจั จัยใด พร้อมอธบิ ายเช่ือมโยงความเหมาะสมประกอบ (พอประมาณ) 13.Q13 การนำเสนอให้สำเร็จทันเวลาตามท่ีรับมอบหมายกลมุ่ ของผ้เู รียนมีการวางแผนด้วยความ รอบคอบอยา่ งไร (ภมู คิ มุ้ กนั ในตัวที่ดี) 14.Q14 หลังจากผูเ้ รยี นไดเ้ รียนร้จู ากหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแล้ว ผู้เรียนจะปฏบิ ัตติ นในชวี ติ ประจำวัน กบั ความร้ทู ไี่ ด้รับอยา่ งไร และขยายผลความรู้นั้นได้อยา่ งไร

11 ข.แนวทางการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1. ครผู ้สู อนนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ในการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ความรทู้ ค่ี รูตอ้ งมีก่อนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ คณุ ธรรมของครู 1. มีความรู้รายวิชา ศาสนาและหน้าทพี่ ลเมือง และ 1. ความรกั เมตตาศษิ ย์ รายวชิ าเศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ความรบั ผิดชอบ 2. มคี วามรู้การคน้ หา เรียกดู และคัดลอกข้อความใน 3. ความยุติธรรม เวบ็ ไซต์ 4. ความตรงต่อเวลา 3. มคี วามรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 4. รู้พื้นฐานผู้เรยี น/จติ วิทยาในการสอน/เทคนิคการ สอน/การวัดผลประเมินผล หลกั พอประมาณ มีเหตผุ ล มีภูมิคุ้มกนั ในตวั ทีด่ ี พอเพยี ง ประเด็น เนื้อหา - รายวชิ า ศาสนาและ - ต้องการให้ผ้เู รียน รู้ - สรปุ เน้ือหาใจความ หนา้ ท่พี ลเมอื ง และ ความสำคัญของรายวิชา สำคญั มภี าพประกอบ รายวิชาเศรษฐกิจพอเพยี ง ศาสนาและหน้าทพ่ี ลเมอื ง เน้ือหา สอดคลอ้ งกับ มาตรฐาน และรายวชิ า เศรษฐกจิ - เรยี งเน้อื หาตามลำดบั ตวั ชว้ี ัด เหมาะสมกับเวลาท่ี พอเพยี ง การ เรียนรู้ กำหนดและวัยของผูเ้ รยี น - อธบิ ายถงึ ข้อควรปฏิบัติ ในการสบื ค้นขอ้ มลู จาก แหล่งเรียนรู้ เวลา - กำหนดเวลาในแตล่ ะ - จัดการเรยี นรู้ไดค้ รบถ้วน - กำหนดเวลาในแตล่ ะ กจิ กรรมเหมาะสมกบั ตามท่อี อกแบบไว้ กิจกรรม ไวเ้ กนิ จรงิ กจิ กรรมและวัยของผูเ้ รยี น เล็กนอ้ ยเพอ่ื รองรูก้ าร เปลีย่ นแปลงทอี่ าจเกิด ระหวา่ งจดั กจิ กรรม วธิ ีการจดั กิจกรรม - แบ่งกลุ่มผู้เรยี นได้พอดี - ตอ้ งการใหผ้ ูเ้ รยี นปฏบิ ัติ - แบง่ กลมุ่ คละ กับจำนวนผเู้ รยี น กิจกรรมอย่างท่ัวถงึ ตาม ความสามารถ ของผูเ้ รยี น - กำหนดกิจกรรมการ ความสามารถ - เตรียมชุดคำถามให้ เรยี นรเู้ หมาะสมกบั เวลาที่ พร้อม ตามลำดับกจิ กรรม กำหนด การเรยี น

12 - มอบหมายภาระงานและ - เพ่ือตอ้ งการให้ผ้เู รียน - สังเกตพฤตกิ รรมและให้ ช้ินงานเหมาะสมกบั ความ สามารถผู้เรยี นและ เกดิ การเรียนรู้ตาม ความช่วยเหลอื เมอ่ื ผูเ้ รียน สอดคล้องกับเป้าหมาย การเรยี นรู้ เปา้ หมายทีก่ ำหนด มปี ัญหา - สรุปจำนวนใบความรู้ ใบ งาน เหมาะสมกับกจิ กรรม - ผเู้ รยี นนำความรูไ้ ป และปรมิ าณเพียงพอกับ จำนวนผ้เู รยี น ประยุกต์ใชก้ ับภาระงานได้ ส่อื / อุปกรณ์ - หอ้ งสมุด/แหลง่ เรยี นรู้ - ตอ้ งการใหผ้ ู้เรยี นได้ - เตรยี มสื่ออปุ กรณ์ให้ เหมาะสมกับ กจิ กรรมท่ี แหล่งเรียนรู้/ ฐานการ กำหนด ปฏบิ ัติ กจิ กรรมได้จริงตาม พรอ้ ม ก่อนการจัด เรียนรู้ - จดั ทำแบบประเมนิ ผล งานและประเมนิ จุดประสงค์การเรยี นรู้ท่ี กิจกรรม – มลี ำดบั การประเมินผล พฤติกรรมไดเ้ หมาะสมกับ เป้าหมายการเรียนรู้ กำหนดไว้ ขั้นตอนการใช้ส่อื และ จดั เกบ็ อยา่ งเป็นระบบ - - เตรียมห้องสมุด/แหล่ง เรียนรู้/อินเตอรเ์ น็ต ให้ พร้อมกอ่ นให้ใชบ้ ริการ - ต้องการประเมินผล การ - วางแผนการประเมนิ ผล เรยี นรู้ตามเป้าหมายท่ี ตามขนั้ ตอนของกิจกรรม กำหนด

13 ค. ผลท่ีเกดิ ขึน้ กับผู้เรียนสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงจากการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 1. ผ้เู รยี นไดเ้ รยี นรูห้ ลกั คิด และฝึกปฏิบัติตาม 2 เงือ่ นไข 3 หลกั การ ดังนี้ ความรู้ คุณธรรม -รเู้ ขา้ ใจความหมายหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง -มคี วามอดทน -รปู้ ระโยชน์และคุณคา่ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ -มคี วามซื่อสตั ย์ พอเพยี ง -มคี วามขยนั -รู้วิธกี ารสบื ค้นข้อมลู จากแหลง่ เรียนรู้ -มีความรับผิดชอบ พอประมาณ มเี หตผุ ล มีภูมิคมุ้ กนั ในตัวทด่ี ี -ผู้เรียนสืบคน้ ขอ้ มูลได้เหมาะสม -ผู้เรยี นได้รบั ความรู้ตรงตามตวั ชีว้ ดั - วางแผนการทำงานกล่มุ อย่าง กับเนอ้ื หาทีก่ ำหนด ของหลกั สูตร ละเอียดเป็นข้ันตอน -ใช้วสั ดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติ - ผเู้ รยี นมคี วามรเู้ รือ่ งหลกั ปรัชญาของ - เตรียมขอ้ มูลในการสืบค้นขอ้ มลู กิจกรรมท่มี อบหมายอยา่ ง เศรษฐกิจพอเพยี ง วเิ คราะหต์ อบ โดยใชข้ ้อมูลตนเอง วิชาการ และ ประหยัดและคุ้มค่า คำถามในชดุ คำถามได้อยา่ งเปน็ เหตุ สิง่ แวดลอ้ ม ไดค้ รบถว้ นและตรง -นำความรูไ้ ปประยกุ ต์ใชใ้ ห้ เป็นผล ตามกิจกรรมการเรียนรู้ เหมาะสมกบั ตนเอง -มที ักษะการสบื ค้น รวบรวม สรุป ขอ้ มูลได้อยา่ งรอบคอบก่อนนำเสนอ -พดู แสดงความคิดเห็น วิพากษ์ วิจารณ์ผูอ้ น่ื อยา่ งมีเหตุผล

14 2. ผูเ้ รียนไดเ้ รยี นรูก้ ารใชช้ ีวิตทีส่ มดุลและพรอ้ มรบั การเปลยี่ นแปลง 4 มิตติ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ดงั น้ี มิติ สมดลุ และพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ ด้าน มิติดา้ นวัตถุ/ มติ ิดา้ นสงั คม มติ ดิ ้านสง่ิ แวดลอ้ ม มติ ิด้านวฒั นธรรม องค์ประกอบ เศรษฐกิจ ความรู้ ( K ) - มคี วามร้ใู นการ - มีความรู้ในการจัด - มคี วามรู้หลกั - มคี วามรู้เกย่ี วกับ สบื คน้ ขอ้ มูลได้อย่าง แบ่งหน้าท่ีภายใน ปรัชญาของเศรษฐกิจ บริบทของชมุ ชน ถกู ต้องและเหมาะสม กล่มุ ไดอ้ ย่าง พอเพยี ง ในการดแู ล เหมาะสม รกั ษาความสะอาด - มคี วามรู้ในการ หอ้ งเรียน การจัดการ ปฏิบตั ติ นทจ่ี ะ ขยะอยา่ ง ถกู ต้อง ทำงานร่วมกบั ผอู้ ่ืน ของห้องเรยี น กศน. ทกั ษะ ( P ) - มที ักษะในการใช้ -ทำงานตาม - - แหล่งเรยี นร้ไู ดอ้ ย่าง บทบาทและแบ่ง ถูกตอ้ งและเหมะสม หนา้ ทใ่ี นการทำงาน กลุม่ - ทำงานรว่ มกนั ภายในกล่มุ ตามที่ ไดร้ บั มอบหมายจน สำเร็จ ค่านิยม ( A ) - เห็นความสำคัญ - มีจิตสำนกึ ท่ดี ตี อ่ - มจี ิตสำนกึ ในการ - ตระหนกั ถึงบริบท ของการสบื ค้นขอ้ มลู บทบาทและหนา้ ท่ี รักษาสภาพแวดล้อม ในชุมชนเพ่อื นำมา จากแหลง่ เรียนร้ไู ด้ ในการทำงาน วิเคราะห์สภาพ อยา่ งค้มุ ค่า - เห็นคุณคา่ ของ ปัญหาในชมุ ชน ความสามัคคีในการ ทำงานกลมุ่

15 ใบความรทู้ ่ี 1 เรือ่ งประวตั คิ วามเปน็ มาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระบบเศรษฐกจิ พอเพียงเกิดข้นึ ครั้งแรกเม่ือ วันที่ 18 กรกฎาคม 2517 โดยเริม่ ตน้ จากพระบรมราโชวาท ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ซึ่งเน้นความสำคัญในการพัฒนา ประเทศแบบสรา้ งพ้นื ฐานคือ \"ความพอมพี อกนิ พอใช้\" ต่อมาพระองค์มีพระราชดำรัสอีกครั้งเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2517 ณ ศาลาดุสิตดาลัยเนื่องในวันเฉลิมพระ ชนมพรรษาทรงเนน้ คำว่า\"พอมพี อกนิ \"ดงั นัน้ คำวา่ \"เศรษฐกจิ พอเพยี ง\"จึงมาจากจดุ เรมิ่ ตน้ ว่า\"พอมีพอกนิ พอใช้\" นัน่ เอง เศรษฐกิจพอเพียง คอื ปรชั ญาทพี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ทรงช้แี นวทางการดำเนนิ ชวี ิตให้แก่ปวงชน ชาวไทยมาเปน็ ระยะเวลานาน ในชว่ งตง้ั แตก่ อ่ นการเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ เพ่ือม่งุ ให้พสกนิกรได้ดำรงชีวิตอยู่ได้อย่าง ยั่งยืน มั่นคง และปลอดภัย ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ที่เกิดขึ้นตามกระแสโลกาภวิ ฒั น์ อีกทั้งพระองค์ยงั ได้ ทรงพระราชทานความหมายของ เศรษฐกิจพอเพียง เอาไว้เป็นภาษาอังกฤษว่า Sufficiency Economy ดังพระ ราชดำรสั ที่ได้ทรงตรสั ไวเ้ มอ่ื วันท่ี 23 ธนั วาคม 2554 ฉะนั้น เมื่อเติมคำว่า Economy เข้าไป กลายเป็น Self-Sufficient Economy แล้วนั้น จะมีความหมายว่า เศรษฐกจิ แบบพอเพียงกับตวั เอง คือ การทสี่ ามารถอยู่ไดด้ ว้ ยตนเองอย่างไมเ่ ดอื ดรอ้ น ไมต่ อ้ งพ่ึงพาผอู้ ืน่ แต่ในทุกวันน้ี ประเทศไทยเรายงั เดือดร้อน ยงั มีความจำเป็นต้องพ่ึงพาผอู้ ื่นอยู่ ทีใ่ นความเปน็ จริงทเ่ี ราจะสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ ก็ตาม ดังนั้น Self-Sufficient Economy จึงหมายถึง เศรษฐกิจแบบพอเพียงกับตัวเอง ที่แตกต่างจาก Sufficiency Economy ซง่ึ หมายถงึ เศรษฐกจิ พอเพียงทีย่ ังคงมกี ารพงึ่ พากนั และกนั อยู่ ดงั พระราชดำรัสเพ่ิมเติมที่ว่า “คือพอมีพอกินของตัวเองนั้นไม่ใช่เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเศรษฐกิจสมัยหิน สมัยหินนั้นเป็นเศรษฐกิจ พอเพยี งเหมอื นกัน แต่วา่ ค่อยๆ พฒั นาขน้ึ มา ตอ้ งมีการแลกเปล่ยี นกัน มีการช่วยระหว่างหมูบ่ า้ น หรอื ระหว่าง จะ เรยี กว่าอำเภอ จังหวัด ประเทศ จะต้องมีการแลกเปล่ยี น มีการไมพ่ อเพียง จึงบอกวา่ ถ้ามเี ศรษฐกิจพอเพียง เพียง เศษหน่งึ ส่วนสก่ี ็จะพอแล้ว จะใชไ้ ด้” หลกั แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพยี ง การพฒั นาตามหลักแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง คอื การพัฒนาทีต่ ้ังอยู่บนพนื้ ฐานของทางสายกลางและความไม่ ประมาท โดยคำนึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ความ รอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตดั สินใจและการกระทำ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดังนี้ 1. กรอบแนวความคิด

