Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานวิจัย 5 บท

งานวิจัย 5 บท

Published by aom9531, 2021-02-03 03:45:58

Description: งานวิจัย 5 บท

Search

Read the Text Version

ก การศึกษาสภาพและความคาดหวงั ในการปฏบิ ตั ิงานนเิ ทศการศกึ ษา ของศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 42 มณฑริ า บตุ โยธี งานวจิ ัยนเ้ี ปน็ ส่วนหน่ึงของการปฏิบัตงิ านในตาแหน่งศึกษานเิ ทศก์ สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 42 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

การศกึ ษาสภาพและความคาดหวงั ในการปฏบิ ัตงิ านนิเทศการศึกษา ของศึกษานิเทศก์ สังกดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 42 มณฑิรา บตุ โยธี งานวิจัยนเ้ี ป็นส่วนหน่ึงของการปฏบิ ตั ิงานในตาแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์ สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 42 สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

สารบญั บทที่ หน้า บทคดั ย่อ (1) กติ ติกรรมประกาศ (3) สารบญั (4) สารบญั ตาราง (6) สารบญั ภาพ (8) บทที1 บทนา 1 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา 5 วัตถุประสงค์ของการวจิ ยั 5 ขอบเขตการวจิ ยั 7 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะท่ใี ช้ในการวิจยั 8 ประโยชน์ของการวิจัย บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้อง 10 การนิเทศการศึกษา 22 แนวคดิ เกยี่ วกับศกึ ษานเิ ทศก์ 30 งานวิจยั ทีเ่ ก่ียวข้อง 37 กรอบแนวคิดของการวิจยั 37 สมมตุ ิฐานของการวจิ ัย บทที่ 3 วิธดี าเนินการวจิ ยั 38 ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง 40 เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการวจิ ยั 42 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 42 การวิเคราะห์ข้อมูล 43 สถติ ิทีใ่ ชใ้ นการวิจัย บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 45 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู สว่ นบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถาม ผลการวเิ คราะหร์ ะดบั ความคิดเห็นเกย่ี วกับสภาพและความคาดหวัง 47 ในการปฏบิ ัติงานนเิ ทศการศึกษาของศกึ ษานิเทศก์ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 42 โดยภาพรวม

สารบัญ (ตอ่ ) บทที่ หน้า บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู 49 ผลการวเิ คราะหร์ ะดบั ความคิดเหน็ เกี่ยวกบั สภาพและความคาดหวัง ในการปฏบิ ตั ิงานนเิ ทศการศกึ ษาของศึกษานเิ ทศก์ตามความคดิ เหน็ ของ 63 ขา้ ราชการครู สังกัดสานักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 โดยแยกรายด้าน 66 เปรียบเทียบความคิดเหน็ สภาพและความคาดหวงั ในการปฏิบัติงานนเิ ทศ 69 การศกึ ษา ของศึกษานิเทศก์ ตามความคิดเห็นของข้าราชการครูสงั กดั สานักงาน 72 เขตพนื้ ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 73 80 บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 81 สรปุ ผลการวิจยั อภปิ รายผล 87 ขอ้ เสนอแนะ 96 บทท่ี บรรณานกุ รม บทที่ ภาคผนวก 100 103 ภาคผนวก ก รายนามผเู้ ชย่ี วชาญตรวจสอบเครอื่ งมือ 108 หนงั สือขออนุญาตแต่งตง้ั ผเู้ ชี่ยวชาญตรวจสอบเครื่องมือ 119 แบบตอบรับการเปน็ ผ้เู ชี่ยวชาญ ภาคผนวก ข ผลการประเมินความสอดคล้องความตรงเชิงเนื้อหา ของแบบสอบถามโดยผูเ้ ช่ียวชาญ ภาคผนวก ค หนงั สอื ขอความอนุเคราะห์เกบ็ ข้อมูลเพ่ือตรวจสอบ ความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม ภาคผนวก ง ผลการหาคา่ ความเชอื่ มนั่ ของเคร่ืองมอื (Try out) ภาคผนวก จ หนังสือขอความอนเุ คราะห์เกบ็ ข้อมูลเพ่ือการวิจัย ภาคผนวก ฉ แบบสอบถามเพื่อการวจิ ัย ประวตั ผิ วู้ ิจัย

สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 3.1 4.1 แสดงประชากรและกลุ่มตัวอยา่ งจาแนกตามตาแหน่งและขนาดของโรงเรยี น 39 4.2 จานวน และคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม 46 4.3 ค่าเฉลย่ี คา่ เบ่ยี งเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพและ 47 4.4 ความคาดหวังในการปฏิบตั งิ านนเิ ทศการศึกษาของศึกษานเิ ทศก์ตามความ 49 คิดเห็นของข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา 52 4.5 เขต 42 โดยภาพรวม ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพและ 4.6 ความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความ คดิ เหน็ ของข้าราชการครู สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ด้านการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและกระบวนการจัดการ เรยี นรู้ ค่าเฉล่ีย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพและ ความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความ คดิ เห็นของขา้ ราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา 54 เขต 42 ดา้ นการวัดและการประเมนิ ผล 56 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพและ ความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความ คิดเหน็ ของขา้ ราชการครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ด้านการส่งเสริมและพัฒนาส่ือนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการ ศกึ ษา ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพและ ความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความ คดิ เห็นของขา้ ราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ด้านการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลระบบบริหารและการจัด การศกึ ษา

สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางที่ หนา้ 4.7 ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพและ 59 61 ความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความ 63 คดิ เห็นของขา้ ราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา 64 เขต 42 ด้านการส่งเสรมิ และพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 4.8 ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน และระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับสภาพและ ความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความ คดิ เห็นของขา้ ราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ดา้ นการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผลและนิเทศการศึกษา 4.9 เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อสภาพในการปฏิบัตงิ านนิเทศการศกึ ษาของ ศกึ ษานเิ ทศก์ตามความคดิ เห็นของข้าราชการครู สงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ี การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 42 โดยจาแนกตามตาแหน่ง 4.10 เปรียบเทยี บความคิดเหน็ ของข้าราชการครตู ่อความคาดหวัง ในการปฏบิ ตั งิ านนเิ ทศการศึกษาของศึกษานเิ ทศก์ ตามความคิดเหน็ ของ ขา้ ราชการครู สงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 42 โดยจาแนกตามตาแหนง่

สารบัญภาพ หน้า 37 ภาพที่ 2.1 กรอบแนวคิดในการวจิ ยั

65 บทคัดยอ่ ชอื่ เรอื่ ง การศึกษาสภาพและความคาดหวังในการปฏบิ ัติงานนเิ ทศการศึกษา ของศึกษานเิ ทศก์ สังกัดสานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 42 ชื่อเร่อื ง นางมณฑิรา บตุ โยธี คณะท่ปี รึกษา ดร.อภิเชษฐ์ ฉิมพลีสวรรค์ นายไพรตั น์ กล่นิ ทบั ก า ร ศึ ก ษ า ค รั้ ง น้ี มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พ่ื อ ศึ ก ษ า ส ภ า พ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น นิ เ ท ศ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ศกึ ษานิเทศก์ ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 เพอ่ื ศึกษาความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ ตามความคิดเห็นของ ข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็น ของข้าราชการครูต่อสภาพและความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตาม ความคิดเห็นของข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 โดยจาแนก ตามตาแหน่ง ประชากร ท่ีใช้ในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ ข้าราชการครูสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 42 จาแนกเป็นผู้บริหาร และครูผู้สอน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีสุ่มแบบหลาย ขั้นตอน (Multisage Random Sampling) โดยกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามวิธีการของ Taro Yamane เคร่ืองมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (checklist) แบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคอร์ท (likert) จานวน 60 ข้อ ได้ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.89 สถิติท่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ (Percent) ค่าเฉล่ยี (Mean) สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และคา่ t-test ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความคิดเห็นของข้าราชการ ครู สงั กดั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 โดยภาพรวมสภาพการปฏิบัติอยู่ในระดับ มาก เม่ือจาแนกเป็นรายข้อพบว่าสภาพการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความ คิดเห็นของขา้ ราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 อยู่ในระดับมากทุก ข้อ และความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความคิดเห็นของ ข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่าสุด คือ การวัด และการประเมินผลการศึกษา และการติดตาม

66 ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา การนิเทศติดตามและประเมินผลระบบบริหาร และการ จัดการศกึ ษา 2. ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน มีความคิดเห็นต่อสภาพการปฏิบัติงานและ ความคาดหวังการนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ โดยภาพรวมไม่แตกตา่ งกัน

65 กิตตกิ รรมประกาศ งานวิจัยฉบับน้ีสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ด้วยความเมตตาของท่ีปรึกษางานวิจัย .คือ ดร.อภิเชษฐ์ ฉิมพลีสวรรค์ และนายไพรัตน์ กลิ่นทับ รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 42 ที่ได้กรุณาอนุเคราะห์ให้คาปรึกษาแนะนา.ดูแลเอาใจใส่ให้ความช่วยเหลือ ในการปรบั ปรงุ แกไ้ ขงานวจิ ัยจนสาเรจ็ ด้วยดตี ลอดมา ขอขอบพระคุณ นายสายชล ทองฤทธ์ิ ผู้อานวยกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 นางวิระดา แก่นกระโทก ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 และนางวิชิรตา วรธาดาสวัสดิ์ ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ท่ีให้ความอนุเคราะห์ตรวจแก้ไข เครื่องมือท่ีใชเ้ พอ่ื การวจิ ัย ขอขอบพระคุณผู้อานวยการสถานศึกษา และครูผู้สอนโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขต พ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ท่ีให้ความอนุเคราะห์ในการเก็บข้อมูลตัวอย่างและตอบ แบบสอบถามเพ่อื การศกึ ษาวจิ ยั มณฑริ า บุตโยธี

1 บทท่ี 1 บทนา 1. ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา จากสถานการณ์ในปจั จบุ ันที่สังคมโลกมกี ารเปลีย่ นแปลงอยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะการเรียนรู้ ท่ีไร้พรมแดน ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงในสังคมรวมท้ังการปรับเปล่ียนไปตามการ เปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีอย่างรวดเร็ว ส่งผลตอ่ ความทนั สมัยในองค์ความรู้และสนองความต้องการ ของผู้เรียนและยังมีส่วนช่วยดึงดูดให้ผู้ที่สนใจเข้ามาศึกษาเรียนรู้และนาองค์ความรู้ไปใช้เพ่ือเกิด ประโยชน์อย่างรวดเร็ว โดยการทาให้ผู้ศึกษาสามารถเข้าถึงระบบการศึกษาได้ง่ายข้ึน เช่น ระบบ การศึกษาออนไลน์ การศึกษาท่ีส่งเสริมการเรียนรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยีทางไกลและระบบอินเทอร์เน็ต และอีกหลายวิธีที่จะเข้าถึงระบบการศึกษา ดังน้ันสถาบันการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาจึงมี ความจาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนบทบาทเป็นอย่างมากมีการนาเทคโนโลยีมาใช้อานวยความสะดวก สาหรับผู้ศึกษา การพัฒนาหลักสูตรหรือการปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยอยู่เสมอ จึงเป็นอีกปัจจัย สาคัญท่ีจะดึงดูดผู้สนใจศึกษาให้เข้ามาเพ่ือพัฒนาคนในหลากหลายสาขาวิชาชีพท่ีจะส่งผลต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม ส่งผลถึงการพัฒนาประเทศโดยภาพรวมให้มีการก้าวทันต่อ อารยประเทศ ดังนั้นการศึกษาจึงเป็นสิ่งท่ีสาคัญสาหรับชีวิตของเราทุกคน และเป็นส่ิงท่ีทุกคน แสวงหาองค์ความรู้เพื่อนามาใช้ในการดาเนินชีวิตท่ีดีข้ึน ตลอดจนการทางานและการสร้างความ สาเร็จให้กับชีวิตของเราทุกคน เราจึงปฏิเสธการศึกษาไม่ได้ และส่งผลให้มีการแสวงหาหลักสูตรที่ดี จากสถาบันการศึกษาอย่างจริงจังและเป็นที่คาดหวังว่าจะค้นพบตัวตนได้จากการศึกษาในสาขาหรือ หลักสูตรนั้น ๆ จึงอาจกล่าวได้ว่าการศึกษาเป็นปัจจัยพ้ืนฐานของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในการ สร้างความได้เปรียบและในเชิงเปรียบเทียบเพื่อให้แต่ละประเทศสามารถแข่งขันกัน และเป็นกลไก ทีส่ ่งผลต่อการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคมจึงมีความสาคัญอย่างมากกับทุกระบบกลไก การขับเคลื่อนประเทศท้ังระบบเศรษฐกิจและสังคมท่ีเป็นพลวัต ประเทศไทยอยู่ในช่วงเวลาที่ต้อง เผชิญกับสถานการณท์ างเศรษฐกจิ สังคม การเมอื ง เทคโนโลยพี ลังงานและสิ่งแวดล้อมท่ีเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็วและส่งผลกระทบอย่างรุนแรงมากข้ึนกว่าช่วงที่ผ่านมา ซึ่งผลกระทบเหล่านี้ล้วนส่งผล ต่อการแก้ไขปัญหาและพัฒนาประเทศ (สานักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย, 2560) การศึกษามีบทบาทสาคัญยิ่งในการพัฒนาคุณภาพของคน เป็นรากฐานในการพัฒนา คุณภาพชีวิตของคนและเตรียมคนให้ก้าวไปสู่สังคมยุคใหม่อย่างม่ันคงและรู้เท่าทันโลกในภาวะท่ีโลก มีการเปล่ียนแปลงด้านต่างๆ อย่างรวดเร็วตลอดเวลา และเป็นโลกแห่งการเรียนรู้ท่ีไม่มีที่ส้ินสุด การศึกษาจึงจาเป็นจะต้องพัฒนาคนให้มีความเข้มแข็งทางปัญญา มีการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอด ชีวิต เเละสร้างความรู้ใหม่ได้ เพื่อที่จะสามารถดาเนินชีวิตและก้าวไปในยุคโลกาภิวัตน์ได้อย่างผาสุก

2 มั่นคง โดยทีย่ งั รกั ษาความเปน็ ไทยไวไ้ ด้ อกี ทงั้ ยังอยรู่ ่วมกนั กับธรรมชาติและเพ่ือนมนุษย์อย่างสันติสุข ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (2542 ก : คานา) กล่าวว่า การศึกษานั้นเป็น ท้ังตัวการพัฒนาและเป็นเคร่ืองมือสาหรับการพัฒนาคือเป็นการพัฒนาตัวบุคคลขึ้นไปโดยพัฒนาตัว คนท้ังตนหรือพัฒนาชีวิตทั้งชีวิต ตัวการพัฒนาคือการศึกษา เม่ือผู้เรียนมีการศึกษาแล้วก็จะเอา คุณสมบัติที่ตวั มีซ่ึงเกดิ จากการศกึ ษาไปเป็นเคร่ืองมือพฒั นา ด้วยความสาคัญของการศึกษาดังกล่าวข้างต้น รัฐบาลทุกสมัยจึงได้พยายามปรับปรุง การจัดการศึกษาของประเทศให้มีความทันสมัยและก้าวทันการเปล่ียนแปลของโลกอยู่เสมอ คือ จัดการศึกษาให้สอดคล้องทักษะในศตวรรษท่ี 21 โดยมีการปฏิรูปการศึกษาอยู่ตลอดเวลาและ ต่อเน่ือง ดังจะเห็นได้จากประวัติศาสตร์การศึกษาไทยท่ีมีความพยายามในการพัฒนาอย่างไม่หยุดย้ัง แต่ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมาการจัดการศึกษาของไทยประสบกับปัญหาอย่างมาก และสั่งสมมาอย่าง ต่อเน่ือง ส่งผลให้ความสามารถในการแข่งขันด้านต่าง ๆ ของคนไทยบนเวทีระดับโลกด้อยกว่าเกือบ ทุกประเทศที่เข้าร่วมการแข่งขัน แม้แต่ประเทศที่ตกอยู่ในภาวะสงครามมาอย่างยาวนาน เช่น เวยี ดนาม ไมว่ ่าจะเป็นการแขง่ ขนั โอลมิ ปิกวชิ าการ ประสทิ ธิภาพการผลติ และรายไดป้ ระชาชาติ ฯลฯ นอกจากปัญหาด้านการศึกษาแล้ว ปัญหาในด้านคุณธรรมจริยธรรม ตลอดจนศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาไทยท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทยปัจจุบันต่างก็เป็นประเด็นปัญหาซ่ึงก่อให้เกิดวิกฤติอย่างรุนแรง ไม่ย่ิงหย่อนไปกว่าปัญหาด้านการศึกษาในด้านอ่ืน ๆ ล่าสุดรัฐบาลได้มีประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เร่อื ง แต่งตั้งคณะกรรมการอิสระเพ่ือปฏิรูปการศึกษา ลงวันที่ 2 มิถุนายน 2560 เพื่อทาหน้าท่ีปฏิรูป การศึกษาตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 โดยให้มีหน้าท่ี (1) ศึกษาและ เสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรีเพ่ือกาหนดนโยบาย แนวทาง และหลักเกณฑ์เก่ียวกับการดาเนินการให้ เด็กเล็กได้รับการพัฒนาร่างกาย จิตใจ วินัย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาให้สมกับวัยโดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่าย (2) ศึกษาและเสนอแนะกลไกและระบบการผลิต คัดกรองและพัฒนาผู้ประกอบวิชาชีพครู และอาจารย์ ให้ได้ผู้มีจิตวิญญาณของความเป็นครู มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง ได้รับ ค่าตอบแทนท่ีเหมาะสมกับความสามารถและประสิทธิภาพในการสอน รวมทั้งมีกลไกสร้างระบบ คณุ ธรรมในการ บริหารงานบคุ คลของผปู้ ระกอบวิชาชีพครู ต่อคณะรัฐมนตรี (3) ศึกษาและเสนอแนะ แนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนทุกระดับ เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถ เรียนได้ตามความถนัด (4) ศึกษาและเสนอแนะแนวทาง หลักเกณฑ์ และวิธีการปรับปรุงโครงสร้าง ของหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการปฏริ ปู การศกึ ษา โดยสอดคล้องกนั ทัง้ ในระดบั ชาติและระดับพื้นที่ต่อ คณะรฐั มนตรี (ร) ร่างกฎหมายเพ่ือจัดตั้งกองทุนเพ่ือใช้ในการช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ เพื่อลด ความเหล่ือมล้าในการศึกษา และเพ่ือเสริมสร้างและพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครู ตามมาตรา 54 วรรคหกของรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย เพอ่ื เสนอคณะรัฐมนตรี (6) เรียกให้เจ้าหน้าท่ีหรือ บุคคลท่ีเก่ียวข้องมาชี้แจงหรือแสดงความคิดเห็นประกอบการพิจารณา (7) แต่งต้ังคณะอนุกรรมการ

