รชั กาลที่ 1 พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช รัชกาลท่ี 1 (พ.ศ. 2325-2352) พระนามเดิม ทองด้วง เป็นพระราชโอรสของสมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก (พระอักษรสุนทรทองดี) ทรงพระราชสมภพ เม่ือ วันพุธที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2279 ในรัชกาลสมเด็จพระ บรมโกศ ได้สมรสกับธิดาคหบดีบ้านอัมพวา ตาบลบางช้าง จังหวัดสมุทรสงคราม หลังจากเสียกรุงศรี อยุธยาแก่พม่าใน พ.ศ. 2310 แล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินกรุงธนบุรี ได้กู้อิสรภาพและสร้างกรุงธนบุรีขึ้น เป็นราชธานี พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ได้เข้ารับราชการกับสมเดจ็ พระเจ้าตากสิน ทรงพระปรชี า สามารถในการรบจนเป็นที่โปรดปราน นับเป็นขุนพลคู่พระทัยฝ่ายขวา ได้รับแต่งตั้งให้เป็น แม่ทัพใน สงครามครั้งสาคัญหลายคร้ัง ได้รับบรรดาศักด์ิเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ใน พ.ศ. 2319 และ ใน พ.ศ. 2325 เกดิ จลาจลข้นึ ในบ้านเมือง พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าฯ ทรงปราบปรามจนราบคาบ ข้าราชการทง้ั หลาย จึงพร้อมใจกนั อัญเชิญขนึ้ ปราบดาภิเษกเปน็ กษัตริย์
ทรงรบั อัญเชญิ จากบรรดาเสนาพฤฒามาตย์ราษฎร ทง้ั หลายทงั้ ปวงให้เสด็จเถลงิ ถวัลยราชสมบัติ เมอื่ วนั ที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325 ต่อมาโปรดให้สร้างราชธานีใหม่ข้ึน ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้าเจ้าพระยา คือ กรุงเทพมหานคร ทรงย้ายมาประทับในพระนครใหม่ใน พ.ศ. 2327 พระราชกรณียกิจส่วนใหญ่ใน รชั กาลไดแ้ ก่ การสงครามเพอ่ื รกั ษาอธิปไตยของชาติหลายคร้ัง ครง้ั สาคญั ท่ีสุดคือ สงครามเก้าทัพในปีพ.ศ. 2327 ตาราพชิ ัยสงคราม การปกครองประเทศทรงจัดแบ่งตามแบบกรุงศรีอยุธยา และโปรดให้ชาระกฎหมายบท ต่างๆให้ถูกต้องและจารึกลงสมุดไว้เป็นหลักฐาน 3 ฉบับ ทางด้านศาสนาโปรดให้สังคายนาพระไตรปิฎก พ.ศ. 2331 และจารฉบับทองประดิษฐานไว้ในหอพระมณเฑียรธรรม วัดพระศรีรัตนศาสดาราม นอกจากน้ยี งั ทรงสร้างและบูรณปฏสิ ังขรณ์พระอารามและพระพุทธรูปตา่ งๆ เป็นอันมาก
ทางด้านวรรณคดแี ละศิลปกรรมทรงฟื้นฟูวรรณคดีไทย ซึ่งเส่อื มโทรมต้ังแต่กรุงศรีอยุธยา แตกให้กลับคืนดีอีกวาระหนึ่ง ทรงส่งเสรมิ และอุปถัมภก์ วีในราชสานัก บทพระราชนิพนธท์ ี่สาคัญ เช่น บท ละคร เรื่องรามเกียรติ์ เป็นต้น งานทางด้านศิลปกรรมนั้นเป็นผลเน่ืองมาจากการที่ทรงบูรณะปฏิสังขรณ์ และสรา้ งพระอารามเป็นจานวนมาก เปน็ การเปดิ โอกาสให้ช่างฝีมอื ด้านต่างๆ มีงานทาและไดผ้ ลิตงานฝมี ือชนิ้ เอกไว้ ปัจจบุ นั มี วันทร่ี ะลกึ ถงึ พระมหากรุณาธคิ ุณของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช คือ วันที่ระลึกมหา จักรี ไดแ้ กว่ นั ที่ 6 เมษายนของทุกปี จะมพี ธิ ถี วายบังคมพระบรมรูป ณ เชิงสะพานพระพทุ ธยอดฟา้ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชทรงปกครองพระราชอาณาจักรด้วย พระวิริยะอุตสาหะแม้ทรงเจริญพระชนมพรรษามากแล้ว ทรงออกว่าราชการมิได้ขาด ตราบเสด็จสวรรคต เมือ่ วันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 พระชนมพรรษา 73 พรรษา
รชั กาลท่ี 2 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย รชั กาลท่ี 2 (พ.ศ. 2352-2367)
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันพุธท่ี 24 กมุ ภาพนั ธ์ พทุ ธศักราช 2310 ขณะนน้ั พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช สมเดจ็ พระบรม ชนกนาถ ทรงดารงตาแหน่งยกกระบัตรเมืองราชบรุ ี พระราชมารดามีพระนามเดิมวา่ นาก ตอ่ มาทรงได้รับ การสถาปนาเฉลมิ พระเกยี รติยศขึน้ เปน็ สมเดจ็ พระอมรินทราบรมราชนิ ี เม่ือสมเด็จพระบรมชนกนาถ เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นปฐมกษัตริย์แห่งพระบรม ราชวงศ์จักรี ในพุทธศักราช 2325 ทรงได้รับการสถาปนาพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้า ฟา้ กรมหลวงอศิ รสนุ ทร เมอ่ื สมเดจ็ พระบวรราชเจา้ มหาสุรสงิ หนาท เสด็จทวิ งคต พระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังพิธีอุปราชาภิเษกสถาปนาพระอิสริยยศข้ึนเป็น กรมพระราชวังบวรสถานมงคลที่พระมหาอุปราช ทรงได้รับการอัญเชิญผ่านพิภพ ทรงครองสิริราชสมบัติ เมอื่ สมเดจ็ พระบรมชนกนาถเสด็จสวรรคตในวนั ที่ 7 กนั ยายน พทุ ธศกั ราช 2352 ขณะมีพระชนมพรรษา 42 พรรษา การป้องกันพระราชอาณาจักรในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงมี ประสบการณใ์ นการรบมาแต่ยงั ทรงพระเยาว์ เพราะไดโ้ ดยเสด็จสมเดจ็ พระบรมชนกนาถในงานศึกสงคราม ทกุ คร้งั
เมื่อเสด็จครองสิริราชสมบัติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยจึงทรงเตรียมการ รับศกึ ไว้ทกุ ด้านตามท่ีทรงคาดการณ์ได้ดว้ ย พระวิจารณญาณ เชน่ ดา้ นพมา่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ เตรียมพร้อมรับทัพพม่าโดยไม่ประมาท ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้พระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎา บดนิ ทร์ ยกกาลังไปขัดตาทัพด้านเมอื งกาญจนบุรี เมอ่ื พ.ศ. 2362 เปน็ ตน้ ทางด้านตะวันออก ซึ่งอาจมีปัญหากับญวนและเขมร ทรงใช้นโยบายประนีประนอมในระยะแรก ภายหลงั ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯใหร้ กั ษาเมอื งพระตะบอง เป็นฐานทม่ี ัน่ หากมีศกึ สงครามกบั ญวน นอกจากนี้ยังทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯให้เตรียมการรุกรานทางทะเล โดยสรา้ งเมอื งหน้า ด่านขึ้นท่ีปากลัด พระราชทานนามว่า เมืองนครเข่ือนขันธ์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เสริมสร้าง เมืองสมุทรปราการท่ีปากอ่าวไทย เป็นเมืองป้อมปราการรับข้าศึกที่อาจจะยกเข้ามาทางทะเล มิให้เข้าถึง พระนครไดโ้ ดยง่าย การปรบั ปรงุ บรหิ ารราชการแผน่ ดิน การบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งเป็นพระราชกรณียกิจสาคัญท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธ ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงแก้ไขปรับปรงุ ให้เปน็ แบบแผน หลังจากบ้านเมืองเสียหายเมื่อคร้ังเสยี กรงุ นนั้ ในรัชกาลท่ี 2 ได้ทรงรับพระราชภาระสืบสานต่อให้เป็นระเบียบ และเกิดความม่ันคงแก่บ้านเมืองสืบไป เช่น การบริหารราชการในส่วนกลาง ทรงพระราชดาริริเริ่มให้เจ้านายที่มีความรู้ความสามารถไปกากับ หน่วยราชการต่างพระเนตรพระกรรณ โดยทรงคัดเลือกบุคคลให้เหมาะสมกับภารกิจและหน้าท่ีด้วย พระองคเ์ อง การปกครองหัวเมือง โปรดให้ชาระทาเนียบข้าราชการในหัวเมือง โดยเฉพาะในหัวเมือง ทางใต้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งให้มีเจ้าเมืองกรมการครบตามตาแหน่ง และทรงพระราชดาริให้ หัวเมืองสาคัญมีหน้าท่ีปกครองเมืองเล็กและให้มีการแยกการควบคุมที่ชัดเจน เช่น ให้ข้ึนกับ นครศรธี รรมราชบ้าง ขึ้นกบั สงขลาบ้าง และขนึ้ ตรงต่อกรงุ เทพฯบ้าง ทาใหบ้ ้านเมอื งเจรญิ ม่ันคง นอกจากนี้ยังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหย้ กเมืองเชียงใหม่ ลาปาง ลาพูน ข้ึนเป็นเมือง ประเทศราชมีเจา้ นายปกครองเชน่ เดยี วกับเมืองนา่ น ทาใหเ้ กิดความจงรักภักดี ไม่ฝักใฝ่กับพม่าเช่นแต่กอ่ น พระบรมราโชบายในการปกครองเช่นน้ี ทาให้บ้านเมืองเป็นระเบียบและเกิดความ เจริญกา้ วหนา้ ตลอดรชั สมัย
การค้าขายกับต่างประเทศ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระบรมราโชบายสนับสนุนการคา้ กับต่างประเทศ มีชาวต่างชาติต่างภาษาเดินทางเข้ามาค้าขายในพระนคร ทั้งชาวจีน แขก และฝร่ังชาติ ตะวนั ตก มีชาติองั กฤษและโปรตเุ กส ท่ีเรมิ่ เขา้ มาขอแกไ้ ขระบบการค้ากับไทย ท่ีสาคัญคอื การคา้ ของหลวง ซึ่งทรงสง่ เสรมิ ใหเ้ จา้ นายขนุ นางสง่ เรือไปคา้ ขายต่างประเทศ การค้าในรัชสมัยนี้จึงมีความก้าวหน้าได้กาไรเป็นรายได้ของแผ่นดินเป็นจานวนมาก โดยเฉพาะพระเจ้าลูก ยาเธอกรมหมน่ื เจษฎาบดนิ ทร์ ทรงกากบั ราชการกรมท่า ไดท้ รงแตง่ สาเภาหลวงออกไปคา้ กับเมืองจีนดว้ ย การค้าสาเภาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ไปถึงเมืองท่าต่างๆ ได้แก่ กึงตง๋ั ไหหลา ฮกเก้ยี น ปเตเวีย มะละกา เกาะหมาก สงิ คโปร์ และเมอื งญวน เรือสาเภาของไทยท่ีออกไปค้าขายนี้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีธงชาติประจาเรือ เช่นเดียวกับเรือของชาติอื่นๆลักษณะเป็นธงพ้ืนแดง มีรูปช้างสีขาวอยู่ในผืนธง เน่ืองจากมีช้างเผือกมาสู่ พระบารมใี นรชั กาล 3 เชอื ก เรยี กกันวา่ ธงช้างเผือก การทะนุบารุงพระพุทธศาสนา พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงทะนุบารุงพระพุทธศาสนา ทั้งดว้ ยการทรง บาเพ็ญพระองค์เป็นแบบอย่าง เช่น ทรงผนวชต้ังแต่เมื่อยังทรงดารงพระอิสริยยศสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เม่อื เสด็จทรงครองราชสมบัติแลว้ พระราชานุกจิ ท่ีทรงปฏิบัติเป็นประจาทุกเชา้ คือ การถวายภัตตาหารแก่ พระภกิ ษสุ งฆท์้เี่ ขา้ มารับบณิ ฑบาตในพระบรมมหาราชวัง และทรงสนทนาธรรมกับพระสงฆเ์ ป็นนิตย์
การบารุงพระสงฆ์และการส่งเสริมให้ราษฎรได้เข้าใจหลักธรรมคาสอนได้ดีข้ึน ได้ทรง พระราชดาริให้แก้ไขการศึกษาพระปริยัติธรรมจาก 3 ประโยค เพิ่มเป็น 9 ประโยค และทรงริเร่ิมให้แปล บทสวดมนตจ์ ากภาษาบาลเี ปน็ ภาษาไทยโดยสวดเป็นทานองเสนาะดว้ ย ที่สาคัญยงิ่ คอื ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหฟ้ ้ืนฟูวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา คอื วนั ท่ี สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และเสด็จดับขันธปรินิพพาน ณ วันเพ็ญเดือนหก ข้ึนสิบห้าค่า เปน็ วันพธิ วี ิสาขบชู า ครั้งน้ันได้มีพระราชกาหนดให้พลเมืองทาวิสาขบูชา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรง รักษาอุโบสถศีล ปฏิบัติพระสงฆ์สามวัน ห้ามฆ่าสัตว์ และเสพสุราเมรัย และให้จัดประทีปโคมแขวนถวาย เปน็ เครื่องสกั การบูชาในวดั พระศรรี ัตนศาสดาราม เป็นธรรมเนยี มแบบแผนสบื มา การทะนุบารุงศลิ ปวัฒนธรรม รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นยุคท่ีศิลปะแขนงต่างๆ ที่ร่วงโรย หายไปเม่ือครั้งเสียกรุงได้รับการฟ้ืนฟูขึ้นใหม่ให้กลับคืนสู่สภาพปกติ เป็นส่ิงแสดงความรุ่งเรืองของ บ้านเมืองอีกคร้ัง อาจจาแนกได้เป็น งานสถาปัตยกรรม พระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา้ นภาลัย มีพระบรมราโชบายสง่ เสริมใหพ้ ระพุทธศาสนา เป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวจิตใจของราษฎร งานก่อสร้้างในแผ่นดินจึงเป็นงานพุทธศิลป์ท่ีเป็นงานช่างฝีมือช้ันสูง เกิดเป็นสกุลช่างสมัยรัชกาลที่ 2 เช่น พระพุทธปรางค์ขนาดใหญ่ท่ีวัดอรุณราชวราราม พระสมุทรเจดีย์ ที่ ปากน้าเจ้าพระยา ซ่ึงชนต่างชาติต่างภาษาท่ีเดินทางเข้ามาถึงพระราชอาณาจักร เกิดความประทับใจว่า แผน่ ดนิ นเ้ี ปน็ ดินแดนท่ีพระพุทธศาสนาเจรญิ รงุ่ เรอื งมาชา้ นาน งานสถาปัตยกรรมที่เล่ืองลือว่าสวยงามมหัศจรรย์อย่างย่ิง คือ พระราชดาริในการสร้าง สวนขวา ในพระบรมมหาราชวงั เพอื่ ทะนบุ ารงุ ฝมี อื ชา่ งใหไ้ ด้ไวฝ้ ีมอื เปน็ เกียรตยิ ศในแผ่นดนิ