16 เป็นปรัชญาที่ชี้แนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัติตนในทางที่ควรจะเป็น โดยมีพื้นฐานมาจากวิถีชีวิต ด้ังเดิมของสงั คมไทย สมารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปล่ียนแปลงอยู่ ตลอดเวลา มุ่งเนน้ การรอดพ้นจากภยั และวกิ ฤต เพ่อื ความม่นั คง และ ความยง่ั ยนื ของการพฒั นา 2. คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำมาประยกุ ต์ใช้กบั การปฏิบัติตนได้ในทุกระดับโดยเน้นการปฏิบัติบนทางสาย กลาง และการพัฒนาอยา่ งเป็นขั้นตอน 3. คำนิยาม ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คณุ ลักษณะ พรอ้ ม ๆ กัน ดังนี้ 1. ความพอประมาณ: หมายถงึ ความพอดที ่ีไมน่ อ้ ยเกินไปและไมม่ ากเกนิ ไปโดยไมเ่ บยี ดเบียนตนเองและ ผ้อู ่นื เช่นการผลิตและการบรโิ ภคท่ีอยูใ่ นระดับพอประมาณ 2. ความมีเหตุผล: หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมี เหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เก่ียวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดวา่ จะเกิดขึ้นจากการกระทำ น้ัน ๆ อยา่ งรอบคอบ 3. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว: หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้าน ต่าง ๆ ทจ่ี ะเกิดข้นึ โดยคำนึงถึงความเป็นไปไดข้ องสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ทค่ี าดวา่ จะเกิดข้ึนในอนาคตทั้ง ใกลแ้ ละไกล 4. เง่ือนไข การตัดสินใจและการดำเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพยี งนัน้ ตอ้ งอาศัยท้ังความรู้ และคุณธรรมเป็นพื้นฐาน กลา่ วคอื • เงื่อนไขความรู้: ประกอบด้วย ความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความ รอบคอบที่จะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความ ระมัดระวังในข้ันปฏบิ ัติ • เงือ่ นไขคุณธรรม: ที่จะต้องเสริมสรา้ งประกอบด้วย มคี วามตระหนกั ในคุณธรรม มีความซอ่ื สัตย์สุจริตและ มคี วามอดทน มีความเพยี ร ใชส้ ติปัญญาในการดำเนนิ ชวี ิต 5. แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดว่าจะไดร้ ับ ผลจากการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คอื การพัฒนาท่ีสมดุลและยง่ั ยืน พร้อมรับต่อ การเปลย่ี นแปลงในทกุ ด้าน ท้งั ด้านเศรษฐกจิ สงั คม สิ่งแวดลอ้ ม ความร้แู ละเทคโนโลยี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

17 ใบความรูท้ ี่ 2 เร่อื ง ผสานหลกั ธรรมนำใจ พอใจในวถิ ีพอเพยี ง ธรรมะมีบทบาทสำคัญต่อการดำรงชีวิตของคนเราเป็นอยา่ งมาก การมีคุณธรรม จริยธรรม มมี นษุ ยสัมพันธ์ ที่ดีในชีวิตประจำวัน สามารถอยู่รว่ มกับผู้อื่นได้ เป็นที่พึ่งทางจิตใจ และสามารถนำมาใช้แก้ปัญหาทักษะชีวิตและ สงั คมในทุกด้าน การนำหลักธรรมภายใต้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เพื่อให้ เกษตรกรไดป้ ฏิบตั ิตนได้ถกู ต้องสอดคลอ้ งตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง และนำมาประยุกตใ์ ชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ กับอาชพี ตามแนวทางของการพอประมาณ มเี หตุผล มภี ูมิคมุ้ กันตัวเองท่ดี ี มเี งือ่ นไขดา้ นความรู้และมีเงื่อนไขด้าน คุณธรรมแม้ที่ผ่านมาเกษตรกรได้รับการแนะนำจากหนว่ ยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้องจากหน่วยงานต่าง ๆ แล้วก็ ตาม การจะนำหลักธรรมในพระพทุ ธศาสนามาปรับใชใ้ หไ้ ด้ผลน้นั จะต้องมีการศกึ ษาทำความเข้าใจให้มากขึ้นทั้งใน ด้านการปฏิบตั ิตนเพอื่ ความเป็นอยู่ ความสนั โดษ การมเี หตมุ ผี ล หลกั การคิดแบบกระบวนระบบ,การมภี ูมคิ มุ้ กนั ที่ดี การพ่งึ ตนเอง การมีเป้าหมายของการประกอบอาชีพท่สี ุจริตและดำรงชพี ภายใต้หลักปัจจยั ข้ันพ้ืนฐาน ซ่งึ หลักธรรม ดังกลา่ วจะทำให้เกษตรกรมีความม่นั คงในชวี ติ การงานได้สบื ไป การเรียนรู้และศึกษาธรรมะ มีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื สร้างความเข้มแข็งใหก้ บั ชมุ ชน และเปน็ ท่ีพักพิงด้านจิตใจ ให้บุคคลโดยทั่วไป ที่ประสบปัญหาทุกข์ยากในการดำเนินชวี ิต ทั้งเรื่องครอบครัว สุขภาพ และการเงิน โดยอาศยั หลักธรรมคำสอนเปน็ ทีย่ ึดเหนย่ี วจิตใจ สรา้ งขวัญและกำลังใจให้แต่ละครอบครวั สามารถเดนิ หน้าตอ่ สู้กับปัญหาใน ชวี ิต สง่ ผลทำให้ชวี ิตความเปน็ อยูด่ ีขนึ้ ไดน้ ำความร้ทู ี่ไดร้ ับไปใช้ในการดำเนินชวี ิต สามารถเปลี่ยนแปลงชีวิตความ เปน็ อยู่ ทง้ั ดา้ นร่างกายและจิตใจในทางทีด่ ขี ้นึ ปัญหาที่หยั่งรากลึกลงในชุมชน เช่น ปัญหาราคาสินค้าการเกษตร ปัญหาผลผลิตที่ได้น้อยไม่เพียงพอ สำหรับการดำรงชีพ ทำให้ไม่มีรายได้หรือมีรายได้ต่ำ ปัญหาด้านการตลาดจากราคาพืชผลไม่แน่นอนและถูกกด ราคาจากพ่อค้าคนกลาง และท่สี ำคญั คอื การใชส้ ารเคมที ที่ ำให้ตน้ ทนุ ในการทำเกษตรสูงข้นึ การลด ละ เลกิ การใชส้ ารเคมี โดยหนั มาปลูกผกั ปลอดสารเพื่อบริโภคในครวั เรอื นเป็นการลดค่าใช้จ่ายใน ครวั เรอื น และเพื่อความปลอดภยั ด้านสขุ ภาพ และเปล่ียนแปลงวธิ ีคิดใหล้ ดละเลกิ การใช้สารเคมีเพอื่ ลดต้นทุนการ ผลิต มกี ารปลูกพชื หมุนเวยี นมากข้ึน หรือใชพ้ ้ืนทที่ ่ีมอี ย่างจำกัดปลูกพชื ในกระถาง เช่น ตน้ ออ่ นทานตะวัน ต้นออ่ น ผักบุ้ง เป็นต้น การเสรมิ ทักษะความรใู้ หก้ บั คนในชมุ ชน เรือ่ งการทำเกษตรอินทรยี ์ การแปรรปู การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ เช่น การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวภาพแทนการใช้สารเคมี การฝึกทักษะเรือ่ งการแปรรูปผลไม้ การนำพืชผักผลไม้ทีม่ ีอยู่ แล้วนำมาแปรรูป การเพิ่มทักษะในเรื่องความสะอาด การตาก การจัดเก็บ การพัฒนารูปแบบของสินค้า การทำ บรรจภุ ัณฑ์ใหด้ ดู ี มีมาตรฐานเป็นการเพมิ่ มูลค่า ให้ความรเู้ ร่ืองการทำสมุนไพร เพื่อนำผลผลิตทม่ี อี ยู่แล้วมาแปรรูป ให้เกิดรายได้เพิ่มข้ึน การให้ความรู้เรื่องการทำน้ำยาเอนกประสงค์จากมะกรูด มะนาว นำมาทำเป็นน้ำยาล้างจาน มะกรดู อญั ชัน ทำแชมพูสระผม มะขาม ทำเป็นสบูเ่ หลว เปน็ ต้น

18 การเรียนรแู้ ละฝกึ ทักษะไมใ่ ช่เพียงเพอ่ื จำหนา่ ย สร้างรายไดเ้ พมิ่ เท่านั้น แต่ยงั มุ่งเนน้ การแปรรูปเพ่ือใช้เอง ทดแทนการซื้อจากภายนอก การพึ่งพาตนเอง ลดรายจ่ายครัวเรือน รู้จักการทำบัญชีครัวเรือน พร้อมกับนำหลกั ธรรมะและปลูกฝังเรื่องคณุ ธรรม จรยิ ธรรมควบคกู่ ันไปเพอื่ เป็นหลักยดึ ในเรื่องของจติ ใจ หลกั ธรรมภายใต้หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง สภาพสังคมเปลี่ยนแปลงเกษตรกรประสบเคราะห์กรรมชะตาชีวิตหมุนวนอยู่กับวงจรปัญหาสิ่งสำคัญคือ เกษตรกรต้องตัดสินใจเพื่อเปลี่ยนแปลงชีวิตตนเอง ทบทวนวิเคราะห์ตนเอง ตัวอย่างผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม เกษตรกร ปราชญ์ชาวบา้ นท่ีโดดเด่นและเป็นสัญลกั ษณ์ของคนกลา้ สวนกระแสโลก ภายหลงั มชี วี ิตอยใู่ นสงั คมกระแส หลักดว้ ยการปลูกพืชเชิงเด่ียวหวงั รำ่ รวยแต่วนั หนึ่งตอ้ งขายที่ดินชำระหน้ีท่ีพอกพูนตอ้ งทบทวนตนเอง ด้วยคิดว่าถ้า ไม่รู้จักตัวเองไม่มที างท่ีจะทำใหต้ ัวเองสงบหรือสังคมสงบได้เพราะจะว่ิงไปทางที่ไมว่ ่าใครจะชักจูงไปทางไหนไปตาม ค่านยิ มซง่ึ เป็นกิเลสท้ังน้ัน จึงใช้แนวทาง “พทุ ธวิถ”ี คอื การเปลี่ยนแปลงตามพุทธวิถีการเปลี่ยนจากข้างในไปสู่ข้าง นอก จากฐานรากไปสูข่ ้างบน ที่ให้ความสำคญั กับบญุ นิยมและคุณธรรม เป็นทางเลือกที่ถงึ แม้ตอ้ งทวนกระแสหลัก แมจ้ ะแปลกแยกจากสังคม กต็ ้องเลอื กเพื่อให้ชวี ิตตัวเองมีเสรีภาพ (เสรี พงศ์พิศ, 2555) หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง ภายใต้3 ห่วง 2 เงื่อนไข ประกอบด้วย 1) พอประมาณ 2) มีเหตุผล 3) มีภูมิคุ้มกันตัวเองทีด่ ี4) มีเงื่อนไข ดา้ นความรู้ 5) มีเง่อื นไขด้านคุณธรรม ซ่งึ อธิบายตามหลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนาได้ดงั นี้ 1. พอประมาณ คำว่า “พอประมาณ” คือเพียงปานกลาง คำว่าประมาณตน ประมาณตัว คอื สำนกึ ใน ฐานะของตน เจียมตัว ไม่ทำอะไรเกินฐานะของตน (ราชบัณฑิตยสถาน, 2539) ตามความหมายในทางโลก คือการ รจู้ กั ประมาณในการบรโิ ภค ไมท่ ำอะไรเกนิ ตวั เกินกำลังทีห่ ามาไดส้ ว่ นความหมายในทางธรรมแงข่ องการปฏิบัติหรือ วิธีดำเนินชีวิตที่สอดคล้องกับกระบวนการดับทุกข์ เรียกว่าทางสายกลาง หรือทางดำเนินชีวิตที่เป็นกลาง ตาม ธรรมชาติ สอดคล้องกับกฎธรรมชาติพอเหมาะพอดที จ่ี ะใหเ้ กดิ ผลตามกระบวนการดับทุกข์ของธรรมชาติ ไม่เอียงเข้า ไปหาขอบสุดสองข้างที่ทำให้ติดพัวพันอยู่หรือเฉไถลออกไปนอกทาง และในแง่ของการปฏิบัติหรือดำเนินชีวิตที่ เป็นไปเพื่อความขยนั หมั่นเพียรในระดับของความเป็นอยู่ การครองชีพสภาพแวดล้อมของบุคคลนั้น ๆ (พระธรรม ปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), 2543) เพื่อให้บรรลุขั้นตอนแห่งการยกย่องว่าเป็น “บัณฑิต” คือต้องประกอบด้วยปัญญา พระพุทธเจ้าทรงสัง่ สอนตามหลกั ”ทิฏฐธมั มกิ ัตถะ”4 ประการ 1. อุฏฐานสมั ปทา มคี วามขยันหมัน่ เพียร รูจ้ ักใช้ปญั ญาจัดดำเนินกิจการ 2. อารกั ขสมั ปทา รู้จักเกบ็ รักษาทรัพย์สินและผลแหง่ การประกอบการงานให้รอดพน้ จากอันตราย 3. กลั ยาณมติ ตตา รู้จกั คบคา้ สมาคมกับคนดเี ก้อื กูลการงานทดี่ ีเพ่ือความก้าวหน้าของชีวติ ต่อกนั 4. สมชีวิตา รจู้ กั เล้ียงชีวิตแตพ่ อดีให้มีความสุขโดยไม่สรุ ุ่ยสรุ ่ายฟุ่มเฟือยอกี ทั้งสามารถประหยัดทรัพย์ไว้ให้ เพ่มิ พนู ขน้ึ ได้ (พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุ ฺโต), 2543) 2. มเี หตุผล การตัดสินใจโดยใช้เหตุผลถึงระดบั ของความพอเพยี ง พจิ ารณาจากเหตปุ ัจจัย คำนึงผลไดอ้ ย่าง รอบคอบรัดกมุ พุทธศาสนาเป็นศาสนาแห่งเหตุผลและการแก้ปญั หา คำสอนตา่ ง ๆ ของพระพุทธองคไ์ ม่ได้ทรงสอน ใหใ้ ครเช่ืออยา่ งงมงาย แต่ทรงสอนให้ใชป้ ัญญาเม่อื มปี ัญญาประกอบแลว้ ย่อมจะเชื่อสิ่งใด ๆ อยา่ งมีเหตุผล เม่อื นำไป ปฏบิ ตั ิแลว้ ยอ่ มประสบความสำเร็จกับชวี ิตได้อย่างธรรมที่มีอำนาจสูงสุดของธรรมชาติ ซึ่งหมายถึง “อิทัปปัจจยตา” มีบทนยิ ามทเ่ี ก่ียวเน่อื งเป็นเหตเุ ป็นผลของกนั และกันว่า (สริ วิ รณุ , 2547) “เมือ่ ส่งิ นม้ี ี สงิ่ น้ียอ่ มมี