3 หรือคณะทางานเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ตามท่ีมอบหมาย (9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามท่ีคณะรัฐมนตรี มอบหมาย ให้คณะกรรมการดังกล่าวมีวาระสองปีเว้นแต่คณะรัฐมนตรีจะมีมติเปลี่ยนแปลงเป็น ประการอืน่ (ปรเมธี วิมลศริ ิ, 2560) การจัดการศึกษาจะประสบความสาเร็จจะต้องอาศัยกระบวนการสาคัญ 3 กระบวนการ ได้แก่ กระบวนการบริหาร กระบวนการเรียนการสอนและกระบวนนิเทศการศึกษา โดยเฉพาะ กระบวนการนิเทศการศึกษาเป็นกระบวนการท่ีคอยให้คาแนะนา ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนา กระบวนการเรียนกรสอนให้มีคุณภาพที่จะส่งผลถึงคุณภาพของผู้เรียนให้เป็นไปตามมาตรฐานของ หลักสูตรที่กาหนดไว้ และเป็นไปตามเป้าหมายของการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ฉบับแก้ไขเพ่ิมเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2553 ท่ีกาหนดให้สถานศึกษาจะต้องดาเนินการอย่างเคร่งครัดนั้นให้มีการปฏิบัติอย่างเป็นระบบและ ดาเนนิ การอย่างต่อเนอ่ื งโดยส่งเสรมิ ใหห้ นว่ ยปฏิบัติเป็นที่ไว้วางใจของผู้รับบริการหรือเรียกว่ามีระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาที่ดี นั่นคือสถานศึกษามีการวางแผนพัฒนาท่ียึดสภาพปัญหาความต้องการ และให้ความสาคัญกับการใช้ข้อมูลสารสนเทศเป็นปัจจัยหลักในการวางแผนร่วมกันระหว่างบุคลากร ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง สถานศึกษาจะต้องมีการระดมสมองในการ วเิ คราะหส์ ภาพภายในและภายนอก เพ่อื ใหไ้ ด้ขอ้ สรุปในการพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ี ตอบสนองความต้องการของบุคลากรภายในสถานศึกษาท่ีเป็นผู้ให้บริการและสอดคล้องกับความ ปรารถนาของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการรับบริการทางการศึกษา ทั้งน้ีสถานศึกษาจะต้องมีการจัด การศกึ ษาแบบมีสว่ น มีแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษาท่ชี ดั เจน จะต้องมุ่งเน้นกระบวนการสร้างคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาท่ีสถานศึกษากาหนด มีแผนระยะยาวที่ใช้เป็นแนวทางยกระดับคุณภาพของ การศึกษาของสถานศึกษาที่ตลอดจนมีความจาเป็นอย่างย่ิงที่จะต้องดาเนินการอย่างมีคุณภาพและมี ประสิทธิภาพ ชัดเจน เหมาะสม และถูกต้องตามหลักวิชาการ ซึ่งมีหลักการ แนวคิดและทฤษฎีที่ เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพทางการศึกษาท่ีสาคัญ เป็นไปตามทิศทางที่กาหนดซ่ึงกระบวนการ เหล่านีจ้ ะเกดิ ขึน้ ไดจ้ ะตอ้ งอาศยั กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา เพอื่ ให้มกี ารพฒั นาที่ต่อเนื่อง (สานักงาน คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน, 2556) คณุ ภาพและประสทิ ธิภาพการปฏิบตั งิ านของครู ย่อมขนึ้ อยกู่ บั ปัจจยั ต่างๆ หลายประการ ประการหนึ่งคือ ศึกษานิเทศก์ ซึ่งเป็นบุคลากรทางการศึกษาที่ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการแก่ครู ถึงแม้บทบาทของศึกษานิเทศก์เปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัย ศึกษานิเทศก์ก็มีส่วนในการประเมิน และพัฒนาครูอันเป็นส่วนหน่ึงของการพัฒนาวิชาชีพครู โดยมีบทบาทหน้าที่ตามประกาศ กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาตาม พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับท่ี 2 พ.ศ. 2553 ให้ศึกษานิเทศก์มี บทบาทหน้าที่ ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานหลักสูตร

4 การศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา และหลักสูตรการศึกษาพิเศษ ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพ่ือพัฒนา หลักสูตร การสอนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน วิจัย พัฒนา ส่งเสริม ติดตามตรวจสอบและ ประเมินเก่ียวกับการวัดและประเมินผลการศึกษา วิจัย พัฒนา ส่งเสริม มาตรฐานการศึกษาและ ประกันคณุ ภาพการศึกษา รวมทั้งประเมิน ติดตามและตรวจสอบคุณภาพการศึกษานิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย พัฒนา ส่งเสริมและพัฒนาส่ือนวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางการศึกษา ปฏิบัติงานเลขานุการคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลและ นิเทศการศึกษาของสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและงานอื่น ๆ ท่ีได้รับมอบหมายจะเห็นว่าบทบาท หน้าที่ที่กาหนดไว้ไม่ได้เขียนรายละเอียดในวิธีดาเนินการนิเทศการเรียนการสอนและแนวทางการ ให้ คาปรึกษา การชว่ ยเหลอื ครู ไม่ว่าจะเป็นเทคนคิ วธิ กี าร รูปแบบ กระบวนการหรือระบบวิธกี ารที่จะไป ใหค้ าแนะนาครูผสู้ อนในการพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นในห้องเรยี น (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พ้ืนฐาน, 2556) ซ่ึงสุพักตร์ พิบูลย์ (2560 : ออนไลน์) กล่าวไว้ว่า ศึกษานิเทศก์มีหน้าท่ีนิเทศ แนะนา ชี้นา กระตุ้นให้ครูและผู้บริหารสถานศึกษา ให้เกิดความรู้ ความตระหนัก และมีทักษะในการบริหาร จัดการและการจัดการเรียนการสอน รวมท้ังสามารถเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการสาหรับนักบริหาร ระดบั สูงในองค์กรทสี่ งั กัด เช่น ผอู้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รองผู้อานวยการสานักงาน เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา ผอู้ านวยการกลุ่มงานต่าง ๆ เปน็ ต้น การนิเทศการศึกษา เป็นกระบวนการหนึ่งท่ีจะต้องร่วมปฏิบัติการร่วมกันกับกระบวนการ เรียนการสอนและกระบวนการบริหารการศกึ ษา ซึ่งกระบวนการนิเทศการศึกษาจะเป็นการทางานที่มี ข้ันตอน แต่ขาดระบบท่ีชัดเจน ในการให้ความช่วยเหลือ แนะนา หรือปรับปรุงพัฒนาให้แก่บุคลากร ทางการศึกษาในสถานศึกษาเพ่ือให้สามารถดาเนินงานของตนไปได้ด้วยดี โดยผู้นิเทศควรเอาใจใส่ใน การสารวจตรวจสอบเพ่ือดูแลแนะนาการจัดการเรียนการสอนของบุคลากรในสถานศึกษาให้มี ความสามารถในการทางานอย่างดีมีประสิทธิภาพ ซ่ึงมีความสาคัญและจาเป็นด้วยเหตุผลคือ (อัญชลี ธรรมวิจติ กลุ , 2552) 1) สภาพสงั คมเปลยี่ นไปตามสถานการณ์ การศกึ ษาจาเป็นต้องเปล่ียนแปลงให้ สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของสังคมด้วย 2) ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ เพ่ิมขึ้นโดยไม่หยุดย้ัง กระบวนการเรียนรู้ก็เกิดขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลา 3) การแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ เพ่ือให้การจัด กิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาขึ้นจา เป็นต้องได้รับการชี้แนะหรือการนิเทศการศึกษาจาก ผู้ชานาญการโดยเฉพาะ 4) การศึกษาต้องเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของชาติจะต้องมี การควบคมุ ดแู ลดว้ ยระบบการนิเทศการศึกษา 5) การศึกษาเป็นกิจกรรมที่ซับซ้อน จาเป็นที่จะต้องมี การนิเทศ 6) การนิเทศการศึกษาเป็นงานที่มีความจาเป็นต่อความเจริญงอกงามของครู แม้ว่าครูจะ ได้รับการฝึกฝนมาอยา่ งดีแล้วก็ตาม 7) การนิเทศการศึกษา มีความจาเป็นต่อการช่วยเหลือครูในการ เตรียมการจัดกิจกรรม 8) การนิเทศการศึกษามีความจาเป็นต่อการทาให้ครูเป็นบุคคลท่ีทันสมัย อยู่เสมอ ผู้มีหน้าท่ีนิเทศจึงควรจะต้องจัดดาเนินการ เพ่ือช่วยเหลือครูให้มีความสามารถในการ ปรับปรุงพัฒนาเทคนิคการสอนการทางานเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ตามท่ีหลักสูตร การศึกษาข้ันพื้นฐาน

5 คาดหวังไว้ อันจะทาให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูก้าวทันโลกที่กาลังเจริญก้าวหน้าทาง เทคโนโลยแี ละก่อให้เกดิ ประโยชนแ์ กผ่ ู้เรยี นอย่างเต็มท่ี จากบทบาท หน้าที่เละภารกิจของศึกษานิเทศก์ อาจสรุปได้ว่า ศึกษานิเทศก์มีหน้าที่และ ภารกิจท่ีต้องปฏิบัติ คือ การนิเทศการศึกษาในด้านต่างๆ อาทิ การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการ เรียนรู้ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การพัฒนาการวัดและประเมินผล การศึกษา การพัฒนาการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการศึกษา และการส่งเสริมและ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ปฏิบัติงานการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศ การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ผู้วิจัย ในฐานะที่ทาหน้าที่เป็นศึกษานิเทศก์ จึงมีความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับสภาพและความคาดหวัง ในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความคิดเห็นของครู ผู้บริหารโรงเรียน เพื่อนา ข้อมูลการศึกษาค้นคว้าไปปรับปรุงการปฏิบัติหน้าท่ี และเป็นสารสนเทศในการวางแผนพัฒนาการ นเิ ทศการศกึ ษาของศึกษานเิ ทศก์สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ข้ึนตอ่ ไป 2. วัตถุประสงคข์ องการวิจัย 2.1 เพือ่ ศกึ ษาสภาพการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ ตามความคิดเห็นของ ข้าราชการครู สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 42 2.2 เพ่ือศึกษาความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ ตามความคิดเหน็ ของข้าราชการครู สังกดั สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 2.3 เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของข้าราชการครูต่อสภาพและความคาดหวัง ใ น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น นิ เ ท ศ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ศึ ก ษ า นิ เ ท ศ ก์ ต า ม ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข อ ง ข้ า ร า ช ก า ร ค รู สงั กดั สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 42 โดยจาแนกตามตาแหน่ง 3. ขอบเขตการวจิ ัย ในการวิจยั ครง้ั นผ้ี ้วู จิ ัยกาหนดขอบเขตการวจิ ยั ไวด้ งั นี้ กกกกกกก3.1 ขอบเขตด้านเน้อื หา ในการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยมุ่งศึกษาสภาพและความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศ การศึกษาของศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ตามกรอบภาระ งานของศึกษานิเทศก์ตามโครงสร้างการแบ่งกลุ่มงานของกลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจดั การศึกษา ใน 6 ด้าน คือ 1.1 การพัฒนาหลักสตู รการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน และกระบวนการจดั การเรียนรู้ 1.2 การวัดผลและประเมนิ ผลการศึกษา

6 1.3 การส่งเสริมและพัฒนาส่ือ นวัตกรรม และเทคโนโลยที างการศึกษา 1.4 การนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลระบบบรหิ าร และการจดั การศึกษา 1.5 การสง่ เสริม และพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา 1.6 การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนิเทศการศกึ ษา กกกกกกก3.2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 3.2.1 ประชากร ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชการครูสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ี การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 42 โดยจาแนกเป็นผบู้ ริหาร จานวน 58 คน ครูผู้สอน จานวน 3,069 คน รวมทั้งสิ้นจานวน 3,127 คน 3.2.2 กลุ่มตัวอย่าง ในการวิจัยคร้ังนี้ ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนในสังกัด สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ใช้วิธีการเลือกสุ่มจากประชากรโดยวิธีสุ่มแบบ หลายข้ันตอน (Multisage Random Sampling) และใช้ขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตามวิธีการของ Yamane ได้กลุ่มตัวอย่างท่ีศึกษาคร้ังน้ี โดยจาแนกเป็นผู้บริหาร จานวน 51 คน ครูผสู้ อน จานวน 354 คน รวมทั้งสน้ิ จานวน 405 คน กกกกกกก3.3 ตวั แปรท่ีศกึ ษา 3.3.1 ตัวแปรตน้ ในการวจิ ยั ครง้ั นตี้ ัวแปรตน้ ประกอบดว้ ย 3.3.1.1 ตาแหนง่ แบง่ เป็น 1) ผู้บริหารสถานศึกษา 2) ครผู ู้สอน 3.3.2 ตวั แปรตาม ในการวิจัยครั้งน้ีตัวแปรตาม ได้แก่ ความคิดเห็นของข้าราชการครูใน สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ท่ีมีต่อสภาพการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษา และความคาดหวังให้ศกึ ษานิเทศกป์ ฏิบัตใิ นภารกิจ 6 ด้าน คือ การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน และกระบวนการจัดการเรียนรู้, การวัดและการประเมินผลการศึกษา, การส่งเสริมและพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา, การนิเทศติดตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัด การศึกษา, การส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และการติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา กกกกกกกก3.4 ขอบเขตด้านระยะเวลา กกกกกกกกดาเนินการวิจัยต้ังแต่เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ถึงเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2563 รวมเป็น ระยะเวลา 6 เดอื น

7 4. นยิ ามศพั ท์เฉพาะทใี่ ชใ้ นการวิจัย การศกึ ษาสภาพและความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ ตาม ความคดิ เห็นของขา้ ราชการครู สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ผู้วิจัยได้นิยาม ศัพท์เฉพาะทใ่ี ช้ในการวจิ ยั ดงั น้ี 4.1 ศกึ ษานิเทศก์ หมายถึง ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงาน เขตพ้ืนท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ตามระเบยี บกระทรวงศึกษาธกิ าร 4.2 สภาพในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษา หมายถึง การปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ใน การพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด ในขอบข่ายภารกิจ กลุ่มนิเทศติดตามและ ประเมนิ ผลการจดั การศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 42 ดงั น้ี 1. การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานและกระบวนการจัดการเรียนรู้ หมายถึง การดาเนินงานเพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาในสังกัดดาเนินการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน และการพฒั นากระบวนการเรียนรู้ 2. การวัดและการประเมินผลการศึกษา หมายถึง การดาเนินงานเพื่อส่งเสริมการวัด และการประเมนิ ผลการศึกษา การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการวัดและประเมินผลการศึกษา การทดสอบทางการศึกษาของสถานศึกษา 3. การส่งเสริมและพัฒนาส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา หมายถึง การ ดาเนินงานเพ่ือส่งเสริม พัฒนาส่ือ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา การศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจยั การพัฒนาส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยีทางการศกึ ษา แกส่ ถานศกึ ษา 4. การนิเทศติดตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา หมายถึง การ ดาเนินงานเพื่อส่งเสริมและพัฒนาระบบการนิเทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้ การสนับสนุน เครือข่ายการนิเทศของเขตพื้นท่ีการศึกษา สถานศึกษา หน่วยงานที่เก่ียวข้อง และชุมชน การนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกนาข้ันพื้นฐานของสถานศึกษาการ ค้นควา้ วเิ คราะห์ วิจัยการพัฒนาระบบบรหิ ารและการจดั การศึกษาของสถานศึกษาในสงั กัด 5. การส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา หมายถึง การ ดาเนินงานเพื่อส่งเสริมให้สถานศึกษาสามารถพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา การตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา การส่งเสริมและประสานงานการประกันคุณภาพภายใน และภายนอกสถานศึกษา การศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัยมาตรฐานและการประกันคุณภาพ การศกึ ษาของสถานศกึ ษา 6. การติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา หมายถึง การดาเนินงาน เพ่ือพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ วางแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา และการรายงานผลการดาเนนิ งานตอ่ หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้อง และต่อสาธารณชนส่งเสรมิ

8 4.3 ความคาดหวังในการนิเทศการศึกษา หมายถึง ความต้องการให้ศึกษานิเทศก์ ปฏิบตั ิงานนเิ ทศการศกึ ษาของขา้ ราชการครู สงั กัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 42 4.4 ข้าราชการครู หมายถึง ข้าราชการครูในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มธั ยมศกึ ษา เขต 42 จาแนกเปน็ 1. ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้อานวยการสถานศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 42 2. ครูผู้สอน หมายถึง ครูที่ปฏิบัติการสอนในระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึงช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 6 ของสถานศกึ ษาในสงั กดั สานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษามธั ยมศกึ ษา เขต 42 3. สถานศกึ ษา หมายถงึ สถานศกึ ษาในสังกัดสานกั งานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 4. ขนาดของสถานศกึ ษา หมายถึง ขนาดของสถานศึกษาท่ีเบ่งตามเกณฑ์การแบ่งของ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน ซ่ึงแบ่งออกเป็น 1) โรงเรยี นขนาดเล็ก มีนักเรียน 1-499 คน 2) โรงเรียนขนาดกลาง มนี กั เรยี น 500-1,499 คน 3) โรงเรยี นขนาดใหญ่ มีนักเรียน 1,500-2,499 คน 4) โรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษ มีนกั เรยี น 2,500 คนขนึ้ ไป 5. ประโยชนข์ องการวิจัย 5.1 ผลการวิจัยจะทาให้ทราบสภาพการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาและความคาดหวัง ในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ใช้เปน็ แนวทางในการพัฒนาปรบั ปรุงแกไ้ ขการปฏบิ ตั ิงานใหม้ ีประสิทธภิ าพย่ิงขนึ้ 5.2 ผลการวิจัยจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานที่เก่ียวข้องกับการจัดการศึกษา การนิเทศ การศึกษา สาหรบั ใชเ้ ปน็ แนวทางในการวางแผนพัฒนาการนิเทศการศกึ ษาให้มปี ระสิทธภิ าพต่อไป