งานประตมิ ากรรม ในรชั สมยั นมี้ ีงานชา่ งท่ีเปน็ ฝีพระหตั ถ์ที่งดงามประณตี รจู้ ักกันแพร่หลายคือ งานแกะสลัก ไม้บานประตูพระวิหารวัดสทุ ศั นเทพวราราม งานป้นั หนุ่ พระพักตร์พระพทุ ธรูปประธานในพระอุโบสถวัดอรุณราชวราราม และหนา้ หุ่น พระยารกั ใหญ่ พระยารกั นอ้ ย แกะด้วยไมร้ กั ซง่ึ กลา่ วกันวา่ ทรงแกะด้วยฝพี ระหัตถ์งามเป็นหน่ึง งานนาฏศลิ ป์ ดุริยางคศิลป์ และวรรณกรรมศิลป์ รัชกาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็นยุคทองแห่ง นาฏศิลป์ ดุริยางคศิลป์ และวรรณกรรมศิลป์ เพราะทรงเชี่ยวชาญในงานศิลปะทั้ง สามแขนงเป็นอย่างย่ิง เช่น ทรงพระราชนิพนธ์เพลงบุหลันลอยเลอ่ื น ซ่ึงทรงจาได้ใน พระสุบินขณะเสด็จบรรทม ณ ราตรีหน่ึง เม่ือตื่นบรรทมทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พนักงานต่อเพลงนัน้ ไวแ้ ลว้ ทรงเพลงนีด้ ว้ ยซอคพู่ ระหตั ถ์ คอื ซอสายฟา้ ฟาด ด้านวรรณศิลป์ นอกจากทรงทะนุบารุงกวีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศ หล้านภาลัย ยังทรงเป็นกวีเอกดังมีบทพระราชนิพนธ์บทละครใน บทละครนอก ซ่ึงทรงเลือกใช้ถ้อยคาและลีลาได้อย่างเหมาะสมสาหรับแสดงละคร พากย์โขน และอ่านเพ่ือความไพเราะ ซาบซ้ึงในอรรถรสดว้ ย
รชั กาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระน่ังเกล้าเจา้ อยูห่ ัว พระบาทสมเด็จพระนง่ั เกล้าเจา้ อยูห่ ัว รัชกาลท่ี 3 (พ.ศ. 2367-2394) พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันจันทร์ที่ 31 มีนาคม พทุ ธศักราช 2330 ณ พระราชวงั เดมิ กรุงธนบรุ ี เม่ือเสด็จพระราชสมภพพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย สมเด็จพระบรมชนก นาถ ยังทรงดารงพระอิสริยยศสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร เจ้าจอมมารดาเรียม ภายหลังไ้ดร้ บั การสถาปนาพระอสิ ริย้ศกั ดขิ์ ้ึนเป็นกรมสมเดจ็ พระศรีสลุ าลัย ทรงเป็นพระราชชนนี พระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจ้าอยู่หวั ขณะทรงดารงพระอิสรยิ ยศ พระเจา้ ลกู ยาเธอ กรม หมนื่ เจษฎาบดินทร์ ทรงไดร้ ับความไว้วางพระราชหฤทัยให้ทรงปฏิบัตริ าชการและหนา้ ทต่ี า่ งพระเนตรพระ กรรณในตาแหน่งสาคัญ เช่น ทรงกากับราชการกรมท่า กรมพระคลังมหาสมบัติ กรมพระตารวจว่าความ ฎีกา เปน็ ต้น
เมื่อพระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย สมเดจ็ พระบรมชนกนาถเสด็จสวรรคต ท่ปี ระชุมเสนาบดเี ห็น ว่าทรงพระสติปัญญาเฉลียวฉลาดได้ว่าราชการต่างพระเนตรพระกรรณมาช้านานจึงพร้อมใจกันเชิญเสด็จ ขน้ึ ครองสริ ริ าชสมบตั เิ มื่อวันที่ 21 กรกฎาคม พทุ ธศักราช 2367 การปอ้ งกันพระราชอาณาจักร ในรชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว การทาศกึ สงครามกับพม่าตั้งแตส่ มัยกรุง ศรีอยุธยาจนถึงสมัยต้นกรุงรัตนโกสินทร์ได้ส้ินสุดลง แต่ยังมีศึกแผ่พระบรมเดชานุภาพข้ึนไปในหัวเมืองใน ดนิ แดนสบิ สองปันนาและความสัมพันธ์ทางพระราชไมตรีกบั ลาว เขมร และญวน เรม่ิ มขี อ้ ขดั แยง้ ถงึ ข้ันต้อง ทาสงครามต่อกัน เช่น เจ้าอนุวงศ์แห่งเวียงจันทร์เป็นกบฏเมื่อ พ.ศ. 2369 เกิดจลาจลในเมืองญวน ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กองทัพไทยข้ึนไปสู้รบ้เม่ือ พ.ศ. 2376 และเขมรเป็นกบฏในปีเดียวกัน รวมทั้ง ได้ทรงปราบปรามหัวเมืองตะวันตก หัวเมืองปกั ษ์ใต้ให้อยูเ่ ป็นปกติสุขดว้ ย เมื่อการศึกสงครามเปลี่ยนแปลงเช่นน้ี จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างเมืองชาย พระราชอาณาเขต คือเมืองจันทบุรี สร้างป้อมสาหรับหัวเมืองชายทะเล เช่น ป้อมเมืองฉะเชิงเทรา เมือง นครเขื่อนขันธ์ ต่อกาปั่นเรือรบ กาปั่นลาดตระเวนรักษาพระนครและใช้ค้าขาย กับทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้สร้างเรือพระท้่ีน่ังขึ้นไว้เป็นเกียรติยศสาหรับแผ่นดิน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ยกบ้านข้ึน เป็นเมืองข้ึนมหาดไทย และข้ึนกรมพระกลาโหมขึ้นหลายเมือง ทาให้บ้านเมืองขยายอาณาเขตกว้างขวาง และเจริญรงุ่ เรืองขึ้น การทะนุบารุงพระศาสนาและศิลปวัฒนธรรม การทะนุบารุงพระศาสนาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจา้ อยู่หัว ท่ีทรงเอาพระ ราชหฤทยั ใส่อย่างย่ิง คือ การท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สรา้ งบูรณะพระอารามขึ้นมากมายทง้ั ในพระ นครและหัวเมือง กับทั้งยังทรงสนับสนุนให้พระบรมวงศานุวง้ศ์ ข้าราชบริพาร คหบดี ช่วยกันสร้างวัด เพ่ือใหเ้ ป็นศนู ย์กลางในการปฏบิ ัติศาสนกจิ ท้ังของพระสงฆ์และอาณาประชาราษฎร์
พระอารามในรัชกาลนี้ ล้วนตกแต่งด้วยฝีมือชางศิลป์ฝีมือประณีตท่ีทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯให้ส่งเสริมฟ้ืนฟูข้ึนหลายสาขา ซึ่งมีทั้งงานช่างอย่างโบราณ และแบบท่ีทรงพระราชดาริข้ึนให้ม่ คือ การนาศิลปะจีนผสมสานกับศิลปะไทย เพ่ือความสวยงาม คงทนถาวร รวมท้ังเขียนภาพจิตรกรรมตกแต่ง ฝาผนัง และสรา้ งพระพุทธรูปประดิษฐานประจาพระอารามไว้ทุกแหง่ พระอารามท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างและปฏสิ ังขรณ์ เช่น วดั เฉลมิ พระเกียรติ ทรงสร้างอุทิศพระราชทานพระชนก พระชนนขี องพระราชมารดา ทนี่ นทบรุ ี
วดั จอมทอง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้บูรณปฏิสังขรณ์เมื่อคร้ัง ยังดารงพระยศพระ เจ้าลูกยาเธอยกกาลังไปขัดตาทัพท่ีเมืองกาญจนบุรี และเสด็จฯกลับมาโดยสวสั ดิภาพ สมเดจ็ พระบรมชนก นาถจึงพระราชทานนามว่า “วดั ราชโอรสาราม” วัดเทพธิดาราม ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯใหส้ รา้ งพระราชทานเป็นพระเกียรตยิ ศ พระเจ้าลูกยาเธอกรมหม่นื อัปสรสุดาเทพ วดั ราชนดั ดาราม ทรงสรา้ งพระราชทานเป็นพระเกยี รตยิ ศ พระเจ้าหลานเธอ พระองค์เจ้าโสมนสั วฒั นาวดี
เศรษฐกจิ ในรัชสมยั พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเช่ียวชาญในด้านเศรษฐกิจการคลัง มาแต่ยัง มิได้เสด็จทรงครองสิริราชสมบัติ ได้เคยทรงกากับราชการ กรมพระคลังมหาสมบัติและกรมท่าในสมัย รัชกาลที่ 2 ทั้งได้ทรงแต่งสาเภาไปค้าขายยังเมืองจีนจนทรงได้รับพระนามท่ีสมเด็จพระบรมชนกนาถทรง เรยี กยกยอ่ งวา่ เจ้าสวั ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แก้ไข วธิ ีการเก็บภาษนี ายอากรรับประมลู ไปจัดเกบ็ ภาษีสง่ แก่ราชการ ทาใหร้ ายได้แผน่ ดินสูงขนึ้ มาก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมพระราชทรัพย์ไว้ใช้ในราชการแผ่นดินเม่ือจาเป็น เรยี กกนั วา่ “เงินถงุ แดง” พระราชดารสั สดุ ทา้ ยก่อนเสด็จสวรรคต เมื่อพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระประชวรใกล้จะเสด็จสวรรคต ได้ทรง พระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระราชดารัสแสดงความทท่ี รงห่วงใยบ้านเมืองไว้วา่ ...การตอ่ ไปภายหนา้ ...การศึกสงครามข้างญวนขา้ งพม่ากเ็ หน็ จะไม่มีแลว้ จะมีอยกู่ ็แต่ข้าง พวกฝร่ังให้ระวังให้ดี อย่าให้เสียทีแก่เขาได้ การงานสิ่งใดของเขาท่ีดีควรจะเรียนร่าเอาไว้ก็เอาอย่างเขาแต่ อยา่ ใหน้ บั ถือเลื่อมใสไปทีเดยี ว... พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 2 เมษายน พุทธศักราช 2394 พระชนมพรรษา 64 พรรษา
รัชกาลท่ี 4 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอยูห่ วั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รัชกาลท่ี 4 (พ.ศ. 2394-2411) พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพเม่ือวันพฤหัสบดีท่ี ๑๘ ตุลาคม พทุ ธศกั ราช ๒๓๔๗ ณ พระราชวงั เดมิ กรุงธนบรุ ี เมื่อเสด็จพระราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย สมเด็จพระบรมชนก นาถทรงดารงพระอิสริยยศสมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจา้ ฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร สมเดจ็ พระศรสี ุรเิ ยนทราบ รมราชนิ ี ทรงเป็นพระราชชนนี ขณะทรงพระผนวชเป็นพระภิกษุ สมเด็จพระบรมชนกนาถเสด็ตสวรรคต จึงทรงดารง สมณเพศตอ่ มาจนตลอดรัชกาลท่ี ๓
ในสมัยท่ีทรงพระผนวช ทรงศึกษาพระธรรมปริยัติธรรม ทรงเชี่ยวชาญรอบรู้ใน พระไตรปิฎก และทรงแก้ไขปรับปรุงวัตรปฏิบัติของพระสงฆ์ให้เคร่งครัด มีภิกษุสามเณรปฏิบัติตาม เกิด เปน็ พระสงฆค์ ณะธรรมยุต นอกจากน้ี ยงั ทรงศึกษาศิลปวิทยาการสมัยใหม่ เช่น ภาษาองั กฤษ ดาราศาสตร์ เปน็ ตน้ ทรงรับอัญเชิญจากพระบรมวงศานวุ งศ์ เสนาบดี ข้าราชบริพารชั้นผู้ใหญ่ท้ังปวง ให้เสดจ็ เถลงิ ถวลั ยราชสมบัติ เมื่อวันท่ี ๒ เมษายน พทุ ธศกั ราช ๒๓๙๔ พระบรมราโชบายในการป้องกันอธิปไตยของชาติ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอม เกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นช่วงเวลาที่ประเททศชาติเร่ิมเผชิญกับประเทศมหาอานาจตะวันตกท่ีเข้ามาแสวงหา อาณานคิ ม มีอังกฤษและฝร่ังเศส เปน็ ต้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว ทรงตระหนักถงึ ความจาเป็นท่ีต้องทาสญั ญา ทาง พระราชไมตรีตามเงอ่ื นไขใหมท่ ช่ี าตมิ หาอานาจเป็นฝ่ายกาหนด ในพุทธศักราช ๒๓๙๘ ทรงทาสนธิสัญญาไมตรีและพาณิชย์กับชาติอังกฤษเป็นชาติแรก รู้จักกันในนาม “สนธิสัญญาเบารงิ ” หลังจากน้ันได้ทรงดาเนนิ นโยบายเปิดสมั พันธภาพกับชาติมหาอานาจ อนื่ ๆ ทัง้ ในยโุ รปและอเมริกา โดยใชส้ นธิสัญญาเบาริงเป็นตน้ แบบ การทาสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีกับชาติต่างๆ เหล่าน้ี จาต้องเสียเปรียบทางการค้า และสิทธิสภาพนอกอาณาเขตแก่คนในบังคับของชาตินั้นๆ ท้ังนี้ก็เพื่อแลกกับความอยู่รอดของชาติเป็น สาคญั ทรงดาเนินวิเทโศบายทางการทูตสมัยใหม่โดยส่งราชทูตอัญเชิญพระราชสาส์นไปเฝ้าฯ สมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรียแห่งอังกฤษ ณ กรุงลอนดอน เม่ือพุทธศักราช ๒๔๐๐ และส่งราชทูตไปเฝ้าฯ พระจกั รพรรดนิ โปเลยี นที่ ๓ แห่งฝรั่งเศส เม่ือพุทธศักราช ๒๔๐๔
การปรบั ปรุงชาติใหท้ ันสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ ัว ทรงเห็นความสาคัญของการเปล่ียนแปลงชาติให้ ทันสมัย โดยรับศิลปวิทยาการและวัฒนธรรมตะวันตกมาปรับปรุงสังคมวัฒนธรรมตามที่เหมาะสมท่ีควร เช่น การศึกษาภาษาอังกฤษ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ภรรยามิชชันนารีเข้ามาเป็นครูสอน ภาษาอังกฤษแก่กุลสตรีชาววัง เมื่อพระราชโอรส พระราชธิดา ทรงเจริญพระชันษา ทรงจ้างนางแอนนา เลียวโนเวนซ์ มาเป็นพระอาจารย์ถวายการสอนภาษาอังกฤษ วิทยาศาสตร์ และวรรณคดี และยังทรง สนับสนนุ ให้มิชชนั นารอี เมริกันต้งั โรงเรียนสอนแกร่ าษฎรชาวบ้านดว้ ย ทรงแกไ้ ขธรรมเนียมข้าราชบริพารสวมเสือ้ เข้าเฝ้าฯ ข้าราชบริพารแต่ก่อนเมื่อเข้าเฝ้าฯไม่มีธรรมเนียมสวมเส้ือเข้าเฝ้าฯ ทรงพระราชดาริว่า “ประเทศอ่ืนๆ ท่ีเป็นประเทศใหญ่เขาก็สวมเสื้อหมด ทุกภาษา ...ประเทศสยามก็เป็นประเทศใหญ่รู้ ขนบธรรมเนียมมากอยู่แล้ว ไม่ควรจะถือเอาอย่างโบราณที่เป็นชาวป่ามาแต่ก่อน ขอท่านท้ังหลายจงสวม เสอื้ เข้ามาในที่เฝ้าจงทกุ คน...”