19 เพราะความเกิดขน้ึ ของส่งิ น้ี สิง่ น้จี งึ เกิดขน้ึ เมอื่ สง่ิ นไี้ มม่ ี สงิ่ นย้ี ่อมไมม่ ี เพราะความดบั ไปแหง่ สิง่ นี้ สง่ิ นย้ี อ่ มดับไป” ตัวอย่างหลักธรรมแหง่ การมีเหตุผลทีเ่ ข้าใจง่ายเช่น ตัวเราอยากเปน็ อะไร และอยากทำอะไร ก็ต้องทำเอา ด้วยตัวเอง ผลจะทำให้ชีวิตเราดหี รอื ไม่ดี ก็ย่อมขึ้นอยกู่ ับการกระทำของตวั เรา (กรรม) เพราะตวั เราเองย่อมทำเหตุ ปัจจัยนั้น ๆ ถ้าทำไว้ดีแล้ว ผลก็ย่อมออกมาดี แต่ถ้าทำไม่ดี ผลก็ย่อมออกมาไม่ดี ดังพุทธวจนะที่ว่า (เสถียรพงษ์ วรรณปก, 2561) “หวา่ นพืชชนดิ ใด ย่อมไดร้ ับผลชนิดนนั้ ทำกรรมดี ย่อมได้รับผลดี ทำกรรมชั่ว ย่อมได้รับผลช่วั ” เกษตรกรต้องทำความเขา้ ใจกับปัญหา และการแกป้ ญั หาตา่ งๆ เชน่ กนั ทุกปญั หายอ่ มมที างออก หลักการคดิ ที่นักคิดได้แนะนำคือ การใช้การคิดแบบกระบวนระบบ (Systems thinking) เป็นวิธีคิดกระบวนระบบที่เปิด “ตา ใน” คิดเพอ่ื เห็นโลกตามความเปน็ จรงิ คือ เหน็ ความสมั พันธข์ องสง่ิ ตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ียวเนอ่ื งกนั ท้ังระบบ ซับซ้อนและเป็น พลวัต ช่วยให้เห็นแบบองค์รวม เห็นภาพใหญ่ เห็นภาพรวมของเรื่องราวต่าง ๆ องค์ประกอบทุกส่วนย่อมมี ความสมั พันธก์ นั และสง่ ผลกระทบตอ่ กนั เปน็ กระบวน ทำใหส้ ง่ิ ตา่ งๆ ดำรงอยู่ และดำเนนิ ไปอยา่ งทีเ่ ปน็ เปน็ การคิด เชื่อมโยงเหตุผล สามารถใช้ได้กับชีวิต การทำงาน ผลที่เกิดจากการกระทำที่มีความเชื่อมโยง แม้เป็นการเชื่อมโยง แบบชะลอการใหผ้ ล (Delay) ในการสะทอ้ นป้อนกลบั กต็ าม อย่างการปลูกผกั พืชแต่ละชนิดโตชา้ เรว็ ต่างกัน ให้ดอก ผลในเวลาที่ตา่ งกนั พืชบางชนิด 3 เดอื นให้ผล และบางชนดิ เปน็ ปีจึงจะออกดอกและให้ผล เมอ่ื รู้อย่างนี้ เกษตรกรก็ เพียงแต่ให้น้ำ ให้ป๋ยุ สร้างเหตุปัจจัยใหพ้ ชื เตบิ โต และรอคอยให้ผลเกิดตามวาระของระบบชีวิตของพชื นัน้ ๆ อย่างไร ก็ตาม ยงั มผี ลสะทอ้ นในระบบเกิดจากปัจจัยอ่นื ๆ อีกมากมายท่ีเก่ยี วข้องกนั ในระบบ อย่างการปลกู ผกั น้ี เกษตรกร ก็ต้องดูแลผักอย่างเต็มศักยภาพ ความงอกงามและให้ผลย่อมขึ้นอยู่กับปัจจัยอื่น ๆ เช่น ดิน แมลง โรคระบาด แสงแดด ลม ฝน ฯลฯ(กรรณจริยา สุขรุ่ง, 2555) เกษตรกรสามารถใช้เหตุผลตามหลักวิชาการต่าง ๆ ในการจัดทำ แผนงานใหเ้ ป็นไปตามความตอ้ งการของตนหรืออย่บู นความคาดหวังทจ่ี ะได้รับ มีความสัมพันธ์กับงบประมาณที่มีอยู่ อย่างประหยัด ไม่ฟุ่มเฟือยและคุ่มค่า ที่สำคัญคือมีความรอบคอบรัดกุมและมีผลได้ที่ยั่งยืน การเกษตรกรรมตาม แนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง จงึ จำเปน็ อย่างย่งิ ทีจ่ ะตอ้ งมเี หตุมผี ลในการปฏิบัติ หากเชอ่ื มนั่ วา่ การกระทำตา่ ง ๆ ยอ่ มมี ผลและผลที่เกิดขึน้ ย่อมมาจากการกระทำน้ันแล้ว จะทำให้มีความชัดเจนในแนวทาง ประกอบกับการมีวิธีคิดอย่าง เปน็ ระบบทเ่ี ชื่อมโยงหรือมีความสัมพันธ์ต่อกันดว้ ยการใช้ปัญญาเปน็ ตวั ขับเคลอ่ื นในการเรียนรูจ้ ากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ จะทำให้เกษตรกรมปี ระสิทธภิ าพอยา่ งดยี ่ิง 3. มีภูมิคุ้มกันตัวเองที่ดี การผลิตพืชในแต่ละครั้ง จนถึงวาระการเก็บเกี่ยวผลผลิต เกษตรกรมักประสบ ปัญหาหลาย ๆ อย่าง เช่น ปัญหาปัจจัยการผลิตสูงขึ้นปัญหาราคาผลผลิตตกต่ำ ปัญหาสภาพภูมิอากาศดังนั้นการ เตรียมตัวเตรียมความพร้อมต่อผลกระทบหรือการเปลีย่ นแปลงในด้านต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น ต้องมีการคาดการ การ วางแผนด้วยความไม่ประมาท เราอาศัยอย่ใู นโลกของความไมแ่ น่นอน ตอ้ งเผชญิ กบั สิ่งทไ่ี มค่ าดคดิ อยเู่ สมอ สิ่งเดียวท่ี คาดเดาได้ว่าจะตอ้ งเกิดขึ้นอย่างแน่นอนก็คือสิ่งท่ีไม่คาดคิด ดังนั้นสิ่งท่ีทำไดค้ ือเลือกทีจ่ ะรอให้มันเกิดขึ้นก่อนแลว้ ค่อยตอบสนอง หรือไม่ก็เลือกที่จะเตรียมพร้อมก่อนที่มันจะเกิดขึ้นด้วยการสร้างกันชนขึ้นมา“กันชน” เป็นสิ่งที่

20 ปอ้ งกันไมใ่ หส้ องสิง่ มากระทบกนั และเปน็ อันตรายต่อกันการวางแผนเพอ่ื เตรยี มพรอ้ มรับมือกับปัญหาท่ีอาจเกิดขึ้น ถอื เป็นการสร้างภูมคิ ุ้นกนั ทดี่ ี(Greg McKeown,2018) การมภี มู คิ ุ้นกนั ตัวเองท่ีดีเป็นไปตามหลักการพึ่งตนเอง ตาม พุทธภาษิตทว่ี า่ “อตฺตาหอิ ตฺตโน นาโถ” ความว่า ตนแลเปน็ ทีพ่ งึ่ แห่งตน การจะพงึ่ ตนเองไดน้ ัน้ ต้องพัฒนาตนเองให้ มีความพรอ้ มตามหลักสัมมาอาชวี ะ คอื การประกอบกจิ การงานเลยี้ งชพี การเกบ็ รักษาทรัพย์สมบัติท่หี ามาได้ และ การรู้จักใช้จ่ายทรัพย์ที่หามาได้อย่างมีเหตุมีผล หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาอาชีวะ การเลี้ยงชีพชอบ มีความ ขยันหม่ันเพียรในการประกอบอาชพี ท่สี จุ รติ มีข้อสงั เกต 3 ประการ มีเปา้ หมายตอ่ การประกอบอาชีพ โดยมงุ่ เนน้ ไป ท่คี วามตอ้ งการแห่งชวี ิตใหม้ ีปัจจยั 4 พอเพยี งทจี่ ะยงั ชวี ติ อยไู่ ด้ มิใช่ตง้ั เปา้ หมายถึงการมวี ัตถพุ ร่ังพร้อมการมีปัจจัย 4 ที่เพียงพอต่อการมีชีวิตแล้วก็มิใช่จุดหมายแต่เป็นเพียงขั้นตอนหนึ่งที่จะก้าวไปให้ถึงการพัฒนาคุณภาพจิตและ พฒั นาปญั ญาเพอื่ การมชี ีวิตที่ดงี ามย่งิ ขึ้นไป 4. มีเงื่อนไขด้านความรู้ เกษตรกรย่อมรู้อย่แู ลว้ ว่าความรู้เปน็ สง่ิ จำเปน็ ตอ่ การดำเนนิ ชวี ิตตามครรลองของ อาชพี หากไม่มีความร้ตู ่อดนิ พืช สภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดลอ้ มที่เกย่ี วข้อง ย่อมทำใหก้ ารปลูกพืชไม่ได้รับผลที่ดี เท่าทค่ี วร ในทางตรงข้ามหากมีความรดู้ แี ล้ว การปลูกพชื ก็จะให้ผลดดี ้วยเช่นกนั ดงั นัน้ เกษตรกรต้องฝกึ ฝนเรียนรู้ต่อ แนวทางทถ่ี ูกต้องอยเู่ สมอ เหตุวา่ มนษุ ยม์ ีความพเิ ศษมากกวา่ สัตว์ ซ่ึงสัตวม์ ชี ีวติ อย่ไู ด้โดยสัญชาตญาณ ไม่ตอ้ งฝึกฝน เรียนรูห้ รอื ฝกึ ฝนแต่เพียงน้อยนิดก็ดำรงชวี ิตอย่ไู ด้ ต่างจากมนุษย์ที่ต้องฝกึ ฝน ถา้ ไมฝ่ กึ ฝนไม่ฝึกหัดพัฒนาแล้วจะไม่ สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ไม่สามารถมีชีวิตที่ดีงามได้ ดังนั้นมนุษย์ตอ้ งดำเนินชีวิตด้วยการเรียนรูท้ ี่เรียกวา่ “สิกขา” (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), 2555) ที่ทำให้มนษุ ย์มีความสามารถมากก็คือสติปัญญาทีย่ ิ่งใหญ่ เต็มไปด้วย ความอยากรู้อยากเห็น หากแตถ่ ้ามจี ติ ใจหลงผดิ สำคญั ผิด น่ันจะเปน็ อปุ สรรคขัดขวางความก้าวหน้าท่ีแท้จริง ถูกชัก นำไปสู่ทัศนะชีวิตแบบนอกรีตได้(ลีโอ ตอลสตอย, 2556) เหตุนี้การศึกษาเพื่อการเรียนรู้ให้มีความรู้จึงสำคัญต่อ ความสำเร็จของเกษตรกร เชน่ เดียวกบั นกั เรียน นักศกึ ษา ที่จะตอ้ งคน้ คว้าศกึ ษาเลา่ เรียนเพ่ือมีหลักการที่ควรรู้และ นำหลกั การดงั กล่าวไปประพฤตปิ ฏบิ ัติ จงึ จะมคี วามเปน็ นกั การเกษตรโดยสมบูรณ์ 5. มีเงื่อนไขดา้ นคณุ ธรรม หลกั คณุ ธรรมในพระพุทธศาสนาย่อมสำคญั กับทกุ คนแต่หากจำเพาะเกษตรกรที่ ยึดแนวทางการทำเกษตรที่สอดคล้องตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่จะต้องมีความซื่อสัตย์สุจริต รู้จักการ เอื้อเฟื้อ แบ่งปัน มีความอดทน ใช้สติปัญญา เพื่อให้ชีวิตดำเนินไปตามแนวทางของพุทธศาสนานั้นแล้ว ห ลัก คุณธรรมตามความหมาย “ธรรมะ” มีหลายความหมายแต่ถ้าถือเพียงใจความสำคัญ ธรรมะก็คือหน้าที่ การได้ทำ หนา้ ทอ่ี ยา่ งถกู ต้องแกส่ ถานะภาพของตน เปน็ ผ้ปู ฏบิ ตั ิตามกฎของธรรมชาติเพอ่ื ใหเ้ กิดความสุขสนั ติในทกุ โอกาสและ สถานท่ี กค็ ือการปฏบิ ัติธรรม (พทุ ธทาส, 2547) หลักธรรมทางพระพุทธสาสนา ทง้ั ในสว่ นของความจริงแหง่ ชีวิตและ โลกทีเ่ รียกวา่ สจั ธรรม และทั้งในสว่ นของแนวทางการปฏิบตั ิตนของบคุ คลในสังคมที่เรยี กวา่ จรยิ ธรรมล้วนเปน็ ไปเพ่ือ สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความสงบสุขและมีชีวิตทีด่ ีงามทั้งส้นิ หากเมอ่ื ธรรมได้รบั การปฏิบัตอิ ย่างถูกต้อง (พระไพศาล วิสาโล, 2553) มีการประสานกันครบองค์ เป็นระบบท่ีมีดุลยภาพ ผลดีก็ย่อมเกิดขึน้ แก่ทุกสว่ นที่เกี่ยวข้อง ไม่ว่าชวี ติ สังคม และธรรมชาตแิ วดลอ้ มอยา่ งกลมกลนื และเกอื้ กลู กัน (พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), 2555) เกษตรกรซ่ึงอยกู่ ับ ดิน น้ำ ป่า ตน้ ไม้ ฯลฯ มหี นา้ ทีอ่ ยูท่ า่ มกลางธรรมชาตทิ ำใหไ้ ดร้ บั พลงั บริสทุ ธิ์ รสู้ กึ ไดถ้ งึ ความสดชนื่ มีจิตใจโอบอ้อม อ่อนโยน มีความคิดเป็นระบบจากพลงั ธรรมชาตินี้ แม้พระพุทธเจ้ายังทรงตรสั รู้ท่ามกลางธรรมชาติ ธรรมที่ยึดเปน็ หลักในการดำเนินชีวิตก็มีอยู่แล้วโดยธรรมชาติ(พรผจง เลาหวิเชียร, 2548) พระพุทธเจ้าไม่ใช่เจ้าของธรรม ใครก็ เข้าถงึ ธรรมได้ ธรรมเปน็ ของกลางทม่ี อี ยู่ พระพทุ ธองค์ทรงค้นพบและนำมาส่งั สอน เป็นสง่ิ ท่ีมคี ่า ป้องกันบคุ คลไม่ให้