9 บทที่ 2 เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวขอ้ ง งานวิจัยน้ีเป็นการศึกษาถึงสภาพและความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของ ศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ตามกรอบภาระงานของ ศึกษานิเทศก์ตามโครงสร้างการแบ่งกลุ่มงานของกลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ซึ่งผู้วิจัยไดศ้ กึ ษาถงึ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาเป็นกรอบในการศึกษาเพ่ือนามาวิเคราะห์และ อภิปรายผล ดงั น้ี 1. การนเิ ทศการศึกษา 1.1 ความหมายของการนิเทศการศึกษา 1.2 ความสาคัญและความจาเปน็ ของการนิเทศการศึกษา 1.3 จุดม่งุ หมายของการนิเทศการศึกษา 1.4 หลกั การนเิ ทศการศึกษา 1.5 กระบวนการนิเทศการศกึ ษา 2. แนวคิดเก่ียวกับศึกษานเิ ทศก์ 2.1 ความหมายของศึกษานเิ ทศก์ 2.2 บทบาทและหนา้ ที่ของศึกษานิเทศก์ 2.3 คุณสมบัตขิ องศึกษานเิ ทศก์ 2.4 มาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐานวทิ ยฐานะศกึ ษานิเทศก์ 3. งานวจิ ัยทีเ่ กยี่ วข้อง 3.1 งานวจิ ยั ในประเทศ 3.2 งานวิจยั ต่างประเทศ 4. กรอบแนวคิดของการวิจัย 5. สมมติฐานของการวจิ ัย

10 1. การนิเทศการศกึ ษา 1.1 ความหมายของการนิเทศการศึกษา ชารี มณศี รี (2542: 15) ได้นยิ าม ความหมายของการนิเทศว่า เป็นการมองรอบด้านเข้าใจ ปัญหา หรือโครงสร้างของงานที่ตนรับผิดชอบอยู่ท้ังหมด ผู้ท่ีทาหน้าที่นิเทศจะต้องเป็นคน \"ไต่เต้า\" มิใช่ \"จุติ\" คือต้องเป็นผู้ท่ีมีประสบการณ์ เรียนรู้งานจากงานเล็ก ๆ ไปจนถึงงานใหญ่ ท่ีมีความ สลับซับซ้อน คลุกคลีกบั ปัญหา เขา้ ใจปัญหาและสามารถแก้ปัญหาได้ เยาวภา เดชะคุปต์ (2542: 85) ได้กล่าวถึง ความหมายของการนิเทศการศึกษาไว้ว่า กระบวนการช้ีแนะ แนะนาและให้ความร่วมมือต่อกิจกรรมของครูในการปรับปรุงการเรียนการสอน เพือ่ ให้ได้ผลตามจดุ มงุ่ หมายท่ีวางไว้โดยแบ่งกระบวนการในการทางานร่วมกันระหว่างผู้นิเทศแลผู้รับ การนิเทศ และเป็นการพัฒนาคุณภาพของนักเรียน โดยผ่านตัวกลาง คือ ครูและบุคลากรทางการ ศึกษา สมชาย สุภาคาร (2543: 9) สรปุ ได้ว่า การนิเทศการศึกษา หมายถึง งานบริการอย่างหน่ึง ทจี่ ดั ใหแ้ กบ่ คุ ลากรทางการศกึ ษาโดยใช้เทคนิควิธกี ารตา่ ง ๆ เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุเป้าหมายที่ วางไว้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล ซ่งึ ส่งผลให้การศึกษาของนกั เรียนดขี ้ึนกว่าเดมิ สิทธิพร นิยมศรีสมศักด์ิ (2546: 11 ) กล่าวว่า การนิเทศการศึกษา คือ การช่วยเหลือ บุคลากรทางการศกึ ษา โดยเฉพาะผสู้ อนใหส้ ามารถพัฒนาหลกั สูตร การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมต่างๆ ที่เก่ียวข้องกับการพัฒนานักเรียน อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลบรรลุ วัตถปุ ระสงคข์ องโรงเรยี นและหลกั สตู ร ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2546: 15) กล่าวว่า การนิเทศการศึกษา คือ กระบวนการจัด บริหารการศึกษาเพอื่ ชแี้ นะใหค้ วามช่วยเหลือและความร่วมมือกับครู และบุคคลที่เก่ียวข้องกับการจัด การศึกษา เพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอนของครู และเพิ่มคุณภาพของนักเรียนให้เป็นไปตาม เปา้ หมายของการศกึ ษา สกุลศักด์ิ ทิพย์ไชย (2546: 15) ได้กล่าวถึงความหมายของการนิเทศการศึกษาใน สถานศึกษาว่า การนิเทศภายใน หมายถึง ความพยายามใหท้ ุกสงิ่ ทกุ อยา่ งของบุคลากรในโรงเรยี นนับ ตั้งแต่ ผู้บริหารโรงเรียน และคณะครูท่ีจะพัฒนาตนเองให้มีความสานึกและมีจิตวิญญาณในวิชาชีพมี ความเอ้ืออาทร ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ช่วยให้การจัดการเรียนการสอนได้ดีย่ิงข้ึน เพ่ือ ประโยชน์ สูงสุดของผู้เรียน และพัฒนาครูให้เปลี่ยนพฤติกรรมในการสอนจากเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลาง มาเป็นนั้น ผเู้ รยี นเปน็ ศูนย์กลาง

11 สน สุวรรณ (2556: ออนไลน์) คาว่า การนิเทศ (Supervision) แปลว่า การให้ความ ช่วยเหลือแนะนา หรือปรับปรุง ดังน้ันการนิเทศการศึกษาก็น่าจะหมายถึงการให้ความช่วยเหลือ แนะนา หรือปรับปรุงเก่ียวกับการศึกษาโดยเฉพาะในโรงเรียนได้มีผู้ให้ความหมายคาว่า การนิเทศ การศึกษา ไวแ้ ตกต่างกัน ดังน้ี ชาญชัย อาจิณสมาจาร (อ้างถึงใน สน สุวรรณ. 2556: ออนไลน์) ได้ให้คาจากัดความว่า การนิเทศการศึกษา คือกระบวนการสร้างสรรค์ ที่ไม่หยุดน่ิงในการให้คาแนะนาและการช้ีช่องทางใน ลักษณะที่เป็นกันเองแก่ครูและนักเรียน เพื่อการปรับปรุงตัวเขาเอง และสภาพการเรียนการสอน เพ่ือใหบ้ รรลเุ ป้าหมายที่พึงประสงค์ สนั ต์ ธรรมบารุง (อ้างถึงใน สน สุวรรณ. 2556: ออนไลน์) ได้ให้ความหมายว่า การนิเทศ การศึกษา หมายถึงการช่วยเหลือ การแนะนาการช้ีแจง การบริการ การปรับปรุงที่เกี่ยวข้องกับการ เรยี นการสอน ในการที่จะส่งเสรมิ ให้ครปู รับปรุงการสอนให้ดีขนึ้ Good (1973: 535) ให้ความหมายของการนิเทศการศึกษา หมายถึง ความพยายามทุก ชนิดของเจ้าหน้าที่ผู้จัดการศึกษาในการแนะนาครูหรือบุคคลอื่น ท่ีทางานเก่ียวกับการศึกษา ให้รู้จัก การรับปรุงการสอน ช่วยให้เกิดความเจริญงอกงามทางวิชาชีพทางการศึกษา ช่วยในการช่วยในการ เลือกและปรับปรุงวัตถุประสงค์ของการศึกษา ช่วยปรับปรุงวัสดุและเน้ือหาการสอนปรับปรุงวิธีการ สอน และชว่ ยปรบั ปรงุ การประเมนิ การสอน Harris (1975: 10-11) กล่าวว่า การนิเทศการศึกษา คือ การที่บุคลากรทางการศึกษา (School Personel) กระทาต่อบุคคลหรือวัตถุเพื่อท่ีจะคงไว้หรือการเปลี่ยนแปลงการดาเนินงานของ โรงเรียน ซึ่งมีผลต่อการเรียนการสอน การนิทศการศึกษานั้นจะเก่ียวข้องโดยตรงกับการสอน ขณะเดียวกนั จะส่งผลดีต่อการเรียนของนกั เรยี นในที่สุด Glickman (1981: 6 ) ให้ความหมายของการนิเทศการศึกษาว่าเป็นแนวคิดเก่ียวกับงาน และพันธกจิ ทเ่ี กี่ยวขอ้ งและช่วยเหลือปรบั ปรงุ การเรียนการสอน Briggs and Justman (1982: 2) ให้ความหมายว่า การนิเทศการศึกษา หมายถึง การประสานงาน การกระตุ้น และการแนะนา เพอ่ื ให้เกดิ ความเจริญงอกงาม ดังน้ัน จึงสรุปความหมายของการนิเทศการศึกษา หมายถึง กระบวนการพัฒนาครู เพื่อให้ ครูปรับปรุงและพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้การจัดการศึกษาบรรลุจุดมุ่งหมายที่วางไว้ การนิเทศการศึกษาจงึ เป็นกระบวนการในการแนะนาช่วยเหลือ ครู ให้สามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการนิเทศน้ันอยู่บนหลักการของประชาธิปไตย ได้แก่ การเคารพซึ่งกัน ระหว่างผ้นู ิเทศและผรู้ ับการนเิ ทศ

12 1.2 ความสาคัญและความจาเปน็ ของการนิเทศการศึกษา ชารี มณีศรี (2542: 201-202) ได้ให้ความสาคัญและความจาเป็นในการจัดการนิเทศ การศกึ ษาไวว้ ่า 1. ปัญหาหลักมี 2 ประเด็น คือ การนิเทศไม่ท่ัวถึง และการนิเทศไม่มีคุณภาพ ประการแรกอาศัยการนิเทศภายนอก เม่ือขยายโรงเรียนเพ่ิม ครูเพ่ิม การนิเทศภายนอกไม่ท่ัวถึง จงึ จาเป็นตอ้ งมีการนิเทศภายใน 2. ความเปล่ียนแปลงทางสังคม ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ส่งผลให้สภาพ การเรียนการสอนมีอุปกรณ์ต่าง ๆ เปล่ียนตามไปด้วย ครูจะต้องพัฒนาตนเองให้ทันต่อการ เปล่ียนแปลงดังกล่าวโดยไม่หวังพ่ึงหรือรอคอยการพัฒนาจากผู้อื่น การปรับตัว การพัฒนาตนเอง พึ่งตนเองของโรงเรียน ควรที่บุคลากรในโรงเรียนจะต้องต่ืนตัวและยึดหลักนิเทศพ่ึงตนเองด้วย บุคลากรในโรงเรียนเป็นหลกั 3. การช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ศึกษานิเทศก์ กรมสามัญศึกษาได้จัดทาเอกสารการ นิเทศเพื่อให้โรงเรียนพัฒนาตนเอง โดยประสานการนิเทศภายนอกและภายในให้โรงเรียนสามารถ พัฒนาตนเองไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง และเปน็ ระบบ ส่งเสรมิ การศึกษาคน้ ควา้ วิจยั รว่ ม 4. ปรับปรุงงานวิชาการ ซ่ึงแต่ละโรงเรียนมีสภาพข้อจากัดไม่เหมือนกัน การท่ีคน ภายในรู้เร่ืองดีที่สุดกว่าคนภายนอกจะทาให้การพัฒนาการนิเทศการศึกษาเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว ย่งิ ข้ึน 5. การยอมรับบุคคลท่ีเป็นผู้นาหรือหัวหน้าคนจะต้องให้ผู้อ่ืนยอมรับแม้แต่ในการ แต่งตง้ั หวั หน้าฝา่ ย หรอื หัวหน้าหมวด ควรคานึงถึงลกั ษณะด้านวิชาการ นาด้านวิชาการดา้ นคณุ ธรรม ความประพฤติเป็นแบบอย่างเป็นครูของครู การยอมรับนับว่าเป็นส่ิงสาคัญในการดาเนินการนิเทศ การศกึ ษา 6. ปัญหาตัวเร่งที่สาคัญ เช่น ปัญหาการนาหลักสูตรไปใช้ สภาพการสอนท่ี เปลยี่ นไป สอ่ื อุปกรณ์การสอน การประเมินและวดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของนักเรียนเป็นตน้ อัญชลี โพธิ์ทอง (2544: 71-72) ได้กล่าวถึงความจาเป็นของการนิเทศการศึกษาไว้ว่าการ จัดการศึกษาทกุ ระดบั เปน็ ภารกิจทีส่ าคญั ยงิ่ สาหรับผู้ท่รี บั ผดิ ชอบทางการศกึ ษา และเพ่ือปรับปรุงและ พัฒนาให้การศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น แม้ว่าจะมีครูที่มีความรู้ ความสามารถเข้ามาสู่ระบบ การศึกษาก็ยังความจาเป็นท่ีจะต้องอาศัยผู้อ่ืนเข้ามาช่วยเหลือแนะนา การนิเทศเป็นวิธีหน่ึงท่ีช่วย แก้ปัญหาทางการศึกษาได้ การนิเทศจึงมีความจาเป็นต่อการจัดการศึกษา ด้วยเหตุท่ีว่ามีการ เปล่ียนแปลงทางสังคม เช่น การเปล่ียนแปลงจากสังคมเกษตรเป็นสังคมอุตสาหกรรม การเปล่ียนใน หลักสูตรต่าง ๆ แนวความคิดในเรื่องการเรียนการสอนก็มีข้ึนใหม่อยู่ตลอดเวลา ครูต้องติดตามให้มี ความรู้ที่ทันสมัยอยู่เสมอ แต่เน่ืองจากภาระหน้าที่ในงานสอนมีมากจึงต้องนาการนิเทศเข้ามาช่วย

13 ทางด้านมาตรฐานการศึกษา ต้องอาศัยผู้ชานาญโดยเลือกจากผู้ท่ีมีความรู้มาทางาน และช่วยนิเทศ ความรู้ใหม่ ๆ แก่ครูเพอื่ ให้มคี วามคิดกวา้ งไกล สกุลศักดิ์ ทิพย์ไชย (2546: 17) ได้กล่าวถึงเหตุผลและความจาเป็นของการนิเทศภายใน โรงเรยี นวา่ มีความจาเปน็ ตอ่ ครู เพราะการนิเทศการศกึ ษาถือว่าเปน็ ตัวแทนของการเปลี่ยนแปลงจาก ภายนอกมาส่โู รงเรียน สน สวุ รรณ (2556: ออนไลน)์ ไดส้ รุปความสาคญั และความจาเป็นของการนิเทศการศึกษา ไว้ ดงั น้ี 1. สภาพสังคมเปลย่ี นไปทกุ ขณะ การศึกษาจาเป็นต้องเปล่ียนแปลงให้สอดคล้องกับ การเปลีย่ นแปลงของสงั คมดว้ ย การนิเทศการศึกษาจะช่วยทาให้เกิดความเปล่ียนแปลงข้ึนในองค์การ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การศกึ ษา 2. ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ เพิ่มข้ึนโดยไม่หยุดย้ัง แม้แนวคิดในเรื่องการจัด กระบวนการเรียนรู้ก็เกิดขึ้นใหม่ตลอดเวลา การนิเทศการศึกษาจะช่วยทาให้ครูมีความรู้ทันสมัยอยู่ เสมอ 3. การแก้ไขปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ เพ่ือให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้พัฒนาข้ึน จาเป็นต้องได้รับการชี้แนะหรือการนิเทศการศึกษาจากผู้ชานาญการโดยเฉพาะ จึงจะทาให้แก้ไข ปัญหาสาเรจ็ ไดล้ ุล่วง 4. การศึกษาของประเทศเพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาของชาติ จะต้องมี การควบคุมดูแลด้วยระบบนิเทศการศึกษา 5. การศึกษาเป็นกิจกรรมท่ีซับซ้อน จาเป็นท่ีจะต้องมีการนิเทศ เพื่อเป็นการ ใหบ้ รกิ ารแก่ครทู ีม่ คี วามสามารถตา่ ง ๆ กัน 6. การนิเทศการศึกษาเป็นงานที่มีความจาเป็นต่อความเจริญงอกงามของครู แม้ว่า ครูจะได้รับการฝึกฝนมาอย่างดีแล้วก็ตาม แต่ครูก็จะต้องปรับปรุงฝึกฝนตนเองอยู่เสมอในขณะที่ ทางานในสถานการณจ์ ริง 7. การนิเทศการศึกษา มีความจาเป็นต่อการช่วยเหลือครูในการเตรียมการจัด กจิ กรรม 8. การนิเทศการศึกษามีความจาเป็นต่อการทาให้ครูเป็นบุคคลท่ีทันสมัยอยู่เสมอ เนอ่ื งจากการเปลย่ี นแปลงทางสังคมท่มี อี ยูเ่ สมอ ดังนั้น จึงสรุปได้ว่าการนิเทศการศึกษามีความจาเป็นต่อการพัฒนาการเรียนการสอน ส่งเสริมคุณภาพการศึกษาเนื่องจากสภาพสังคมปังจุบันได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วในด้านต่าง ๆ ทาให้ครตู อ้ งพฒั นาตนเองอยู่เสมอ จาเปน็ ตอ้ งได้รบั การชี้แนะหรือการนิเทศการศึกษาจากชานาญการ โดยเฉพาะเพ่ือให้การเรียนการสอนพัฒนาขึ้น ดังน้ันจึงได้มาให้ความสนใจการนิเทศการศึกษา