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหฝ้ กึ ทหารอย่างยุโรป พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดาริให้ปรับปรุงการทหารโดยทรง เลือกทหารนอกราชการกองทัพเรือ ช่ือ ร้อยเอกอิมเปย์ เข้ารับราชการ “ทหารเกณฑ์หัดอย่างฝร่ัง” หรือ “ทหารเกณฑ์หัดอย่างยุโรป” เป็นทหารประจาพระองค์ เช่นเดียวกับกองทหารเกณฑ์รักษา พระองค์ใน ประเทศยุโรป ภายหลังมีกองทหารท่ีฝึกหัดและจัดแบบตะวันตกเพ่ิมอีกสองกองคือ กองทหารหน้า และ กองปนื ใหญ่อาสาญวน ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหต้ ัดถนนอยา่ งใหม่ ถนนในพระนครแต่ก่อนมา เม่ือถึงฤดูฝนมักเป็นโคลนสัญจรไปมาไม่สะดวกประจวบกับ “...พวกกงสุลมีหนังสือถวายว่าเข้ามาอยู่ที่กรุงเทพ มหานครไม่มีถนนหนทางท่ีจะขี่รถข่ีม้าไปเที่ยว พากัน เจ็บไข้เนื่องๆ ได้ทรงทราบแล้ว ทรงพระราชดาริว่า พวกยุโรปเข้าม้าอยู่ในกรุงมากขึ้นทุกๆ ปี ด้วยประเทศ บา้ นเมอื งเขามีถนนหนทางก็เรียบรนื่ สะอาดไปทุกบ้านทุกเมือง บ้านเมืองของเรามีแต่รกเร้ยี ว หนทางก็เป็น ตรอกซอกเล็กน้อย หนทางใหญ่ก็เปรอะเป้ือนไม่เป็นท่ีเจริญตา...” จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้าง ถนนอย่างใหม่ข้ึน ๓ สาย ได้แก่ ถนนเจริญกรุง ถนนหัวลาโพง และถนนสีลม ภายหลังทรงพระกรุณา โปรดเก้ล้าฯใหส้ ร้างถนนบารงุ เมอื ง และถนนเฟอ่ื งนครเพ่ิมขึน้ ทาใหร้ าษฎรสัญจรไปมาสะดวกขนึ้ ทรงเปน็ องค์อคั รศาสนปู ถมั ภก พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงเป็นองค์อัครศาสนูปถัมภก ทรงทะนุบารุง พระพุทธศาสนา และทรงอุปถัมภศ์ าสนาอนื่ ๆที่มีผูน้ บั ถือโดยถว้ นหน้ากัน เมื่อคร้ังยังทรงดารงสมณเพศ ทรงพระราชอุตสาหะศึกษาพระปริยัติธรรม ทรงได้เปรียญ ๕ ประโยค ทรงศึกษาวิปัสสนา ธุระในสานักวัดสมอราย สานักวัดพลบั จนทรงเช่ยี วชาญและยงั ทรงส่งเสริม ให้ภิกษสุ ามเณรไดเ้ ล่าเรยี นคันถธรุ ะ
นอกจากน้ี ยงั ทรงพระราชนิพนธ์ด้านพร้ะพุทธศาสนา เช่น บทสวดทาวัตรเช้า ทาวตั รค่า ซ่งึ ภกิ ษสุ า มเณรและพุทธศาสนกิ ชนใช้สวดมาจนปัจจุบัน การพระราชกศุ ลสถาปนาพระอาราม พระบาทสมเด็จพระจอม้เกล้าเจ้าอยูห่ ัว ทรงพระราชศรัทธาโปรดเกล้าฯใหส้ ถาปนา และ บูรณะพระอารามถวายในพระศาสนาตามโบราณราชประเพณี พระอารามทรงสถาปนาไดแ้ ก่ วดั บรมนิวาศ ทรงสถาปนาแตเ่ มอื่ ยงั ทรงดารงสมณเพศ วดั โสมนัสวิหาร ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ รา้ งอุทิศพระราชทานสมเดจ็ พระนางเจา้ โสมนัสวฒั นาวดี วดั ปทุมวนาราม ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหส้ รา้ งพระราชทานสมเด็จพระศิรินทราบรมราชนิ ี วดั ราชประดษิ ฐสถิตมหาสมี าราม ทรงสถาปนาเป็นพระอารามประจารัชกาล วัดมกุฏกษัตริยารามทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาเป็นพระอารามประจาพระองค์คู่กับวัดโสมนัส วิหาร และทรงบูรณะวัดในพระนครและหัวเมอื งอีก ๔๐ กว่าวัด พระราชดารทิ รงรเิ รมิ่ ใหม่ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดาริที่เรียกว่า เป็นส่ิงทรงริเร่ิมใหม่ใน รัชกาลหลายส่ิง เช่น แบบอย่างพระพุทธรูป ทรงสอบสวนใหม่ว่ามิควรมีพระเกตุมาลา คือ พระรัศมี ซึ่ง เปล่งอยู่เหนือพระเศียร และยังโปรดฯให้ทาผ้าครองเป็นร้ิ วเหมือนการครองผ้าจริงของพระสงฆ์ เป็น แบบอย่างพระพุทธรูปในรชั กาลที่ ๔ สบื มา แบบอย่างศิลปกรรมวัดหลวงวัดราษฎร์ แต่เดิมเป็นขนบนิยมทางช่างว่า อาคารสถานท่ี เปน็ พระอารามหลวงเท่านน้ั ทีม่ ชี ่อฟ้าใบระกา วดั ราษฎรท์ วั่ ไปมไี มไ่ ด้
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ราษฎรเฝ้าฯ รับเสด็จในเส้นทางเสด็จพระราชดาเนินพระ ราชกาหนดบทพระอัยการแตโ่ บราณห้ามราษฎรเยยี่ มหน้าต่างประตูใกล้ทางเสดจ็ พระราชดาเนิน หากใคร ฝ่าฝืนจะถูกกระสุนธนู หอกซัดพุ่งใส่ ทรงพร้ะกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานพระบรม ราชานุญาตให้ ราษฎรเฝ้าฯรบั เสดจ็ สองขา้ งทางเสด็จพระราชดาเนนิ ได้ การเสดจ็ ประพาสหวั เมืองทรงเยี่ยมราษฎร พระเจ้าแผ่นดินแต่คร้ังโบราณ เสด็จออกนอกพระราชวังเม่ือเสด็จฯไปในการพระราช สงคราม เสด็จไปทรงบาเพ็ญพระราชกุศล ณ พระอารามต่างๆ และเสด็จประพาสต้นสาราญพระราช อริ ิยาบถ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดการเสด็จประพาสหัวเมืองเพ่ือ ทอดพระเนตรชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร เป็นพระราชจริย วัตรเป็นแบบแผนสืบเน่ืองต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระปรีชาสามารถในวิชาดาราศาสตร์อย่างย่ิง ทรงคานวณไว้ ล่วงหน้าว่าจะเกิดสุริยปราคาเห็นได้เต็มดวงชัดเจนที่ตาบลหว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในวันอังคารท่ี ๑๘ สงิ หาคม พุทธศักราช ๒๔๑๑ ไดเ้ สดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทอดพระเนตรด้วยความสนพระราชหฤทยั หลังจากเสด็จพระราชดาเนินกลับถึงพระนคร ทรงพระประชวรและเสด็จสวรรคตเมื่อ วนั ท่ี ๑ ตลุ าคม พุทธศกั ราช ๒๔๑๑ พระชนมพรรษา ๖๕ พรรษา
รชั กาลท่ี 5 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี 5 (พ.ศ. 2411-2453)
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพเม่ือวันอังคารที่ ๒๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๓๙๖ เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระเทพศริ ินทราบรมราชินี เม่ือทรงพระเยาว์ทรงศึกษาวิชาต่างๆสาหรับพระราช กุมารครบถ้วนตามโบราณราชประเพณี เช่น วิชาด้านรัฐศาสตร์ ราช ประเพณี ประวัติศาสตร์และโบราณคดี และยังได้ทรงศึกษา ภาษาอังกฤษกับพระอาจารย์ชาวต่างประเทศ เช่น นางแอนนา เลียว โนเวนส์ หมอจนั ดเล นายแปตเตอร์สัน นอกจากนี้ สมเด็จ บรมชนกนาถ ยังได้ทรงส่ังสอนอบรมด้วยพระองค์เอง ทรงได้รับพระ มหากรุณาโปรดเกล้าฯ เลื่อน พระอิสริยยศเป็นกรมขุนพินิตประชา นาถ ทรงกากับราชการกรมทหารมหาดเล็ก กรมพระคลังมหาสมบัติ และกรมทหารบกวังหน้า เม่ือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคต ทรงได้รับอัญเชิญขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบัติ เม่ือวันที่ ๑ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๑๑ มีพระชนมพรรษา ๑๕ พรรษากบั ๑๐ วัน สมเดจ็ เจ้าพระยาบรมมหาศรสี ุรยิ วงศ์ (ชว่ ง บุนนาค) ได้ เป็นผู้สาเร็จราชการแผ่นดินจนทรงบรรลุพระราชนิติภาวะ จึงทรงพระราชอานาจสมบูรณ์ในการรับพระ ราชภาระท้ังปวงในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงดารงอยู่ในสิริราชสมบัตินานถึง ๔๒ ปี ตลอดช่วงเวลาท่ีครองราชย์นับเป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูปในทุกด้าน ท้ังในส่วนที่สืบสานพระบรมราช ปณิธานในสมเด็จพระบรมชนกนาถและทรงพระราชดาริขึ้นใหม่ในรัชสมยั พระราชกรณยี กจิ ในการบรหิ ารราชการแผ่นดินและเหตกุ ารณ์สาคัญในสมยั รชั กาลที่ ๕ ช่วงแรก ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๑๕ มีผู้สาเร็จราชการแผ่นดินทรงโอกาสได้ศึกษาหา ความรู้เตรียมพระองค์ เสด็จพระราชดาเนินไปทอดพระเนตรประเทศที่เป็นอาณานิคมของชาติตะวันตก คือ พ.ศ. ๒๔๑๓ เสดจ็ ประพาสสิงคโปร์ ปเตเวยี (ปตั ตาเวยี ) และสมารงั ของฮอลันดา พ.ศ. ๒๔๑๔ เสด็จประพาสอินเดียของอังกฤษ ทรงแวะสิงคโปร์ ปีนัง และย่างกุ้ง ทรง พระกรุณาโปรดเกลา้ ฯให้ปรับปรุงคูคลอง สร้า้ งเขอื่ นรมิ คลอง ตดั ถนนเลยี บคลองถนนหลงั กาแพงพระนคร ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯให้ตัง้ โรงเรียนหลวงขนึ้ ในพระบรมมหาราชวงั เปน็ ครง้ั แรก
ช่วงท่ีสอง ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๑๖-๒๔๓๔ ทรงรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดิน ด้วยพระองค์เอง ทรงริเร่ิมปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดิน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เลิกธรรมเนียม หมอบคลานเป็นลุกข้ึนยืนเฝ้า ถวายความเคารพ โดยการคานับแทนการถวายบังคมแบบโบราณ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั้งสภาท่ีปรึกษาราชการแผ่นดิน “เคาน์ซิลออฟเตต” เม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๗ เจ้านายและข้าราชบริพารกราบบังคมทูลความเห็น จัดการเปล่ียนแปลงระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน ร.ศ. ๒๔๒๗ ทรงแถลงพระบรมราโชบายแก้ไขการปกครองแผ่นดิน (พ.ศ. ๒๔๓๐) ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯให้ทดลองจัดระเบียบการปกครองระหว่าง พ.ศ. ๒๔๓๑-๒๔๓๔ เปล่ียนกรมตามตาแหน่งเดิมเป็น กรมเสนาบดใี หม่ ๖ กรม ชว่ งท่สี าม ระหว่าง พ.ศ. ๒๔๓๕-๒๔๕๓ เริ่มการปฏิรปู การปกครองแผ่นดิน พ.ศ. ๒๔๓๕ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้้จัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินเป็น ๑๒ กระทรวง การปกครองส่วน ท้องถิ่นรวมหัวเมืองเข้าเป็นมณฑลเทศาภิบาล ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๔๓๘ เกิดวิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) เรอื รบ ฝรัง่ เศสเข้ามาถึงกรุงเทพฯ และประกาศปดิ อ่าวไทย ไทยต้องยนิ ยอมลงนามในสนธิสัญญา ตามคาขาดของฝร่ังเศส เม่ือวันที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๓๖ เสด็จประพาสยุโรปคร้ังแรกเพ่ือทรงเจริญ สัมพันธไมตรีกับนานาประเทศ (พ.ศ. ๒๔๔๐) พ.ศ. ๒๔๔๖ ไทยต้องยอมเสียดินแดนฝั่งขวาแม่น้าโขงที่อยู่ ตรงข้ามหลวงพระบาง และจาปาศักด์ิให้แก่ฝรั่งเศส และยึดเมืองตราดไว้เป็นประกัน ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติลกั ษณะเกณฑ์ทหาร ร.ศ. ๑๒๔ (พ.ศ. ๒๔๔๘) ใช้บังคับท่ัวประเทศใน พ.ศ. ๒๔๔๙ พ.ศ. ๒๔๕๑ เสียดินแดนหัวเมืองมลายู ๔ หัวเมือง คือ กลันตัน ตรังกานู ไทรบุรี และปะลิส ให้แก่อังกฤษ แลกเปลี่ยนกับการได้รับสิทธิสภาพนอกอาณาเขตคืน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดการ พระราชพิธีรัชมงคลและพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ซึ่งครองราชย์ยาวนานกว่าสมเด็จพระบูรพมหากษัตริ ยาธริ าชเจา้ ในอดตี มพี ิธีถวายพระบรมรปู ทรงมา้ ประดิษฐานหน้าพระลานพระราชวงั ดุสติ พระบรมราชาภิเษก การพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษกในพุทธศกั ราช ๒๔๑๑ ...มพี ระราชโองการดารสั สั่งแก่พระ มหาราชครูผ้ใู หญ่วา่ พรรณพฤกษชลธีและส่ิงของในแผ่นดนิ ทว่ั พระราชอาณาเขตพระนคร ซึง่ แสวงหาผหู้ วง แหนมิได้นัน้ ตามแต่สมณชพี ราหมณาจารย์ราษฎรจะปรารถนาเถดิ ... ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกเสวยราชสมบัติมีพระราชพิธีเสด็จเลียบพระนค รตาม ราชประเพณี เม่ือวนั ท่ี ๑๘ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๑๑