21 ประพฤติตนไปในทางท่ีผิด กีดกั้นไม่ให้กระทำบาป และนำไปสูก่ ารปฏิบตั ทิ ี่สงบสันติ(พระราชวรมนุ ี (ประยรู ธมฺมจิตฺ โต), 2541) สรุป การทำเกษตรในระบบเกษตรกระแสหลักของเกษตรกรที่ผลิตเพื่อการจำหน่าย มีความเข้มข้นในแง่ ของการใช้สารเคมี สารกำจัดศัตรูพืช ซึ่งส่งผลอันตรายต่อสุขภาพ และนำไปสู่การสูญเสียความหลากหลายทาง ชีวภาพ การทำเกษตรไม่ว่าจะทำการเกษตรในรูปแบบใดโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเกษตรทางเลือก เช่น วนเกษตร เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหมเ่ กษตรอินทรยี ์ และเกษตรกรรมธรรมชาติ จำเปน็ ท่จี ะตอ้ งมคี ุณธรรม ซง่ึ เป็นฐาน สำคญั ในการปฏิบัติให้เหมาะสมกบั อาชพี ตวั อยา่ งคุณธรรมของเกษตรกร ทส่ี ำคัญ เช่น ความประหยดั ความซื่อสัตย์ ความพอเพียง ความมีน้ำใจ การช่วยเหลือเกื้อกูล การพึ่งตนเอง ความขยันหมั่นเพียร เป็นต้น การทำการเกษตร อย่างมีคุณธรรมต้องไม่เอาเปรียบตนเองและผู้อื่น เช่นการทำเกษตรปลอดภัยตามมาตรฐาน GPA (Good Agricultural Practices) และการทำเกษตรอินทรีย์ (Organic farming) ที่หลีกเลี่ยงหรืองดการใช้สารเคมีในการ ผลติ พืชผลทางการเกษตร คำนงึ ถงึ ความปลอดภัยของตัวเกษตรกร ผ้บู ริโภค และส่ิงแวดล้อม ไปจนถงึ การค้าขาย พืชผลทางการเกษตรในราคายุติธรรม ไม่เอาเปรียบลูกค้าการเกษตรตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ จึงตอบ โจทย์สำหรับทางเลอื กที่เหมาะสมต่อระบบนเิ วศ ซ่ึงจะเพม่ิ พนู รายไดใ้ ห้เกษตรกร นำไปสกู่ ารลดความยากจนลง ด้วย การเกษตรที่ให้ผลลัพธ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่ดี ให้ผลผลิตที่สม่ำเสมอ ลดการเกิดโรค โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคที่เกดิ จาก การใช้สารเคมี และมีสารเคมีตกค้างในร่างกาย เป็นต้น ดังนั้น เมื่อเกษตรกรมีเป้าหมายท่ีชัดเจน ต่อการแก้ปัญหา ชวี ติ เพ่ือใหเ้ กดิ ผลดีตอ่ ตนเองและครอบครัวการใช้หลักธรรมในพระพทุ ธศาสนาเป็นแนวปฏิบตั ิ ยดึ ถือให้เป็นระบบ เกษตรกรรมแบบพงึ่ ตนเอง มีการจัดการที่ดีตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว รัชกาลที่ 9 ก็จะนำพาชีวิตไปสู่จุดหมายทีส่ ำคญั ดว้ ยความย่งั ยนื ในอาชพี เชน่ เดยี วกับเกษตรกรท่ีประสบความสำเร็จ แลว้ ในหลาย ๆ คน ซึ่งนำหลักธรรมตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ใชใ้ นชีวิต เอกสารอ้างอิง วิกมล ดำด้วงโรม. (2566) หลกั ธรรมในพระพุทธศาสนาสำหรบั เกษตรกรภายใต้ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง*

22 ใบความรทู้ ี่ 3 เรอ่ื งบญั ชคี รัวเรือนบันทกึ เพ่อื วางแผนอนาคต จดแล้วไมจ่ น จากสภาวะสงั คมปัจจุบันท่ีเต็มไปด้วยกระแสวตั ถุนิยม และความฟุม่ เฟอื ย ฟุ้งเฟ้อ จนทำให้คนไทยหลง เดนิ ทางผดิ ไปตามกระแสนยิ มจนกลายเป็นปัญหา โดยเฉพาะปัญหาหนส้ี ินทีไ่ มม่ วี ันจบสนิ้ อย่างไรกต็ ามคนไทยยังมี ทางออก ซึ่งการจะดำรงชวี ิตใหอ้ ยู่รอดภายใต้สังคมในปัจจบุ ัน แนวทางหนึง่ ท่ีประชาชนไทยควรยดึ ถือคอื การ พง่ึ ตนเอง รจู้ ักความพอประมาณ และไม่ประมาทตามแนวปรชั ญา “เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระ เจา้ อย่หู วั ท่ีทรงมองเหน็ ถงึ ความสำคญั ของการสร้างภูมิคมุ้ กนั ให้กับตัวเอง รจู้ ักความพอมีพอกินพอมีพอใช้ คำนึงถงึ หลกั เหตุผลและการประมาณตนเอง พรอ้ มกับทรงเตือนสตปิ ระชาชนคนไทยไมใ่ หป้ ระมาท โดยเฉพาะการใช้ จ่ายเงนิ อันเปน็ ปัจจยั สำคัญในการดำเนินชีวติ การทำบญั ชี คือ การจดบันทึก ข้อมูลเกี่ยวกับเง่อื นไขปจั จยั ในการดำรงชวี ติ ของตัวเอง และภายในครอบครัว ชมุ ชน รวมถงึ ประเทศ ขอ้ มูลที่ได้จากการบันทึกจะเป็นตวั บ่งช้อี ดีตปัจจุบนั และอนาคตของชีวิตของตวั เอง สามารถ นำข้อมลู อดตี มาบอกปจั จุบนั และอนาคตได้ ขอ้ มูลทีไ่ ด้ ที่บันทึกไว้ จะเป็นประโยชน์ตอ่ การวางแผนชวี ิตและ กิจกรรมต่าง ๆ ในชวี ติ ในครอบครวั ในประเทศได้ บญั ชีครวั เรอื น มไิ ดห้ มายถงึ การทำบัญชหี รอื บนั ทึกรายรับรายจ่ายประจำวันเท่านนั้ แตอ่ าจหมายถงึ การ บันทกึ ขอ้ มลู ด้านอืน่ ๆ ในชวี ติ ในครอบครวั ของเราไดด้ ว้ ย เช่น บญั ชีทรัพย์สนิ พันธุ์พชื พันธ์ไุ ม้ ในบา้ นเราใน ชมุ ชนเรา บัญชีความรู้ความคิดของเรา บัญชีผูท้ รงคณุ ผู้รใู้ นชุมชนเรา บญั ชีเดก็ และเยาวชนถือเป็นภมู ปิ ัญญาบญั ชี ดา้ นต่าง ๆ ของเรา เปน็ ต้น หมายความวา่ สิ่งหรอื เร่ืองราวต่าง ๆ ในชวี ติ ของเรา เราจดบนั ทึกได้ทกุ เรือ่ ง หาก ประชาชนทุกคนจดบนั ทึกจะมปี ระโยชนต์ ่อตนเอง ครอบครวั ชมุ ชนและประเทศ จะเป็นแหล่งเรียนรู้ ครอบครัว เรียนรู้ ชมุ ชนเรยี นรู้ และประเทศเรียนรู้ การเรียนรูเ้ ป็นท่ีมาของปญั ญา ปญั ญาเปน็ ที่มาของความเจริญท้งั กาย สงั คม ใจ และจิตวิญญาณของมนุษย์จะเหน็ วา่ การทำบญั ชี หรอื การจดบันทกึ นี้สำคัญย่ิงใหญ่มาก บุคคลสำคญั ใน ประเทศหลายทา่ นเป็นตัวอยา่ งท่ีดีของการจดบนั ทกึ เช่น ท่านพทุ ธทาส ในหลวง และสมเด็จพระเทพ ล้วนเป็นนกั บนั ทกึ ทั้งสน้ิ การบนั ทกึ คอื การเขียน เมือ่ มีการเขียนย่อมมกี ารคิด เมื่อมกี ารคิดย่อมก่อปัญญา แก้ไขปัญหาได้โดย ใชเ้ หตุผลวิเคราะห์พจิ ารณา ได้ถูกต้อง นน่ั คอื ทางเจริญของมนษุ ย์ การทำบญั ชคี รวั เรอื นในด้านเศรษฐกิจ หรือการบนั ทึกรายรับรายจา่ ยที่ทางราชการพยายามส่งเสริมให้ ประชาชนไดท้ ำกนั นั้น ก็เป็นเร่อื งการบนั ทึกรายรบั รายจา่ ยประจำวันประจำเดอื นวา่ มีรายรบั จากแหลง่ ใดบา้ ง จำนวนเท่าใดมรี ายจ่ายอะไรบ้าง จำนวนเท่าใด ในแตล่ ะวัน สัปดาห์ เดือน และ ปี เพือ่ จะไดเ้ หน็ ภาพรวมว่าตนเอง และครอบครวั มีรายรบั เท่าใด รายจา่ ยเทา่ ใด คงเหลอื เท่าใด หรือเงินไมพ่ อใชเ้ ทา่ ใด คือ รายจ่ายมากกว่ารายรับ และสำรวจวา่ รายการใดจา่ ยนอ้ ยจ่ายมาก จำเปน็ น้อยจำเปน็ มาก จำเปน็ นอ้ ย อาจลดลง จ่ายเฉพาะท่ีจำเป็นมาก เช่น ซอ้ื กับข้าว ซือ้ ยา ซอ้ื เสือ้ ผ้า ซ่อมแซมบ้าน การศกึ ษา เป็นตน้ สว่ นรายจา่ ยที่ไม่จำเป็นใหล้ ด ละ เลิก เชน่ ซื้อ บหุ รี่ ซอื้ เหล้า เล่นการพนันเปน็ ตน้ เมือ่ นำรายรบั รายจา่ ย มาบวกลบกนั แลว้ ขาดดุลเกนิ ดุลไปเท่าใด เมอ่ื เห็นตัวเลข จะทำให้เราคิดไดว้ า่ สิ่งไมจ่ ำเป็นน้ันมีมากหรือนอ้ ยสามารถลดได้หรือไม่ เลิกไดไ้ หม ถา้ ไมล่ ดไมเ่ ลิกจะ เกดิ อะไร กับตวั เอง ครอบครัว ชมุ ชนและประเทศ หากเราวางแผนการรับการจ่ายเงนิ ของตนเองได้ เท่ากับว่ารู้จัก ความเป็นคนไดพ้ ัฒนาตนเองให้เป็นคนมีเหตมุ ผี ล เปน็ คนรู้จกั พอประมาณ เป็นคนรักตนเอง รกั ครอบครวั รกั ชุมชน และรักประเทศชาตมิ ากขึ้นจะเห็นได้วา่ การทำบัญชีครัวเรอื น ในเรอื่ งรายรับรายจ่าย กค็ ือวถิ ีแห่งการเรยี นรู้เพ่ือ