14 อย่างจริงจงั ในขณะเดยี วกนั การนิเทศการศึกษายังส่งเสริมให้บุคลากรในองค์กรได้ทางานและรู้จักคิด แก้ปัญหารว่ มกัน 1.3 จุดมุ่งหมายของการนิเทศการศกึ ษา ในการดาเนินการใด ๆ ก็ตาม การวางจุดมุ่งหมายท่ีแน่นอนไว้จะทาให้ผู้ปฏิบัติได้ทราบ ความชัดเจนว่าต้องการทาส่ิงใด เพ่ือให้เกิดผลอย่างไร ในการนิเทศการศึกษา ก็เช่นเดียวกันได้มี นกั การศึกษาและผู้ทรงคณุ วุฒิทางการศึกษา ได้อธิบายจุดม่งุ หมายของการนเิ ทศการศึกษาดังนี้ ดร.สงัด อุทรานันท์ (2530: 12) ได้กล่าวถึงจุดมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษาว่ามี จุดมงุ่ หมายท่ีสาคญั 4 ประการ ดงั น้ี 1. เพอ่ื พัฒนาคน การนเิ ทศการศกึ ษาเพ่ือพัฒนาคน หมายถงึ การนเิ ทศการศึกษา เป็นกระบวนการทาร่วมกันกับครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อให้ครูและบุคลากรได้เปล่ียนแปลง พฤตกิ รรมในทางทีด่ ขี นึ้ 2. เพ่ือพัฒนางาน การนิเทศการศึกษาเพ่ือพัฒนางาน หมายถึง การนิเทศ การศึกษา มีเป้าหมายสูงสุดอยู่ที่ผู้เรียนซ่ึงเป็นผลผลิตจากการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูและ บุคลากรทางการศึกษา โดยเหตุนี้การนิเทศที่จัดขึ้นจึงมีจุดหมายท่ีจะพัฒนางาน คือการจัดกิจกรรม การเรียนการสอนทีด่ ขี นึ้ 3. เพือ่ สร้างการประสานสมั พนั ธ์ การนิเทศการศึกษาเพ่ือสร้างการประสานสัมพันธ์ หมายถึง การนิเทศการศึกษา เป็นการสร้างการประสานสัมพันธ์ ระหว่างผู้นิเทศและผู้รับการ นิเทศ ซ่ึงเปน็ ผลมาจากการทางานรว่ มกัน รับผิดชอบร่วมกันมีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน ซึ่ง ไม่ใช่เป็นการทางานภายใต้การถกู บงั คบั และคอยตรวจตราหรือคอยจับผิด 4. เพื่อสร้างขวัญและกาลังใจ การนิเทศการศึกษาเพ่ือสร้างขวัญและ กาลังใจ หมายถึง การจัดกิจกรรมการนิเทศ ท่ีมุ่งให้กาลังใจแก่ครู และบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งถือ ว่าเป็นจุดม่งุ หมายทีส่ าคัญอกี ประการหน่ึงของการนิเทศ เน่ืองจากขวัญและกาลังใจเป็นส่ิงสาคัญท่ีจะ ทาใหบ้ คุ คลมคี วามตัง้ ใจทางาน หากนิเทศไม่ไดส้ รา้ งกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานแล้ว การนิเทศการศึกษาก็ ย่อมประสบผลสาเรจ็ ไดย้ าก ชารี มณีศรี (2542: 26) กลา่ วถึงจุดมุ่งหมายของการนิเทศน้ัน เป็นเป้าหมายหลักอยู่ท่ีการ พัฒนาของครทู ั้งดา้ นวชิ าชีพคือฝึกให้มีประสบการณ์ตรง เช่น การอบรมสัมมนา การทดลองหลักสูตร วธิ สี อน และประสบการณ์โดยอ้อม เชน่ การจัดกกิ รรมต่าง ๆ ให้ครูมีโอกาสพบปะทางวิชาการ เป็นต้น นอกจากน้ันยังช่วยสร้างครูให้มีลักษณะความเป็นผู้นา การทางานร่วมกับผู้อ่ืนอันจะยังผลให้เพิ่ม ประสทิ ธิภาพการเรยี นการสอนดยี งิ่ ขึน้ กล่าวโดยย่อก็คือมงุ่ พัฒนาคนและพัฒนางาน

15 เยาวภา เดชะคุปต์ (2542: 88) ได้ให้จุดมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษาไว้เพียงสั้น ๆ ว่า การนเิ ทศการศึกษามีจุดมุ่งหมาย เพ่ือพัฒนาครูให้ก้าวหน้าทางวิชาชีพช่วยเด็กมีพัฒนาการ ดีข้ึนและ ช่วยใหโ้ รงเรียนมีพัฒนาการดีขึ้น ปรียาพร วงศ์อนตุ รโรจน์ (2544: 228) ไดก้ ล่าวว่า การนิเทศการศึกษามีจุดมุ่งหมายหลักก็ เพื่อพัฒนาครูอาจารย์ในสถานศึกษา และการนิเทศเป็นงานท่ีสร้างกาลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงานโดยการ แนะนา เสนอแนะ และให้บริการด้านวัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนเทคนิคและวิธีการปฏิบัติงานการนิเทศ ควรทาอย่างมีระบบและก่อให้เกิดกาลังใจและขวัญที่ดีแก่ผู้รับการนิเทศ เพ่ือทาให้การศึกษาเกิดผล สัมฤทธิ์ตามความคาดหวงั ของการศึกษา ดังนั้น จึงสรุปจุดมุ่งหมายของการนิเทศการศึกษา ได้ว่า เพ่ือหาข้อมูลมาใช้ในการ พัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูให้มี ประสทิ ธิภาพยิ่งข้ึนและเพือ่ ให้คุณภาพการศึกษาของผูเ้ รยี นดยี ง่ิ ข้นึ 1.4 หลักการนเิ ทศการศกึ ษา งานนิเทศการศึกษาเป็นงานท่ีช่วยพัฒนาวิชาชีพครูด้วยความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่าย ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องในการจัดการศึกษา ซึ่งต้องใช้ความรู้ความสามารถเป็นพิเศษและมีนักการศึกษาได้ เสนอหลักการสาคญั ของการนิเทศไว้ ดงั น้ี สงัด อุทรานันท์ (2530: 51-52) ได้กล่าวถึงหลักการสาคัญของการนิเทศการศึกษา ไว้ว่า การนิเทศการศึกษาเป็น \"กระบวนการ\" ทางานร่วมกันระหว่างผู้บริหาร ผู้นิเทศ และผู้รับการนิเทศ หมายถึง การงานที่มีข้ันตอนมีความต่อเนื่องไม่หยุดนิ่งและมีความเก่ียวข้อง ปฏิสัมพันธ์ในหมู่ ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน และมีหลักการสาคัญ ดังนี้ 1. การนิเทศการศึกษามีเป้าหมายอยู่ท่ีคุณภาพของนักเรียน แต่การดาเนินงานนั้นจะ กระทาโดยผา่ น \"ตัวกลาง\" คือครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 2. การนิเทศการศึกษา (ในประเทศไทย) เน้นบรรยากาศแห่งความเป็นประชาธิปไตย ในกระบวนการนิเทศการศึกษา ไม่ได้มองเฉพาะบรรยากาศแห่งการทางานร่วมกันแต่จะรวมถึงการ ยอมรับซึ่งกันและกัน การเปล่ียนบทบาทในฐานะผู้นาและผู้ตามตลอดจนความรับผิดชอบต่อผลงาน ร่วมกัน สกลุ ศกั ดิ์ ทิพยไ์ ชย (2546: 21) กล่าวว่าการนิเทศการศึกษาในสถานศึกษามีหลักการสาคัญ ที่จะต้องมหี ลักของความเปน็ ประชาธิปไตย ส่งเสริมให้เกิดความมีอิสระทางความคิดการมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจ และการยอมรับในความสามารถของแต่ละบุคคล รวมถึงความต้องการของครูเพ่ือผลที่ จะเกดิ กบั โรงเรียนและผูเ้ รยี นใหม้ ากที่สุด

16 บริกส์ และจัสท์แมน (อ้างถึงใน สน สุวรรณ. 2556: ออนไลน์) ได้เสนอหลักการนิเทศ สาหรับผบู้ ริหารไวด้ งั น้ี 1. การนเิ ทศการศึกษาตอ้ งเป็นประชาธปิ ไตย 2. การนเิ ทศการศึกษาจะตอ้ งเป็นการส่งเสริม และการสร้างสรรค์ 3. การนิเทศการศึกษาควรจะต้องอาศัยความร่วมมือของวิทยากรหลายคนมากกว่าที่ จะแบง่ ผนู้ เิ ทศออกเป็นรายบุคคล 4. การนิเทศการศึกษา ควรต้ังอยู่บนรากฐานของการพัฒนาวิชาชีพมากกว่าจะเป็น ความสัมพันธส์ ว่ นบุคคล 5. การนิเทศการศึกษา จะต้องคานงึ ถึงความถนดั ของแตล่ ะบุคคล 6. จุดมุ่งหมายสูงสุดของการนิเทศการศึกษา คือหาทางช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ความสามารถตามความมุ่งหมายของการศึกษา 7. การนิเทศการศึกษาจะต้องเก่ียวข้องอยู่กับการส่งเสริมความรู้สึกอบอุ่นให้แก่ครู และการสรา้ งมนุษยสมั พันธอ์ ันดีระหว่างหมคู่ ณะ 8. การนเิ ทศการศกึ ษาควรเร่ิมต้นจากสภาพการณป์ ัจจุบนั ที่กาลงั ประสบอยู่ 9. การนิเทศการศกึ ษาควรเปน็ การสง่ เสริมความก้าวหนา้ และความพยายามของครูให้ สงู ขน้ึ 10. การนิเทศการศึกษาควรเป็นการส่งเสริมและปรับปรุงสมรรถวิสัย ทัศนคติ และ ข้อคิดเห็นของครูใหถ้ กู ต้อง 11. การนิเทศการศึกษา พยายามหลีกเลย่ี งการกระทาอย่างเปน็ พิธกี ารมาก ๆ 12. การนิเทศการศึกษาควรใช้เคร่ืองมือ และกลวิธงี า่ ย ๆ 13. การนเิ ทศการศึกษาควรตัง้ อยบู่ นหลักการและเหตผุ ล 14. การนิเทศการศึกษาควรมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน และสามารถประเมินผลได้ด้วย ตนเอง เบอร์ตัน และบรุคเนอร์ (อ้างถึงใน สน สุวรรณ. 2556: ออนไลน์) ได้สรุปหลักการนิเทศ การศกึ ษาไว้ 4 ประการ คอื 1. การนิเทศการศึกษาควรมีความถูกต้องตามหลักวิชา การนิเทศการศึกษาท่ีดีควรจะ เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ และนโยบายทีว่ างไว้ ควรเป็นไปตามความจรงิ และกฎเกณฑท์ ีแ่ น่นอน 2. การนิเทศการศึกษาควรเป็นวิทยาศาสตร์ การนิเทศการศึกษาควรเป็นไปอย่างมี ระเบียบมีการปรับปรุงและประเมินผล การนิเทศควรจะมาจากการรวบรวมข้อมูล และการสรุปผล อย่างมีประสิทธภิ าพเปน็ ที่เชอ่ื ถอื ได้

17 3. การนิเทศการศึกษาควรเป็นประชาธิปไตย การนิเทศการศึกษาจะต้องเคารพใน ความแตกต่างของบคุ คล เนน้ ความร่วมมือร่วมใจกันในการดาเนินงาน และใช้ความรู้ความสามารถใน การปฏิบตั งิ านเพอ่ื ให้งานนั้นไปสู่เป้าหมายท่ีต้องการ 4. การนิเทศการศึกษาควรจะเป็นการสร้างสรรค์ การนิเทศการศึกษาควรเป็นการ แสวงหาความสามารถพิเศษของบุคคล แล้วเปิดโอกาสให้ได้แสดงออกและพัฒนาความสามารถ เหลา่ น้นั อย่างเต็มท่ี ไวลส์ (อ้างถงึ ใน สน สวุ รรณ. 2556: ออนไลน์) ได้เสนอแนะหลกั การนเิ ทศการศึกษาไว้ ดังนี้ 1. ให้ความสาคัญกบั ครูทกุ คนและทาใหเ้ หน็ วา่ ตอ้ งการความชว่ ยเหลือจากเขา 2. แผนงานหรอื ความเจริญก้าวหนา้ เปน็ ผลจากการทางานเป็นทมี 3. หาโอกาสพบปะสังสรรค์เปน็ กนั เองกบั ครโู ดยสมา่ เสมอ 4. เปดิ โอกาสให้สมาชิกได้แสดงความคิดเห็นและสง่ เสรมิ ใหม้ คี วามคิดริเริม่ 5. เปน็ มิตรไมตรีกับบคุ คลทวั่ ไป 6. ปรกึ ษากับหมคู่ ณะเก่ียวกับการเปล่ียนแปลงใด ๆ อนั จะพงึ มี 7. พิจารณาสภาพท่ีเป็นปัญหาของสมาชิก อาจจะซักถามสัมภาษณ์หรือให้คณะครู เสนอปญั หาท่ีอยู่ในความสนใจร่วมกัน 8. หากศกึ ษานเิ ทศกก์ ระฉับกระเฉงมชี วี ิตชวี า หมูค่ ณะยอ่ มจะเป็นเชน่ กนั 9. บทบาทการนาของศึกษานเิ ทศก์คอื การประสานงานและการชว่ ยเหลอื ทางวิชาการ 10. ฟังมากกว่าพดู 11. การปฏบิ ัตงิ านเริม่ ด้วยปญั หาของสมาชกิ 12. วางแผนปฏิบตั ิงานของหม่คู ณะไว้ 13. ตาแหน่งหน้าที่มิได้ทาให้ศึกษานิเทศก์ต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม หรือความเป็น มิตรไมตรีกบั หมคู่ ณะต้องชะงกั งนั 14. พยายามใช้ประสบการณ์ด้านความสามารถต่าง ๆ ของครูอาวุโสให้เกิดประโยชน์ ในการนิเทศมากทส่ี ุด 15. ตดั สินใจแน่วแน่ทนั ต่อเหตกุ ารณ์ 16. เอาใจใส่ร้งู านในหน้าท่ดี ี 17. สารวจและปรบั ปรุงตนเองอยเู่ สมอ 18. สนใจในสวสั ดิภาพของสมาชิก 19. มคี วามรับผดิ ชอบ ปลกู ฝังความรับผิดชอบให้แก่หมู่คณะ

18 มาร์ค และคณะ (อ้างถึงใน สน สุวรรณ. 2556: ออนไลน์) ได้ให้หลักเบ้ืองต้นของการ นิเทศการศึกษาไวด้ งั น้ี 1. การนเิ ทศการศกึ ษา ตอ้ งอาศัยความร่วมมอื จากทุกฝ่าย 2. การนเิ ทศการศกึ ษา ตอ้ งถือหลักว่าเปน็ การบริการ ซึ่งครเู ป็นผู้ใชบ้ ริการ 3. การนิเทศการศึกษา ควรสอดคล้องกับความต้องการของครู 4. การนิเทศการศึกษา ควรเป็นการสร้างสรรค์ทัศนคติ และความสัมพันธ์ระหว่างผู้ นิเทศกับผรู้ ับการนิเทศ 5. การนิเทศการศึกษา ควรเน้นให้เห็นความสาคัญของงานวิจัย และพยายามหาทาง ให้ครูศึกษางานวจิ ัย แลว้ นามาปฏบิ ตั ติ ามน้ัน 6. การนิเทศการศึกษา ควรยึดหลักการประเมินผลการนิเทศท้ังผู้นิเทศและผู้รับการ นเิ ทศ วินัย เกษมเศรษฐ์ (อ้างถึงใน สน สุวรรณ. 2556: ออนไลน์) ได้กล่าวไว้ว่า การนิเทศ การศึกษาที่มปี ระสทิ ธิภาพจะต้องอาศัยหลกั การตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. หลักสภาพผ้นู า (Leadership) คือ การใช้อิทธิพลของบุคคลที่จะทาให้กิจกรรมต่าง ๆ ของกลมุ่ เป็นไปตามเป้าประสงค์ 2. หลกั ความร่วมมือ (Cooperation) คอื การกระทาร่วมกัน และรวมพลังท้ังหมดเพื่อ แก้ปัญหาด้วยกัน โดยยอมรับและยกย่องผลของความร่วมมือในการปรับปรุงการเรียนการสอนจาก หลายฝ่ายและทาหน้าที่และความรับผิดชอบชัดแจ้งในการจัดองค์การ การประเมินผล ตลอดจนการ ประสานงาน 3. หลักการเห็นใจ (Considerateness) คือ การนิเทศการศึกษาจะต้องคานึงถึงตัว บุคคลที่รว่ มงานดว้ ยการเหน็ ใจ จะทาให้ตระหนักในคณุ ค่าของมนษุ ยสมั พนั ธ์ 4. หลักการสร้างสรรค์ (Creativity) คือ การนิเทศการศึกษา จะต้องทาให้ครูเกิดพลัง ทจ่ี ะคดิ เริม่ สิ่งใหม่ ๆ แปลก ๆ หรอื ทางานดว้ ยตนเองได้ 5. หลักการบูรณาการ (Integration) เป็นกระบวนการซึ่งรวมสิ่งกระจัดกระจายให้ สมบูรณ์มองเห็นได้ 6. หลักการมุง่ ชุมชน (Community) เป็นการแสวงหาปจั จัยทส่ี าคัญในชุมชน และการ ปรับปรงุ ปจั จยั เหลา่ นั้น เพื่อส่งเสริมความเป็นอยใู่ นชุมชนให้ดีขึ้น 7. หลกั การวางแผน (Planning) หมายถึง กระบวนการวิเคราะห์ซึ่งเก่ียวกับการแสวง ผลในอนาคตการกาหนดจุดประสงค์ท่ีต้องการล่วงหน้า การพัฒนาทางเลือกเพื่อปฏิบัติให้บรรลุถึง จุดประสงค์และการเลือกทางปฏิบัติให้เหมาะสมที่สุด

19 8. หลักการยืดหยุ่น (Flexibility) หมายถึง ความสามารถที่จะถูกเปล่ียนแปลงได้ และ พร้อมอยเู่ สมอท่จี ะสนองความต้องการสภาพทเี่ ปลย่ี นแปลงไป 9. หลักวัตถุวิสัย (Objectivity) หมายถึง คุณภาพท่ีเป็นผลจากหลักฐานตามสภาพ ความจริงมากกวา่ ความเห็นบคุ คล 10. หลักการประเมินผล (Evaluation) หมายถึง การหาความจริงโดยการวัด ทแี่ น่นอน และหลายอย่าง วิจิตร วรุตบางกูร และคณะ (อ้างถึงใน สน สุวรรณ. 2556: ออนไลน์) ได้เสนอแนะหลัก สาคญั ในการนเิ ทศการศกึ ษาไว้ดังนี้ 1. หาทางให้ครูรจู้ ักช่วยและพงึ่ ตวั เอง ไม่ใช่คอยจะอาศัยและหวังพึ่งศึกษานิเทศก์หรือ คนอ่ืนตลอดเวลา 2. ช่วยให้ครูมคี วามเช่ือมน่ั ในตนเอง สามารถท่ีจะวิเคราะห์และแยกแยะปัญหาต่าง ๆ ดว้ ยตนเองได้ 3. ต้องทราบความต้องการของครู แลว้ วางแผนการนิเทศเพื่อตอบสนองความต้องการ นั้น ๆ 4. ศึกษาปัญหาต่าง ๆ ของครูและทาความเข้าใจกับปัญหานั้นๆ แล้วพิจารณาหาทาง ช่วยแกไ้ ข 5. ชกั จงู ให้ครูช่วยกันแยกแยะและวิเคราะห์ปัญหาร่วมกัน 6. การแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอน ควรเปิดโอกาสให้ครูได้ใช้ความคิดและ ลงมือกระทาเองให้มากท่สี ดุ 7. รบั ฟังความคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะต่าง ๆ ของครู แล้วนามาพิจารณารว่ มกนั 8. ชว่ ยจัดหาแหลง่ วิทยากร อุปกรณ์การสอนตลอดจนเครื่องมอื เครื่องใช้ต่าง ๆ ใหแ้ กค่ รู 9. ชว่ ยจดั หาเอกสาร หนงั สือ และตาราต่าง ๆ ให้แก่ครู 10. ช่วยใหค้ รรู ู้จักจดั หาหรอื จัดทาวัสดอุ ุปกรณ์การสอนทข่ี าดแคลนด้วยตนเอง โดยใช้ วสั ดใุ นท้องถนิ่ ท่มี อี ยู่ 11. หาทางให้สถานศึกษา ชุมชน และหน่วยงานท่ีใกล้เคียง มีความสัมพันธ์กันและ ชว่ ยเหลือซ่งึ กันและกนั 12. ตอ้ งยอมรับนับถือบคุ ลากรที่ร่วมงานในโรงเรียนนั้น ๆ และแสดงให้เขาเห็นว่าเขา มีความสาคญั ในสถานศกึ ษานั้น ๆ ดว้ ย 13. ชว่ ยให้ครูได้แถลงกิจกรรม และผลงานต่าง ๆ ของสถานศึกษาให้ชุมชนทราบโดย สมา่ เสมอ