เสด็จประพาส เสด็จประพาสสิงคโปร์ ใน พ.ศ. ๒๔๑๑ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั เสด็จประพาสตา่ งประเทศเปน็ ครง้ั แรก เสด็จพระราชดาเนินออกจากกรุงเทพฯ โดยชลมารคโดยเรอื พิทยมั รณยุทธ ไปเมืองสิงคโปร์อังกฤษ เมืองปเตเวีย (ปัตตาเวีย) และเมืองสมารัง ของฮอลันดา ออกจากทา่ ราชวรดษิ ฐ์ เสด็จประพาสอินเดีย ใน พ.ศ. ๒๔๑๔ เสด็จประพาสอินเดียในปกครอง ของอังกฤษ เรือพระท่ีนั่งบางกอกออกจากท่าราชวรดิษฐ์ เมื่อวันท่ี ๑๖ ธันวาคม แวะเมืองสิงคโปร์ ปีนัง มระแมน ย่างกุ้ง เสด็จพระราชดาเนินกลับถึงพระนครใน วนั ที่ ๑๖ มนี าคม พ.ศ. ๒๔๑๔ รวมเวลาเสดจ็ ประพาสอนิ เดยี ๙๒ วัน เสด็จประพาสยุโรป ต่อมาในพุทธศักราช ๒๔๔๐ และพุทธศักราช ๒๔๕๐ ได้เสด็จประพาสทวีปยุโรป ๒ คราว เพื่อทรงแก้ไขปัญหาข้อขัดข้องทางพระราชไมตรีกับ มหาอานาจตะวันตกและปัญหาคนในบังคับต่างชาติ รวมทั้งทรงเจริญสัมพันธไมตรีกับราชสานักต่างๆใน ยุโรป และเสด็จพระราชดาเนินไปทอดพระเนตรศิลปวทิ ยาการและกิจการบ้านเมืองของประเทศนน้ั ๆ เสด็จประพาสต้น ในร.ศ. ๑๒๓ (พ.ศ. ๒๔๔๗) ร.ศ. ๑๒๕ (พ.ศ. ๒๔๔๙) และ ร.ศ. ๑๒๗ (พ.ศ. ๒๔๕๑) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประพาสต้น คือ เสด็จพระราชดาเนินไป อย่างสามัญ ไม่แสดงพระองค์ว่าเป็นพระเจ้าแผ่นดิน ทรงตรวจตราการปกครองของเจ้าหน้าท่ีบ้านเมือง ทอดพระเนตรความเปน็ อยู่ของพสกนิกรด้วยพระองค์เองและยังเป็นการสาราญพระราชอริ ิยาบถเพื่อความ สาราญพระราชหฤทัยตามที่แพทย์หลวงถวายคาแนะนา พระราชดาริใหม่ เลกิ ประเพณหี มอบคลาน ในวันพระราชพิธีราชาภิเษก (พ.ศ.๒๔๑๖) เมื่อเสด็จออกมหาสมาคมในพระท่ีน่ัง อมรินทรวินิจฉัย หลังจากเสนาบดีทูลเกล้าฯถวายราชสมบัติตามประเพณีแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหอ้ าลกั ษณ์อ่านประกาศเลิกประเพณหี มอบคลานเปลีย่ นเป็นยืนเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทและถวายความ เคารพโดยการถวายคานบั และยกเลิกระเบียบการเขา้ เฝา้ อย่างเก่าที่ใช้มาแต่ก่อน เลิกตาแหนง่ วงั หน้า สถาปนาตาแหนง่ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกมุ าร ในพุทธศักราช ๒๔๒๘ กรมพระราชวังบวรวิไชยชาญทิวงคต ทรงพระราชดาริว่า ตาแหน่งพระมหาอุปราชกรมพระราชวังบวร สถานมงคลเปลี่ยนแปลงมาหลายชัน้ และได้บังเกิดความยงุ่ ยากระหว่างวงั หลงั กับวงั หน้ามาแต่โบราณกาล เกือบทุกสมัย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ยุบเลิกตาแหน่งกรมพระราชวังบวรสถานมงคลโปรดฯให้ต้ัง ตาแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร ขึ้นแทน
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯสถาปนาสมเด็จพระเจ้า ลูกยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ ทรงดารงตาแหน่งสมเด็จพระบรม โอรสาธิราช สยามมกุฎราชกุมาร พระองค์แรก เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๔๒๙ ต่อมาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมารเสด็จสวรรคต เมื่อวันท่ี ๔ มกราคม พ.ศ. ๒๔๓๗ พระชนมายุ ๑๖ ปี ๖ เดือน ๗ วัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯสถาปนา สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอเจา้ ฟ้ามหาวชริ าวุธ ขนึ้ ดารงตาแหน่งแทนขณะยัง เสด็จประทับศกึ ษา ณ ประเทศอังกฤษ ปอ้ งกนั พระราชอาณาเขต ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยกกรมยุทธนาธิการขึ้นเป็นกระทรวงยุทธนาธิการ เม่ือจัด ระเบียบกระทรวงกลาโหมใหม่ ได้นาก้ารบังคับบัญชาไปรวมข้ึนกับกระทรวงกลาโหม ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯให้ย้ายท่ีว่าการกระทรวงจากศาลายุทธนาธิการ คือ อ้าคารที่ทาการกระทรวงกลาโหมทุกวันนี้ “ถ้า ความเปน็ เอกราชของกรุงสยามได้สน้ิ สุดไปเมื่อใดชวี ติ ฉันก็คงสุดไปเมอื่ นัน้ ” ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างป้อมปราการทางทะเลท่ีตาบลแหลมฟ้าฝ่า ปากน้า เจ้าพระยาเสด็จพระราชดาเนินไปทอดพระเนตรทรงติดตามความก้าวหน้า เม่ือแล้วเสร็จพระราชทานนาม ว่า ป้อมจุลจอมเกล้า ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัดหาเรือที่เป็นกาลังรบในการป้องกันทางทะเล เช่น เรอื มกฎุ ราชกุมาร เรอื สคุ รีพครองเมือง เรอื พาลีรัง้ ทวปี เรือหาญหักศัตรู ฯลฯ ทรงบาบัดทุกขบ์ ารงุ สขุ การศกึ ษา ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งโรงเรียนในพระบรมมหาราชวัง ทรงพระกรุณาโปรด เกลา้ ฯให้พระยาศรีสนุ ทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกูร) เป็นอาจารย์ใหญ่ เป็นโรงเรียนสาหรับพระบรมวงศา นุวงศ์ ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตั้งโรงเรียนสาหรับพระอารามหลวงให้บุตรหลานไพร่ฟ้าข้า แผน่ ดินได้เลา่ เรยี นโดยสะดวก ...วิชาหนังสือ เป็นวิชาท่ีนับถือ แลเป็นท่ีสรรเสรญิ มาแตโ่ บราณวา่ เปน็ วิชาอย่างประเสรฐิ ท่ีผู้ท่ีเป็นใหญ่ย่ิงนับแต่พระมหากษัตริย์เป็นต้น จนตลอดราษฎรพลเมืองสมควรแลจาเป็นจะต้องรู้ เพราะ เป็นวิชาที่อาจทาให้การท้ังปวงสาเร็จไปได้ทุกส่ิงทุกอย่าง... (พระราชดารัสตอบในการพระราชทานรางวัล นกั เรียนท่ีโรงเรียนพระตาหนกั สวนกหุ ลาบ)
โรงเรยี นนายรอ้ ย เพ่ือเตรียมบุคคลท่ีมีความรู้ความสามารถสาหรับเป็นกาลัง สาคัญในราชหารทหาร ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จดั ต้ังโรงเรียนนายร้อยสาหรับทหารบก เรยี กว่า คะเด็ตสคูล เปิดสอนเมื่อวนั ที่ ๕ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๓๕ ในรัชกาลท่ี ๖ โปรดให้เรียกว่า โรงเรียนนายร้อยทหารบก คือ โรงเรียนนายร้อย พระจุลจอมเกล้า ปจั จบุ นั โรงเรยี นนายเรอื ภายหลังวิกฤตการณ์ ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖) พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หวั ทรงตระหนักถงึ ความจาเป็นในการพฒั นากจิ การทหารทางเรือให้กา้ วหน้าทนั สมัย ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯใหส้ ถาปนาโรงเรยี นนายเรือขน้ึ ท่ีพระราชวังเดิม เสดจ็ พระราช ดาเนินไปทรงเปิดโรงเรียน พระราชทานลายพระราชหัตถ์ในสมุดเย่ียมของโรงเรียนความว่า “วันท่ี ๒๐ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๕ เราจุฬาลงกรณ์ปรมราชาธิราช ได้มาเปิดโรงเรียนน้ี มีความปล้ืมใจ ซ่ึงได้เห็น การทหาร เรอื มรี ากหยัง่ ลงแลว้ จะเปน็ ท่มี ่ันสืบไปในภายหนา้ ” การคมนาคม การสรา้ งทางรถไฟ รถไฟพาหนะสมัยใหม่อานวยความสะดวกในการเดินทางไปยังหัวเมืองต่างๆในพระราช อาณาเขต รถไฟสายแรก คือ สายเมืองสมุทรปราการ และทางรถไฟสายแรกไปยังหัวเมืองคือ ทางรถไฟ สายนครราชสีมา เปิดรับคนโดยสารถึงกรุงเก่าในร.ศ. ๑๑๕ (พ.ศ. ๒๔๓๙) ถึงปากช่องเมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๒ และถึงมณฑลนครราชสมี า ใน ร.ศ. ๑๑๙ (พ.ศ. ๒๔๔๓) ...เราได้ร้สู กึ แน่อยู่วา่ ธรรมดาความเจรญิ ร่งุ เรืองของชุมชนย่อมอาศยั ถนนหนทางไปมาหา กันเป็นใหญ่เป็นสาคัญเม่ือมีหนทางคนจะได้ไปมาได้ง่าย ได้ไกล ได้เร็วข้ึนเพียงใด ก็เป็นการขยายชุมชนให้ ไพศาลยงิ่ ขึน้ เพียงนน้ั ...(พระราชดารัสตอบในการเรม่ิ ทาทางรถไฟสายนครราชสมี า) การกอ่ สร้างสะพาน ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ซอ่ มแซมสะพานเกา่ แก่ทชี่ ารดุ ให้ใชก้ ารไดส้ รา้ งสะพานใหม่ที่แขง็ แรงทนทานและสวยงามในโอกาสวนั เฉลิม พระชนมพรรษาของทุกปี ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างสะพานชุดเฉลิมตา มลาดับจานวน พระชนมพรรษาตง้ั แต่สะพานเฉลมิ ๔๒ -สะพานเฉลิม ๕๘
การสรา้ งถนนหนทาง ใน พ.ศ. ๒๔๔๒-๒๔๔๓ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตัดถนนราชดาเนินนอกไปทางทิศ เหนือบรรจบท่ีบริเวณสวนดุสิตเปน็ ถนนขนาดใหญส่ องข้างทางปลูกต้นไม้ยืนต้น มีทางเดินลาดซีเมนต์และ ปลกู หญ้ารม่ รนื่ งามตา ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างถนนราชดาเนินกลางและถนนราชดาเนินใน เชอื่ มต่อไปจนถึงพระบรมมหาราชวงั แล้วเสร็จใน พ.ศ. ๒๔๔๗ การขดุ คลอง การขุดคลองในรชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั นอกจากเพ่ือประโยชน์ ในการสัญจรไปมาแล้วยังมีพระราชดาริเพ่ือบุกเบิกพ้ืนที่การเพาะปลูก ส่งเสริมให้ราษฎรออกไปต้ังหลัก แหล่งทามาหากนิ ดว้ ย การกสกิ รรม “...อานาจแลความสมบูรณ์ย่อมมีแก่ประเทศท่ีเจริญด้วยกะสิกรรมแลพานิชการ เพราะ เหตนุ ั้นถงึ วา่ จะเปน็ การที่ทายากปานใด เราควรจะพยายามบารุงกะสิกรรมแลพานชิ การให้เจรญิ ขึ้น เพราะ เป็นที่ตั้งแห่งความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์เป็นท่ีตั้งแห่งกาลัง กาลังย่อมเป็นท่ีตั้งแห่งอานาจ...” (พระราช ดารัสในการเปดิ การแสดงกสิกรรมแลพานิชการ) การจดั ตั้งโรงพยาบาล พ.ศ. ๒๔๒๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ต้ังคณะกรรมการเรียกว่า “คอมมิตตีจัดการ โรงพยาบาลจัดตั้งโรงพยาบาลตามพระราชประสงค์แห่งแรกท่ีบริเวณวังหลังตอนใต้ เดิมเรียกว่า โรงพยาบาลวังหลัง ระหว่างที่สร้างโรงพยาบาลมีงานพระเมรุสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าสิริราช กกุธภัณฑ์ ทรงแนะนาผู้ประสงค์ช่วยงานพระเมรุช่วยในการตั้งโรงพยาบาลเป็นการบาเพ็ญพระราชกุศล แล้วเสรจ็ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานนามว่า ศิรริ าชพยาบาล การประปา พ.ศ. ๒๔๔๐ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ตราพระราชกาหนดสุขาภิบาล ตั้งกรม สุขาภิบาล มีหน้าท่ีจัดหาน้ากินน้าใช้สาหรับประชาชนในกรุงเทพมหานคร โดยต้ังโรงโรงสูบน้า ทาน้าให้ สะอาดบริสุทธ์ิปราศจากส่งิ ซ่ึงจะเป็นเช้ือโรคแล้วจาหน่ายไปในท้องถ่ินต่างๆทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ เรยี กวา่ การประปา ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯให้เลิกทาส พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระราชดาริ ว่าการมีทาสเป็นเครื่องถ่วง ความเจริญของบา้ นเมอื ง ปัญหาเรื่องทาสเก่ยี วข้องกับคนหมมู่ าก ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯใหผ้ ่อนผันเลิก ทาสตามลาดบั เวลาอยา่ งเหมาะสม การประชมุ สภาท่ีปรกึ ษาแผ่นดนิ ณ พระท่ีนงั่ สมมตเิ ทวราชอุปบัตใิ นพระบรมมหาราชวัง มีกาหนดท่ีจะให้มีการเลิกทาสเป็นคราวแรก เม่ือวันพุธ เดือน ๘ ข้ึน ๙ ค่า จุลศักราช ๑๒๓๖ ตรงกับวันท่ี ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ.๒๔๑๗ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ออกประกาศว่าด้วยเร่ืองเกษียณอายุลูกทาส
ลูกไท และต่อมาทรงตราพระราชบัญญัติทาษ รัตนโกสินทร์ศก ๑๒๔ บังคับใช้ทั่วพระราชอาณาจักร ใน พ.ศ. ๒๔๔๘ พระราชนิยม โปรดการถ่ายภาพ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดการถ่ายภาพและสนพระราชหฤทัยการ ถา่ ยภาพมาแต่ยังทรงพระเยาว์ เมอื่ ทรงวา่ งจากพระราชภารกจิ ทรงใช้เวลาว่างศกึ ษากระบวนการถ่ายภาพ จนทรงชานชิ านาญ ทรงสะสมกล้องถ่ายรูปรุ่นต่างๆและทรงส่งเสริมการถ่ายภาพ โดยทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯให้เปิดร้านถ่ายรูปหลวงในงานประจาปีวัดเบญจมบพิตร เปิดบริการถ่ายรูปด้วยฝีพระหัตถ์ พระราชทานรายได้สมทบทุนสร้างพระอุโบสถ ในพ.ศ.๒๔๔๗ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้จัด ประกวดภาพถ่ายเปน็ ครั้งแรกในเมืองไทย เมอื่ พ.ศ.๒๔๔๘ ...เวลาเขา้ งานไปถ่ายรปู ทสี่ วนเปน็ การทดลอง เพราะพ่อได้กล้องมาใหม่ท่เี รยี กวา่ ปลั โมส์ เป็นกล้องท่ใี ชม้ า่ นตงั้ งา่ ยเปน็ ที่สุด แลรปู ได้ดที สี่ ดุ รักเหลือเกนิ ... ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหใ้ ช้ศักราชใหม่ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ใช้ศกั ราชใหม่ คือ รัตนโกสนิ ทรศก ใชอ้ กั ษรย่อวา่ ร.ศ. แทน การใช้จุลศักราช โดยเร่ิมนับรัตนโกสินทร์ศก ๑ ตั้งแต่วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ.๒๓๒๕ ซึ่งเป็นเดือนปีท่ี สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้เร่ิมใช้ต้ังแต่วันที่ ๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๓๒ วันข้ึนปีใหม่และเปล่ียนศักราช จึงถือวันท่ี ๑ เมษายน ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๓๒ เป็นต้นมาจนถึงรัชกาลท่ี ๖ จึง ให้ใช้พทุ ธศักราชแทนรตั นโกสินทร์ศก เครอื่ งเลน่ ตลับงา เมื่อเสด็จพระราชดาเนนิ ไปประทับ ณ พระราชวังดุสติ โปรดการเล่นตลับงา การสะสม ไม้เท้า ฯลฯ และการปลูกต้นไม้ประเภทต่างๆริมทางสาธารณะในพระนครให้ร่มเงาแก่ผู้สัญจรไปมาด้วย พระมหากรณุ าธิคณุ
พระบรมทรงม้า ในอภิลักขิตสมัยพระราชพิธีรัชมงคล และพระราชพิธีรัชมังคลาภิเษก ทรงครองราชย์ ยาวนานกว่าสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชในอดีต พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าทูลละอองธุลีพระบาทและ ปวงอาณาประชาราษฎรต่างสานึกในพระมหากรุณาธิคุณทท่ี รงปกครอง ทานบุ ารงุ ประเทศ และประชาชน ให้เจริญรงุ่ เรืองจงึ พรอ้ มใจกนั บรจิ าคทรัพย์ สร้างพระบรมรูปทรงมา้ น้อมเกล้าฯถวายเป็นสิ่งทาขวัญ ...การซ่ึงท่านท้ังหลายได้พร้อมใจกันสร้างรูปเราข้ึนไวค้ ร้ังนี้ก็นบั ว่าเป็นถาวรนมิ ิตอันดี ใน ความพร้อมเพรียงของชาติอันเกิดข้ึนในใจของท่านทั้งหลายแลแสดงเป็นพยานความเช่ือถือไว้วางใจในเจา้ แผ่นดินแลรัฐบาลของตนอันเป็นเหตุให้เกิดมหรรฆผลเพื่อความผาสุกสาเร็จแก่ชาติของเราในภายหน้า... (พระราชดารัสในพธิ ีถวายพระบรมรูปทรงม้า วนั ท่ี ๑๑ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๗ (พ.ศ. ๒๔๕๑) พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ทรงพระประชวรด้วยพระโรคพระวักกะพิการ เสด็จสวรรคต เม่ือวันท่ี ๒๓ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๕๓ รวมพระชนมพรรษา ๕๘ พรรษาเสด็จอยู่ในสิริ ราชสมบัติ ๔๒ ปี
รชั กาลท่ี 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หัว รชั กาลท่ี 6 (พ.ศ. 2453-2468)
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพ เม่ือวันเสาร์ท่ี ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๒๓ เปน็ พระราชโอรสในพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ประสูตแิ ต่สมเด็จพระ ศรพี ชั รนิ ทราบรมราชนิ ีนาถ ทรงได้รับการสถาปนาเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชเจ้าฟ้ามหาวชิราวุธ สยาม มกฎุ ราชกมุ าร ขณะเสด็จฯ ไปทรงศกึ ษา ณ ประเทศอังกฤษ เมอื่ พุทธศกั ราช ๒๔๓๗ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสาเร็จวิชาทหารจากโรงเรียนนายร้อย แซนต์เฮริ ์สต์ (Royal Military Academy, Sandhurst) แล้วทรงศึกษาต่อด้านวิชาประวัติศาสตร์กฎหมาย และการปกครอง ณ มหาวทิ ยาลยั ออกซฟอรด์ (Oxford University) ขณะทรงศึกษาท่ีประเทศอังกฤษได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจเสด็จพระราชดาเนินไป ทรงเยี่ยมพระประมุขประเทศในยุโรป เช่น สมเด็จพระจักรพรรดิฟรานซิสโจเซฟ แห่งออสเตรเลีย เสด็จฯ ไปทรงรว่ มงานในพระราชพิธรี าชาภิเษกพระเจ้าเอ็ดวาร์ดที่ ๗ แห่งอังกฤษ เม่ือทรงสาเร็จการศึกษาเสด็จฯ กลับประเทศไทย ระหว่างทางได้เสด็จฯไปทรงเยี่ยมเยียนประธานาธิบดีเธโอดอร์ โรสเวลท์ เสด็จฯ ไปเฝ้า สมเด็จพระจักรพรรดแิ ละสมเดจ็ พระจกั รพรรดนิ ีแหง่ ญ่ปี ่นุ เปน็ ตน้ เมื่อเสด็จฯ กลับถึงประเทศไทยทรงได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติพระราชกิจต่างพระเนตร พระกรรณ และได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติสืบต่อจากสมเด็จพระบรมชนกนาถ เมื่อวันที่ ๒๓ ตุลาคม พทุ ธศักราช ๒๔๕๓ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงหม้ันและทรงอภิเษกสมรสกับ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจา้ วัลลภาเทวี พระเจ้าวรวงศเ์ ธอลักษมีลาวณั สมเดจ็ พระนางเจ้าอินทรศักดิศจี พระวรราชชายา และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี ทรงมีพระราชธิดาประสูติแตพ่ ระนางเจ้าสุวทั นา พระวรราชเทวี คอื สมเด็จพระเจา้ ภคินเี ธอ เจ้าฟ้าเพชรรตั นราชสุดาสริ โิ สภาพณั ณวดี
พระราชดารดิ ้านการเมืองการปกครอง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสืบทอดพระราชภารกิจ และพระบรมรา โชบายต่อจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทั้งในส่วนที่ทรงดาเนินการค้างไว้ ทรงแก้ไข ขอ้ ขัดขอ้ งและทรงพระราชดารเิ รม่ิ ใหม่หลายประการ เชน่ ความสนพระราชหฤทยั การปกครองแบบประชาธปิ ไตย “ดุสติ ธานี” พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงสนพระราชหฤทัยการปกครองแบบ ประชาธปิ ไตยแตเ่ มือ่ ยงั ทรงศกึ ษาในตา่ งประเทศขณะเสดจ็ ฯไปประทบั ณ กรุงปารีส ทรงชกั ชวน พระ สหายทดลองจัดต้ัง “สาธารณูรัฐใหม่” (The New Republic) เมื่อเสด็จฯกลับประเทศไทยทรงนาวิธีการ ประชาธิปไตยมาใช้ในกิจการสมาคมที่ทรงก่อตั้งขึ้น เพื่อมุ่งหมายให้คนไทยมีความเข้าใจการปกครองแบบ ใหมน่ ้เี รียกว่า “สมาคมครึ” (Gri Society) และทรงต้ังเมืองมัง เป็นเมืองทดลองขนาดเลก็ ทดลองให้ข้าราช สานกั รจู้ ักการเลือกตั้งและหนาั ที่ในการปกครองกันเอง และทรงต้งั เมืองประชาธิปไตยทดลองการปกครอง เป็นเมืองจาลองเล็กๆ ช่ือว่า ดุสิตธานี มีอาคารบ้านเรือน ถนนหนทางแม่น้าลาคลองคล้ายของจริง ทรง สมมติพระองค์เป็นนาครแห่งดุสิตธานี เช่น ทรงเป็นทนายความบ้าง ทรงเป็นมรรคนาย กบ้าง ทรงเป็นเจา้ อาวาสบ้าง และทรงทดลองให้มีการเลือกตัง้ ในระบบพรรคการเมือง “ดสุ ิตธานี” เมืองจาลอง เพือ่ การสอน ประชาธิปไตยได้ลม้ เลิกไป เม่อื มพี ระราชภารกิจมากขึ้น กจิ การลูกเสอื และเสอื ป่า พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ทรงสนพระราชหฤทยั ในกิจการลกู เสือตัง้ แต่ยัง ทรงศกึ ษาในประเทศอังกฤษทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯพระราชทานพระบรมราชานญุ าตให้กองลูกเสือกอง หนึ่งใช้นามว่า K.S.O. (King of Siam’s Own Troop Boys Scouts) ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานภาพวาดช้างเผือกเป็นเครื่องหมายประจากองด้วย
ในประเทศไทยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาลูกเสือไทย เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๔๕๔ พระราชทานคติพจน์แก่คณะลูกเสือ ว่า เสียชีพอย่าเสียสัตย์ กิจการลูกเสือไทยท่ีทรง เรม่ิ ต้นไว้ไดเ้ จริญก้าวหน้ายง่ั ยนื มาจนปัจจบุ นั สว่ นกจิ การเสือปา่ นนั้ ทรงมีจดุ ม่งุ หมายเก่ยี วกับการรักษาดินแดนของประเทศ เสอื ป่ามี ๒ ประเภท ได้แก่ กองเสือป่ารักษาดินแดน และกองเสือป่ากองเสนาหลวงรักษาพระองค์ เสือป่ามี ภารกิจ สาคัญ คือ การรักษาดินแดน รักษาพระองค์ และเป็นกองหนุนให้แก่ทหารตารวจในภาวะคับขัน มีผู้สมัคร เข้าเป็นสมาชิกเป็นจานวนมากทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มีการประลองยุทธ์หรือการซ้อมรบ ได้เสด็จ พระราชดาเนินไปทอดพระเนตรการซ้อมรบของเสือป่า ณ ค่ายหลวงบ้านโป่ง ราชบุรี และค่ายหลวงใน พระราชวงั สนามจันทร์ นครปฐม ทรงบรรยายวิธี การฝึกอบรมเกี่ยวกับหน้าท่ีเสือป่าทง้ั วิชาการทหาร และ หลักของศาสนาต่างๆ เรยี กว่า เทศนาเสือป่า ปญั หาสิทธสิ ภาพนอกอาณาเขตและความไมเ่ สมอภาคกนั ปัญหาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ซ่ึงได้มีการเจรจาขอแก้ไขสนธิสัญญากับประเทศ มหาอานาจในปลายรัชกาลที่ ๕ เมอื่ รชั สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ วั ได้ทรงตดั สินพระราช หฤทัยโปรดเกล้าฯ ให้เข้าร่วมรบในสงครามโลกคร้ังท่ี ๑ ทาให้ประเทศไทยเข้าสู่สังคมนานาชาติ ได้รับยก ยอ่ งให้มฐี านะเท่าเทียม ประเทศฝา่ ยสัมพันธมติ รซ่ึงมผี ลต่อการยกเลิกสนธิสัญญาที่ไมเ่ สมอภาคกบั ประเทศ ต่างๆ ท่ที าไวแ้ ต่เดมิ
พระราชจริยวตั รพระราชดาริด้านศิลปวฒั นธรรม ทรงพระกรุณาให้คนไทยมีนามสกุลและให้ใช้คานาหน้าชื่อแต่ก่อนคนไทยมีเพียงชื่อตัวท่ี บิดามารดาต้ังให้มิไดม้ ีธรรมเนยี มการใชน้ ามสกุล จึงมีพระราชดาริวา่ “..ในเมืองอื่นๆเขาก็มีกันแบบทั่วไป แตใ่ นเมอื งเรายังหามีไม.่ ..” ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติขนานนามสุกล พุทธศักราช ๒๔๕๖ ทาให้ประเพณีขนานนามสกลุ แพร่หลายไปท่วั พระราชอาณาจักร มผี ้ขู อพระราชทานนามสกุลเป็นสิริมงคล แกต่ นและผู้สืบสกุลเปน็ จานวนมาก นอกจากน้ียังมีพระราชดาริให้ใช้คานาหน้าชื่อสาหรับ เด็ก บุรุษ สตรี ตามวัยและ สถานภาพ เชน่ เด็กชาย เดก็ หญิง นาย นางสาว นาง คุณหญิง ฯลฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯใหเ้ ปลี่ยนช่ือถนนที่เป็นภาษาต่างประเทศ ช่ือถนนในพระนคร เช่น ถนนซางฮี้นอก ถนนซางฮ้ีใน ถนนซางฮ้ีน่า เปล่ียนเป็นถนนราชวิถี ถนนลก เปล่ียนช่ือเป็น ถนนพระรามท่ี ๕ ถนนประแจจีน เปลี่ยนชื่อเป็น ถน นเพชรบุรี ถนนซ่ิว เปลี่ยนชื่อเป็นถนนสวรรคโลก ถนนคอเส้ือ เปล่ยี นชือ่ เป็น ถนนพศิ ณโุ ลก ฯลฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปล่ียนธงชาติเป็นแถบสีอย่างใหม่พระราชทานนามว่า ธงไตรรงค์ ธงชาติแต่เดิมใช้ธงพื้นสีแดงกลางเป็นรูปช้างเผือก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อไทยเข้าร่วมรบกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่ ๑ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แกไ้ ขเปลยี่ นแปลงธงชาตไิ ทยสืบมาจนทกุ วนั น้ี