23 พัฒนาชีวิต ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง น่ันเอง เพราะปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งเพราะว่าคือ ปรัชญาชีวติ ท่ี ถูกต้องเหมาะสม พอดี สอดคลอ้ งถูกตอ้ งตามกฎธรรมชาตทิ มี่ ที งั้ ความเป็นเอกภาพและดลุ ยภาพอยู่เสมอ การทำบัญชีครวั เรอื นเป็นการจดบันทกึ รายรับรายจา่ ยประจำวนั ของครัวเรอื น และสามารถนำข้อมูลมา วางแผนการใช้จ่ายเงินในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ทำให้เกิดการออม การใชจ้ ่ายเงินอย่างประหยัดคมุ้ ค่า ไม่ ฟุม่ เฟอื ยดงั นัน้ การทำบญั ชีครัวเรือนมีความสำคญั ดังน้ี 1. ทำให้ตนเองและครอบครวั ทราบรายรบั รายจ่าย หนี้สนิ และเงนิ คงเหลอื ในแต่ละวนั รายรบั หรอื รายได้ คือ เงิน หรอื สินทรพั ย์ท่ีวดั มูลค่าได้ ทีไ่ ด้รบั จากการประกอบอาชีพ หรือผลตอบแทนที่ ไดร้ บั จากการให้ผ้อู ่ืนใช้สินทรพั ย์ หรอื ผลตอบแทนจากการลงทนุ ในรูปแบบต่างๆ เชน่ รายไดจ้ ากค่าจ้างแรงงาน เงินเดอื นดอกเบีย้ รบั จากเงนิ ฝากธนาคาร หรอื จากเงินให้ก้ยู ืม รายไดจ้ ากการขายสินค้าหรอื บริการ เปน็ ต้น รายจา่ ย หรือ คา่ ใช้จา่ ย คือ คือ เงนิ หรอื สินทรัพยท์ ว่ี ดั มูลค่าได้ ที่จ่ายออกไปเพอื่ ใหไ้ ด้สง่ิ ตอบแทนกลับมา สงิ่ ตอบแทนอาจเป็นสินค้าหรือบรกิ าร เช่น คา่ อาหาร ค่านำ้ คา่ ไฟฟ้า (ค่าสาธารณูปโภค) คา่ น้ำมนั คา่ หนังสือตำรา เป็นต้นหรือรายจา่ ย อาจไมไ่ ดร้ บั สิ่งตอบแทน คอื สินค้าหรือบรกิ ารก็ได้ เชน่ เงนิ บรจิ าคเพ่ือการกุศล เงินทำบญุ ทอดกฐนิ ทอดผา้ ป่า เป็นตน้ หนส้ี ิน คอื ภาระผกู พันท่ีต้องชดใชค้ ืนในอนาคต การชดใช้อาจจ่ายเป็นเงินหรือของมีค่าท่ีครอบครัวหรือ ตนเองมีอยู่ หนส้ี ินเป็น เงินหรือส่ิงของท่มี ีค่าทีค่ รอบครัวหรอื ตนเองได้รับมาจากบคุ คลหรอื แหลง่ เงนิ ภายนอก เชน่ การกูย้ มื เงินจากเพอ่ื นบา้ น การก้ยู ืมเงนิ จากกองทนุ ตา่ งๆ การซื้อสินค้าหรอื บริการเปน็ เงนิ เชื่อการซ้อื สนิ ทรัพยเ์ ปน็ เงนิ ผ่อนชำระ หรอื การเชา่ ซอื้ เปน็ ต้น เงินคงเหลือ คือเงิน หรือ ทรัพย์สินทีว่ ัดมูลค่าได้ หลังจากนำรายรับลบดว้ ย รายจ่ายแล้วปรากฏรายรบั มากกวา่ รายจ่ายจะทำใหม้ เี งนิ คงเหลอื หรอื ในหลักทางบัญชเี รยี กว่า กำไรแตห่ าก หลงั จากนำรายรบั ลบดว้ ยรายจา่ ยแล้วปรากฏว่ารายจา่ ยมากกวา่ รายรบั จะทำให้เงนิ คงเหลือตดิ ลบหรือทางบญั ชี เรียกว่าขาดทนุ 2. นำขอ้ มลู การใช้จา่ ยเงินภายในครอบครวั มาจดั เรยี งลำดับความสำคญั ของรายจ่าย และวางแผนการใช้ จา่ ยเงนิ โดยพจิ ารณาแต่ละรายการในแต่ละวนั มรี ายจ่ายใดทีม่ คี วามสำคญั มาก และรายจ่ายใดไม่จำเปน็ ใหต้ ัดออก เพื่อใหก้ ารใช้จ่ายเงินภายในครอบครัวมพี อใช้และเหลือเกบ็ เพอื่ การออมทรพั ย์สำหรับใชจ้ า่ ยส่ิงทจี่ ำเป็นในอนาคต บญั ชคี รัวเรือนถือเป็นสว่ นสำคญั ในการปฏบิ ตั ิตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง โดยยดึ หลกั 3 ข้อคือ การพอประมาณ ถ้า รรู้ ายรบั รายจา่ ยก็จะใชแ้ บบพอประมาณ แต่ มีเหตุผล รวู้ า่ รายจา่ ยใดจำเปน็ ไมจ่ ำเปน็ และเมอ่ื เหลือจากใช้จา่ ยก็ เกบ็ ออม นนั่ คอื ภมู ิคมุ้ กนั ที่เอาไวค้ ุ้มกันตวั เราและครอบครวั บญั ชคี รวั เรอื นสามารถจดั ได้หมด จงึ นบั วา่ มีประโยชน์ มาก ขอ้ ควรระวงั ในการจัดทำบญั ชีครวั เรอื น คอื ลมื บันทึกบญั ชี ทำให้ขาดความต่อเนอ่ื งใน การบนั ทกึ และ สง่ ผลใหไ้ ม่อยากบนั ทกึ ผู้จัดทำเข้าใจผิดในรายการบัญชี ไม่เขา้ ใจรายการท่ีเปน็ รายรับ จงึ ไมไ่ ดบ้ ันทึกบญั ชี เช่น ลูก สง่ เงินมาใหพ้ อ่ แม่สำหรับใชจ้ า่ ยทกุ วนั สิน้ เดือน แต่พอ่ แมไ่ ม่ไดบ้ นั ทึกบญั ชีรายรับเน่ืองจากเขา้ ใจว่าเงินทีไ่ ด้รับมาน้นั มิไดเ้ กดิ จากการประกอบอาชีพของตนเองหรอื เข้าใจผิดรายการหนีส้ ินแตบ่ ันทึกว่าเปน็ รายรบั ทำให้มิได้เก็บเงินไว้ สำหรับจ่ายชำระหนีใ้ นอนาคต เช่น ยมื เงินจากเพื่อนบา้ นมาใช้จ่ายภายในครอบครัว ถงึ แมจ้ ะไดร้ ับเงินมาแต่ รายการดงั กล่าวไม่ถอื ว่าเปน็ รายรบั เนื่องจากตนเองมีภาระผกู พันท่ตี ้องชดใช้ในอนาคต ซ่งึ อาจต้องชดใชเ้ งินตน้ พรอ้ มด้วยดอกเบ้ยี ด้วย จากสาเหตุดงั กล่าวอาจทำใหค้ รอบครัววางแผนการใช้จ่ายเงนิ ผดิ พลาด

24 สว่ นขอ้ ผิดพลาดอกี ประการหน่งึ คอื การเขยี นชื่อรายการผดิ การบันทกึ ตวั เลขผดิ การบวกหรอื การลบ จำนวนเงนิ ผดิ อาจเกิดจากการลืมจดบันทกึ รายการบญั ชี หรือบนั ทกึ รายการซ้ำ ๆ กันหลายรายการ ปญั หาดงั กล่าว แก้ไขโดยการคำนวณจำนวนเงนิ กระทบยอดเงินคงเหลอื ในบัญชีกบั ยอดเงนิ ฝากธนาคารท่ีครอบครวั มีอยูจ่ ริง หรอื ยอดเงินท่ีเก็บไว้สำหรบั ใช้จ่ายจรงิ หากพบวา่ ยอดเงินคงเหลือในบญั ชีเท่ากบั ยอดเงินคงเหลือในบญั ชเี งินฝาก ธนาคาร แสดงว่าการจัดทำบัญชีถกู ต้อง แตห่ ากกระทบยอดแลว้ ยอดเงนิ ทั้งสองไมเ่ ท่ากนั อาจเกดิ จากการบันทึก บัญชีผดิ พลาด หรอื เงนิ สดของครอบครัวสูญหาย การจดบันทึกเปน็ สงิ่ ท่ีสำคญั และจำเปน็ มากสำหรับการดำรงชวี ติ ในปจั จบุ ัน การวางแผนการใชจ้ า่ ยเงนิ ใหเ้ หมาะสมระหวา่ งรายรบั และรายจ่ายครอบครัวต้องมีรายรับมากกว่ารายจ่าย หากพบว่ารายรับน้อยกวา่ รายจ่ายต้องหาแนวทางนำเงินมาใช้จ่ายให้เพยี งพอ โดยอาจต้องกูย้ มื เงนิ มาใชจ้ ่าย แตก่ ารกยู้ มื เงินไมใ่ ชแ่ นวทางแกไ้ ขปัญหาดังกล่าวได้ เพยี งแตช่ ่วยใหก้ ารใชจ้ ่ายมสี ภาพคลอ่ งช่ัวขณะเทา่ นน้ั และใน ระยะยาวยงั ส่งผลให้ครอบครวั มภี าระหนส้ี ินจำนวนมากท้งั เงนิ ตน้ และดอกเบ้ียซง่ึ จะเพิม่ จำนวนมากขึน้ ตาม ระยะเวลาทีย่ าวนานในการกูย้ ืมเงนิ เป็นปญั หาทีแ่ กไ้ ขไดย้ าก สำหรับการแก้ไขปญั หาการขาดสภาพคล่องในการใช้ จา่ ยเงนิ หรือปัญหารายรบั ไมเ่ พยี งพอกับรายจา่ ยนน้ั มีแนวทางดังน้ี 1. การตดั รายจ่ายท่ไี ม่จำเป็นออก เพอ่ื ลดภาระการจ่ายเงินออกจากครอบครัว เชน่ รายจ่ายเกยี่ วกับการ พนัน สงิ่ เสพตดิ ของมนึ เมา รายจา่ ยฟ่มุ เฟือยเปน็ ต้น เปน็ การสรา้ งนิสยั มใิ หใ้ ช้จ่ายฟุ่มเฟอื ย 2. การลดรายจ่ายท่จี ำเป็นลง เพอ่ื สรา้ งนสิ ยั การประหยดั อดออม การใช้ทรพั ยากรทมี่ อี ยจู่ ำกัดอยา่ งคุ้มค่า เชน่ การปลกู ผัก ผลไม้ไว้รบั ประทานเองเพอ่ื ช่วยลดคา่ อาหาร และค่าเดนิ ทางไปตลาด อกี ทัง้ ทำให้สขุ ภาพดอี กี ดว้ ย ลดการใช้นำ้ มันเชื้อเพลงิ แลว้ หนั มาออกกำลังกายโดยการป่ันจกั รยาน หรือการเดนิ การวงิ่ แทนการขบั รถจักรยานยนต์ หรือรถยนต์ เป็นต้น 3. การเพมิ่ รายรับ หารายได้เสรมิ นอกเวลาทำงานปกติ เช่น การใชเ้ วลาวา่ งรบั จา้ งตดั เย็บเสอ้ื ผา้ การขาย อาหารหลังเลกิ งาน การปลูกผกั หรือเลีย้ งสัตวไ์ วข้ าย เปน็ ตน้ 4. การทำความเข้าใจกนั ภายในครอบครัวเพื่อให้ทกุ คนรว่ มมือกันประหยดั รู้จกั อดออม การใช้ทรพั ยากรตา่ งๆ ลด ละ เลิก รายจา่ ยหรอื ส่งิ ทไ่ี ม่จำเปน็ และช่วยกันสรา้ งรายรบั ใหเ้ พียงพอ เหมาะสมกับเศรษฐกิจปัจจบุ ัน การจดั ทำบัญชีครวั เรือน หรือ บญั ชีรายรบั รายจ่ายนี้ ไม่ใช่เปน็ แตเ่ พียงการจดบันทึกรายการตา่ ง ๆ ท่เี ป็นเงิน เท่านนั้ แต่ยังเปน็ การสรา้ งความสามคั คีภายในครอบครวั ร้จู ักช่วยเหลือแบง่ ปนั กนั ในสังคม มีการเรียนรซู้ ึ่งกันและ กนั ซง่ึ เกดิ จากประสบการณต์ า่ ง ๆ ทไี่ ดร้ บั จากการจดบันทกึ ข้อมูลท่เี ป็นประโยชนท์ ำใหป้ ระชาชนทุกคนรูจ้ กั การ บริหารจดั การดา้ นการเงนิ และการวางแผนการทำงานทุกอยา่ งเพ่ือให้บรรลเุ ป้าหมายได้ การทำบัญชีครัวเรอื นทำให้ ครอบครัวมีความสุขใช้ชีวติ โดยยดึ หลกั ความพอเพยี ง มเี หตุมผี ล รู้จักพง่ึ พาตนเอง มคี วามพอประมาณ การเงนิ มี สภาพคล่อง รู้จักการเกบ็ ออม ทกุ คนรู้ถงึ แหลง่ ที่มาของรายรบั และการใชไ้ ปของค่าใชจ้ ่ายในแต่ละวันสามารถนำ ข้อมูลการใช้จ่ายมาวางแผนบรหิ ารการเงินในอนาคตได้ เอกสารอา้ งองิ กรมตรวจบญั ชีสหกรณ.์ ชอ่ื รายการ คลน่ื เกษตรกร.ช่ือตอน บัญชคี รัวเรือนบันทึกเพอื่ วางแผนอนาคต จดแลว้ ไม่จน.(2566) https://www.cad.go.th/cadweb_org/ewt_news.php?nid=9402