20 14. ทาความเข้าใจกับผู้บริหารสถานศึกษาในส่วนท่ีเป็นหน้าท่ีและความรับผิดชอบ ของกนั และกนั 15. ช่วยประสานงานระหว่างสถานศกึ ษากบั องค์การหรือหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง 16. รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ท่ีเห็นวา่ เป็นประโยชน์มาทาการวเิ คราะหแ์ ละวจิ ัย 17. ทาความเข้าใจเก่ียวกับเร่ืองราวต่าง ๆ ของการศึกษาอย่างแจ่มแจ้ง เพื่อจะได้ ดาเนินการให้บรรลุเป้าหมาย 1.5 กระบวนการนิเทศการศกึ ษา กระบวนการนิเทศการศึกษาเป็นส่ิงจาเป็นอย่างย่ิงในการนิเทศการศึกษา มีลาดับ ขั้นตอนต่อเนื่องชัดเจน พร้อมด้วยเหตุผลและความเป็นไปได้ ทั้งนี้เพ่ือให้การดาเนินการในการนิเทศ ไดร้ ับความสาเร็จ นกั การศกึ ษาไดใ้ หท้ กั ษะเกยี่ วกับกระบวนการนิเทศการศึกษา ดงั น้ี สงัด อุทรานนั ท์ (2530: 86-87) ไดก้ ลา่ วถึง กระบวนการนิเทศการศึกษาท่ดี มี ีข้นั ตอน ขั้นที่ 1 วางแผนการนิเทศ (Planning-P) ขัน้ ที่ 2 ใหค้ วามร้คู วามขา้ ใจในการทางาน (Informing-l) ขน้ั ที่ 3 ลงมือปฏิบตั ิ (Doing-D) ขั้นที่ 4 สร้างเสริมกาลังใจ (Reinforcing-R) ขนั้ ที่ 5 การประเมินการนิเทศ (Evaluating-E) ข้ันท่ี 1 วางแผนการนิเทศ (Planning-P) เป็นขั้นที่ผู้บริหาร ผู้นิเทศ และผู้รับการ นิเทศจะทาการประชุมหารือ เพื่อให้ได้มาซึ่งปัญหา และความต้องการจาเป็นที่จะต้องมีการนิเทศ รวมถึงวางแผนถึงข้ันตอนการปฏิบัติงานท่เี ก่ยี วกบั การนิเทศท่จี ะจัดขน้ึ ขั้นที่ 2 ให้ความรู้ความเข้าใจในการทางาน (Informing-l) เป็นข้ันตอนของการให้ ความร้คู วามเข้ใจถึงสิ่งทจี่ ะดาเนินการว่าจะตอ้ งอาศัยความรคู้ วามสามารถอย่างไรบ้าง จะมีข้ันตอนใน การดาเนินการอย่างไร และจะทาอยา่ งไรจึงจะทาให้ได้ผลงานออกมาอยา่ งมคี ุณภาพ ขน้ั ท่ี 3 ลงมือปฏิบัติ (Doing-D) ประกอบด้วยการปฏิบัติงานใน 3 ลักษณะ คือ 1. การปฏิบัติงานของผู้รับการนิเทศเป็นข้ันที่ผู้รับการนิเทศลงมือปฏิบัติงานตาม ความร้คู วามสามารถท่ไี ดร้ บั มาจากการดาเนินการในขัน้ ที่ 2 2. การปฏิบัติงานของผู้ให้การนิเทศ ข้ันน้ีผู้ให้การนิเทศจะทาการนิเทศและควบคุม คณุ ภาพให้งานสาเร็จออกมาทันตามกาหนดเวลาและมีคุณภาพสูง 3. การปฏิบัติงานของผู้สนับสนุนการนิทศ เช่น ผู้บริหารก็จะทาให้การสนับสนุน ในเรอื่ งวัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนเครือ่ งใช้ต่างๆ ทจี่ ะชว่ ยใหก้ ารปฏบิ ัตงิ านเป็นไปอย่างได้ผล

21 ขั้นที่ 4 สร้างเสริมกาลังใจ (Reinforcing-R) ขั้นนี้เป็นขั้นของการเสริมกาลังใจของ บริหารเพ่ือให้ผู้รับการนิเทศมีความมั่นใจและบังเกิดความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ขั้นน้ีอาจดาเนิน ไปพรอ้ มๆ กันกบั ท่ผี ู้รับการนเิ ทศกาลังปฏิบัตงิ านหรกื ารปฏิบตั งิ านได้เสร็จสิน้ ลงแลว้ ก็ได้ ข้ันที่ 5 การประเมินการนิเทศ (Evaluating-E) เป็นข้ันที่ผู้นิเทศทาการประเมินผล การดาเนินการ ซึ่งผ่านไปแล้วเป็นอย่างไร หลักจากการประเมินผลการนิเทศพบว่า มีปัญหาหรือ อุปสรรคอยา่ งหน่งึ อย่างใด ทท่ี าใหก้ ารดาเนินงานไม่ได้ผลก็สมควรจะตอ้ งทาการปรับปรุงแก้ไข ชุมศักดิ์ อินทรร์ ักษ์ (2536: 24) กล่าวว่า กระบวนการนเิ ทศการศกึ ษาจะทาให้ การปฏบิ ัติงานเป็นไปอยา่ งมรี ะบบและมปี ระสิทธภิ าพ ควบคู่ไปกับการบรหิ าร ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์ (2546: 39) กล่าวถึงกระบวนการนิเทศว่า หมายถึง ข้ันตอนใน การดาเนินงาน และการปฏิบัติงานการนิเทศอย่างมีระบบ มีการประเมินสภาพการทางาน การจดั ลาดบั งานท่ตี อ้ งทา การออกแบบงาน การประสานงาน ตลอดจนการอานวยการให้งานลลุ ่วงไป Harris (1975: 10) ได้นาความคิดของ Allen เก่ียวกับกระบวนการบริหารงานการศึกษา โดยทวั่ ๆ ไป มาเสนอใหใ้ ชก้ ับการนเิ ทศการศกึ ษาเรยี กดว้ ยอกั ษรย่อ Polca ในข้ันตอน ดังนี้ 1. ขั้นวางแผน (Planning) ได้แก่ การคิด การต้ังวัตถุประสงค์ การคาดการณ์ ล่วงหนา้ การกาหนดตารางงาน การคน้ หาวิธีปฏบิ ตั ิงาน และการวางโปรแกรมงาน 2. ข้ันการจัดโครงการ (Organizing) ได้แก่ การตั้งเกณฑ์มาตรฐาน การรวบรวม ทรัพยากรท่ีมีอยู่ท้ังคนและวัสดุอุปกรณ์ ความสัมพันธ์แต่ละข้ัน การมอบหมายงาน การ ประสานงาน การกระจายอานาจตามหนา้ ที่ โครงสร้างขององคก์ าร และการพัฒนานโยบาย 3. ข้ันการนาเข้าสู่การปฏิบัติ (Leading) ได้แก่ การตัดสินใจ การเลือกสรรบุคคล การเร้าจูงใจให้มีกาลังใจคิดริเร่ิมอะไรใหม่ ๆ การสาธิต การจูงใจ และให้คาแนะนา การสื่อสาร การ กระตุ้น ส่งเสริมกาลงั ใจ การแนะนานวตั กรรมใหม่ ๆ และให้ความสะดวกในการทางาน 4. ข้นั การควบคมุ (Controlling) ไดแ้ ก่ การส่งั การ การใหร้ างวัล การลงโทษ การให้ โอกาสการตาหนิ การไลอ่ อก และการบงั คบั ให้กระทาตาม 5. ขั้นประเมินผล (Appraising) ได้แก่ การตัดสินการปฏิบัติงาน การวิจัย และการ วดั ผลการปฏิบัติงาน กิจกรรมท่ีสาคัญ คือพิจารณาผลงานในเชิงปฏิบัติว่าได้ผลมากน้อยเพียงใด และ วัดผลด้วยการประเมินอย่างมีแบบแผน มีความเท่ียงตรง ท้ังน้ีควรจะมีการวิจัยด้วย จะเห็นว่า กระบวนการนิเทศการศึกษาเป็นการทางานอย่างมีแบบแผน โดยเร่ิมจากการวิเคราะห์งานการเรียน การสอนของครู เพ่อื จะไดท้ ราบปัญหา ระบปุ ัญหาที่จะต้องรีบแก้ไขปรับปรุงก่อนหลัง แล้วจึงวางแผน ที่จะดาเนินการโดยหาทางเลือกท่ีจะแก้ปัญหาท่ีดีท่ีสุด ต่อจากน้ันก็ดาเนินการตามแนวข้ันตอน ตามลาดับจนถึงขนั้ การประเมินผลการปฏบิ ตั งิ านแลว้ จงึ นาผลการปฏบิ ัติไปปรับปรงุ แก้ไขต่อไป

22 สรุปได้ว่า กระบวนการนิเทศการศึกษา ประกอบด้วย การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา การวางแผน การสรา้ งสอื่ เครอื่ งมือ การปฏบิ ตั กิ ารนิเทศ และการประเมินผล รายงานผล 2. แนวคิดเกยี่ วกับศกึ ษานเิ ทศก์ 2.1 ความหมายของศึกษานเิ ทศก์ ความหมายของศึกษานิเทศก์ นักการศึกษาหลาย ๆ ท่าน ได้ให้ความหมายของ ศึกษานิเทศก์ ไว้ดังนี้ เจษฎา จันทพาภรณ์ (2535: 12) ได้ให้ความหมายว่า ศึกษานิเทศก์ หมายถึง เจ้าหน้าท่ี ดาเนินการทางวิชาการ ซง่ึ มีหน้าท่ีตรวจโรงเรียนในฐานะเจ้าพนักงานทท่ี าหนา้ ท่ีตามกฎหมาย Lucio and Meneil (1962: 87) กล่าวว่า ศึกษานิเทศก์ หมายถึง ผู้นาท่ีมีคุณสมบัติ 2 ประการ คือ เข้าใจจุดมุ่งหมายของการศึกษาและสามารถช่วยให้ครูปฏบิ ตั ติ ามจุดมุ่งหมายนน้ั ได้ Adums and Dickey (1963: 69) ให้ความหมายของศึกษานิเทศก์ว่า หมายถึง บุคคลที่ ทางานรว่ มกับผ้อู ่นื เพอ่ื ปรับปรุงคุณภาพการเรยี นการสอน Briggs and Justman (1982: 116-A) กล่าวว่า ศึกษานิเทศก์ คือ ผู้นาทางการศึกษาท่ี ทางานรว่ มกับครู ทาให้ครูยอมรับและให้ความร่วมมือในการนเิ ทศการศึกษา สรุปได้ว่า ศึกษานิเทศก์ หมายถึง บุคคลซึ่งมีหน้าท่ีในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ีคอย ช่วยเหลือ แนะนา และสง่ เสริมการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนของครใู หม้ ีประสิทธภิ าพ 2.2 บทบาทและหน้าที่ของศกึ ษานิเทศก์ กติ ิมา ปรีดดี ิลก (2532: 269) ได้รวบรวมขอ้ มูลเกย่ี วกับบทบาทหนา้ ท่ขี องศึกษานิเทศก์จาก หนว่ ยงานตา่ ง ๆ ไว้ ดงั น้ี 1. การนิเทศการสอนและการบริหารงานวิชาการ หรือเป็นที่ปรึกษาทางวิชาการใน สถานศกึ ษาท่อี ย่ใู นเขตความรับผิดชอบ 2. ตรวจสอบและควบคุมสถานศึกษาในฐานะพนักงานเจา้ หนา้ ทีต่ ามกฎหมายระบุไว้ 3. ศกึ ษา ทดลอง วิจยั ในเร่ืองเกี่ยวกับการเรียนการสอนทางด้านงานวิชาการตลอดจน การบรหิ ารการศึกษา 4. พิจารณาและพัฒนาหลักสูตร แบบเรียน หนังสือประกอบการเรียน แผนการสอน หรอื แนวการสอนใหส้ อดคลอ้ งกับสภาพปัจจบุ นั 5. จดั ทาค่มู อื ครู เอกสารทางวิชาการ และวัสดอุ ปุ กรณ์ประกอบการเรียนการสอน 6. ปรับปรุงส่งเสริมคุณภาพของการเรียนการสอนและการบริหารงานวิชาการโดยใช้ นวตั กรรมทางการศึกษาต่าง ๆ

23 7. จัดประชุม อบรม สัมมนาครูอาจารย์หรือผู้บริหารการศึกษา เพ่ือส่งเสริมงานทาง วิชาการ 8. ประเมนิ ผลงานทางด้านวชิ าการ 9. เสนอแนะและใหค้ าปรึกษาทางวชิ าการ 10. งานอ่ืน ๆ ที่ไดร้ ับมอบหมาย ชารี มณศี รี (2538: 41) ไดส้ รปุ บทบาทหน้าที่ท่ัวไปของศึกษานเิ ทศก์ไว้ดังน้ี 1. ช่วยเหลือแนะนาโรงเรียนในด้านวชิ าการและการบริหาร 2. เสนอแนะข้อคิดเห็นต่าง ๆ ในดา้ นวชิ าการและการบรหิ าร 3. ทาหนา้ ท่ีเป็นสอ่ื สัมพนั ธ์ระหว่างฝ่ายวิชาการกับฝ่ายบริหาร 4. ตรวจโรงเรยี นในฐานะพนักงานเจ้าหนา้ ที่ 5. ดาเนนิ การนิเทศและอบรมครโู รงเรยี นในสงั กัด 6. ผลิตและเผยแพร่เอกสารทางวิชาการและอปุ กรณ์การศึกษา 7. ค้นควา้ ทดลอง วจิ ัยงานทางการศึกษา 8. ประสานงานระหวา่ งศึกษานิเทศก์ ครู เจา้ หนา้ ท่ีบรหิ ารการศึกษา และหนว่ ยงาน อ่ืน ๆ 9. ประเมินผลการศึกษาของโรงเรยี นท่เี กี่ยวขอ้ ง 2.3 คุณสมบัตขิ องศกึ ษานเิ ทศก์ ตอ้ งมีคณุ สมบตั ิเฉพาะสาหรบั ตาแหน่งตามทสี่ านักงานคณะกรรมการ ข้าราชการครูกาหนดและมคี ุณสมบัติอื่นๆ ประกอบ ดังน้ี 1. มีความรู้ความเข้าในกฎหมาย กฎ และระเบียบท่เี ก่ียวกับการจดั การประถมศึกษา และขา้ ราชการครู ตลอดจนกฎหมาย กฎ และระเบียบทเ่ี ก่ียวกับการปฏบิ ตั ิหน้าที่ 2. มีความร้แู ละทักษะในกลุ่มประสบการณ์ตามหลกั สตู รประถมศึกบาและงานท่ี ต้องรับผดิ ชอบ 3. มคี วามรู้ ความเข้าใจในเรื่องนโยบาย แผนการศึกษาแหง่ ชาตแิ ละแผนการศึกษา ปจั จบุ ัน 4. มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับเหตุการณป์ จั จบุ ัน ในด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกจิ เละสังคม โดยเฉพาะอย่างย่ิงของประเทศไทย 5. มคี วามสามารถในการตดิ ต่อประสานงานและทางานรว่ มกบั ผทู้ ่เี ก่ียวข้องไดด้ ี 6. มีบคุ ลกิ ลักษณะและมนุษยสัมพันธ์ดี เหมาะสมทจี่ ะทาหน้าที่ผู้นาทางวชิ าการ และบรหิ ารการศึกษา

24 7. มคี วามประพฤติและปฏบิ ัตดิ ี เป็นตัวอยา่ งแก่ครูได้ 8. มคี วามรู้ ความเข้าในหลกั การนเิ ทศการศึกษาและเจตคตทิ ีด่ ีต่อการนเิ ทศ การศึกษา 9. มีความสามารถในการปฏบิ ัติงาน ควบคมุ ตรวจสอบ ให้คาปรึกบา แนะนา และ เสนอแนะ แก้ไข ปรับปรงุ การปฏบิ ัติงานทอ่ี ยูใ่ นความรับผดิ ชอบการบริหารการศึกษา คุณลักษณะเฉพาะตาแหน่ง คุณสมบตั เิ ฉพาะสาหรบั ตาแหนง่ 1. มีใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพศึกษานิเทศก์ 2. ดารงตาแหน่ง หรอื เคยดารงตาแหนง่ อย่างใดอย่างหน่งึ ต่อไปนี้ 2.1 ตาแหนง่ ครู ทม่ี ีวทิ ยฐานะไมต่ ่ากวา่ ครูชานาญการ 2.2 ตาแหน่งอื่นที่ ก.ค.ศ. เทียบเท่า 2.4 มาตรฐานตาแหนง่ และมาตรฐานวทิ ยฐานะศกึ ษานเิ ทศก์ มาตรฐานตาแหน่ง ชอ่ื ตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์ หน้าที่และความรับผิดชอบ มีหนา้ ท่แี ละความรบั ผดิ ชอบหลกั ในการนเิ ทศ การศกึ ษา ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษารวมทัง้ พัฒนาตนเองและวิชาชีพ และปฏบิ ัตงิ านอืน่ ตามทไี่ ด้รบั มอบหมาย ลักษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ การปฏิบตั ิงาของศึกษานิเทศก์ ต้องมกี ารบูรณาการงานทงั้ 3 ดา้ น ให้เช่อื มโยงและ สอดคล้องกัน ดังนี้ 1. ด้านการนเิ ทศการศึกษา 1.1 ออกแบบ จัดทาแผนการนเิ ทศการศกึ ษา ใหส้ อดคลอ้ งกับยทุ ธศาสตร์ชาติ มาตรฐานการศึกษาชาติและหลกั สูตร รวมท้งั นโยบาย จดุ เนน้ สภาพแวดล้อม ปัญหาและความ ต้องการจาเป็น ใหค้ รู สถานศึกษา และหน่วยงานการศึกษา สามารถจดั การศกึ ษาเพ่ือพฒั นา สมรรถนะและผลลัพธ์การเรียนรขู้ องผู้เรียน 1.2 คัดสรร สรา้ ง พฒั นา สอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี โดยศกึ ษา คน้ คว้า วิเคราะห์ สงั เคราะหว์ ิจยั หรือวธิ ีการอ่ืนๆ ท่ีเหมาะสม ใหส้ อดคล้องกบั แผนการนเิ ทศการศกึ ษา เพ่อื ชว่ ยเหลือ สง่ เสรมิ สนบั สนุนให้ครสู ถานศึกษา และหนว่ ยงานการศกึ ษา สามารถจัดการศึกษาได้ บรรลุผล 1.3 นิเทศ ใหค้ าปรึกษา แนะนา ชี้แนะ เปน็ พเี่ ลยี้ ง สง่ เสริม และสนบั สนนุ การ พฒั นางานวชิ าการประสานงานกับหนว่ ยงาน สถานประกอบการ และผูม้ สี ่วนเกีย่ วข้อง ติดตาม และ