พระมหากรณุ าธิคุณดา้ นการศกึ ษา พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว มีความสนพระราชหฤทัยในการศึกษาของทวย ราษฎร์ทุกระดับ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้สร้างสถานศึกษาแทนการสถาปนาวัดประจารัชกาลตาม โบราณราชประเพณี ด้วยมีพระราชดาริว่าวัดในประเทศไทยมีมากอยู่แล้ว จุดประสงค์ที่พระเจ้าแผ่นดิน ทรงสร้างวัดก็เพอ่ื ให้เป็นสถานศกึ ษา จงึ สมควรสรา้ งโรงเรียนเป็นสถานศึกษา โดยทรงพระกรณุ าโปรดเกล้า ฯให้สร้างโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ เช่น โรงเรียนราชวิทยาลัย โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัย โรงเรียน มหาดเลก็ หลวงเชียงใหม่ ในส่วนการศึกษาของทวยราษฎร์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯจัดการศึกษาภาคบังคั บแก่ ชาวไทยทั่วราชอาณาจักร โดยตราพระราชบัญญัติการประถมศึกษา พุทธศักราช ๒๔๖๔ ตาม พระราชบัญญัติฉบับน้ีมีผลบังคับให้ราษฎรส่งเด็กเข้าศึกษาเล่าเรียนตามกฎหมาย ทรงส่งเสริมให้ ภาคเอกชนมสี ่วนรว่ มจัดการศกึ ษาของชาติ ตามพระราชบญั ญัตโิ รงเรยี นราษฎร์ พทุ ธศกั ราช ๒๔๖๑ ทาให้ ประชาชนมโี อกาสไดเ้ ข้าศึกษาอย่างทวั่ ถึง และมที างเลือกทางการศึกษามากขนึ้ สมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั มพี ระอจั ฉริยภาพในการทรงพระราชนิพนธ์งาน วรรณกรรม ทัง้ ร้อยแกว้ ร้อยกรอง สารคดี บันเทิงคดปี ระเภทบทละครและเบ็ดเตลด็ รวมกว่าพันเรื่อง อาจ จาแนกเป็นหมวดต่างๆ เช่น หมวดโขน-ละคร หมวดพระราชดารัส พระบรมราโชวาท พระบรมราชานุ ศาสนีย์ หมวดนิทานและบทชวนหัว หมวดบทความลงหนังสือพมิ พ์ หมวดบทร้อยกรอง หมวดสารคดี และหมวดอน่ื ๆ เชน่ พระราชบนั ทึก พระราชหตั ถเลขา ฯลฯ บทพระราชนิพนธ์เหล่าน้ีทรงใช้พระบรมนามาภิไธยบ้าง ทรงใช้พระนามแฝงบ้าง ดังน้ี พระนามแฝงเมื่อทรงศึกษาในประเทศอังกฤษ เช่น Carlton หรือ Brother Carlton สาหรับเร่ือง ประวัติศาสตร์และการท่องเท่ียว T.M.Vajohn สาหรับเร่ืองส้ัน Young Tommy สาหรับร้อยกรอง และ H.R.H. The Crown Prince of Siam สาหรับเรอื่ งพงศาวดาร พระนามแฝงทีท่ รงใชห้ ลงั จากเสด็จทรงครองสริ ิราชสมบตั ิสาหรบั บทพระราชนพิ นธ์หลาย ประเภท เชน่ พระขรรคเ์ พชร สคุ รพี หนานแกว้ เมือ งบูรณ์ ศรีธนญชยั และพระนามแฝงอ่ืนๆ อกี มากและ ส่งิ ท่โี ปรดมาแต่ทรงพระเยาว์ คือ การแสดงละคร โดยทรงพระราชนิพนธบ์ ทละครสาหรบั แสดง ทรงกากับ การแสดงและทรงรว่ มแสดงกบั คณะละครในบทของตัวละครต่างๆ เพ่ือสาราญพระราชอิรยิ บถเป็นนติ ย์ พระราชฐานที่ประทับในพระนครและหัวเมืองจึงมีโรงละครประจาทุกแห่ง เช่น โรงโขนหลวงมิสกวัน โรงละครสวนศิวาลัย โรงละครพระราชวังพญาไท ศาลาวรนาฏเวทีสถาน ท่ีพระราชวังบางปะอิน
พระท่ีน่ังสามัคคีมุขมาตย์ท่ีพระราชวังสนามจันทร์ ท้องพระโรง ท่ีพระราชนิเวศน์มฤคทายวัน จังหวัด เพชรบรุ ี เปน็ ต้น พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชประชวรเสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๖๘ พระชนมพรรษา ๕๖ พรรษา เสด็จดารงสิรริ าชสมบตั ิได้ ๑๕ พรรษา
รัชกาลท่ี 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว รชั กาลท่ี 7 (พ.ศ. 2468-2477) พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชสมภพเม่ือวันพุธท่ี ๘ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๓๖ เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรพี ัช รนิ ทราบรมราชินีนาถ
เมื่อทรงเจริญพระชนมพรรษา สมเด็จพระ บรมชนกนาถทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้ เสด็จไปศึกษาวิชา ณ ประเทศอังกฤษ ทรง สาเรจ็ การศกึ ษาจากวิทยาลัยอตี ันแล้วทรง ศึกษาต่อวิชาทหารในโรงเรียนนายร้อย ท ห า ร เ มื อ ง วู ลิ ช ( Royal Academy, Woolich)แผนกปืนใหญ่ม้า ทรงสาเร็จ การศึกษาเมือ่ พุทธศกั ราช ๒๔๕๖ ในพทุ ธศักราช ๒๔๕๗ เสด็จฯกลับประเทศไทย พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้เข้ารับราชการตาแหน่งนายทหารคนสนิทของจอมพลสมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้ากรมหลวงพิศณุโลกประชานาถ ได้รับพระราชทานเล่ือนข้ึนดารงพระยศ และทรงดารงตาแหน่ง ตามลาดบั จนถึงพระยศนายพันตรี ตาแหนง่ ผ้บู งั คับการโรงเรียนนายร้อยชัน้ ประถมจนถึง พ.ศ. ๒๔๖๐ จึง ทรงขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตลาราชการเพ่ือทรงผนวช เม่ือทรงลาผนวชแล้วทรงกลับเข้ารับ ราชการตามเดมิ และขอพระราชทานพระบรมราชานุญาตอภเิ ษกสมรสกับหม่อมเจ้าราไพพรรณี สวัสดวิ ฒั น์ (ภายหลังทรงสถาปนาเป็นสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรมราชินี) แล้วเสด็จฯ ไปทรงศึกษาวิชา ทหารต่อในโรงเรียนเสนาธิการทหาร Ecole de Guerre ทีป่ ระเทศฝร่ังเศส ทรงสาเรจ็ การศึกษา เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๖๗ เสด็จฯกลับประเทศไทย โดยทรงแวะสหรัฐ อเมริกาและญ่ีปุ่น เพ่ือเป็นประโยชน์แก่การศึกษา เพ่มิ เตมิ เมื่อเสด็จฯ กลับถึงประเทศไทย ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯให้้เข้ารับราชการในตาแหน่ง ปลัดกรมเสนาธิการทหารบก เล่ือนพระยศขึ้นเป็น นายพันเอกทรงดารงตาแหน่งผู้บงั คับบญั ชาการกองพล ทหารบกที่ ๒ และผู้บังคับการพิเศษกรมทหารปืนใหญ่ที่ ๒ ตามลาดับ ต่อมาทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯให้ ทรงดารงตาแหน่งรัชทายาททรงปฏิบตั ิราชการแทนพระองค์ เม่ือพระบาทสมเด็จพระบรมเชษฐาธริ าเสด็จ แปรพระราชฐานไปประทบั นอกพระนคร เม่ือพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๖๘ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลที่ ๗ แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯสถาปนาหม่อมเจ้าราไพพรรณี พระวร ราชชายาขึ้นเปน็ สมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรมราชินี ในการพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก เม่ือวนั ที่ ๒๖ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๖๘
การเสดจ็ พระราชดาเนนิ ไปทรงเยยี่ มราษฎรในหวั เมอื ง พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจในการบาบัดทุกข์ บารุงสุขแก่อาณาประชาราษฎรเช่นเดียวกับท่ีสมเด็พระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าในอดีตทุกพระองค์ โดยเฉพาะการเสด็จพระราชดาเนินไปทรงเยี่ยมราษฎรอย่างใกล้ชิดซึ่งริเร่ิมมาแต่รัชกาลพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว เป็นต้นมา เสด็จฯ เลยี บมณฑลฝ่ายเหนือ และเลียบมณฑลภเู กต็ เมอื่ เสดจ็ เถลงิ ถวลั ยราชสมบัติ ในพุทธศักราช ๒๔๖๘ ในปถี ัดมาหลังจากการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณี พระบรมราชินี ได้เสด็จฯเลียบมณฑลฝ่าย เหนือและนคร เชยี งใหม่ โดยเสดจ็ พระราชดาเนินออกจากกรุงเทพฯในวันที่ ๖ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๖๙ โดยกระบวน รถไฟพระท่ีนั่งขึ้นไปถึงมณฑลพิษณุโลก ประทับแรม ๓ วัน แลัวเสด็จพระราชดาเนินต่อไปยังเมืองแพร่ เมืองนครลาปางจากนครลาปางเปล่ียน เปน็ ประทับรถยนตพ์ ระที่นงั่ ตอ่ ไปถึงจังหวัดเชียงราย เสด็จพระราช ดาเนินกลับมายงั นครลาปางประทบั รถไฟพระทนี่ ง่ั ถงึ เมืองเชียงใหม่ ในวนั ท่ี ๒๒ มกราคม จากเมืองเชียงใหม่ เสด็จพระราชดาเนินไปยังนครลาพูนโดยรถยนต์พระที่นั่ง เสด็จพระ ราชดาเนินกลับมาประทับเมืองเชียงใหม่จนถึงวันที่ ๕ กุมภาพันธ์ จึงเสด็จพระราชดาเนินโดยรถไฟพระที่ นั่งกลับถึงกรุงเทพฯมหานคร ในวนั ท่ี ๖ กุมภาพันธ์ พทุ ธศักราช ๒๔๖๙ รวมเวลา เสดจ็ ฯ เลยี บมณฑลฝา่ ย เหนอื ๑ เดือนเต็ม พระราชกรณียกิจเมื่อเสด็จประพาสแต่ละท้องท่ี คือ การเสด็จฯ ไปทรงสักการะปูชนีย วัตถุ ปูชนียสถาน คู่บ้านคู่เมืองทอดพระเนตรสภาพบ้านเมือง การศึกษา อาชีพของราษฎร และทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานพระแสงราชศัสตราประจาเมือง เม่ือแรกเสด็จถึงและยังไม่เคยได้รับ พระราชทานตามราชประเพณี ตอ่ มาในพุทธศักราช ๒๔๗๑ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยหู่ วั เสดจ็ พระราชดาเนิน พร้อมด้วยสมเด็จพระนางเจ้าราไพพรรณีพระบรมราชินี ไปทรงเย่ียมราษฎรในมณฑลภูเก็ต ระหว่างวันที่ ๒๘ มกราคม - วันท่ี ๑๑ กุมภาพนั ธ์ พุทธศกั ราช ๒๔๗๑ ทรงปฏิบัติพระราชกจิ เชน่ เดียวกบั เม่ือเสด็จพระ ราชดาเนินเลียบมณฑลฝ่ายเหนือ
นา้ พระราชหฤทยั ต่ออาณาประชาราษฎร การอานวยความผาสกุ แกร่ าษฎร ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชดาริให้มีการควบคุมบรรดา กิจการสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐานท่ีมีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตของราษฎรทั่วไปให้อยู่ในความ ควบคมุ ดูแลของหน่วยงานตา่ งๆ และให้มกี ารพฒั นาใหเ้ จริญกา้ วหน้าดังนี้ กิจการรถไฟ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ขยายเส้นทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือต่อไปจนสุด เส้นทางถงึ จงั หวัดอุบลราชธานีอีกทางหน่ึง และกรมการรถไฟหลวงยงั ได้เริ่มนารถจักรดีเซลไฟฟ้ามาลากจูง กระบวนรถไฟสายใต้ ชว่ ยประหยดั ค่าใชจ้ า่ ย และลดระยะเวลาเดินทางดว้ ย การสร้างสะพาน โครงการสร้างสะพานข้ามแม่น้าเจ้าพระยา เพื่อเช่ือมทางรถไฟฝั่งตะวันตกและฝั่งตะวันออกของแม่น้า เจ้าพระยามีเส้นทางหลวงให้ยวดยานทุกชนิดรวมท้ังทางเดิน ของราษฎรสัญจรไปมาถึงกันได้ ซ่ึงเริ่มดาเนินการมาแต่ ้รัชกาลท่ี ๖ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหด้ าเนนิ การต่อตามพระราชดาริ จนลุล่วง เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเปิดและพระราชทาน นามสะพานเปน็ ทรี่ ะลึกและเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หัววา่ สะพานพระราม ๖ นอกจากน้ี ในโอกาสสมโภชพระนครครบ ๑๕๐ ปี มีพระราชดาริให้สร้างถาวรวัตถุสถานเป็นพระปฐม บรมราชานุสรณ์ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพาน ข้ามแม่น้าเจ้าพระยาอีกแห่งหนึ่งเป็นสะพานท่ีทันสมัย เปิด ปิดให้เรือขนาดใหญ่ผ่านเข้า-ออก เข้ามาในพระนครช้ันในได้ พระราชทานนามว่า สะพานพระพุทธยอดฟ้า การสรา้ งถนน ถนนที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างข้ึนในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยหู่ วั ประกอบดว้ ยถนนในพระนคร เพ่ืออานวยความสะดวกในการสัญจรไปมา เพราะพาหนะประเภท ต่างๆ มีปริมาณมากขึ้นนอกจากนี้ ยังมีโครงการสร้างถนนพระนครไปเชื่อมกับปริมณฑลใกล้เคียง คือ ธนบุรี นนทบุรี และสมุทรปราการ ส่วนทางหลวงท่ัวราชอาณาจักรกรมทางหลวงได้ดาเนินการสร้างทาง หลวงแผน่ ดนิ กระจาย ไปยังภาคตา่ งๆ เชน่ กนั การตงั้ ชอ่ื ถนนเปน็ ท่ีระลกึ ถึงเหตกุ ารณใ์ นประวัติศาสตร์ ในรัชกาลน้ีมีพระราชดาริให้ต้ังชอ่ื ถนนเพื่อราลึกถึงประ้วัติศาสตร์เน่ืองด้วยประวัติบุคคล สถานทแ่ี ละเหตกุ ารณ์สาคัญในประวตั ศิ าสตร์ คร้ังสาคัญ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ มเด็จพระเจ้าบรม วงศเ์ ธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงตงั้ ช่อื ถวายเพื่อใ้ห้มพี ระบรมราชวินิจฉัย ชอ่ื ถนนท่ีทรงกระกรุณา
โปรดเกล้าฯ พระราชทานได้แก่ ถนนประชาช่นื ถนนเจา้ กรงุ ธน ถนนสมเด็จเจ้าพระยา ถนนลาดหญ้า ถนน วังหลัง ถนนวงั เดมิ ถนนโพธสิ์ ามต้น ถนนบางแก้ว ถนนท่าดินแดง ถนนปากพิง ถนนเชยี งใหม่ เป็นตน้ การคมนาคมระหวา่ งประเทศ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว การคมนาคมระหว่างประเทศได้เจริญก้าวหน้า ทั้งทางเรือและทางอากาศ เช่น การทาสัญญาทางพระ ราชไมตรีและการคา้ และการเดินเรือกบั ประเทศต่างๆทา ใ ห้ มี ก า ร เ ดิ น เ รื อ ค้ า ข า ย กั บ ป ร ะ เ ท ศ ท้ั ง ห ล า ย อ ย่ า ง กว้างขวาง กิจการการบนิ ในสมัยนี้ได้พัฒนาให้ก้าวหนา้ ขนึ้ เชน่ ประเทศเนเธอร์แลนด์ได้เริ่มเปิดสาย การบิน และนาเคร่อื งบินโดยสารมาจอดทส่ี นามบินดอนเมืองและสงขลา เป็นการเปดิ การขนสง่ ทางอากาศ จากยุโรปมายังทวีปเอเชียเป็นครั้งแรก และได้มีการอนุญาตให้ตั้งบริษัทเดินอากาศจากัด (Aerial Transport of Siam Co., Ltd.) เปิดเส้นทางบินในประเทศและรับเป็นตัวแทนบริษัทการบิน ต่างประเทศดว้ ย การทะนุบารงุ ศลิ ปวฒั นธรรม กิจการพิพิธภัณฑ์ซ่ึงเริ่มมาแต่ในสมัยรัชกาลท่ี ๕ โดยทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ย้าย การจัดพิพิธภัณฑ์จากหอคองคอเดีย ในพระบรมมหาราชวังมาจัดท่ีพระที่น่ังในพระบวรราชวังหรือวังหน้า เรียกว่า มูเสียมหลวงท่ีวังหน้า และในรัชกาลที่ ๖ ยกงานพิพิธภัณฑ์มารวมกับงานช่างประณีตแยกจาก กรมโยธาธิการยกเปน็ กรมใหมช่ อื่ วา่ กรมศลิ ปากร ใ น รั ช ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ป ก เ ก ล้ า เจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้โอนงาน พิพิธภัณฑสถานไปอยู่กับหอพระสมุดสาหรับพระนคร เรียกว่า พิพิธภัณฑสถานสาหรับพระนคร ภายหลังทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังราชบัณฑิตยสถานมีแผนกต่างๆ รั บ ผิ ด ช อ บ ง า น ก า ร จั ด พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น ต ร ว จ รั ก ษ า โบราณสถาน งานด้านวรรณคดี และงานบารุงรกั ษาวิชาช่าง กิจการพิพิธภัณฑสถาน จึงเจริญก้าวหน้าข้ึนเป็นพิพิธภัณฑสถานสาหรับพระนครเสด็จ พระราชดาเนินไป ทรงเปดิ เมื่อวันที่ ๑๐ พฤศจกิ ายน พทุ ธศักราช ๒๔๖๙ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสิ่งของ ส่วนพระองค์มาจัดแสดงตามท่ีกราบบังคมทูลขอพระกรุณาพระราชทานทุกครั้ง รวมท้ังพระราชทานพระ บรมราชานุญาต ให้เชิญพระจิตกาธานในงานพระเมรุมาเก็บรักษาและจัดแสดง คือ โรงราชรถ ซ่ึงเป็น อาคารสมยั ใหม่หลงั แรกในพพิ ธิ ภณั ฑส์ ถานแหง่ ชาติสาหรับพระนคร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานพระราชดารัสในการเปิดพิพิธภัณฑสถานมีความ สว่ นหนงึ่ ซ่งึ เปน็ แนวทางในการจัดพพิ ธิ ภัณฑส์ ืบมาดังน้ี
“ศิลปวัตถุก็ดี โบราณวัตถุก็ดี ย่อมเป็นส่วนหนึ่งของตานานและพงศาวดารของชาติ เป็น สิ่งท่ีแสดงให้เห็นความเจริญและอารยธรรมของ ประเทศตามลาดับกาลทั้งเป็นส่ิงซึ่งแสดงให้เห็นวิญญาณ และอปุ นสิ ัยของประชาชนแห่งชาติน้ันด้วย ดว้ ยเหตเุ หลา่ น้ี จงึ เหน็ ควรบารงุ รักษาไว้อยา่ งดี...” การพระศาสนาและการศกึ ษา พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงทะนุบารุงพระศาสนา โดยมีพระราชศรัทธา ให้บูรณปฏิสงั ขรณ์ พระอารามหลวงสาคัญตามราชประเพณี เชน่ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ปฏสิ ังขรณ์ วัดพระศรีรัตนศาสดานารามคร้ังใหญ่ ในโอกาสฉลองพระนคร ๑๕๐ ปี โปรดให้บูรณวัดประจา พระบรมราชจักรีวงศ์ท่ีพระนครศรีอยุธยา คือ วัดสุวรรณดารามและทรงบาเพ็ญพระราชกุศล โดย ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯใหต้ รวจสอบชาระและจดั พิมพ์พระไตรปฎิ กอักษรไทยฉบับสมบรู ณ์พระราชทาน แจกจ่ายแก่มหาวิทยาลัยและหอสมุดนานาชาติทั่วโลก และในพระราชอาณาจักรพระราชทานแก่ผู้บริจาค ทรัพย์ ภายหลังทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานกรรมสิทธ์ไิ วแ้ กม่ หามงกุฎราชวิทยาลยั พระราชดาริท่ีทรงริเร่ิมใหม่ คือ การที่ทรงกระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ ราชบัณฑิตยสภา ประกวดแต่งหนังสือพระพุทธศาสนาแก่เด็กในการ พระราชกุศลวิสาขบูชา เพื่อให้ เยาวชนไทยมีหนังสืออ่านเก่ียวกับพระพุทธศาสนาที่เข้าใจง่าย เป็นเครื่องโน้มนาให้ศรัทธาใน พระพทุ ธศาสนาตอ่ ไป กิจการภาพยนตร์ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชจริยวัตรส่วนพระองค์ คือ โปรดการ บันทึกภาพยนตร์ โดยทรงถ่ายภาพบันทึกเหตุการณ์ สาคัญในประวัติศาสตร์ในรัชสมัยด้วยฟิล์มภาพยนตร์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯใหเ้ รียกวา่ ภาพยนตร์ทรงถ่าย ตอ่ มาเปล่ยี นเป็นภาพยนต้รอ์ ัมพร พระราชนิยมในการถ่ายภาพยนตร์นี้ ทาให้มีผู้สนใจงานภาพยนตร์กันอย่างแพร่หลาย ทรงสนับสนุนให้ก่อต้ังสมาคมภาพยนตร์สมัครเล่นแห่งสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในพระราชวังสวน จิตรลดา เพ่ือส่งเสริมให้สมาชิกมีโอกาสแลกเปล่ียนข่าวสารความรู้และผลงานซ่ึงกันและกันและมีผลต่อ นโยบายของรัฐในการสนับสนุนกิจกรรมภาพยนตร์ไทยในราชอาณาจักร มีการตราพระราชบัญญัติ ภาพยนตร์ พุทธศักราช ๒๔๗๓ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างโรงภาพยนตร์ท่ีทันสมัยเป็น อนุสรณ์ในโอกาสฉลองพระนคร ๑๕๐ ปี พระราชทานนามว่า ศาลาเฉลิมกรุง เป็นโรงภาพยนตรท์ ่ีทันสมยั แหง่ แรกของประเทศ
พ ร ะ ร า ช ด า ริ ใ น ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ อบ ประชาธิปไตย พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง ดาเนินพระบรมราโชบายที่จะพัฒนาการปกครอง โดยการ กระจายพระราชอานาจ และให้มีคณะบุคคลหรือองค์กรมีส่วน ร่วมในการทางานร่วมกนั ดงั น้ี ทรงตั้งอภิรัฐมนตรี ประกอบด้วยพระบรม วงศ์ที่มีประสบการณ์เป็นที่ยกย่องนับถือในหมู่ชนท่ัวไป ให้มา มีส่วนช่วยบริหารบ้านเมือง โดยถวายความคิดเห็นและ คาแนะนาดังพระราชดารัสในวันเปิดการประชุมสภากรรมการ องคมนตรี เมื่อวันท่ี ๓๐ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๗๐ ความตอนหนึง่ ดงั นี้ “ ...ตั้งแต่เราได้ครองราชสมบัติต่อสมเด็จ พระบรมเชษฐาธิราชก็ได้เห็นว่าเสนาบดี และตัวเราจะ ปกครองบ้านเมืองซ่ึงเป็นความรับผิดชอบอัน ใหญ่ยิ่งนัก ย่อม ต้องอาศัยความรู้ ความชานาญ ความสามารถของผู้อ่ืนด้วยจึง จะได้ผลดียิ่งขึ้น เราจึงได้สถาปนาอภิรฐั มนตรีขึ้นเป็นที่ปรกึ ษา อีกคณะหนึ่ง ...เรามีความประสงค์ที่จะทดลอง และปลูกฝัง การศึกษาในวิธีการปรึกษาโต้เถียงให้สาเร็จเปน็ มติแบบอย่างที่ ประชุมใหญ่เพราะฉะนั้นจึงได้ดัดแปลงสิ่งที่มีอยู่แล้วให้ใช้การ ได้เหมาะสมตามสภาพของบ้านเมืองท่ีมีอยู่ในเวลาน้ีถ้าหากถึง เวลาอันควรท่ีจ ะเ ปล่ีย นแ ปล งวิธี กา รป กคร อง ขอ งป ร ะเ ทศ ตอ่ ไปกจ็ ะไดท้ าได้โดยสะดวก...” อย่างไรก็ดีเม่ือถึงวันท่ี ๒๔ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๗๕ คณะราษฎรได้ดาเนินการยึดอานาจ เปลี่ยนแปลงการปกครอง โดยมีหนังสือกราบ บังคมทูลพระกรุณาว่า เพราะมีความประสงค์ที่จะได้ให้มี รัฐธรรมนูญการปกครองแผ่นดิน พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ พระราชทานพระราชหัตเลขาตอบคณะราษฎรตอนหนึ่งวา่ “...ความจรงิ ขา้ พเจ้าก็คดิ อยู่แลว้ ทจ่ี ะเปลย่ี นแปลงทานองน้ีคือ มีพระเจา้ แผ่นดินปกครอง ตามพระธรรมนูญ......” หลังจากคณะราษฎรทาการเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้วได้ทูลเกล้าฯ พระราชทาน กาหนดนิรโทษกรรมและขอพระราชทานอภัยโทษ ที่กระทาล่วงเกินพระองค์ บรรพกษัตริย์และพระ ราชวงศจ์ กั รี ณ พระตาหนกั จิตรลดารโหฐานพระราชวงั ดสุ ิต เมื่อวนั ท่ี ๗ ธนั วาคม พุทธศักราช ๒๔๗๕
พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอย่หู ัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานอานาจแก่ ปวงชนชาวไทย ทรงลงประมรมาภิไธยพระราชทานรฐั ธรรมนญู เปน็ กฎหมายสงู สดในการปกครองประเทศ เม่ือวันที่ ๑๐ ธนั วาคม พทุ ธศักราช ๒๔๗๕ ตอ่ มาได้ทรงสละราชสมบัตเิ สดจ็ ประทบั พร้อมดว้ ยสมเดจ็ พระ นางเจ้าราไพพรรณี พระบรมราชนิ ี ณ ประเทศองั กฤษ ตราบจนเสด็จสวรรคต เมือ่ วนั ท่ี ๓๐ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๘๔ และไดอ้ ัญเชิญพระบรมอฐั มิ าประดิษฐานในประเทศไทย เมอ่ื วันที่ ๒๔ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๒
รชั กาลที่ 8 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหดิ ล พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล รัชกาลท่ี 8 (พ.ศ. 2477-2489) พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร เสด็จพระราช สมภพเมอื่ วันอาทิตย์ที่ ๒๐ กนั ยายน พุทธศักราช ๒๔๖๘ ณ เมอื งไฮเดลเบอรก์ ประเทศเยอรมนี เปน็ พระ ราชโอรสในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมพระบรมราชชนก ซึ่งขณะนั้นทรงดารงพระอิสริยยศ สมเด็จพระเจ้าพ่ียาเธอ เจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมขุนสงขลานครินทร์ กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรม ราชชนนี ขณะเปน็ หมอ่ มสังวาลย์ มหิดล ณ อยุธยา
เม่ือพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสละราชสมบัติ ในวันท่ี ๒ มีนาคม พุทธศักราช ๒๔๗๗ ทรงได้รับการอัญเชิญเสด็จเถลิง ถวัลยราชสมบัติ เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลท่ี ๘ แห่งพระบรมราชวงศจ์ ักรี แต่ดว้ ยทรงเจรญิ พระชนมพรรษาเพียง ๙ พรรษา จงึ มีคณะผสู้ าเรจ็ ราชการแทน พระองค์ ปฏิบัติพระราชกรณียกิจในพระปรมาภิไธย ขณะเสด็จฯไปประทับศึกษา ณ ประเทศ สวิตเซอร์แลนด์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวัตพระนคร เพ่ือทรงเย่ียมประชาชน ชาวไทย คร้งั แรกใน พ.ศ. ๒๔๘๙ พระราชจริยวัตรและพระราชกรณียกิจ เม่ือเสด็จนวิ ตั ประเทศไทยคร้งั แรก ใน พ.ศ. ๒๔๘๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จนิวัต ประเทศไทยเป็นคร้ังแรก พร้อมด้วยสมเด็จพระราชชนนี ศรีสังวาลย์ สมเด็จพระเจ้าพ่ีนางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณวิ ฒั นา และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอเจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช (พระอิสสริยยศขณะนั้น) เรือพระท่ีน่ังถึงท่าราชวรดิษฐ์ เมื่อวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๑ ประทับ ณ พระ ตาหนักจิตรลดารโหฐาน พระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระเยาว ทรง ประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการ เสด็จออกทรงรับ การทูลเกล้าฯถวายเคร่ืองแบบ ยวุ ชนนายทหาร วันท่ี ๑๗ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๔๘๑ เสด็จพระราชดาเนินไปยังวัดพระศรี รตั นศาสดาราม มพี ระราชดารัสแสดงพระองคเ์ ป็นพุทธม ามกะ วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๘๑ เสด็จพระราชดาเนินไปพระราชทานธงประจากองลูกเสือ ณ สนามกีฬา วันที่ ๒๙ พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๑๔๘๑ เสด็จพระราชดาเนินไปทรงเปดิ โรงพยาบาลอานันทมหิดล จังหวดั ลพบุรี วนั ท่ี ๖ มกราคม พ. ศ. ๒๔๘๑ เสด็จพระราชดาเนินกลับไปทรงศึกษาต่อท่ีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ วันท่ี ๑๓ มกราคม พ.ศ.๒๔๘๑ วันขึ้นปใี หม่เปล่ียนเปน็ วันท่ี ๑ มกราคมเม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๔ ก่อนหน้าน้ันถอื เอาวันที่ ๑ เมษายน เปน็ วนั ข้นึ ปีใหม่
การเสด็จนิวัตประเทศไทยครงั้ ท่สี องระหว่าง พ.ศ. ๒๔๘๘-๒๔๘๙ เม่ือสงครามโลกคร้ังที่ ๒ ส้ินสุดลง พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันท มหิดล พร้อมด้วยสมเด็จพระราชชนนีศรีสังวาลย์ และสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เสด็จนิวัตประเทศไทยเพ่ือทรงเย่ียมเยียนพสกนิกรชาวไทยและปฏิบัติพระราชกรณียกิจต่างๆ เครื่องบิน พระที่นง่ั ถงึ สนามบนิ ดอนเมืองวนั ที่ ๕ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๔๘๘ แม้ทรงมีเวลาท่ีประทับในประเทศไทยเพียงช่วงส้ันแต่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล ได้ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจทั้งงานพระราชพิธี งานรัฐพิธี และเสด็จพระราชดาเนินไป ทรงเย่ยี มราษฎรโดยใกลช้ ดิ รวมท้งั ทอดพระเนตรกจิ การของหนว่ ยงานต่างๆ เสด็จประพาสเยี่ยมราษฎรตามท้องที่ต่างๆ ได้แก่ อาเภอเมืองสมุทรปราการ พระ ประแดง ปทุมธานี นนทบุรี ปากเกร็ด สมทุ รสาคร สมทุ รสงครามและบางเขน ไม่ว่าจะเสด็จที่ใดราษฎรพา กันมาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทรับเสด็จอย่างเนอื งแน่น ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานดารัสและ ทรงรว่ มกจิ กรรมของแต่ละทอ้ งถนิ่ โดยมิถือพระองค์ เสด็จประพาสเยี่ยมราษฎรที่สมุทรปราการ ทรงปล่อยปลาในเทศกาลสงกรานต์ เม่ือวนั ที่ ๑๗ พฤษภาคม พ.ศ.๒๔๘๙ เสดจ็ พระราชดาเนินไปเย่ยี มเกษตรกรบางเขน เมื่อวันท่ี ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ทรงรับ ของท่รี าษฎรทูลเกลา้ ฯถวาย ทรงรบั ไวท้ กุ ส่งิ ดว้ ยทรงถือว่ามีคา่ สูงทางใจ เสด็จพระราชดาเนินในการพระราชทานเลยี้ งน้าชาแกพ่ ระบรมวงศานวุ งศ์ ณ สวนศวิ าลยั ในพระบรมมหาราชวัง วนั ท่ี ๑๒ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๔๘๘
เสด็จพระราชดาเนนิ ในพระราชพธิ ีข้ึนปีใหม่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๘๙ เสด็จพระราชดา้เนินไปทรงตรวจพลสวนสนามของกองทัพพันธมิตรพร้อมกับเรือลอร์ด หลุยส์เมาต์แบตแตน ผู้บญั ชาการทหารสงู สดุ สัมพันธมิตรภาคตะวันออกไกล เสด็จพระราชดา้เนินเยยี่ มโรงเรียนนายรอ้ ยพระจุลจอมเกล้าวัน ท่ี ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ เสด็จพระราชดาเนินไปทอดพระเนตรเรือดาน้าและเรือปืนศรีอยุธยา วันท่ี ๑๕ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิตจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วนั ท่ี ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ มีพระราชดารสั พระราชทานตอนหน่ึงว่า “...สาหรับนิสิตที่สาเร็จหลักสูตรซึ่งได้รับปริญญาในวันน้ีอย่าพึ่งเข้าใจว่าท่านเรียนจบส้ิน การศกึ ษาแล้ว การศกึ ษายอ่ มไม่มีที่สน้ิ สดุ ทา่ นตอ้ งหม่นั แสวงหา วชิ าความรเู้ พิ่มเตมิ ให้ทันสมัยเสมอ...” เสดจ็ พระราชดาเนนิ วดั ราชาธิราชวนั ท่ี ๑๓ เมษายน พ.ศ. ๒๔๘๙ เสดจ็ พระราชดาเนินเยี่ยมชุมชนมุสลมิ ที่มัสยดิ ต้นสน วันท่ี ๒๙ เมษายน ค.ศ. ๒๔๘๙ เสด็จออกมหาสมาคมทรงลงพระปรมาภิไธยพระราชทานรัฐธรรมนูญ และทรงเปิดสภา ผ้แู ทนราษฎร ณ พระท่ีนง่ั อนันตสมาคม พระราชวังดุสิต เมื่อวนั ที่ ๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๘๙ เสด็จประพาสสาเพง็ วันท่ี ๓ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๔๘๙ บริเวณสาเพ็ง สร้างซุ้มประตูรับเสด็จ ประดับ ประดาเป็นรูปมังกร อย่างใหญ่โต ร้านค้าทอง ตลาดผ้าและร้านค้าปลีกย่อย ตกแต่งด้วยธงทิวอย่างหรหู รา ด้วยผ้ าและแพรสีต่างๆท่ีขายอยเู่ ป็นประจา ห้างร้้านใดใหญโ่ ตก็ขนเอาโต๊ะมุกเคร่ืองบูชาเก่าแก่และเครอ่ื ง แกว้ เจยี ระไนอย่าง้ดีออกมาตั้งรับเสดจ็ นับต้ังแต่ปากตรอกสะพานหนั สองฟากถนนสาเพ็งมีพรมปูลาดอย่าง ดี นอกจากนก้ี ็ยังมสี ิ่งของที่พวกพ่อค้าชาวจีน ชาวอินเดยี จดั เตรยี มไว้เพ่ือทูลเกล้าฯ ถวายตามรา้ นต่างๆ เวลา ๙.๐๕ น. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พร้อมด้วยสมเด็จพระ อนุชาธิราช (พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัวภูมิพลอดุลยเดช)ได้เสด็จพระราชดาเนินด้วยพระบาทอย่างชา้ ๆ ลอดซุ้มประตูตกแต่งด้วยดอกไม้ผ่านบรรดาแม่ค้าพ่อค้าท่ีหมอบเฝ้า...สมเด็จพระอนุชาทรงเป็นช่างภาพ กติ ตมิ ศักดทิ์ รงถา่ ยรปู ไวท้ ุกพระอิรยิ าบถ...ทรงให้เวลาตงั้ แตเ่ ชา้ จนเกือบเทีย่ งวนั ตอนหนง่ึ ทรงเลา่ วา่ “...ฉนั กาลังเดินเพลินๆอยู่ พอกา้ วขาออกไปมีจนี คนหนึ่งว่ิงเข้ามาตรงเท้าฉันตกใจเหลียว มาดู เห็นเขากอบเอาขี้ฝุ่นตรงท่ีฉันเหยียบ ใหม่ๆใส่มือแล้วเอาห่อใส่ผ้าเช็ดหน้าไว้ ถามดูได้ความว่าจะเอา ไปบูชา...”
พระบรมฉายาลกั ษณ์สดุ ทา้ ย พระบาทสมเด็จพระเจ้้าอย่หู ัวอานันทมหิดล เสดจ็ พระราชดาเนินทรงหวา่ นเมลด็ พันธฺพืช ทสี่ ถานีเกษตรบางเขน เม่อื วนั ท่ี ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ วันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๘๙ ใกล้เวลา ๙ นาฬิกา พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา อานันทมหิดล เสดจ็ สวรรคตโดยกะทันหนั ณ พระท่นี งั่ บรมพิมานในพระบรมมหาราชวัง พระชนมพรรษา ได้ ๒๑ พรรษา รัฐสภาได้แถลงใหท้ ราบถึงลาดับการสืบราชสันตติวงศ์ โดยกฎมณเทียรบาลว่าด้วยการสบื ราชสันตติวงศ์ พุทธศักราช ๒๔๖๗ ว่าในลาดับแรก ได้แก่ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระอนุชาธิราช รว่ มพระชนกพระชนนี สมเด็จเจ้าฟ้าภูมิพลอดุลยเดช เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติเป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ ๙ แหง่ พระบรมราชจกั รีวงศ์ เฉลมิ พระปรมาภไิ ธยว่า สมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช ต่อมาวันที่ ๙ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๙ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศเฉลิมพระปรมาภิไธยเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระบรมเชษฐาธิราชว่า พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล และในศุภมงคลทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ เฉลิมพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล ว่า พระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลส กลไพศาลมหารัษฎาธิบดี พระอัฐมรามาธิบดินทร สยามินทรธิราช บรมนาถบพิตร ออกพระนามโดยสังเขปว่า พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดลพระ อัฐมรามาธิบดนิ ทร
รชั กาบที่ 9 พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ เดช มหิตลาธิเบศรรามาธบิ ดี จกั รนี ฤบดนิ ทร สยามนิ ทราธริ าช บรมนาถบพิตร พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระนามเดิมวา่ “พระว รวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิพลอดุลยเดช” ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช กรมหลวง สงขลานครินทร์ (ต่อมาได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธยเป็น สมเด็จ พระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อมสังวาล (ต่อมาได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธย เป็นสมเด็จพระศรีนครินทรา บรมราชชนนี) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ทรงเสด็จพระราชสมภพ เม่ือวันท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ โรงพยาบาลเมานท์ออเบอร์น ( MOUNT AUBURN) รัฐเมสสาชูเขตต์ ( MASSACHUSETTS) ประเทศสหรฐั อเมริกา เมื่อพระชนมายไุ ด้ 5 พรรษา ทรงเข้ารบั การศึกษาทีโ่ รงเรยี นมาแตรเ์ ดอี กรงุ เทพมหานคร ต่อจากน้ันทรงเสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ในชั้นประถมศึกษา ท่ีโรงเรียนเมียร์มองต์ (MERRIMENT) เมอื งโลซานน์ (LASAGNA) ในปี พ.ศ. 2478 ได้ทรงเขา้ ศกึ ษาต่อที่ CEDE NOUBELLE DE LA SUES ROMANCE CHILLY ซึ่งเป็นโรงเรียนเอกชนที่รับนักเรียนนานาชาติ ในระดับอุดมศึกษาทรงเข้า
Search