25 ใบความรู้ท่ี 4 เรือ่ งการแกป้ ัญหาชมุ ชนกับเศรษฐกจิ พอเพยี ง “หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง” กบั การแกไ้ ขปญั หาความเหลอ่ื มล้ำของสังคมไทย ปัญหาความเหลื่อมลำ้ ของสังคมไทยได้ฝงั รากลึกมายาวนาน โดยมีต้นตอมาจากระบบเศรษฐกิจแบบเสรี (ทนุ นิยม) ท่ีใช้เงินเป็นตวั ชวี้ ัด โดยคนมีเงนิ มโี อกาสและอำนาจมากกว่า ทำใหค้ นจนและคนมีความรูน้ อ้ ยกว่าถูกเอา รัดเอาเปรียบ อกี ทงั้ ระบบภาษีทไ่ี มเ่ ปน็ ธรรมมีขอ้ ยกเว้น และเอื้อประโยชนใ์ หก้ บั คนรวยมากกวา่ คนจน รวมท้งั ระบบงบประมาณท่ลี ำเอียง โดยเปน็ ประโยชน์ตอ่ คนมีรายไดส้ ูงมากกว่าคนยากจน จึงยิง่ ทำใหค้ วามเหลอ่ื มล้ำของ สงั คมขยายฐานกว้างมากข้นึ ประเทศไทยยืนอยูท่ า่ มกลางความขดั แยง้ มากวา่ 10 ปี กด็ ว้ ยรากฐานของความเหลอ่ื มล้ำทางเศรษฐกิจ ท้งั นปี้ ญั หาด้านการเศรษฐกจิ ไมไ่ ดม้ เี ฉพาะดา้ นเศรษฐกิจเองเทา่ นน้ั ยงั เกยี่ วข้องกับดา้ นภมู ิศาสตร์ ด้านภาวะ ประชากร ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติ ด้านลักษณะประจำชาติ ดา้ นวทิ ยาศาสตรเ์ ทคโนโลยี การพลังงานและ ส่งิ แวดลอ้ ม ด้านความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเทศและการทูต รวมไปถงึ ดา้ นการศึกษา ซ่ึงปจั จัยเหล่านี้ได้ก่อตวั กลายเปน็ ปญั หาด้านการเมอื ง ด้านสังคมจิตวิทยา ดังทเ่ี หน็ ในปัจจุบนั ความเหลอ่ื มล้ำไดถ้ ูกหยบิ ยกขน้ึ เปน็ ประเดน็ ทีน่ ำไปสขู่ ้อเรยี กร้องทางการเมอื ง แมห้ ลายฝา่ ยจะยงั มี ความเหน็ ตา่ งกันว่าความขัดแย้งทางการเมืองในปัจจุบนั นัน้ มีผลมาจากความไมล่ งตวั ทางการเมอื ง แต่กเ็ ป็นท่ี ยอมรับกนั ว่าความเหลื่อมล้ำนั้นมีจรงิ และเกดิ ขนึ้ มาอย่างยาวนานในสังคมไทย ชอ่ งว่างระหว่างรายไดข้ องคนรวย กบั คนจนเป็นเหตุการณห์ น่ึงทีแ่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเหล่ือมล้ำในสงั คม ไม่วา่ จะเกดิ จากการขาดโอกาส ขาดสิทธิ ขาดทรพั ยากร หรอื ธรรมชาติไม่เขา้ ขา้ งก็ตาม จากการศกึ ษาและวิจัย พบวา่ หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงน้ันนบั เป็นแนวทางสำคญั ท่ีสามารถนำมา ประยุกตใ์ ช้ในการแกไ้ ขปญั หาความเหลือ่ มล้ำของสงั คมไทยใหเ้ หมาะสมกับสถานการณป์ ัจจบุ นั ได้ ท้ังน้ีหลกั ปรชั ญาฯ มีพื้นฐานอยบู่ นทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การ สร้างภมู ิคมุ้ กนั ทดี่ ใี นตัว ตลอดจนใชค้ วามรู้ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสนิ ใจและการ กระทำ ซ่งึ นบั เป็นแนวทางในการดำเนนิ ชีวิตของประชาชนอย่างพอเพยี งในทุกระดบั ตั้งแต่ระดับบุคคลและ ครอบครวั ระดับชุมชน ระดบั การดำเนินธุรกิจ จนถงึ ระดับประเทศ หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งน้นั ให้ความสำคญั ต้ังแตร่ ะดับบคุ คลและครอบครัว ไปจนถงึ ระดับประเทศ โดยมคี นหรือประชากร เป็นปัจจัยสำคญั ในการแกไ้ ขปญั หาความเหล่อื มล้ำของสงั คมไทย ผ่านกระบวนการปลูกฝงั ความรบั ผิดชอบหน้าที่ตอ่ ตนเอง ตอ่ ครอบครัว และตอ่ สังคม การรวมตัวกนั ของชุมชน ระหวา่ งชมุ ชน และกับ ชมุ ชนอนื่ ๆ ท่รี วมเรียกวา่ ภาคประชาสงั คมนนั้ นับเปน็ พลังใหม่ท่จี ะเขา้ มามีส่วนในการแบ่งปนั อำนาจรัฐจาก โครงสร้างอำนาจรฐั เดมิ ท่ีอยู่ในกลมุ่ ข้าราชการ ทหาร ตำรวจ นกั ธรุ กิจ และหากได้รับการสง่ เสรมิ ใหภ้ าคประชา สังคมมคี วามเขม้ แข็ง จะช่วยเปล่ียนสมการและแบ่งอำนาจในสังคมยคุ ใหม่ โดยจะก่อให้เกดิ แนวทางการพัฒนา เศรษฐกจิ ใหเ้ ติบโตอย่างมคี ณุ ภาพ ซงึ่ หมายถงึ การเตบิ โตอย่างมพี ลวตั มีเสถยี รภาพ มีความเป็นธรรมและมีสภาวะ ทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมท่ีย่ังยืนต่อไปในอนาคตได้ สำนกั งานคณะกรรมการพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ ไดส้ รุปกรอบแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพยี งไว้วา่ เปน็ ปรัชญาทชี่ ้ีแนะแนวทางการดำรงอยู่และปฏิบัตติ นในทางทค่ี วรจะเปน็ โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถชี ีวติ ด้งั เดิมของ

26 สังคมไทย สามารถนำมาประยุกต์ใชไ้ ด้ และเป็นการมองโลกเชิงระบบที่เปล่ียนแปลงอยตู่ ลอดเวลา มุ่งเน้นให้รอด พน้ จากภยั และวกิ ฤตเพ่อื ความมั่นคงและความยงั่ ยนื ของการพฒั นา ทกุ คนสามารถนำหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาเปน็ หลกั ปฏิบตั ใิ นการดำเนินชีวิตได้ ไมใ่ ชเ่ ฉพาะในหมคู่ นจนหรอื เกษตรกร โดยตอ้ ง “ระเบดิ จากข้าง ใน” คอื การเกดิ จิตสำนกึ มคี วามศรทั ธา เชือ่ มั่น เห็นคณุ ค่าและนำไปปฏิบัติด้วยตนเองแล้วจงึ ขยายไปสคู่ รอบครวั ชมุ ชน สังคม และประเทศชาตติ ่อไป 1.ความพอเพยี งระดับบุคคลและครอบครวั มุง่ เนน้ ใหบ้ ุคคลและครอบครัวอยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสขุ ท้งั ทางกายและทางใจ พงึ่ พาตนเองอย่างเต็มความสามารถ ไม่ทำอะไรเกนิ ตวั ดำเนนิ ชีวิตโดยไม่เบยี ดเบยี นตนเอง และผูอ้ ่ืน รวมถงึ ใฝ่รู้และมีการพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพื่อความมนั่ คงในอนาคตและเป็นท่ีพ่งึ ให้ผ้อู ื่นได้ใน ท่ีสดุ เชน่ หาปัจจยั สม่ี าเลี้ยงตนเองและครอบครวั จากการประกอบสมั มาชีพ รขู้ อ้ มูลรายรับ- รายจา่ ย ประหยัดแต่ ไม่ใชต่ ระหน่ี ลด-ละ-เลกิ อบายมุข สอนใหเ้ ดก็ ร้จู ักคณุ คา่ รู้จักใชร้ ้จู กั ออมเงนิ และส่งิ ของเคร่อื งใช้ ดูแลรกั ษา สุขภาพ รู้จกั การแบ่งปันกนั ในครอบครวั ชุมชน และสงั คมรอบขา้ ง รวมถงึ การรักษาวัฒนธรรม ประเพณี และการ อยรู่ ่วมกบั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ มได้อย่างเหมาะสม 2.ความพอเพียงระดบั ชุมชน มีการรวมกลุ่มกันทำประโยชน์เพ่อื ส่วนรวม ชว่ ยเหลอื เกอ้ื กูลกันภายใน ชุมชนบนหลักของความรรู้ กั สามัคคี สร้างเปน็ เครือข่ายเชอ่ื มโยงกันทัง้ ในชมุ ชนและนอกชุมชน ทัง้ ด้านเศรษฐกจิ สังคมทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม เช่น การรวมกล่มุ อาชีพ องคก์ รการเงนิ สวสั ดกิ ารชุมชน การชว่ ยดูแล รักษาความสงบ ความสะอาด ความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย รวมทง้ั การใชภ้ ูมปิ ญั ญาท้องถ่ิน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ ส่ิงแวดลอ้ มในชุมชนมาสร้างประโยชน์ได้อยา่ งเหมาะสม เพอื่ สร้างเสริมชมุ ชนใหม้ ีความเข้มแขง็ และมีความเป็นอยู่ ทีพ่ อเพียง 3.ความพอเพียงในภาคธุรกจิ เอกชน เร่ิมจากความมงุ่ มนั่ ในการดำเนินธรุ กจิ ทหี่ วังผลประโยชน์ หรือ กำไรระยะยาวมากกวา่ ระยะสนั้ แสวงหาผลตอบแทนบนพน้ื ฐานของการแบ่งปัน มุ่งให้ทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องได้รบั ประโยชนอ์ ยา่ งเหมาะสมและเปน็ ธรรม ทั้งลกู คา้ คคู่ ้า ผ้ถู อื หุ้น และพนักงาน ดา้ นการขยายธรุ กิจตอ้ งทำอยา่ งคอ่ ย เปน็ คอ่ ยไป รวมท้งั ต้องมคี วามรู้และเข้าใจธุรกจิ ของตนเอง รู้จกั ลกู คา้ ศึกษาคู่แขง่ และเรยี นรูก้ ารตลาดอยา่ งถ่อง แท้ ผลติ ในส่งิ ท่ีถนัดและทำตามกำลงั สรา้ งเอกลักษณ์ทแ่ี ตกต่างและพฒั นาคุณภาพผลติ ภัณฑอ์ ยา่ งต่อเนื่อง มีการ เตรยี มพร้อมต่อการเปลีย่ นแปลงที่อาจเกดิ ข้ึน มคี วามซอื่ สัตย์ รับผิดชอบต่อสังคม และปอ้ งกนั ผลกระทบต่อ สง่ิ แวดล้อม ท่ีสำคัญต้องสรา้ งเสรมิ ความรู้และจดั สวสั ดิการให้แก่พนักงานอย่างเหมาะสม 4.ความพอเพยี งระดับประเทศ เป็นการบรหิ ารจัดการประเทศโดยการวางรากฐานให้ประชาชนสว่ นใหญ่ อยู่อย่างพอมีพอกินและพงึ่ ตนเองได้ มีความรู้ มีคุณธรรมในการดำเนินชีวิต มีการรวมกลุ่มของชุมชนหลายๆ แห่ง เพ่ือแลกเปล่ียนความรู้ สบื ทอดภมู ปิ ญั ญาและร่วมกันพฒั นาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งอย่างรู้รกั สามัคคี เสรมิ สรา้ งเครอื ขา่ ยเชือ่ มโยงระหว่างชมุ ชนใหเ้ กดิ เปน็ สังคมแหง่ ความพอเพียงในที่สุด “ หลักคดิ และแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงจึงเป็นส่ิงทีค่ นในยุคสมัยน้ี ควรได้เรยี นรู้และเข้าใจอยา่ งถ่องแท้ โดยละเอยี ด และนำไปประยกุ ต์ใช้ในทุกมติ ิ ตั้งแต่ระดับบุคคลไปจนถึงระดบั รฐั และถอื เป็นแนวทางหลักทีน่ ำมาใช้ ในการพฒั นาสงั คมไทยและลดปญั หาความเหลือ่ มล้ำ สังคมไทยจงึ จะสามารถฝ่าวิกฤตการณ์ทกุ อยา่ งที่กำลังเผชญิ อยไู่ ด้ “