25 ประเมินผลการจดั การศึกษาใหค้ รู สถานศกึ ษา และหนว่ ยงานการศึกษา สามารถจดั การศึกษาได้ บรรลผุ ล 1.4 รายงานผลการนิเทศ โดยการวิเคราะห์ สังเคราะห์ สะท้อนผลการนิเทศตอ่ ครู สถานศกึ ษาหนว่ ยงาน หรือผมู้ ีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อเป็นข้อมลู สารสนเทศในการพัฒนางานวชิ าการ และการจัดการศึกษาท่เี กิดผลสัมฤทธ์ิสงู 2. ด้านการสง่ เสริมและสนับสนนุ การจัดการศกึ ษา 2.1 วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายและความต้องการจาเปน็ สงั เคราะห์สารสนเทศที่ เก่ยี วขอ้ งอยา่ งรอบต้าน เพอ่ื วางแผนการส่งเสรมิ สนบั สนนุ และพฒั นาการจัดการศึกษา 2.2 ประสานความรว่ มมือกับหน่วยงาน องค์กร และสถานประกอบการ รวมถึง ภูมิปัญญาหรือผู้ทรงคณุ วุฒดิ ้านต่าง ๆ ให้เขา้ มามสี ว่ นร่วมในการพัฒนาการจดั การศึกษา เพอื่ เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งให้กบั สถานศกึ ษา 2.3 ติดตามประเมินผลการส่งเสริม สนบั สนุนการจดั การศึกษาของสถานศึกษา และหน่วยงานการศกึ ษา ใหส้ ามารถจดั การศกึ ษาไดบ้ รรลุผลตามพนั ธกิจ 3. ดา้ นการพฒั นาตนเองและวชิ าชพี 3.1 พัฒนาตนเองอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเน่อื ง เพ่ือใหม้ คี วามรู้ ความสามารถ ทกั ษะ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการใช้ภาษไทยและภาษอังกฤษเพอื่ การส่ือสาร และการใช้เทคโนโลยีดจิ ทิ ัล เพื่อการศึกษา สมรรถนะทางวิชาชพี ศึกษานเิ ทศก์ และความรอบรใู้ นเนื้อหาที่นเิ ทศใหส้ ูงข้ึน 3.2 มสี ่วนร่วม และเปน็ ผูน้ าในการแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ เพ่ือพฒั นา การจดั การเรยี นรแู้ ละการจัดการศกึ ษา 3.3 นาความรู้ ความสามารถ ทกั ษะที่ไดจ้ ากการพฒั นาตนเองและวิชาชพี มาใช้ ในการพฒั นาการนเิ ทศการศึกษา ทีม่ ีผลตอ่ คณุ ภาพครูและผ้เู รยี น วินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ มวี ินยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี ดารงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีจิตสานึกความรบั ผิดชอบในการนเิ ทศการศึกษา และมีจรรยาบรรณ ของวชิ าชีพ ความรแู้ ละสมรรถนะท่ีจาเป็นสาหรบั ตาแหน่ง 1. มีความรู้ ความข้าใจเกี่ยวกับหลักการนิเทศการศกึ ษา หลักสตู ร กระบวนการ เรียนรู้ การวดั การประเมนิ ผลการศกึ ษา และเคร่อื งมือการนิเทศ 2. มีสมรรถนะทจ่ี าเปน็ สาหรับการปฏบิ ัติงานในตาแหน่ง

26 มาตรฐานวิทยฐานะ ชือ่ วิทยฐานะ ศึกษานเิ ทศก์ชานาญการ หน้าทแ่ี ละความรับผดิ ชอบ มีหนา้ ทแี่ ละความรบั ผิดชอบและลกั ษณะงานที่ปฏบิ ัติตามมาตรฐานตาแหนง่ ศึกษานิเทศก์ และมภี าระงานนิเทศการศึกษา ตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด คุณภาพการปฏิบตั ิงาน มคี วามสามารถ และทักษะในการปฏบิ ตั งิ านด้านการนิเทศการศกึ ษา ดา้ นการ ส่งเสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศึกษา โดยแสดงให้เหน็ ว่ามีการออกแบบและจดั ทาแผนการนิเทศ การศึกษา คดั สรร สร้าง พฒั นาสอื่ นวตั กรรมและเทคโนโลยี ใหส้ อดคลอ้ งกับแผนการนิเทศการศกึ ษา ปฏบิ ัติการนิเทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจดั การศึกษา สง่ เสรมิ พัฒนางานวชิ าการของ หน่วยงานการศึกษา ประสานงานกับหน่วยงานและผมู้ สี ว่ นเกีย่ วขอ้ ง โดยเน้นการมีส่วนรว่ ม และ จดั ทารายงานผลการนิเทศการศกึ ษาเพื่อแก้ไขปัญหาและใหผ้ ูร้ บั การนเิ ทศพฒั นาการจดั การเรียนรู้ ของผูเ้ รยี นอยา่ งมีคณุ ภาพพฒั นาตนอง พฒั นาวชิ าชีพ นาความรู้ ความสามารถทักษะท่ีได้จากการ พฒั นาตนเองและพฒั นาวิชาชีพมาใช้ในการแกป้ ญั หาการนิทศการศึกษาให้มีผลต่อคณุ ภาพครแู ละ ผเู้ รียน วนิ ยั คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชีพ มวี ินัย คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งทดี่ ี ดารงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง มจี ิตสานึกความรับผดิ ชอบในการนิเทศการศึกษา และมจี รรยาบรรณ ของวชิ าชพี คุณสมบัติเฉพาะสาหรบั วทิ ยฐานะ 1. ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์ ไมน่ อ้ ยกว่า 4 ปี หรอื ลดระยะเวลาจาก 4 ปี เหลือ 3 ปี ตามเง่ือนไข กค.ศ กาหนด และผา่ นการประมิตามหลักเกณฑ์และวธิ กี ารที่ ก.ค.ศ. กาหนด หรือ 2. ดารงตาแหน่งอ่นื ที่ ก.ค.ศ. เทียบเทา่ หรอื 3. ดารงตาแหนง่ อ่นื ท่ีมีวิทยฐานะชานาญการ ช่อื วิทยฐานะ ศกึ ษานิเทศกช์ านาญการพิเศษ หน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบ มีหนา้ ที่และความรบั ผิดชอบและลกั ษณะงานทปี่ ฏบิ ัตติ ามมาตรฐานตาแหน่ง ศึกษานิเทศก์และมภี าระงานนิเทศการศกึ ษา ตามท่ี ก.ค.ศ. กาหนด

27 คุณภาพการปฏบิ ัตงิ าน มคี วามสามารถ และทักษะในการปฏิบตั งิ านด้านการนเิ ทศการศกึ ษา ด้านการ สง่ เสรมิ และสนับสนุนการจัดการศกึ ษา โดยแสดงใหเ้ หน็ วา่ มกี ารออกแบบและจัดทาแผนการนิเทศ การศึกษา คดั สรร สร้าง พัฒนาส่อื นวตั กรรมและเทคโนโลยี ใหส้ อดคล้องกบั แผนการนิเทศการศกึ ษา ปฏิบตั กิ ารนิเทศ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ส่งเสริมพฒั นางานวิชาการของ หนว่ ยงานการศกึ ษา ประสานงานกบั หนว่ ยงานและผมู้ สี ่วนเก่ยี วขอ้ ง โดยเนน้ การมีส่วนรว่ ม และ จัดทารายงานผลการนิเทศการศึกษาเพื่อแก้ไขปัญหา รเิ ริม่ คิดคัน และพัฒนานวตั กรรมใหผ้ ู้รับการ นเิ ทศพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของผเู้ รยี นอย่างมีคณุ ภาพสงู ข้ึน พฒั นาตนเอง พัฒนาวิชาชพี นาความรู้ ความสามารถทักษะทไี่ ด้จากการพฒั นา ตนเองและพฒั นาวชิ าชพี มาใช้ในการแกป้ ัญหาละพัฒนาการนิเทศการศึกษาใหม้ ผี ลต่อคุณภาพครูและ ผเู้ รียน เปน็ แบบอยา่ งท่ีดี วนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีวนิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรม ประพฤติตนเป็นแบบอยา่ งทด่ี ี ดารงชวี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มีจติ สานึกความรบั ผดิ ชอบในการนเิ ทศการศึกษา และมีจรรยาบรรณ ของวชิ าชพี คณุ สมบัตเิ ฉพาะสาหรับวทิ ยฐานะ 1. ดารงตาแหนง่ ศึกษานเิ ทศก์ ท่ีมีวทิ ยฐานะศึกษานเิ ทศก์ชานาญการ ไมน่ อ้ ยกว่า 4 ปี หรอื ลดระยะเวลาจาก 4 ปี เหลอื 3 ปี ตามเง่ือนไขท่ี ก.ค.ศ. กาหนด และผ่านการประเมนิ ตาม หลักเกณฑ์และวธิ กี ารท่ี ก.ค.ศ. กาหนด หรือ 2. ดารงตาแหน่งอืน่ ที่ ก.ค.ศ. เทยี บเทา่ หรือ 3. ดารงตาแหนง่ อน่ื ทม่ี วี ิทยฐานะชานาญการพเิ ศษ ช่อื วิทยฐานะ ศกึ ษานเิ ทศก์เช่ียวชาญ หนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบ มหี นา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบและลกั ษณะงานที่ปฏิบัติตมมาตรฐานตาแหน่ง ศกึ ษานิเทศกแ์ ละมภี าระงานนิเทศการศึกษา ตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด คณุ ภาพการปฏิบตั งิ าน มีความสามารถ และทักษะในการปฏบิ ตั ิงานด้านการนิเทศการศกึ ษา ตา้ นการ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษา โดยแสดงให้เหน็ วา่ มกี รออกแบบและจัดทาแผนการนเิ ทศ การศึกษา คัดสรรสรา้ ง พฒั นาสือ่ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ให้สอดคล้องกบั แผนการนเิ ทศการศึกษา ปฏบิ ตั ิการนิเทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจดั การศึกษา สง่ เสรมิ พัฒนางานวิชาการของ หนว่ ยงานการศกึ ษา ประสานงานกับหน่วยงานและผ้มู สี ่วนเกย่ี วขอ้ ง โดยเน้นการมีสว่ นรว่ ม และ

28 จดั ทารายงานผลการนเิ ทศการศกึ ษาเพ่ือแก้ไขปัญหา รเิ ริม่ คดิ ค้น พัฒนา และปรับเปล่ียนนวตั กรรม ใหผ้ รู้ บั การนเิ ทศพฒั นาการจัดการเรียนรู้ของผเู้ รยี นอยา่ งมีคณุ ภาพสูงข้ึน พัฒนาตนเอง พฒั นาวชิ าชีพ นาความรู้ ความสามารถทักษะทไี่ ด้จากการพฒั นา ตนเองและพฒั นาวชิ าชีพมาใชใ้ นการแกป้ ัญหาและพฒั นาการนเิ ทศการศึกษาใหม้ ีผลตอ่ คณุ ภาพครู และผูเ้ รียน เปน็ แบบอย่างที่ดีเปน็ ผู้นาและสร้างผ้นู าการเปลย่ี นแปลงตอ่ เพอ่ื นร่วมวิชาชพี วินยั คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มวี ินัย คณุ ธรม จริยธรรม ประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ งท่ดี ี ดารงชวี ิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มจี ิตสานึกความรบั ผิดชอบในการนิเทศการศึกษา และมีจรรยาบรรณของวิชาชพี คุณสมบัตเิ ฉพาะสาหรับวทิ ยฐานะ 1. ดารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์ ทม่ี ีวิทยฐานะศึกษานิเทศก์ชานาญการพเิ ศษ ไม่น้อยกว่า 4 ปี หรือลดระยะเวลาจาก 4 ปี เหลือ 3 ปี ตามเง่ือนไขที่ ก.ค.ศ. กาหนด และผา่ นการ ประเมินตามหลกั เกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด หรือ 2. ดารงตาแหน่งอนื่ ท่ี ก.ค.ศ. เทียบเท่า หรือ 3. ดารงตาแหนง่ อน่ื ที่มวี ทิ ยฐานะเช่ียวชาญ ชอ่ื วิทยฐานะ ศกึ ษานิเทศกเ์ ชี่ยวชาญพเิ ศษ หนา้ ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบ มหี น้าท่แี ละความรบั ผิดชอบและลกั ษณะงานที่ปฏิบัติตามมาตรฐานตาแหน่ง ศกึ ษานเิ ทศก์และมีภาระงานนเิ ทศการศกึ ษา ตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด คุณภาพการปฏิบตั ิงาน มคี วามสามารถ และทักษะในการปฏิบัตงิ านด้านการนเิ ทศการศึกษา ดา้ นการ สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการศึกษา โดยแสดงใหเ้ หน็ ว่ามีการออกแบบและจัดทาแผนการนิเทศ การศึกษา คัดสรร สร้าง พฒั นาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี ใหส้ อดคลอ้ งกับแผนการนเิ ทศการศกึ ษา ปฏบิ ัตกิ ารนิเทศ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา สง่ เสรมิ พัฒนางานวิชาการของ หน่วยงานการศกึ ษา ประสานงานกบั หนว่ ยงานและผู้มีส่วนเกยี่ วข้อง โดยเน้นการมีส่วนร่วม และจัดทา รายงานผลการนเิ ทศการศึกษาเพอื่ แก้ไขปญั หา รเิ ริ่ม คิดค้น พฒั นา ปรับเปลี่ยน เผยแพร่และขยายผล นวตั กรรมและงานวิจยั จนนาไปส่กู ารเปลยี่ นแปลงในวงวชิ าชพี พัฒนาตนเอง พัฒนาวชิ าชพี นาความรู้ ความสามารถทักษะที่ไดจ้ ากการพัฒนา ตนเองและพัฒนาวชิ าชีพมาใชใ้ นการแก้ปัญหาและพัฒนาการนเิ ทศการศึกษาใหม้ ีผลตอ่ คุณภาพครู และผเู้ รียน เป็นแบบอย่างท่ดี ีเป็นผูน้ าและสรา้ งผู้นาการเปลยี่ นแปลงตอ่ วงวชิ าชพี

29 วนิ ัย คณุ ธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีวินัย คณุ ธรรม จริยธรรม ประพฤติตนเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ี ดารงชีวิตตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มีจติ สานึกความรับผดิ ชอบในการนิเทศการศึกษา และมีจรรยาบรรณ ของวิชาชพี คุณสมบัตเิ ฉพาะสาหรบั วทิ ยฐานะ 1. ตารงตาแหน่งศึกษานิเทศก์ ทมี่ วี ทิ ยฐานะศึกษานเิ ทศกเ์ ชยี วชาญ ไมน่ อ้ ยกว่า 4 ปี หรอื ลดระยะเวลาจาก 4 ปี เหลอื 3 ปี ตามเงอ่ื นไขที่ ก.ค.ศ. กาหนด และผา่ นการประเมนิ ตาม หลกั เกณฑ์และวิธีการที่ ก.ค.ศ. กาหนด หรือ 2. ดารงตาแหน่งอ่นื ท่ี ก.ค.ศ. เทียบเทา่ หรือ 3. ดารงตาแหน่งอ่นื ที่มีวทิ ยฐานะเชี่ยวชาญพิเศษ 4. ผา่ นการพฒั นาก่อนแต่งตง้ั ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารท่ี ก.ค.ศ. กาหนด จากที่กล่าวมาสรุปไดว้ า่ ศึกษานเิ ทศก์เปน็ บคุ คลท่ปี ฏบิ ตั ิงานเก่ยี วกับการสง่ เสรมิ สนับสนุนงานด้านวชิ าการ ดงั น้ัน จงึ ต้องมีคณุ สมบตั ิตามหลักเกณฑท์ ี่กาหนด รวมทัง้ จะต้องมีความรู้ ความสามารถ เข้าใจระบชี น กฎหมายท่ีเกยี่ วข้อง ตลอดจนหลักการวิธกี ารในการปฏบิ ตั ิงานในหนา้ ท่ี และท่ีสาคัญต้องมที ักษะในหลาย ๆ ดา้ น เพอื่ สง่ ผลใหก้ ารปฏิบัตงิ านในหน้าท่รี ับผดิ ชอบดาเนินไป อยา่ งประสิทธภิ าพ