27 เอกสารอ้างอิง สถาบันพอเพยี ง.(2566) “หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง” กบั การแก้ไขปญั หาความเหล่ือมลำ้ ของ สงั คมไทย https://www.porpeang.org/

28 ใบงานท่ี 1 เรือ่ ง ประวตั ิความเปน็ มาของเศรษฐกิจพอเพยี ง คำชี้แจง ให้นักเรียนเขยี นวเิ คราะหก์ ารเขียนหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงดงั ตอ่ ไปนี้ 1. หลกั ความพอประมาณ ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 2. หลกั ความมีเหตผุ ล ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 3. การมีภมู ิค้มุ กันในตวั ในตวั ท่ีดี ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 4. เงื่อนไขคณุ ธรรม ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 5. เง่อื นไขนำความรู้ ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

29 เกณฑ์ประเมนิ การวิเคราะห์การเขยี นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมนิ 16-20 เขยี นวเิ คราะห์ไดด้ ีมาก กำหนดประเด็นชัดเจน เรียบเรียงความคดิ เปน็ สำคัญและ ต่อเน่อื ง ไม่มขี ้อบกพร่องในการใชภ้ าษา 11-15 เขยี นวเิ คราะห์ได้ดีมาก กำหนดประเด็นชัดเจน แต่มีขอ้ บกพรอ่ งในการเรยี บเรยี ง ความคดิ 6-10 เขียนวิเคราะหไ์ ด้ แต่ยงั กำหนดประเดน็ ไม่ชดั เจนและมีข้อบกพร่องในการ เรียบ เรียงความคิดและการใช้ภาษา 5 เขยี นวเิ คราะหไ์ มไ่ ด้ ครูตอ้ งกำหนดประเดน็ ให้และอธบิ ายเพิม่ เตมิ จึงสามารถเขียน วเิ คราะหไ์ ด้

30 แนวการตอบ ใบงานที่ 1 วิเคราะหป์ ระวตั ิความเปน็ มาของเศรษฐกจิ พอเพียง ความพอประมาณ - มีความรู้และเข้าใจจากการสืบค้นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงอย่างลึกซึ้งเพือ่ ใชเ้ ปน็ ข้อมลู - จัดสรรเวลาในการสบื ค้นขอ้ มูลอยา่ งเหมาะสม - มีความรู้ความสามารถในการใช้ Internet เพ่ือการสบื ค้นขอ้ มูล อยา่ งเตม็ ความสามารถของตน ความมีเหตผุ ล - เห็นคณุ ค่าของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการนำไปพฒั นาชีวติ - เหน็ ความสำคัญในการนำมาใช้เป็นเครื่องมือสื่อสารในชีวิตประจำวนั - กำหนดเนือ้ หาท่ีมีเหตุผลและสามารถนำไปปฏบิ ตั ไิ ดจ้ ริง การมภี มู ิคุ้มกนั ในตัวท่ดี ี - มีความตระหนกั และร้จู กั ประยุกต์ใชป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการดำเนินชีวิตได้ เงือ่ นไขความรู้ - มีความรู้ในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง - มีความรใู้ นการประยกุ ต์ใชป้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดใ้ นการดำเนินชีวติ ไดอ้ ย่างยง่ั ยนื - ศกึ ษาหาความรเู้ พอ่ื พัฒนาตนเองอยเู่ สมอ เง่ือนไขคุณธรรม - ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น - ไมร่ บกวนการทำงานของผู้อืน่ - ไม่สอดแนม แก้ไข หรอื เปิดดแู ฟ้มข้อมูลของผูอ้ น่ื - ไม่ใช้คอมพวิ เตอรเ์ พ่อื การโจรกรรมข้อมลู ข่าวสาร - ไม่ใช้คอมพวิ เตอรส์ ร้างหลกั ฐานทเ่ี ป็นเท็จ

31 ใบงานท่ี 2 เร่อื ง ผสานหลกั ธรรมนำใจ พอใจในวถิ พี อเพยี ง คำชแ้ี จง จงยกตวั อย่างหลกั ธรรมภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งพร้อมความหมายตามหวั ข้อดังตอ่ ไปน้ี 1. ”ทิฏฐธมั มิกัตถะ”4 ประกาiมีอะไรบ้าง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2. จงยกตัวอย่างปญั หาทห่ี ย่งั รากลกึ ลงในชุมชน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................

32 เกณฑ์ประเมนิ การวิเคราะห์การเขยี นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมนิ 16-20 เขยี นวเิ คราะห์ไดด้ ีมาก กำหนดประเด็นชัดเจน เรียบเรียงความคดิ เปน็ สำคัญและ ต่อเน่อื ง ไม่มขี ้อบกพร่องในการใชภ้ าษา 11-15 เขยี นวเิ คราะห์ได้ดีมาก กำหนดประเด็นชัดเจน แต่มีขอ้ บกพรอ่ งในการเรยี บเรยี ง ความคดิ 6-10 เขียนวิเคราะหไ์ ด้ แต่ยงั กำหนดประเดน็ ไม่ชดั เจนและมีข้อบกพร่องในการ เรียบ เรียงความคิดและการใช้ภาษา 5 เขยี นวเิ คราะหไ์ มไ่ ด้ ครูตอ้ งกำหนดประเดน็ ให้และอธบิ ายเพิม่ เตมิ จึงสามารถเขียน วเิ คราะหไ์ ด้

33 แนวการตอบ ใบงานที่ 2 วเิ คราะหผ์ สานหลักธรรมนำใจ พอใจในวิถีพอเพยี ง คำชแ้ี จง จงยกตัวอยา่ งหลกั ธรรมภายใตห้ ลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงพรอ้ มความหมายตามหัวขอ้ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ”ทิฏฐธัมมกิ ัตถะ”4 ประการมอี ะไรบา้ ง 1. อฏุ ฐานสมั ปทา มีความขยนั หมน่ั เพยี ร รู้จกั ใช้ปัญญาจัดดำเนนิ กจิ การ 2. อารักขสมั ปทา รู้จักเก็บรักษาทรพั ย์สนิ และผลแหง่ การประกอบการงานใหร้ อดพน้ จากอนั ตราย 3. กัลยาณมติ ตตา รูจ้ ักคบค้าสมาคมกบั คนดีเกื้อกูลการงานท่ดี ีเพอื่ ความก้าวหน้าของชีวติ ต่อกัน 4. สมชีวิตา รู้จักเลี้ยงชวี ติ แต่พอดีให้มีความสุขโดยไม่สรุ ุ่ยสุร่ายฟุ่มเฟือยอีกท้ังสามารถประหยดั ทรพั ยไ์ วใ้ หเ้ พ่ิมพนู ขน้ึ ได้ 2. จงยกตัวอยา่ งปัญหาทีห่ ยง่ั รากลึกลงในชุมชน ปญั หาราคาสนิ ค้าการเกษตร ปัญหาผลผลิตที่ไดน้ ้อยไม่เพยี งพอสำหรบั การดำรงชพี ทำใหไ้ ม่มรี ายไดห้ รอื มี รายไดต้ ำ่ ปัญหาด้านการตลาดจากราคาพืชผลไมแ่ น่นอนและถูกกดราคาจากพอ่ คา้ คนกลาง และท่ีสำคญั คอื การ ใชส้ ารเคมีท่ีทำใหต้ น้ ทุนในการทำเกษตรสงู ข้ึน

34 ใบงานท่ี 3 เร่อื ง บัญชคี รัวเรอื นบันทึกเพอ่ื วางแผนอนาคต จดแลว้ ไม่จน คำชี้แจง จงวเิ คราะหก์ ารเขียนบญั ชคี รวั เรือนดังตอ่ ไปนี้ 1. รายรบั หรอื รายได้ คอื ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 2. รายจา่ ย หรอื คา่ ใช้จา่ ย คอื ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... 3. หนี้สิน คือ ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................

35 เกณฑ์ประเมนิ การวิเคราะห์การเขยี นหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมิน 16-20 เขยี นวเิ คราะห์ได้ดีมาก กำหนดประเด็นชัดเจน เรียบเรียงความคิดเป็นสำคญั และ ต่อเน่อื ง ไม่มีข้อบกพรอ่ งในการใชภ้ าษา 11-15 เขยี นวเิ คราะหไ์ ดด้ มี าก กำหนดประเด็นชัดเจน แตม่ ีข้อบกพรอ่ งในการเรียบเรยี ง ความคดิ 6-10 เขียนวิเคราะหไ์ ด้ แต่ยังกำหนดประเดน็ ไมช่ ัดเจนและมีข้อบกพร่องในการ เรียบ เรียงความคิดและการใชภ้ าษา 5 เขยี นวเิ คราะหไ์ มไ่ ด้ ครูตอ้ งกำหนดประเด็นใหแ้ ละอธบิ ายเพม่ิ เติม จึงสามารถเขียน วเิ คราะห์ได้

36 แนวการตอบ ใบงานที่ 3 วเิ คราะห์บัญชีครัวเรือนบันทึกเพ่อื วางแผนอนาคต จดแลว้ ไม่จน คำช้แี จง จงวเิ คราะหก์ ารเขียนบัญชคี รัวเรอื นดงั ต่อไปน้ี 1. รายรับ หรือ รายได้ คอื เงนิ หรือสนิ ทรัพย์ทีว่ ัดมลู คา่ ได้ ที่ไดร้ บั จากการประกอบอาชพี หรอื ผลตอบแทนท่ไี ด้รบั จากการให้ผู้อน่ื ใชส้ นิ ทรพั ย์ หรือ ผลตอบแทนจากการลงทนุ ในรปู แบบต่างๆ เช่น รายได้จาก คา่ จา้ งแรงงาน เงนิ เดือนดอกเบย้ี รบั จากเงินฝากธนาคาร หรอื จากเงนิ ให้กู้ยมื รายได้จากการขายสินคา้ หรอื บริการ เปน็ ตน้ 2. รายจ่าย หรือ คา่ ใช้จ่าย คอื เงนิ หรือสินทรพั ยท์ ่วี ัดมูลค่าได้ ที่จา่ ยออกไปเพอื่ ใหไ้ ด้สงิ่ ตอบแทนกลบั มา สิ่งตอบแทนอาจเปน็ สินค้าหรอื บริการ เชน่ ค่าอาหาร คา่ น้ำค่าไฟฟ้า (ค่าสาธารณูปโภค) ค่านำ้ มัน คา่ หนังสอื ตำรา เปน็ ต้นหรือรายจ่าย อาจไม่ไดร้ บั ส่งิ ตอบแทน คอื สินค้าหรอื บริการก็ได้ เช่น เงนิ บริจาคเพอ่ื การกุศล เงนิ ทำบุญ ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า เปน็ ตน้ 3. หน้สี นิ คอื ภาระผูกพันที่ต้องชดใชค้ ืนในอนาคต การชดใชอ้ าจจา่ ยเปน็ เงนิ หรือของมคี ่าท่ีครอบครวั หรอื ตนเองมอี ยู่ หนส้ี ินเปน็ เงินหรือสง่ิ ของที่มีค่าที่ครอบครัวหรือตนเองไดร้ บั มาจากบุคคลหรอื แหล่งเงินภายนอก เชน่ การกู้ยืมเงินจากเพือ่ นบา้ น การกยู้ ืมเงินจากกองทนุ ตา่ งๆ การซ้อื สินค้าหรอื บรกิ ารเปน็ เงินเชอ่ื การซ้อื สนิ ทรัพยเ์ ปน็ เงนิ ผอ่ นชำระ หรือการเชา่ ซือ้ เปน็ ตน้ เงินคงเหลือ คอื เงิน หรอื ทรัพย์สินที่วัดมูลคา่ ได้ หลงั จากนำรายรับลบดว้ ย รายจ่ายแลว้ ปรากฏรายรับมากกวา่ รายจา่ ยจะทำให้มีเงนิ คงเหลือ หรือในหลักทางบัญชีเรียกวา่ กำไรแตห่ าก หลงั จากนำรายรับลบด้วยรายจา่ ยแล้วปรากฏว่ารายจา่ ยมากกวา่ รายรับจะทำใหเ้ งินคงเหลอื ติดลบหรอื ทางบญั ชี เรยี กวา่ ขาดทนุ

37 ใบงานท่ี 4 เรอื่ ง การแก้ปัญหาชุมชนกับเศรษฐกิจพอเพยี ง คำชแี้ จง ให้ผู้เรยี นเขียนอธบิ ายตามหัวข้อดังต่อไปนมี้ าพอสังเขป 1.ความพอเพยี งระดบั บคุ คลและครอบครัว ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 2.ความพอเพียงระดับชมุ ชน ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 3.ความพอเพียงในภาคธุรกิจเอกชน ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... 4.ความพอเพยี งระดับประเทศ ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... ..................................................................................................................................................................................... .....................................................................................................................................................................................