30 3. งานวจิ ัยท่ีเกยี่ วข้อง 3.1 งานวิจยั ในประเทศ ชัยณรงค์ หว่ งบญุ รอด (2535 : บทตดั ยอ่ ) ได้ศกึ ษาวิจัยการปฏบิ ตั ิงานของศกึ ษานเิ ทศก์ ท่ีทาหน้าท่ี หัวหนา้ งานพฒั นางานวชิ าการ สงั กดั สานักงานการประถมศกึ ษาอาเภอ เขตการศึกษา 12 พบว่า 1. งานพฒั นาการเรียนการสอนระดับก่อนประถมศึกษา ส่วนใหญม่ กี ารจัดประชมุ อบรมสัมมนา ปญั หาที่พบคือ งบประมาณไม่เพยี งพอ 2. งานพัฒนาแนวการจัดประสบการณ์ สว่ นใหญ่มีการนิเทศ ติดตามผลแนวการใช้ ประสบการณ์ ปัญหาท่ีพบคือ ศกึ ษานิเทศก์ไมเ่ พียงพอ 3. งานพฒั นาการเรียนการสอนระดับประถมศึกษา สว่ นใหญเ่ ปน็ วทิ ยากรในการ ประชุม อบรมสัมมนา ปัญหาทีพ่ บคือ การฝึกอบรมขาดระบบที่ชัดจน การดาเนนิ การอบรมทา เพอ่ื สนองนโยบายของหนว่ ยงานตน้ สังกัด 4. งานพฒั นาหลกั สูตรประถมศกึ ษา ส่วนใหญม่ ีการตดิ ตามผลการใชห้ ลกั สูตร ปัญหา ทีพ่ บ คือ ขาดทกั ษะในการสร้างเครื่องมือนิเทศ ตดิ ตามผล 5. งานโครงการทเ่ี กี่ยวข้อง ส่วนใหญไ่ ดจ้ ดั ทาโครงการประชาธิปไตยใน โรงเรยี น โครงการสหกรณใ์ นโรงเรยี น ปัญหาทพี่ บคือ บุคลากรในโรงเรียนไมเ่ ห็นความสาคัญและ ไม่ให้ ความร่วมมือในการดาเนินงาน 6. งานวชิ าการอืน่ ๆ ท่ีไดร้ บั มอบหมาย สว่ นใหญไ่ ดจ้ ัดทาโครงการพฒั นากลมุ่ ทักษะ (ภาษาไทย) ปญั หาท่ีพบคือ งานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายไม่ใชง่ านวิชาการโดยตรง ทรงยศ ชัยมงคล (2535 : บทคดั ยอ่ ) ไดศ้ ึกษาการนเิ ทศโรงเรยี นประถมศกึ ษาของ ศกึ ษานิเทศก์อาเภอ สังกัดสานักงานการประถมศึกษาจังหวัดขอนแก่น โดยมผี ลการวจิ ยั ดงั น้ี 1. การปฏบิ ตั งิ านตามบทบาทหน้าทข่ี องศกึ ษานเิ ทศก์อาเภอ ปฏิบตั ิอยู่ในระดบั มาก ดา้ นท่ีมากที่สดุ คือ ด้านการส่งเสรมิ ให้โรงเรยี นและกลุ่มโรงเรยี นนเิ ทศการศกึ ษาได้ รองลงมา คือ ด้านการปฏิบตั ิงานวชิ าการอื่นทไ่ี ด้รบั มอบหมายจากหวั หน้าการประถมศึกษาอาเภอหรอื ก่งิ อากอ และงานทป่ี ฏิบัติอนั ดบั สดุ ท้าย คือ ดา้ นการร่วมมอื ในงานวิจยั และส่งเสริมการนาผลการวจิ ัยไปใช้ ในโรงเรียน 2. การปฏิบตั ิตามกระบวนการนเิ ทศการศกึ ษา ศกึ ษานเิ ทศก์อาเภอปฏิบัติในขัน้ การศึกษาสภาพปัจจบุ ันปัญหาและความต้องการและขนั้ วางแผนอยู่ในระดับมาก ปฏบิ ตั ิในขัน้ การ สรา้ งสอ่ื เครื่องมือและพฒั นาวิธกี าร ขั้นตอนครูปฏบิ ัตกิ ารนิเทศการศกึ ษา และขนั้ การประเมนิ ผลและ รายงานผลอย่ใู นระดับปานกลาง

31 3. ปัญหาและอปุ สรรคในการนิเทศการศึกษามีปญั หาอย่ใู นระดบั ปานกลาง ปญั หา ที่สาคัญ คือ การขาดสอ่ื และเครอื่ งมือนเิ ทศการศึกษา การขาดอตั รากาลังของศกึ ษานิเทศก์ การนเิ ทศ ไมท่ ั่วถงึ ศกึ ษานิเทศกป์ ฏิบัติงานอน่ื มากเกนิ ไป และผรู้ ับการนิเทศไม่รับการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม พมิ พา พิรยิ ะวรางกูล (2536 : บทคดั ยอ่ ) ได้ศกึ ษาสภาพและปัญหาการปฏิบตั งิ านของ ศกึ ษานิเทศกเ์ ขต สงั กัดกรุงเทพมหานคร พบวา่ ศกึ ษานิเทศกเ์ ขตกรงุ เทพมหานครไดป้ ฏิบัติหน้าที่ ครบตามท่ีกรุงเทหมหานครกาหนดไว้ คือ หน้าท่ีหมวดนิเทศการศึกษา หน้าทตี่ ามแผนพัฒนาการศึกษา กรุงเทพหานครและหน้าท่ีอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ซงึ่ ปฏบิ ตั ิโดยใช้วธิ กี ารประสานงานเป็นสว่ นใหญ่ สาหรบั ปัญหาการปฏิบตั ิงานในหมวดนิเทศการศึกษา ได้แก่ ปัญหาขาดงบประมาณ ขาดบคุ ลากร ขาดการติดตามและประเมินผล ขาดการวางแผนทีด่ ี ขาดทักษะและความรู้ความเขา้ ใจในงานทป่ี ฏิบตั ิ และขาดการประสานงานทด่ี ี ส่วนปัญหาในการปฏบิ ัติงานตามแผนพัฒนาการศึกษากรุงเทพมหานคร ไดแ้ ก่ ปัญหาขาดคณะทางานทีเ่ ชย่ี วชาญและขาดการประสานงานท่ดี ี สาหรบั การปฏิบัติงานอ่ืน ๆ ที่ ได้รับมอบหมายจากผ้บู ังกบั บัญชา พบว่า สว่ นใหญไ่ มม่ ปี ญั หา จรัสนภา สุตานิช (2538 : บทกดั ยอ่ ) ได้ศึกษาแนวโน้มการนิเทศการศึกษาระดับมัธยม ศกึ ษาในทศวรรษหน้า พ.ศ. 2547 โดยใชเ้ ทคนิคเดลฟาย กลุม่ ประชากรคือ ศึกษานเิ ทศก์ ผบู้ รหิ าร และครูผู้สอน ทที่ าหน้าทน่ี เิ ทศภายในโรงเรยี น ใน 5 สงั กัด การศึกษาพบวา่ แนวโนม้ ดา้ นนโยบาย ของรฐั เป็นการติดตามและประเมนิ ผล การส่งเสริมให้โรงเรียนนเิ ทศตนเอง สง่ เสรมิ ให้ประสานรว่ มมอื กนั ระหว่างการนิเทศภายนอกและภายในโรงเรียน สง่ เสริมการพฒั นาศึกษานเิ ทศก์ ส่งเสริมด้านการ พัฒนาบุคคลและค้นงบประมาณมากขน้ึ แนวโนม้ คน้ รูปแบบและวิธีการนเิ ทศการศึกษา พบวา่ รปู แบบจะเป็นการนิเทศทางอ้อม โดยใชส้ ื่อต่าง ๆ วิธกี ารผูน้ ิเทศจากภายนอกเปน็ ผใู้ ห้ความรู้ ประสานรว่ มมอื กับบุคลากรในโรงเรยี น และเป็นการนเิ ทศเฉพาะเร่ือง เฉพาะวชิ ามากกวา่ เร่ืองทัว่ ๆ ไป แนวโนม้ ของอิทธพิ ลของสื่อและเทคโนโลยีทาให้การนิเทศการศกึ ษาสะดวกรวดเร็ว โดยบทเรียนสาเร็จรูปประเภทวีดทิ ศั นแ์ ละคอมพวิ เตอร์จะมีบทบาทมากขึ้น ทาให้กจิ กรรมการนิเทศ เปลยี่ นแปลงไปและมีผลตอ่ หลักสูตรการสอนโดยสือ่ และเทคโนโลยีจะเปน็ เครือ่ งมอื ท่ีช่วยใหก้ ารนิเทศ การศึกษามปี ระสทิ ธภิ าพ แต่ไมส่ ามารถจะแทนผนู้ ิเทศได้ แนวโน้มดา้ นบทบาทการนิเทศการศึกษาของศึกษานเิ ทศก์ ตอ้ งเป็นผนู้ าทางวิชาการ ศึกษาคน้ คว้า วิจัย และเผยแพรว่ ทิ ยาการคน้ นิเทศการศึกษา ตอ้ งเป็นผปู้ ระสานงาน เป็นตัวแทนกรม ติดตามประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานของโรงเรยี น เป็นผู้สรา้ งขวญั กาลงั ใจแก่ครู ทางานรว่ มกับครูอย่าง เปน็ ประชาธิปไตย ต้องเขา้ ใจงานโรงเรยี น ส่งเสรมิ ใหม้ โี รงเรียนต้นแบบ และพบวา่ ศกึ ษานิเทศกจ์ ะมี บทบาทกับโรงเรยี นขนาดเล็กมากกว่าโรงเรยี นขนาดใหญ่ สาหรับผบู้ ริหารโรงเรียนพบวา่ ต้องเข้าใจ หลักสตู รและการใช้หลักสตู ร สรา้ งขวัญและกาลังใหแ้ ก่ครู สง่ เสริมการนิเทศภายในทเี่ ป็นระบบ

32 แนวโน้มปญั หาการนิเทศการศกึ ษา พบวา่ หนว่ ยงานไมน่ านโยบายไปปฏิบัตอิ ยา่ งจริงจัง หน่วยศกึ ษานิเทศก์มีหลายสงั กดั ทาให้ขาดเอกภาพ ขาดแคลนเคร่อื งมือ ปญั หาการจดั สรร งบประมาณผู้นิเทศ ไมท่ ันการเปล่ียนแปลงของสงั คม ผรู้ บั การนเิ ทศไม่ยอมรับการนิเทศการศกึ ษา ทางานหลายอย่างไมใ่ ช่หน้าท่ีตน ประเมน บุญเสนา (2538 : บทตดั ย่อ) ไดศ้ ึกษาเปรียบเทยี บความตอ้ งการการนิเทศ การศึกษาของครู ระหวา่ งโรงเรยี นทมี่ ีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นสงู กบั ต่าในโรงเรยี นประถมศึกษา สังกดั สานักงานประถมศึกษาจังหวัดชัยภมู ิ ผลการวจิ ยั พบวา่ ครูโรงเรยี นประถมศึกษาทนี่ กั เรียนมีผลสมั ฤทธิ์ สงู กบั ตา่ สังกัดสานกั งานการประถมศกึ ษาจงั หวดั ชัยภูมิ ความตอ้ งการการนเิ ทศการศึกษาในดา้ น หลักสูตรและการใชห้ ลกั สูตรประถมศึกษา ด้านการจัดทาแผนการสอน ดน้ การผลิตและใชส้ ื่อการสอน ดา้ นการจดั กิกรรมการเรยี นการสอนด้านการวัดและการประเมนิ ผลการเรยี น และดา้ นเทคนคิ วธิ ี การนเิ ทศการศึกษา ไมแ่ ตกต่างกัน มีความตอ้ งการการนิเทศการศึกษาอยู่ในระดับมากในทกุ ด้าน วีรพล เหลา่ จาปา (2539 : บทคดั ยอ่ ) ได้ทาการวิจยั เรื่องการศกึ ษาปัญหาการปฏิบตั ิ หนา้ ท่ีของศึกษานิเทศก์อาเภอกงิ่ อาเภอ ศกึ ษาเฉพาะรายกรณีสานกั งานการประถมศึกมาอาเภอโนนสงู จงั หวดั นครราชสีมา พบว่า ปัญหาของการปฏบิ ตั ิงานของศึกษานเิ ทศก์อาเภอท่ีสาคญั คือ เครอื่ งมือ ในการนเิ ทศไม่เพียงพอ ขาดบุคลากร โดยเฉพาะศึกษานเิ ทศก์ผู้มคี วามรู้เฉพาะสาขา ขาดแคลน งบประมาณ ขาดวัสดเุ ชือ้ เพลิงสาหรับการออกนิเทศ ครูไมเ่ ข้าใจระบบการนเิ ทศ ศกึ ษานิเทศก์มีงาน ธรุ การมากเกนิ ไป และขาดการจัดระบบการทางาน เสรมิ ศิษฐ์ พิมพ์พนั ธด์ ี (2539 : บทคดั ขอ) ได้ศึกษาวิจยั เร่อื ง ความตอ้ งการการนิเทศ การศกึ ษาของครูโรงเรียนประถมศึกษา สงั กัดสานกั งานการประถมศกึ ษากงิ่ อาเภอท่งุ ทราย จังหวัด กาแพงเพชร ผลการศึกษาพบวา่ ความตอ้ งการการนิเทศการศึกษาของครู โรงเรียนประถมศึกยาอยู่ ในเกณฑ์สงู 4 ดา้ น คือ ด้านพัฒนาหลกั สูตร ด้านพฒั นาวิธีการสอน และด้านการจัดกจิ กรรมการเรียน การสอน ดา้ นพฒั นาส่ือการเรียนการสอน และดา้ นพัฒนาการวัดและประเมินผลการเรียน สมศกั ด์ิ จันทิมา (2541 : บทคดั ยอ่ ) ไดศ้ ึกษาวจิ ัยเร่ืองความต้องการการนิเทศของ ครผู ู้สอนในโรเรียนประถมศึกษา สงั กดั นักงานการประถมศึกษาจงั หวดั สรุ นิ ทร์ กลุม่ ตวั อยา่ งไดแ้ ก่ ครู ท่ีปฏบิ ัตงิ านในโรงเรียนประถมศกึ ษาจังหวัดสุรินทร์ เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการวิจัย คอื แบบสอบถาม ระดับความต้องการการนิเทศแบบมาตราส่วนประมาณค่า โดยครอบคลมุ การนิเทศการศึกษาใน 5 ดา้ น คือ ด้านหลักสูตร ดา้ นเอกสารประกอบหลักสูตร ด้านวธิ ีสอนและการจดั กิจกรรมการเรยี นการ สอน ด้านส่อื การเรยี นการสอน ด้านการวัดผลและประเมินผลการเรยี น ผลการวิจัย พบว่า 1. ครผู ู้สอนในโรงเรยี นประถมศกึ ษา สังกัดสานักงานการประถมศึกษาจงั หวัดสรุ นิ ทร์ มีความต้องการการนิเทศการศึกษาโดยรวมอยู่ในระดบั มาก เม่ือพิจารณาเปน็ รายดา้ นอยู่ในระดับ มากทุกคน เรียงลาดบั ค่าเฉลี่ยสงู ไปหาตา่ คือ ด้านวธิ ีสอนและการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

33 ด้านการวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี น ดา้ นส่ือการเรียนการสอน ดา้ นเอกสารประกอบหลกั สตู ร และด้านหลักสตู ร 2. ครผู ูส้ อนในโรงเรยี นประถมศกึ ษา สงั กัดสานักงานการประถมศึกษาจงั หวดั สรุ ินทร์ ท่ีปฏิบัติงานอยู่ในโรงเรยี นขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็ก มคี วามต้องการการนเิ ทศการศึกษา โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน เจษฎา จันทนาภรณ์ (2542 : บทคัดย่อ) ได้ทาการวจิ ยั การปฏิบัตงิ านของศึกษานเิ ทศก์ สานกั งานการประถมศึกษาอาเภอ ในเขตการศึกษา 10 โดยการวิจยั ในคร้งั นีม้ ีวัตถุประสงคท์ ีจ่ ะศกึ ษา การปฏิบัติงานในหน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบและขอบข่ายงานของศึกษานิเทศก์สานักงานการประถมศึกษา อาเภอกิ่งอาเภอ เขตการศึกษา 10 ผลการวิจยั พบว่า การปฏิบัติงานตามหน้าที่ความรบั ผิดชอบและ ขอบข่ายของงานพฒั นางานวิชาการ งานพฒั นาการนเิ ทศการศึกษาและงานวิจยั ประเมินผลของ ศกึ ษานเิ ทศก์ สานักงานการประถมศกึ ษาอากอและกงิ่ อาเภอทุกขอบข่ายงาน มีปญั หาในระดับ น้อย ขอบขา่ ยของงานพัฒนาการนิเทศการศึกษาที่มีปัญหาในการปฏิบตั ใิ นระดับมาก คือ งานการ ทดลองการใช้รูปแบบ เทคนิควธิ ีการ ส่ือและเครื่องมือนิเทศการศกึ ษา งานการจดั ทาเอกสารทาง วิชาการเก่ยี วกับรูปแบบเทคนิค วธิ ีการ สื่อและเคร่ืองมอื นิเทศการศึกษา และงานเกี่ยวกับการศกึ ษา คน้ ควา้ วเิ คราะหร์ ูปแบบ เทคนิค วิธกี าร ส่อื และเคร่ืองมือนิเทศการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนแต่ ละกลมุ่ ประสบการณ์ ส่วนขอบขา่ ยงานวิจยั ประเมินผลและบรกิ ารที่มีปญั หาในระดับมาก คืองาน เกี่ยวกบั การวเิ คราะห์ วจิ ัยการบริหาร การนิเทศและการเรียนการสอนทุกกลุม่ ประสบการณ์ สมชาย สุภาคาร (2543 : บทคัดยอ่ ) ไดศ้ ึกษาวิจัยประเมินการปฏบิ ตั งิ านของ ศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงานการประถมศึกษาจงั หวัดอุบลราชธานี ตามเกณฑ์มาตรฐานศกึ ษานเิ ทศก์ ของครุ สุ ภา พ.ศ. 2540 ผลการวิจยั พบว่า ศกึ ษานเิ ทศกม์ ีการปฏบิ ตั งิ านการนิเทศการศกึ ษาของ ศกึ ษานิเทศก์ตามเกณฑ์มาตรฐานของคุรสุ ภา พ.ศ. 2540 ในภาพรวมอยใู่ นระดับปานกลาง โดย ผู้บรหิ ารและศกึ ษานิเทศก์มคี วามเห็นและประเมนิ ครูปฏิบัติงานการนิเทศการศึกษาของศกึ ษานิเทศก์ อยูใ่ นระดบั มาก สว่ นครูผ้สู อนสว่ นใหญม่ ีความเห็นและประเมินการปฏิบัติงานการนเิ ทศการศึกษาของ ศกึ ษานเิ ทศก์ อยใู่ นระดับปานกลาง