38 เกณฑ์ประเมนิ การวิเคราะห์การเขยี นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับคะแนน เกณฑ์การประเมนิ 16-20 เขยี นวเิ คราะห์ไดด้ ีมาก กำหนดประเด็นชัดเจน เรียบเรียงความคดิ เปน็ สำคัญและ ต่อเน่อื ง ไม่มขี ้อบกพร่องในการใชภ้ าษา 11-15 เขยี นวเิ คราะห์ได้ดีมาก กำหนดประเด็นชัดเจน แต่มีขอ้ บกพรอ่ งในการเรยี บเรยี ง ความคดิ 6-10 เขียนวิเคราะหไ์ ด้ แต่ยงั กำหนดประเดน็ ไม่ชดั เจนและมีข้อบกพร่องในการ เรียบ เรียงความคิดและการใช้ภาษา 5 เขยี นวเิ คราะหไ์ มไ่ ด้ ครูตอ้ งกำหนดประเดน็ ให้และอธบิ ายเพิม่ เตมิ จึงสามารถเขียน วเิ คราะหไ์ ด้

39 แนวการตอบใบงานที่ 4 เรอ่ื ง การแก้ปัญหาชมุ ชนกบั เศรษฐกิจพอเพยี ง คำชี้แจง ให้ผเู้ รียนอธิบายวัสดุ อปุ กรณ์ และวิธีการทำงานของ Application Blynk น้มี าพอสังเขป ว่ามกี าร ทำงานอย่างไร 1.ความพอเพยี งระดับบคุ คลและครอบครวั มุ่งเนน้ ให้บุคคลและครอบครวั อยรู่ ่วมกันอย่างมีความสุขทัง้ ทางกาย และทางใจ พึ่งพาตนเองอยา่ งเตม็ ความสามารถ ไม่ทำอะไรเกนิ ตัว ดำเนินชีวติ โดยไม่เบียดเบียนตนเองและผูอ้ ่ืน รวมถึงใฝ่รู้และมกี ารพัฒนาตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เพ่ือความมนั่ คงในอนาคตและเป็นทีพ่ ง่ึ ให้ผอู้ ืน่ ได้ในทสี่ ดุ เช่น หา ปัจจยั สี่มาเลย้ี งตนเองและครอบครัวจากการประกอบสัมมาชพี ร้ขู ้อมูลรายรับ- รายจา่ ย ประหยัดแตไ่ มใ่ ชต่ ระหน่ี ลด-ละ-เลิกอบายมุข สอนใหเ้ ด็กรจู้ กั คุณค่า รู้จกั ใชร้ ู้จกั ออมเงินและส่ิงของเครื่องใช้ ดแู ลรกั ษาสขุ ภาพ รู้จกั การ แบ่งปนั กนั ในครอบครวั ชุมชน และสงั คมรอบข้าง รวมถึงการรักษาวฒั นธรรม ประเพณี และการอยรู่ ่วมกบั ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อมได้อย่างเหมาะสม 2.ความพอเพียงระดับชมุ ชน มกี ารรวมกล่มุ กันทำประโยชน์เพือ่ ส่วนรวม ช่วยเหลือเกอ้ื กลู กันภายใน ชมุ ชนบนหลักของความรรู้ ักสามัคคี สร้างเปน็ เครือขา่ ยเชือ่ มโยงกนั ทงั้ ในชมุ ชนและนอกชุมชน ท้งั ด้านเศรษฐกิจ สงั คมทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม เช่น การรวมกล่มุ อาชพี องคก์ รการเงนิ สวัสดิการชมุ ชน การช่วยดแู ล รกั ษาความสงบ ความสะอาด ความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย รวมทง้ั การใชภ้ ูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ สง่ิ แวดล้อมในชมุ ชนมาสร้างประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม เพอ่ื สรา้ งเสรมิ ชมุ ชนใหม้ ีความเขม้ แข็งและมคี วามเป็นอยู่ ทพ่ี อเพยี ง 3.ความพอเพียงในภาคธุรกจิ เอกชน เรม่ิ จากความมุ่งม่ันในการดำเนินธุรกิจทห่ี วงั ผลประโยชน์ หรือ กำไรระยะยาวมากกว่าระยะสน้ั แสวงหาผลตอบแทนบนพ้ืนฐานของการแบง่ ปัน มุ่งให้ทกุ ฝ่ายท่ีเกย่ี วข้องได้รบั ประโยชนอ์ ยา่ งเหมาะสมและเป็นธรรม ท้งั ลูกคา้ คู่ค้า ผูถ้ ือหนุ้ และพนกั งาน ด้านการขยายธุรกจิ ต้องทำอย่างค่อย เป็นคอ่ ยไป รวมทัง้ ต้องมีความรแู้ ละเขา้ ใจธรุ กิจของตนเอง รู้จักลกู คา้ ศึกษาคูแ่ ขง่ และเรียนรู้การตลาดอย่างถอ่ ง แท้ ผลิตในสิ่งทถี่ นดั และทำตามกำลัง สรา้ งเอกลักษณ์ทแี่ ตกต่างและพัฒนาคุณภาพผลิตภณั ฑอ์ ย่างตอ่ เนือ่ ง มกี าร เตรียมพรอ้ มตอ่ การเปล่ียนแปลงท่อี าจเกิดขึ้น มคี วามซือ่ สตั ย์ รับผิดชอบต่อสงั คม และปอ้ งกนั ผลกระทบต่อ ส่งิ แวดลอ้ ม ท่ีสำคัญตอ้ งสร้างเสริมความรู้และจัดสวัสดิการให้แก่พนกั งานอย่างเหมาะสม 4.ความพอเพียงระดับประเทศ เปน็ การบรหิ ารจัดการประเทศโดยการวางรากฐานให้ประชาชนส่วนใหญ่ อยู่อย่างพอมีพอกินและพงึ่ ตนเองได้ มคี วามรู้ มีคุณธรรมในการดำเนินชีวิต มีการรวมกลมุ่ ของชุมชนหลายๆ แห่ง เพือ่ แลกเปลี่ยนความรู้ สบื ทอดภมู ิปัญญาและร่วมกันพฒั นาตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี งอยา่ งรรู้ ักสามัคคี เสริมสรา้ งเครือข่ายเชื่อมโยงระหวา่ งชุมชนใหเ้ กิดเป็นสังคมแหง่ ความพอเพียงในท่ีสดุ “ หลกั คิดและแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี งจงึ เปน็ ส่ิงท่ีคนในยคุ สมยั น้ี ควรไดเ้ รยี นรแู้ ละเข้าใจอยา่ งถ่องแท้ โดยละเอยี ด และนำไปประยกุ ต์ใช้ในทุกมิติ ต้งั แต่ระดบั บคุ คลไปจนถงึ ระดับรฐั และถอื เป็นแนวทางหลกั ทนี่ ำมาใช้ ในการพัฒนาสังคมไทยและลดปญั หาความเหลอื่ มลำ้ สงั คมไทยจงึ จะสามารถฝ่าวิกฤตการณท์ กุ อย่างทีก่ ำลงั เผชิญ อยไู่ ด้ “

40 แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน ตอนท่ี 1 คำชีแ้ จง : ผู้เรยี นวิเคราะห์แนวทางการดำเนินชีวติ ให้สอดคล้องกบั แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง คำส่ัง ใหน้ กั เรียนทำเคร่อื งหมาย X ในข้อทถี่ ูกต้อง 1. เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงอะไร ก. การทำเกษตรกรรม ข. การดำรงชีวิตอยูอ่ ยา่ งพออย่พู อกนิ ค. การคา้ ขายให้ไดเ้ งนิ เพยี งพอสำหรบั ครอบครัว ง. การปลูกพืชและเลย้ี งสัตวเ์ พอื่ ใหค้ รอบครัวพออย่พู อกนิ 2. หลักคดิ ในการนำหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นการดำเนินชีวิต ยกเวน้ ข้อใด ก. ความมเี หตุผล ข. การมภี มู คิ ุ้มกันทด่ี ใี นตัว ค. ความขยันหมัน่ เพยี ร ง. ใช้คุณธรรมนำความรู้ 3. ข้อใดไม่ใช่ปญั หาท่ีหย่ังรากลึกลงในชมุ ชน ก. ราคาสนิ ค้าการเกษตรไมค่ งที่ ข. ผลผลิตท่ีเพยี งพอสำหรับการดำรงชพี ค. ถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง ง. การใช้สารเคมที ่ที ำให้ต้นทุนในการทำเกษตรสงู ข้ึน 4. อฏุ ฐานสมั ปทา คอื อะไร ก. มีความขยนั หมั่นเพียร รู้จกั ใชป้ ญั ญาจัดดำเนนิ กจิ การ ข. รจู้ ักเกบ็ รกั ษาทรพั ยส์ ินและผลแหง่ การประกอบการงานให้รอดพน้ จากอนั ตราย ค. รูจ้ กั คบคา้ สมาคมกบั คนดีเกื้อกูลการงานทีด่ เี พ่ือความกา้ วหนา้ ของชีวิตต่อกนั ง. รจู้ กั เล้ียงชวี ิตแตพ่ อดใี หม้ ีความสุขโดยไมส่ รุ ุ่ยสุรา่ ยฟมุ่ เฟือยอกี ทง้ั สามารถประหยัดทรพั ยไ์ วใ้ ห้เพิม่ พนู ข้นึ ได้ 5. ข้อใดคือข้อควรระวงั ในการจดั ทำบญั ชีครัวเรอื น ก. การจดบันทึกรายการบัญชแี ม้จะเป็นเงนิ เลก็ นอ้ ย ข. การจดบนั ทึกรายการบัญชีอยา่ งสม่ำเสมอและเปน็ ปัจจบุ นั ค. การเขยี นช่ือรายการทถี่ กู ตอ้ งครบถ้วน ง. ลืมจดบันทึกบญั ชี ทำให้ขาดความตอ่ เนือ่ งใน การบนั ทึก

41 ตอนท่ี 2 คำช้แี จง ให้ผู้เรียนเลือกคำตอบทล่ี ูกตอ้ งทีส่ ดุ เพียงคำตอบเดยี ว คำชแี้ จง แบบทดสอบมี 5 ขอ้ ๆละ 2 คะแนน ใสเ่ คร่ืองหมาย  หนา้ ขอ้ ที่ถกู ใส่เคร่อื งหมาย  หน้าข้อทีผ่ ิด ...........1. การลด ละ เลกิ การใช้สารเคมี โดยหันมาปลูกผกั ปลอดสารเพอ่ื บรโิ ภคในครวั เรอื นเป็นการลดค่าใช้จ่าย ในครัวเรือน และเพื่อความปลอดภยั ด้านสุขภาพ และเปลีย่ นแปลงวิธีคิดใหล้ ดละเลกิ การใช้สารเคมีเพ่อื ลดตน้ ทุน การผลิต ............2. การเรียนร้แู ละฝกึ ทักษะดา้ นอาชพี เพยี งเพื่อจำหนา่ ย สรา้ งรายไดเ้ พม่ิ เทา่ นั้น .............3. “พุทธวิถี” คือการเปลย่ี นแปลงตามพุทธวถิ ีการเปลีย่ นจากข้างในไปสขู่ า้ งนอก จากฐานรากไปสขู่ ้างบนที่ ใหค้ วามสำคญั กบั บญุ นยิ มและคุณธรรม เป็นทางเลอื กท่ีถึงแม้ตอ้ งทวนกระแสหลกั แมจ้ ะแปลกแยกจากสังคม .............4. การทำบญั ชี คือ การจดบนั ทกึ ข้อมลู เก่ยี วกับเง่ือนไขปัจจยั ในการดำรงชวี ติ ของตัวเอง และภายใน ครอบครัว ชุมชน .............5. ความพอเพียงระดับบุคคลและครอบครวั คือ การมุง่ เน้นให้บุคคลและครอบครวั อยู่ร่วมกนั อยา่ งมี ความสขุ ทงั้ ทางกายและทางใจ พ่งึ พาตนเองอย่างเต็มความสามารถ ไมท่ ำอะไรเกินตัว ดำเนนิ ชีวิตโดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อืน่ รวมถึงใฝร่ ู้และมีการพฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่อื ง

42 เฉลย แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลังเรียน 1. ข 2. ค 3. ข 4. ก 5. ง 6.  7.  8.  9.  10. 

43 คณะผู้จัดทำ ทีป่ รึกษา ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอคง นายคมพสิ ษิ ฐ์ ดงั ไธสงฆ์ บรรณาธกิ าร ครู คศ.๑ นายภษู ิชช์ จันทรน์ ้อย ครู นางสาวนชุ รยี ์ กว้างขวาง ครูอาสาสมัคร กศน. นางสมเศียร มณีรตั น์ ครูอาสาสมคั ร กศน. นางสงัด คำมะปะนา คณะผูจ้ ัดทำ ครู กศน.ตำบล นางสาวศลุ ีรัตน์ ขมุ พทุ รา ครู กศน.ตำบล นางสาวยุภา โพธิ์ธานี ครู กศน.ตำบล นางปาริชาติ คมขำ ครูและบคุ ลากร กศน.อำเภอคง ครู กศน.ตำบล เรียบเรยี งและจดั ทำรูปเลม่ นางสาวศลุ รี ัตน์ ขุมพุทรา

44