34 3.2 งานวิจัยตา่ งประเทศ Carlton (1971 : 4406-A) ไดศ้ ึกษาบทบาทของศึกษานิเทศก์ท่เี ป็นอย่จู ริงและตามอดุ ม คตติ ามทัศนะของครปู ระถมศึกษา จานวน 1,044 คน และครใู หญ่ จานวน 52 คน ของโรงเรยี น ประถมศึกษาในรฐั ฟลอริดา ผลการวิจยั พบว่า บทบาทของศึกษานิเทศกท์ ี่เป็นจรงิ น้นั ได้แก่ การ ชว่ ยเหลอื พฒั นาโครงการสอน ช่วยเหลอื งานด้านการบริหาร มีส่วนรว่ มในการกาหนดนโยบายของ โรงเรยี น ให้ความร่วมมือในการประชมุ อบรมครู และช่วยเหลือในการคัดเลอื กแบบเรยี นสาหรบั ศกึ ษานเิ ทศกใ์ นอุดมคตินั้นเกี่ยวขอ้ งกบั กจิ กรรมตอ่ ไปนี้ คือ การวางแผนเตรียมการเยีย่ มเยียน โรงเรียนเพือ่ สังเกตการสอนของครู ชว่ ยเหลอื ครใู นการจัดหา คัดเลือก และการใช้อุปกรณ์การสอน ร่วมมือกับครใู นการจัดทาโครงการสอน Carman (1971 : 80-A-83-A) ไดวิเคราะหบ์ ทบาทของศึกษานเิ ทศกท์ ั่วไปต้ังแต่ปี 1955-1969 ปรากฏวา่ ความรบั ผดิ ชอบของศึกษานเิ ทศก์ท่วั ไปได้แก่ 1. ร่วมมอื ในการประชุมอบรมกรูและการจัดประชุมกลุ่มย่อย 2. ปรบั ปรงุ และสง่ เสริมด้านมนษุ ยสัมพนั ธ์ในโรงเรยี น 3. ช่วยเหลือโดยใหบ้ รกิ ารด้านคาปรกึ ษาหารอื และใหบ้ ริการด้านการสอน Smith (1975 : 2572-4) ได้ศึกษาถึงความเข้าใจของครเู ก่ียวกับบทบาทและหน้าที่ของ ศึกษานิเทศก์ โดยรวบรวมข้อมูลในเรอื่ งประสทิ ธิภาพของการนิเทศการปฏบิ ตั ิหน้าท่ตี ามความเป็น จรงิ และหลกั การในอุดมคติ โดยพิจารณาจากกิจกรรมท่เี ลือกมา 23 อยา่ ง รวมท้งั การสมั ภาษณ์ ศึกษานเิ ทศกเ์ ปน็ รายบคุ คลและรายกลุ่ม ผลการวจิ ยั พบว่า ครูส่วนใหญ่มีความเข้าใจศึกษานเิ ทศก์ ปฏบิ ัติงานดา้ นการบริหาร และการประสานงานมากกว่าการใหค้ วามชว่ ยเหลอื ครู เม่ือพิจารณาตาม หลักการในอดุ มคตแิ ลว้ ถ้าหากการปฏิบัติหน้าที่ของศกึ ษานิเทศก์ในการปฏบิ ตั ิกิจกรรม 23 อย่าง มี ความเป็นไปได้และมีความแตกต่างกนั อยา่ งมีนัยสาคญั จึงได้มกี ารเสนอแนะให้ปรับปรงุ แก้ไขบทบาท ของศกึ ษานิเทศก์ทเี่ ปน็ อยู่ให้สอดคลอ้ งกับความเข้าใจใน 2 คน และถึงแม้ครจู ะมองเห็นว่าบทบาท และหน้าที่ของศกึ ษานิเทศก์ตามความเป็นจริงกบั อุดมคตยิ ังมีความแตกตา่ งกันอยู่บางสว่ น แต่ครู สว่ นมาก คอื ประมาณ 3 ใน 4 ของจานวนทั้งหมดกย็ ังเห็นวา่ ศึกษานิเทศก์ไดป้ ฏิบัติหน้าทีไ่ ด้ผลตาม สมควร Jeran (1975 : 649-A) ได้ศึกษาถงึ ความคาดหวงั ในบทบาทของศึกษานเิ ทศกโ์ รงเรียน ประถมศกึ ษา โดยเน้นหนกั ในเร่อื งการสอนเป็นคณะและการสอนเปน็ รายบุคคล ผลการวิจัยนม้ี ี จดุ ประสงคเ์ พื่อแสวงหาวธิ ีการนิเทศการศึกษาทีส่ ามารถชว่ ยปรบั ปรุงการเรยี นการสอนในโรงเรยี น ประถมศกึ ษาแบบยืดหยุน่ ประชากรท่ีศกึ ษามี 3 กลมุ่ ได้แก่ ครโู รงเรยี นประถมศึกษา ครูใหญ่และ ศึกษานเิ ทศกป์ ระจาสานักงานกลางในรัฐโคโลราโด ผลการวิจยั พบว่า

35 1. หน้าทีท่ ่ีสาคัญของศึกษานิเทศก์ทีป่ ระชากรทัง้ 3 กลุม่ มีความเหน็ สอดกลอ้ งกนั คือ การให้การช่วยเหลือและสนบั สนุนแก่ครู 2. เม่ือเปรียบเทียบความคิดเหน็ ระหว่างกลุ่มแล้ว ครใู หญ่และศึกษานเิ ทศกม์ ีความ คิดเห็นสอดคล้องกันมากกว่าครใู หญ่และครู หรอื ครูและศึกษานเิ ทศก์ 3. ครใู หญแ่ ละศึกษานิเทศกใ์ ห้ความสาคัญในบทบาทของศึกษานิเทศก์ในการ ดาเนนิ งานใหส้ อดคลอ้ งกับแผนปฏบิ ัติงานของโรงเรียนมากกวา่ ครอู น่ื 4. ครใู หญ่มีความเหน็ วา่ ศึกษานเิ ทศก์ควรจะต้องมีการจดั ประชมุ หรอื สัมมนาครู เป็นประจาหรือบ่อยครั้ง เพ่ือแก้ปัญหาการเรยี นการสอน 5. ครมู คี วามเหน็ ว่าศึกษานิเทศก์มหี น้าที่ท่ีสาคัญประการหนึง่ คือ การชว่ ยสร้างสรรค์ บรรยากาศในโรงเรยี น ให้ครรู จู้ กั แสดงความคิดเหน็ และใฝ่หาความรู้ 6. ครูใหญ่และศึกษานิเทศก์ ให้ความสาคญั ในหนา้ ที่ของศึกษานิเทศก์ต่อไปนี้ มากกว่าครู คือ การช่วยเหลอื ครหู รอื คณะครใู นการจัดกลมุ่ ครผู ูส้ อนขนาดใหญ่และกลุ่มขนาดเดก็ 7. ศกึ ษานิเทศก์ใหค้ วามสาคัญในหน้าท่ีศึกษานเิ ทศกต์ อ่ ไปนี้มากกวา่ ครใู หญ่และครู ในการจัดการเรยี นการสอน Spohn (1987 : 24-26) ไดท้ าการวิจยั เรอื่ งการปรับปรงุ การนิเทศการศกึ ษาเพื่อให้ โรงเรยี นดขี ึ้น ผลการวิจยั พบว่า การนเิ ทศการศึกษาต้องคานึงถงึ การปรบั ปรุงทกั ษะของครูในเรอ่ื ง สาคัญหลาย เรือ่ ง เชน่ การวางแผน การดแู ลเด็ก การประเมนิ ผล และการควบคมุ ความประพฤติ เพ่อื ให้เหมาะสมกับความต้องการของแต่ละคน Tilahun (1988 : 2168-A) ได้ศกึ ษาเก่ยี วกบั การนิเทศภายในโรงเรยี นทพ่ี ึงประสงค์ จากการพฒั นาประเทศอธโิ อเปีย โดยการศึกษาจากครู ศึกษานเิ ทศกแ์ ละนักวิชาการมีความเหน็ สอดคลอ้ งกันว่า กิจกรรมท่ีใช้ในการนิเทศภายในโรงเรยี น เรยี งจากมากไปหาน้อยไดแ้ ก่ การฝกึ อบรม แนะนา การฝึกอบรมปฏิบตั ิการ การสาธิตการสอนโดยศึกษานิเทศก์ ประชมุ กล่มุ ของครู เย่ยี มช้ัน เรยี นและสังเกตการสอน การนิเทศในลักษณะรว่ มมือปฏิบตั ิงานจะเกดิ ผลดกี ว่าการใช้อานาจ และ เหน็ วา่ การจัดกิจกรรมการนิเทศภายในโรงเรยี น มกี ารปฏิบัตอิ ยู่ในระดบั ปานกลาง

36 Ward (1989 : 327-4) ได้ศึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งพฤติกรรมด้านการนิเทศที่ปฏบิ ตั ิ จริงและที่ควรปฏิบัตขิ องผู้บริหารโรงเรียน ตามทศั นะของครูในมลรัฐทางภาคใต้ของประเทศ สหรฐั อเมริกาโดยใชแ้ บบสอบถามกับครูจานวน 480 คน พบว่า 1. ครูในรัฐมสิ ซิสซปิ ปชี อบการนิเทศแบบเข้มงวด ในขณะท่ีครจู ากรัฐอนื่ ๆ ของการ นิเทศแบบมีส่วนรว่ ม 2. วชิ าทีส่ อนไม่ทาใหเ้ กิดความแตกตา่ งอย่างมีนัยสาคัญ 3. ครเู พศหญิงพอใจรับการนเิ ทศมากกวา่ ครูเพศชาย 4. ครูท่ีมเี ช้อื สายคอเคเซยี นชอบและต้องการการนเิ ทศมากกวา่ ครทู ่มี เี ชื้อสายอ่นื จากงานวจิ ยั สรปุ ไดว้ ่า การนเิ ทศการศกึ ษามีความสาคญั และจาเปน็ ต่อการจัดการเรยี นการสอน ซ่ึงจะชว่ ยเหลือ สนับสนนุ สง่ เสริมให้การจดั การเรยี นการสอนมีคุณภาพและเกิดประสทิ ธผิ ลต่อผูเ้ รียน และศึกษานิเทศก์เป็นบคุ คลท่ีมบี ทบาทในการพัฒนาการจดั การเรียนการสอนให้มปี ระสิทธภิ าพไดด้ ี ยง่ิ ข้ึนจากการปฏบิ ัติงานนเิ ทศการศึกษาในการชว่ ยเหลือ สนับสนุน ส่งเสริมใหค้ รสู ามารถจดั กิจกรรม การเรยี นการสอนได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพและสง่ ผลดตี ่อผูเ้ รียนแตก่ ารจัดการนิเทศการศึกษาและ การปฏบิ ตั งิ านนิเทศการศกึ ษาของศกึ ษานเิ ทศก์มปี ัญหาและอปุ สรรคเกิดข้นึ ในการดาเนินงาน เช่น บุคลากรไม่เพยี งพอ ขาดขอ้ มูล ขาดงบประมาณ เครื่องมือไม่เพยี งพอ ขาดการประสานงาน ขาดการ ประเมินผลและขาดการติดตามประเมนิ ผลการนเิ ทศ

37 4. กรอบแนวคิดในการวจิ ยั ในการวิจัยคร้ังนี้ เพื่อศึกษาสภาพการปฏิบัติงานและความคาดหวัดการนิเทศการศึกษา ของศกึ ษานเิ ทศก์ ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ดงั ภาพท่ี 2.1 ตวั แปรตน้ ตวั แปรตาม ข้าราชการครู สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ที่ ความคิดเหน็ ต่อสภาพและความคาดหวัง การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 42 จาแนกตาม ในการปฏบิ ตั ิงานนิเทศการศึกษาของ 1. ตาแหนง่ แบ่งเปน็ ศึกษานิเทศก์ใน 6 ด้าน คือ 1. การพฒั นาหลักสูตรการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน 1) ผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา 2) ครผู สู้ อน และกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. การวดั และการประเมนิ ผลการศึกษา 3. การสง่ เสรมิ และพัฒนาสอ่ื นวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา 4. การนเิ ทศติดตามและประเมินผลระบบ บริหารและการจดั การศึกษา 5. การส่งเสรมิ และพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพการศกึ ษา 6. การตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา ภาพที่ 2.1 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ัย 5. สมมติฐานของการวจิ ยั ข้าราชการครสู ังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 42 ที่มตี าแหนง่ ต่างกัน มคี วามคดิ เหน็ ตอ่ สภาพและความคาดหวังในการปฏบิ ัติงานนิเทศการศกึ ษาของศึกษานิเทศก์ แตกตา่ งกัน

38 บทที่ 3 วิธดี าเนินการวิจยั การดาเนินการวิจัย เรื่อง การศึกษาสภาพและความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศ การศึกษาของศึกษานิเทศก์ สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 เพื่อให้การวิจัย ครัง้ นี้เปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ที่ตงั้ ไว้ ผวู้ ิจัยได้ดาเนินการวิจยั ตามลาดับ ดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 2. เครื่องมือท่ใี ช้ในการวจิ ยั 3. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล 5. สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวจิ ยั 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง กกกกกก ประชากร ประชากร ท่ีใช้ในการวจิ ัยครั้งนี้ ได้แก่ ข้าราชการครูสงั กัดสานักงานเขตพน้ื ท่ี การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 42 จาแนกเป็นผบู้ รหิ าร จานวน 58 คน ครผู ูส้ อน จานวน 3,069 คน รวมทั้งส้นิ จานวน 3,127 คน กลุ่มตัวอย่าง กล่มุ ตัวอย่าง ที่ใช้ในการวจิ ัยครัง้ นี้ ไดแ้ ก่ ผู้บรหิ ารโรงเรียนและครผู สู้ อน ในสงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 โดยวธิ สี มุ่ แบบหลายข้ันตอน (Multisage Random Sampling) ได้กลุ่มประชากรที่เปน็ ผู้บรหิ าร จานวน 51 คน ครูผู้สอน จานวน 354 คน รวมท้ังส้นิ จานวน 405 คน โดยดาเนนิ ตามลาดบั ขนั้ ตอน ดงั นี้ 1. แบ่งกลมุ่ โรงเรียนในสังกัดตามขนาดของโรงเรียนเป็น 4 กลุ่ม คอื โรงเรียนขนาดเล็ก โรงเรียนขนาดกลาง โรงเรียนขนาดใหญ่ และโรงเรยี นขนาดใหญ่พิเศษ 2. กาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามวธิ กี ารของ Taro Yamane ความคลาด เคลอื่ นทร่ี ะดบั 0.05 (บุญชม ศรสี ะอาด. 2545 : 43) และสุม่ ตัวอย่างแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) เพ่ือให้ไดก้ ลุ่มตัวอย่าง

39 n = N 1  N(e)2 เมื่อ n = จานวนกลมุ่ ตวั อย่าง N = จานวนประชากรท้งั หมด e = ความคลาดเคล่ือนท่ยี อมรบั ได้ (ในการศกึ ษาน้ี กาหนดความคลาดเคล่ือนเท่ากับ 0.05) การหาจานวนตัวอยา่ งในแตล่ ะระดับ ดว้ ยสตู รดงั นี้ จานวนตวั อย่างในแต่ละระดบั = จานวนตัวอยา่ งท้ังหมด × จานวนประชากรในแตล่ ะระดบั จานวนประชากรทัง้ หมด 3. สุ่มกลุ่มตัวอย่างท่ีเป็นครูผู้สอนจากโรงเรียนกลุ่มตัวอย่างท่ีสุ่มได้ ตามข้อ 2 ตามวิธกี ารของ Taro Yamane 4. กาหนดกลุ่มตัวอย่างผู้บริหารท่ีได้รับเลือกในข้อ 2 โดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เพือ่ ให้ได้กลมุ่ ตัวอย่างตามตอ้ งการ 5. กาหนดสัดส่วนกลุ่มตัวอย่างของครูผู้สอนในโรงเรียนท่ีสุ่มได้ โดยการสุ่มอย่าง ง่าย (Simple Random Sampling) เพื่อให้ได้กลุ่มประชากรตามขนาดของโรงเรียน โดยได้กลุ่ม ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง ดงั ตารางท่ี 3.1 ตารางท่ี 3.1 แสดงประชากรและกล่มุ ตัวอยา่ งจาแนกตามตาแหนง่ และขนาดของโรงเรียน ขนาด โรงเรยี น (โรงเรยี น) ผู้บริหาร (คน) ครูผ้สู อน (คน) รวม (คน) โรงเรยี น ประชากร กลุม่ ประชากร กลุ่ม ประชากร กลุม่ ประชากร กลมุ่ ขนาดเล็ก ตวั อย่าง ตวั อยา่ ง ตัวอย่าง ตวั อย่าง ขนาด กลาง 54 54 85 10 90 14 ขนาดใหญ่ ขนาดใหญ่ 33 29 33 29 841 97 874 126 พเิ ศษ 10 9 10 9 636 73 646 82 รวม 10 9 10 9 1507 174 1517 183 58 51 58 51 3069 354 3127 405

40 2. เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการวิจยั กกกกกก เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพและความคาดหวังในการ ปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความคิดเห็นของข้าราชการครู สังกัดสานักงานเขต พ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 เป็นแบบสอบถามแบบตรวจสอบรายการ (checklist) แบบ มาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ ตามวิธีของลิเคอร์ท (likert) ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือที่ผู้ ศึกษาสร้างเองจากกรอบการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ในขอบข่ายภารกิจในกลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา ตามโครงสร้างของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เป็น เครอ่ื งมอื สอบถามความคิดเหน็ ใน 6 ภาระงาน คอื 1. การพัฒนาหลกั สูตรการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน และกระบวนการจดั การเรียนรู้ 2. การวัด และการประเมินผลการศกึ ษา 3. การสง่ เสรมิ และพัฒนาส่ือนวตั กรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา 4. การนิเทศติดตามและประเมินผลระบบบรหิ าร และการจัดการศึกษา 5. การสง่ เสรมิ และพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา 6. การติดตาม ตรวจสอบ ประเมนิ ผล และนเิ ทศการศกึ ษา แบบสอบถาม มี 3 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม สอบถามเกี่ยวกับตาแหน่ง ประสบการณ์ใน การทางาน และขนาดของโรงเรียนท่ีปฏิบตั งิ าน ตอนท่ี 2 เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า สอบถามความคิดเห็นเก่ียวกับสภาพการ ปฏิบัติงานและสภาพความคาดหวังในการปฏิบัติงานนิเทศการศึกษาของศึกษานิเทศก์ตามความ คิดเหน็ ของข้าราชการครู สังกดั สานักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษามธั ยมศึกษา เขต 42 ลักษณะของเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วน ประมาณคา่ (Rating Scale) แบบ 5 ระดบั คือ 5 หมายถึง มกี ารปฏบิ ัตแิ ละมีความคาดหวังอยู่ในระดบั มากท่ีสุด 4 หมายถึง มกี ารปฏิบัตแิ ละมคี วามคาดหวังอยใู่ นระดับมาก 3 หมายถงึ มกี ารปฏิบตั แิ ละมีความคาดหวังอย่ใู นระดบั ปานกลาง 2 หมายถงึ มกี ารปฏบิ ตั แิ ละมีความคาดหวังอยใู่ นระดบั น้อย 1 หมายถงึ มีการปฏิบัติและมีความคาดหวงั อยู่ในระดับน้อยทส่ี ดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook