Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมืองจังหวัดนครสวรรค์ 5 โรงเรียน

โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมืองจังหวัดนครสวรรค์ 5 โรงเรียน

Published by aom9531, 2021-02-01 14:23:40

Description: โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมืองจังหวัดนครสวรรค์ 5 โรงเรียน

Search

Read the Text Version

สาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 โรงเรียนคุณภาพชุมชน โรงเรยี น มธั ยมดี สมี ุมเมอื ง จังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา สาํ นักงานเขตพืนทีการศึ กษามัธยมศึ กษา เขต 42

ก คานา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตระหนักว่าโรงเรียนขนาดเล็กมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อย่างต่อเนื่อง ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากอัตราการเกิดของประชาชนลดต่าลง ส่งผลต่อคุณภาพนักเรียนและ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานจึงได้กาหนดมาตรการรวม และเลกิ โรงเรยี นขนาดเล็กอยา่ งตอ่ เนื่องจนถงึ ปจั จุบัน การบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กจึงมีความสาคัญอย่างยิ่งด้วยเหตุน้ีสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานจึงมีแนวทางการดาเนินงาน \"โรงเรียนคุณภาพของชุมชน\" โดยคัดเลือกโรงเรียนหลักของ ชุมชน มีการบริหารจัดการงบประมาณ บุคลากร ส่ิงอานวยความสะดวกให้พร้อม มีหลักการทาโรงเรียน ขนาดเลก็ ให้เป็นโรงเรียนขนาดใหญ่ เกิดจากการรวมโรงเรยี นเครอื ขา่ ย 1 ต่อ 7 หรือ 1 ต่อ 8 หรือในอัตราส่วน ทมี่ ากที่สุด ทสี่ านักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาสามารถดาเนนิ การได้ ให้มีโรงเรียนคุณภาพของชุมชนและมีโรงเรียน มธั ยมดีสม่ี มุ เมอื ง เป็นศูนยก์ ลางการเรียนเพื่อให้ผู้ปกครอง ชุมชน เกิดการยอมรบั ในการเปล่ียนแปลง สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 ได้พิจารณาโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมืองจังหวัด นครสวรรค์ จานวน 5 โรงเรียน ไดแ้ ก่ โรงเรยี นหว้ ยน้าหอมวิทยาคาร โรงเรียนไพศาลีพิทยา โรงเรียนโกรกพระ โรงเรียนตากฟ้าวิชาประสิทธิ์ และโรงเรียนพระบางวิทยา เพื่อเป็นโรงเรียนคุณภาพของชุมชนเพ่ือให้โรงเรียน บุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน พร้อมท้ังคณะกรรมการสถานศึกษา ชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน สามารถรว่ มกนั ดาเนินงานให้เป็นแบบการมสี ่วนร่วมมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42

สารบัญ ข คานา หน้า สารบญั ก นโยบายการพฒั นาโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน ข ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา 1 แนวทางการคดั เลือกโรงเรียน 1 บทบาทหนา้ ที่ของหนว่ ยงาน 5 นิยามศัพท์ 7 ระยะเวลาการดาเนนิ งานคัดเลือกโรงเรียนมัธยมดีสม่ี ุมเมือง 9 สรปุ รายชื่อโรงเรยี นเรยี งลาดับ 10 ผังสถานศึกษา สงั กัด สพฐ. จงั หวัดนครสวรรค์ 12 ผงั สถานศึกษา โรงเรยี นมัธยมดีส่ีมมุ เมือง สพม. เขต 42 จังหวัดนครสวรรค์ 13 ข้อมลู โรงเรยี นมัธยมดีสี่มมุ เมือง จงั หวัดนครสวรรค์ 14 โรงเรียนหว้ ยนา้ หอมวทิ ยาคาร 15 โรงเรียนไพศาลีพทิ ยา 16 โรงเรยี นโกรกพระ 21 โรงเรียนตากฟา้ วชิ าประสิทธ์ิ 26 โรงเรียนพระบางวทิ ยา 30 ภาคผนวก 34 รายละเอียดขอ้ มูลเพมิ่ เติมโรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง QR CODE 38 คาสัง่ แตง่ ต้งั คณะกรรมการคดั เลือกโรงเรียนคุณภาพ (โรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมือง) 39 40

1 นโยบายการพัฒนาโรงเรียนคุณภาพของชุมชน ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา จากนโยบายการปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาล ภายใต้การขับเคล่ือนของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการท่ีมีแนวความคิด \"ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน เปิดกว้าง\" เพ่ือให้การทางานของ กระทรวงศกึ ษาธิการ มคี วามรวดเรว็ ปรับตัวใหก้ า้ วทนั ตอ่ ความเปลีย่ นแปลง และสามารถนาพาให้ประเทศไทย ไปต่อหลังการแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควิด-19 ประกอบกับ การสนับสนุนข้อมูลผลการประชุมองค์การ ยูเนสโก ได้ระบุถึงเร่ืองการศึกษาแบบเรียนรวมหรือการศึกษาท่ีไม่ท้ิงใครไว้ข้างหลัง ด้วยหลักสูตรท่ียืดหยุ่น วดั ผลตามสมรรถนะเดก็ มีการลงทนุ ดา้ นการศึกษาอย่างเปน็ ธรรม เพ่ือลดความเหล่อื มล้าทางการศึกษา โดยหน่ึงในนโยบายการปฏิรูปการศึกษา เพือ่ ลดความเหลื่อมลา้ ด้านการศึกษาทกี่ ระทรวงศึกษาธกิ าร กาลังดาเนินการคอื การ \"ควบรวม\" โรงเรยี นขนาดเล็กทีม่ นี ักเรยี นน้อยกว่า 120 คน ซ่ึงจากข้อมลู ของสานกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน (สพฐ.) พบว่า โรงเรียนในสังกัดปี 2563 จานวน 29,642 แห่ง มีเด็กนักเรียนต้ังแต่ชั้นปฐมวัยไปจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 6,600,745 คน แบ่งเป็นโรงเรียนขนาด กลาง-ใหญ่ 14,666 แห่ง มีนักเรียน 5,631,753 คน คิดเป็น 85.32% ของนักเรียนทั้งหมดและโรงเรียนขนาด เล็กที่มีจานวนนักเรียนน้อยกว่า 120 คน อีกจานวน 14,976 แห่ง มีนักเรียนรวม 968,992 คน คิดเป็น 14.68% ของนักเรียนทง้ั หมด

2 ขอ้ มลู ณ วันท่ี 5 ตุลาคม 2563 โดย สานักนโยบายและแผนการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ตัวอยา่ งความสาเรจ็ ของแผนควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก ได้แก่ \"แก่งจันทร์โมเดล\" จังหวัดเลยโดยนา ครูและนักเรียนจากโรงเรียนใกล้เคียง 45 แห่ง ระยะทางไม่ถึง 10 กิโลเมตร มาทาการควบรวมการเรียน การสอน ทั้งการควบรวมชั้นเรียน การควบรวมรายวิชา เพ่ือแก้ไขปัญหาครูไม่ครบชั้น ส่งผลให้ผลสัมฤทธ์ิผล การเรียนของนักเรียนดีขึ้น หรือสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา แพร่ เขต 1ได้ควบรวมโรงเรียนไป เรียบร้อยแล้ว 4 โรงเรียน โดยผ่านการเห็นชอบของชุมชน ผู้ปกครอง และผู้เก่ียวข้องทางการศึกษาในพื้นที่ ทงั้ หมด ซง่ึ เห็นผลการเปลยี่ นแปลงได้อย่างชัดเจน ทาให้ผู้ปกครองมีความมั่นใจ นักเรียนตั้งใจเรียน ครูในพ้ืนที่ มีความสขุ กับการเรียนการสอน ผู้บริหารสถานศกึ ษาพรอ้ มที่จะพฒั นาโรงเรียนให้ดียง่ิ ขึน้

3 ขณะเดียวกัน ข้อมูลด้านประชากรในปัจจุบัน พบว่า อัตราการเกิดของเด็กปี พ.ศ. 2526 มีจานวน 1,055,802 คน ต่อมาในปี พ.ศ. 2561 มีจานวน 666,357 คน ลดลงไปถึง 36.89% สอดคล้องกับสานักงาน สถติ ิแหง่ ชาติ พบว่า 10 ปีที่ผา่ นมานั้น มีจานวนประชากรเกดิ ใหม่ลดลงอยา่ งต่อเน่ือง จากในปี 2553 มีจานวน ประชากรในช่วงอายุ 0-4 ปี จานวน 3,854,712 คน แต่ในปี 2562 มีจานวนเหลือเพียง 3,185,739 คนเท่าน้ัน สอดรับกับรายงานของสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย หรือ ทีดีอาร์ไอเม่ือปี 2558 ระบุว่าเกือบ ทศวรรษท่ีผา่ นมา ระบบการศึกษาไทยต้องประสบกับปัญหาในการพัฒนาเชิงคุณภาพ ซึ่งทางเลือกที่ทีดีอาร์ไอ ไดน้ าเสนอคอื การควบรวมโรงเรยี นขนาดเลก็

4 สอดรับกับรายงานของสถาบันวิจัยเพ่ือการพัฒนาประเทศไทย หรือทีดีอาร์ไอ เม่ือปี 2558 ระบุว่า เกือบทศวรรษท่ีผ่านมา ระบบการศึกษาไทยต้องประสบปัญหาในการพัฒนาเชิงคุณภาพ ซ่ึงทางเลือกหนึ่งที่ ทีดีอาร์ไอ ไดน้ าเสนอ คอื การควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก ดว้ ยเหตผุ ลดังกลา่ ว เม่อื ปลายปี 2562 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติให้กระทรวงศึกษาธิการ จัดทาแผนงานการควบรวมโรงเรียน และเม่ือวันท่ี 13 เมษายน 2563 รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร ได้ช้แี จงแนวทางการควบรวมโรงเรียนต่อสภาผู้แทนราษฎรว่ายึดหลักการ มสี ่วนร่วมและการกระจายอานาจ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดตั้งรวม หรือเลิกสถานศึกษา ข้ันพนื้ ฐาน พ.ศ. 2550 โดยต้องมีการจัดทาแผนและรับฟังความคิดเห็นของผู้ปกครองนักเรียนและชุมชน ทั้งน้ี การควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก จานวน 2,000 แห่ง จะประหยัดเงินได้ปีละไม่ต่ากว่า 4,000 ล้านบาท และนา เงินดังกลา่ ว ไปใชเ้ พอ่ื เพิม่ ศักยภาพการเรียนการสอนของนักเรียนท่ตี รงจุด อย่างไรก็ตามอาจจะมีโรงเรียนบางแห่งท่ีไม่สามารถควบรวมหรือเลิกสถานศึกษาได้ เน่ืองจากขาด โรงเรยี นคุณภาพรองรับในพ้ืนท่ีใกล้เคียง เมื่อการประชุมผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาทั่วประเทศ ที่จังหวัดสมุทรสงคราม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ได้มอบหมายให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษาทุกเขตเห็นความสาคัญ เราจะปล่อยนักเรียนโรงเรียนขนาดเล็กไม่ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพที่เท่า เทียมไม่ได้ อย่าคิดถึงคนสาคัญท่ีอยู่ในชุมชน ครู ผู้บริหาร น้อยกว่านักเรียน ต้องควบรวมโรงเรียนขนาดเล็ก ยกเว้นโรงเรยี นขนาดเลก็ Stand Alone, โรงเรียนที่มีผลสัมฤทธ์ิสูง โดยมีหลักการทาโรงเรียนขนาดเล็กให้เป็น โรงเรยี นขนาดใหญ่ ควบรวมโรงเรียน 1 ต่อ 7 หรือ 1 ต่อ 8 หรือตามความเหมาะสมของพื้นท่ี เพ่ือให้โรงเรียน ขนาดใหญ่มากข้ึน และเปดิ โอกาสให้มกี ารบริหารจัดการในระดับมัธยมศึกษา เพ่ิมโอกาสให้นักเรียนมีทางเลือก โรงเรียนคุณภาพในลกั ษณะ \"โรงเรียนดสี ม่ี มุ เมอื ง\" เพื่อลดการแข่งขันเข้าโรงเรียนขนาดใหญ่พิเศษหรือโรงเรียน ยอดนิยมประจาจังหวัดหรืออาเภอ และมีการบริหารจัดการงบประมาณ บุคลากร สิ่งอานวยความสะดวก ใหม้ ีความพร้อม เพ่อื ให้ผปู้ กครอง และชมุ ชน เกิดการยอมรบั ในการเปลยี่ นแปลง

5 แนวทางการคดั เลอื กโรงเรยี นคุณภาพ โรงเรียนคณุ ภาพควรมลี ักษณะดงั ต่อไปนี้ 1. ด้านกายภาพ 1) สามารถพฒั นาเป็นโรงเรยี นหลกั ทีใ่ ห้โรงเรียนอื่นมาเรียนรวมได้ ในอัตรา 1 : 7 หรือ 1 : 8 หรอื อยูใ่ นอตั ราสว่ นมากทส่ี ดุ ทีส่ านกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษา สามารถดาเนินการได้ 2) ควรมีพ้ืนที่อย่างน้อย จานวน 10 ไร่ (สาหรับโรงเรียนคุณภาพ) และจานวน 20 ไร่ (สาหรับ โรงเรยี นดีสีม่ มุ เมือง) หรือตามความเหมาะสมท่สี ามารถพฒั นาด้านโครงสร้างพื้นฐานเพ่ือรองรับการเพิ่มขึ้นของ จานวนนักเรียนได้ 3) มคี วามพรอ้ มด้านระบบสาธารณปู โภค การคมนาคม สะดวกสบาย 2. ด้านผูบ้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศึกษา 1) ผูบ้ รหิ าร มวี สิ ยั ทศั น์ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยยึดผูเ้ รยี นเปน็ สาคัญ 2) ครู และบุคลากรทางการศึกษา ตระหนักให้ความสาคัญ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา 3. ดา้ นภาคีเครือขา่ ย 1) ชมุ ชนเขม้ แข็ง ให้ความรว่ มมอื กบั สถานศึกษาอย่างดี 2) ภาคีเครือข่าย ท้ังภาครัฐและเอกชน คณะกรรมการสถานศึกษา ผู้นาท้องถิ่น และผู้มีส่วน เก่ยี วขอ้ ง ส่งเสริม สนับสนุนเป็นอย่างดี ส่ิงทไี่ ด้รบั การพัฒนาเม่ือเปน็ โรงเรียนคุณภาพ โรงเรียนคุณภาพจะได้รับการพัฒนาเพ่ือให้สามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ และให้บริการ โรงเรยี นขนาดเลก็ ใกลเ้ คยี งในเร่อื งตา่ ง ๆ ดังน้ี 1. ด้านอาคารเรยี น 1) อาคารเรยี นท่ที ันสมัย เพียงพอ ตามเกณฑ์มาตรฐาน อาคารเรยี นและสง่ิ ก่อสรา้ ง 2) อาคารเรยี นอนบุ าล 3) หอ้ งเรียนทุกห้องมสี ง่ิ อานวยความสะดวก เชน่ โปรเจคเตอร์ แอคทีฟบอรด์ คอมพวิ เตอร์ ฯลฯ 4) หอ้ งปฏบิ ตั ิการครอบคลุมทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2. ดา้ นอาคารประกอบ 1) อาคารหลงั คาคลุมอเนกประสงค์ ตามมาตรฐาน 2) บ้านพักครู แฟลต 3) บ้านพักนกั เรยี น กรณที ่ีมนี ักเรียนพักนอน 4) โรงอาหาร หอประชุม สปอร์ตคอมเพลก็ ซ์ โรงฝึกงาน 5) ห้องนา้ ห้องส้วม 6) อาคารหอ้ งสมุด

6 7) เรอื นพยาบาลทที่ ันสมัย 8) สนามกีฬาอเนกประสงค์ สระว่ายนา้ สนามฟตุ บอล ฯลฯ 9) ส่ิงก่อสร้างอ่นื ๆ เชน่ รั้ว ถนน รางระบายนา้ สนามเด็กเล่น เปน็ ตน้ 10) ระบบสาธารณปู โภค ไฟฟ้า ประปา สัญญาณอินเทอรเ์ น็ตความเร็วสูง คอมพวิ เตอร์ โซลา่ เซลล์ ฯลฯ 11) ครภุ ัณฑ์ เครื่องปรบั อากาศ 12) ระบบความปลอดภยั ในโรงเรียน กล้องวงจรปดิ 13) รถ รบั -ส่ง นักเรยี นทไ่ี ด้มาตรฐาน 3. ด้านกายภาพ 1) มแี หลง่ เรียนรู้ ภูมิปัญญา สวนพฤกษศาสตร์ ฯลฯ 2) สภาพแวดลอ้ มท่ีสะอาด สะดวก ปลอดภัย และเอ้ือต่อการเรียนรู้ 4. ด้านวิชาการ 1) หลักสูตรทส่ี อดคลอ้ งกบั ความต้องการชุมชน 2) บรู ณาการปรับการสอนสรา้ งสมรรถนะ 3) ประเมนิ พฤติกรรมลดการทอ่ งจา 4) วัดแววความชอบความถนัด 5) ระบบสะสมหน่วยกิตเชื่อมโยงอาชวี ศึกษา 6) ตั้งเป้าหมายชีวิต การงาน การเรยี นรู้ 5. ด้านบคุ ลากร 1) ครูครบช้ัน ครบวชิ าเอก 2) ครูพเิ ศษเชยี่ วชาญเฉพาะด้าน เช่น ครเู ชี่ยวชาญ ด้านภาษา ดนตรี ศิลปะ เป็นต้น 3) บคุ ลากรสายสนบั สนนุ เชน่ ครธู รุ การ พยาบาล นกั โภชนาการ นักจิตวทิ ยา เป็นตน้ 4) บคุ ลากร อืน่ ๆ เช่น นักการภารโรง พนักงานขบั รถ ยามรักษาความปลอดภัย แมบ่ ้าน แมค่ รัว เปน็ ตน้ 6. ด้านงบประมาณ ได้รับงบประมาณเพื่อใช้ในการบรหิ ารจัดการ และการพัฒนาวชิ าการตามวตั ถปุ ระสงคโ์ ครงการ โรงเรยี นคณุ ภาพ

7 บทบาทหน้าทขี่ องหน่วยงานแต่ละระดบั การดาเนนิ งานโรงเรียนคุณภาพ จะประสบผลสาเร็จตามวัตถปุ ระสงค์ได้ หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ ง ทกุ ระดับ ควรมีบทบาทหน้าท่ีดังนี้ 1. ระดับกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1) ประกาศการพัฒนาโรงเรียนคุณภาพ เพอื่ ลดความเหล่อื มล้าทางคุณภาพการศึกษา เป็นวาระ แหง่ ชาติ 2) ประสานความร่วมมือ สรา้ งความเข้าใจ สง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม ดาเนนิ การกบั หน่วยงาน ท่ีเก่ยี วข้อง เช่น กระทรวงมหาดไทย สานกั พระพทุ ธศาสนา เป็นตน้ 3) ประชาสมั พนั ธ์ สร้างความเขา้ ใจกับ สาธารณชน 2. ระดับสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน 1) จัดทา Road Map ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน และสานกั งานเขตพน้ื ท่ี การศกึ ษาเพื่อเปน็ แนวทางการดาเนินการขบั เคลอ่ื นระดบั สานกั งานคณะการการศกึ ษา ข้ันพ้นื ฐานและระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา ทัง้ 225 เขต 2) ดาเนนิ การตามนโยบายแนวทางแผนปฏิบัติการครบทกุ สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาท้ัง 225 เขต ตาม Road Map ในระยะเวลาท่ีกาหนด หรอื บริบทของแตล่ ะพ้ืนที่ 3) ผ้บู ริหารการศึกษาระดับสูงเปน็ ผนู้ าหลักในการขับเคลื่อนนโยบายแนวทางการบริหารจัดการ ให้การกากับติดตาม ส่งเสรมิ สนับสนุนอย่างจริงจังต่อเนื่อง สรปุ รายงานผลการดาเนินงานทกุ ปี 4) ปรบั ปรุงระเบยี บหลักเกณฑ์ การบรหิ ารจดั การให้เอื้อต่อการพฒั นาคุณภาพโรงเรียนคุณภาพ และการให้บริการโรงเรยี นเครือขา่ ย 5) กาหนดนโยบาย กรอบ และจัดทาแนวทางการดาเนินงานโรงเรียนคณุ ภาพและโรงเรียนเครือข่าย 6) ประชุมชแ้ี จงเพ่อื สร้างความเข้าใจให้กับผ้อู านวยการสานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาและ เจ้าหน้าทผี่ ้รู ับผดิ ชอบระดบั เขตพ้ืนท่ี 7) สง่ เสริมสนับสนุนการบรหิ ารจัดการและทรัพยากรต่าง ๆ ให้เขตพ้ืนท่กี ารศึกษาและโรงเรียน 8) ตดิ ตาม กากบั นเิ ทศ และประเมินผลการดาเนินงาน 9) ประชาสัมพันธ์ ผลการดาเนินงาน 3. ระดับสานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา 1) สรา้ งความตระหนักและการรบั รูเ้ กย่ี วกับความท้ายทีเ่ ป็นอุปสรรคต่อการเรยี นรวมของ โรงเรยี นขนาดเล็กรว่ มกนั ดงั น้ี 1.1) วิเคราะหค์ วามต้องการ จาเป็นโรงเรยี นขนาดเล็ก โรงเรียนคุณภาพ ท่ีสอดคล้องกบั ความท้าทายทีเ่ ปน็ อุปสรรคในพื้นที่ 1.2) เสนอแผนงบประมาณในการพัฒนาโรงเรียนคุณภาพต่อสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน

8 1.3) ดาเนินการ กากบั ตดิ ตาม และรายงานผลการดาเนนิ งานตอ่ สานกั งานคณะกรรมการ การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน และสาธารณชน 2) ส่ือสาร นโยบายการพัฒนาโรงเรยี นคุณภาพและโรงเรยี นขนาดเล็กตลอดแนว เพ่ือสรา้ ง เป้าหมายเดยี วกนั ดังนี้ 2.1) สื่อสาร เผยแพร่ ประชาสัมพันธใ์ ห้กับผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสีย รับทราบเกี่ยวกบั ความทา้ ทาย ท่เี ป็นอุปสรรค และแนวทางการพัฒนาโรงเรยี นคณุ ภาพ โรงเรยี นขนาดเล็ก 2.2) กาหนดผูร้ ับผิดชอบหลกั ในรูปคณะกรรมการการขบั เคลอ่ื นการพัฒนาโรงเรยี นคณุ ภาพ/ โรงเรียนขนาดเลก็ 2.3) ส่งเสรมิ สนบั สนุนการขับเคล่อื นการพัฒนาโรงเรยี นคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก 3) กาหนดทิศทาง เป้าหมาย และจดั ทาแผนการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ภาพและโรงเรียนขนาดเล็ก สานักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษา 4) ดาเนินการตามแผนงานการพฒั นาโรงเรยี นคณุ ภาพและโรงเรียนขนาดเลก็ 5) กากับ ตดิ ตาม ประเมินผล และรายงานผลการปฏบิ ตั งิ าน เพอ่ื ปรับปรงุ แกไ้ ขในระยะตอ่ ไป 4. ระดับโรงเรยี น 1) สรา้ งความตระหนกั ในเป้าหมายการจัดการศกึ ษา โดยคานึงถงึ คุณภาพผ้เู รยี นเป็นหลัก 2) สร้างแรงจูงใจแก่ คร/ู บุคลากรทางการศึกษาผูบ้ ริหารในการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก โดยการให้สิทธ์ิในการเลือกสถานทีก่ ารปฏบิ ัตงิ านไดต้ ามความประสงคภ์ ายใตร้ ะเบยี บ วิธีปฏิบัติ ฯลฯ 3) โรงเรียนเรยี นรวมจะลดภาระงานท่ีเป็นภารกจิ ของโรงเรยี น 4) นกั เรียน โรงเรยี นเรยี นรวมจะมีโอกาสเขา้ ถึงการจัดการศึกษาที่มีคณุ ภาพ ดงั นี้ 4.1) สอื่ การเรียนการสอนที่ทันสมัยและเพียงพอ 4.2) โอกาสในการมงี านทาในอนาคต 4.3) ได้เรยี นรกู้ บั ครูครบช้นั ตรงสาขาวิชาเอก 4.4) มรี ถ รับ-สง่ ในการเดินทางไปโรงเรียนคุณภาพ 4.5) มปี ระกนั ชวี ติ และมาตรการรักษาความปลอดภยั

9 นยิ ามศพั ท์ โรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน หมายถงึ โรงเรียนทม่ี ีนกั เรยี นมาเรียนรวม ในอัตรา 1 ตอ่ 7, 1 ตอ่ 8 หรือในอัตราส่วนท่ีมากท่ีสุด ที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสามารถดาเนินการได้ ตามความพร้อม และ ดาเนินการพฒั นาและยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาให้เกดิ ความเช่อื มนั่ ตอ่ ชมุ ชนและผ้ปู กครอง โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง หมายถึง โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา (ม. 1-ม. 6) ที่มีศักยภาพ และมี ความพร้อมเป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง ชุมชน มีการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ สภาพแวดล้อม วัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี ลดความเหลื่อมล้า กระจายความเสมอภาค ความเท่าเทียม ลดอัตราการแข่งขันสูง เป็นทางเลอื กใหช้ ุมชนและผู้ปกครอง โรงเรยี นคณุ ภาพ หมายถงึ โรงเรยี นคุณภาพของชุมชน (สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา) และโรงเรียนมัธยมดีสม่ี ุมเมือง (สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามัธยมศกึ ษา) โรงเรียนเครอื ขา่ ย หมายถึง โรงเรยี นท่มี าเรยี นรวมกับโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน รวม หมายถึง การรวมที่ตั้งอยู่ใกล้กันตั้งแต่สองแห่งข้ึนไป เพื่อให้การบริหารและจัดการศึกษา มปี ระสทิ ธิภาพเกดิ ผลดีแกผ่ ้เู รยี นทัง้ ในด้านสิทธิ โอกาส และคุณภาพการศกึ ษา

10 ระยะเวลาการดาเนนิ งานคดั เลือกโรงเรียนมัธยมดสี ่ีมุมเมือง ระยะเวลาการดาเนินการคัดเลือกโรงเรียนมัธยมดีส่ีมุมเมือง สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษา เขต 42 จดั ทาเปน็ ตาราง ดังตอ่ ไปนี้ ที่ วัน เดือน ปี การดาเนินงาน ผ้รู บั ผดิ ชอบ 1. 25 พ.ย. 63 ประชุม conference รับนโยบาย ผอ.เขต รอง ผอ.เขต จาก ดร.อัมพร พนิ ะสา ผอ.กลมุ่ ฯ และ เลขาธกิ ารสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน คณะศกึ ษานเิ ทศก์ 2. 26 พ.ย. 63 ประชุมคณะทางานดาเนินงาน กลุ่มนเิ ทศฯ 3. 26-27 พ.ย. 63 จัดทาข้อมลู แผนทภี่ มู ิศาสตร์ - กาหนดจดุ ท่ตี ั้งโรงเรียน จานวนนักเรยี น ระยะทาง คณะศึกษานิเทศก์ แนวโนม้ จานวนนักเรยี น ทมี จงั หวดั นครสวรรค์ 1. โรงเรียนมัธยม (สเี ขียว) (ศน.วิระดา แก่นกระโทก 2. โรงเรียนมัธยมทมี่ ีนกั เรียนน้อยกวา่ 120 คน (สแี ดง) เป็นหวั หน้า) 3. โรงเรียนขยายโอกาส (สีเหลือง) ทมี จงั หวดั อุทยั ธานี 4. โรงเรยี นเอกชน (สนี ้าเงิน) (ศน.สายชล ทองฤทธ์ิ - ออกคาสั่ง คณะทางานจดั ทาข้อมลู แผนท่ีภูมศิ าสตร์ เปน็ หวั หนา้ ) โรงเรียน จานวนนกั เรยี น ระยะทาง โรงเรยี นในจงั หวดั (คาสง่ั คณะทางาน นครสวรรค์ และจังหวัดอทุ ยั ธานี ประกอบดว้ ย คณะศึกษานิเทศก์) 4. 30 พ.ย.- จัดทาข้อมูลร่าง โรงเรยี นมัธยมดีสี่มมุ เมอื ง คณะศกึ ษานเิ ทศก์ 4 ธ.ค. 63 โรงเรยี นในจงั หวัดนครสวรรค์จานวน 3-5 โรงเรยี น และ (ข้อมูลตา่ งๆ ขอความ โรงเรียนในจังหวัดอทุ ยั ธานีจานวน 2-3 โรงเรยี น รว่ มมอื /ประสาน เขต 1. เอกสารข้อมูล เหตุผลท่ีสมควรเป็นโรงเรยี นมธั ยมดี ประถมฯทุกเขต ศกึ ษาฯ สี่มมุ เมือง จัดทาเป็นเล่ม/ชุดเรยี บรอ้ ย ท้งั สองจงั หวดั ดว้ ย) 2. ขอ้ มูลเป็น Powerpoint พร้อมผรู้ ับผดิ ชอบนาเสนอ (ออกคาสั่ง คณะทางานจัดทารา่ งโรงเรียนมธั ยมดสี ม่ี ุมเมือง สพม. เขต 42) (เชิญประธานและเลขาสหฯ มาร่วมจัดทาข้อมูลในช่วง 1-2 (คาสง่ั คณะทางาน ธ.ค. 63) ประกอบดว้ ยประธานสหฯ เลขาสหฯ ผอ.โรงเรียนทม่ี ี ช่ือในรา่ ง และคณะ ศกึ ษานิเทศก์)

11 ท่ี วนั เดือน ปี การดาเนินงาน ผู้รบั ผิดชอบ 5. 7 ธ.ค. 63 ประชุม พิจารณาคดั เลอื กโรงเรยี นมธั ยมดีสมี่ ุมเมือง / ผอ.กลมุ่ นิเทศฯ 6. 8-9 ธ.ค.63 (8-13 ธ.ค.63) ไดช้ อ่ื โรงเรยี น ศกึ ษานิเทศกท์ ุกคน 7. 14 ธ.ค. 63 (ประกาศ แตง่ ต้ังคณะกรรมการคัดเลอื กโรงเรียนเป็น 8. 15 ธ.ค.63 โรงเรยี นมธั ยมดีสี่มุมเมือง ประกอบดว้ ย ผอ.เขต, รอง ผอ.เขต, ผ้ทู รงคุณวุฒิ 2-3 คน, ประธานสหวิทยาเขต เลขาสหวทิ ยาเขตทุกสหวทิ ยาเขต และคณะศกึ ษานิเทศก์ โรงเรยี นที่ไดร้ บั เลอื ก จัดทาแผนของบประมาณ ในการ ผอ.ร.ร. พัฒนา เป็นโรงเรยี นคณุ ภาพโรงเรยี นมธั ยมดีสีม่ ุมเมือง คณะศึกษานิเทศก์ (Master Plan) (ของบอาคารสถานท่ี ส่ือ ระบบเทคโนโลยี ช่วยเหลอื และ โปรแกรมบริหารงานและดาเนินงาน ครภุ ัณฑ์ รถโรงเรยี น ประสานงานแผนฯ หรอื ประสานวิศวะ สถาปนิกในการออกแบบ และอื่นๆ) งานทีเ่ กี่ยวข้อง (ปรับปรุงแกไ้ ข ใหเ้ ป็น Master Plan ให้ถูกต้องสมบูรณ)์ โรงเรียนทีไ่ ด้รบั คัดเลือกส่ง Master Plan ใหส้ านักงานเขต ผอ.ร.ร. /ผอ.กลุ่มนิเทศฯ พื้นท่กี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษาเขต 42) สพม. เขต 42 ส่งเอกสารโรงเรียนมัธยมดสี ่ีมุมเมือง ผอ.กลุม่ นเิ ทศฯ ใหส้ านักงานศึกษาธกิ าร จงั หวัดนครสวรรค์ และจังหวดั อทุ ัยธานี

12 รายช่อื โรงเรียนมัธยมดีสี่มุมเมือง สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 42 (นครสวรรค์ อทุ ัยธานี) จังหวัดนครสวรรค์ จานวน 5 โรงเรยี น ลาดับที่ ช่อื โรงเรียน สหวิทยาเขต 1. โรงเรยี นห้วยน้าหอมวิทยาคาร สหวิทยาเขตทุง่ หินเทิน 2. โรงเรียนไพศาลีพทิ ยา สหวิทยาเขตอัจฉราลยั 3. โรงเรียนโกรกพระ สหวิทยาเขตวมิ านลอย 4. โรงเรยี นตากฟา้ วิชาประสทิ ธิ์ สหวิทยาเขตตากฟา้ -ตาคลี 5. โรงเรียนพระบางวิทยา สหวิทยาเขตร่มเกล้านวมนิ ท์

ผงั สถานศึกษา สังกัด ส

สพฐ. จงั หวดั นครสวรรค์ 13

ผงั สถานศึกษา โรงเรียนมธั ยมดีส่มี มุ เม

มอื ง สพม. เขต 42 จังหวดั นครสวรรค์ 14

ขอ้ มลู โรงเรียนมธั ยมดสี ่ีมุม 1. โรงเรยี นห้วยน้าหอมวทิ 2. โรงเรียนไพศาลพี ทิ ยา 3. โรงเรยี นโกรกพระ 4. โรงเรียนตากฟา้ วิชาปร 5. โรงเรียนพระบางวทิ ยา

มเมอื ง จงั หวัดนครสวรรค์ ทยาคาร ระสิทธ์ิ า 15

ขอ้ ม โรงเรียนห้วยน้า อา้ เภอชมุ ตาบง จ

มลู าหอมวิทยาคาร จังหวดั นครสวรรค์ 16

แผนที่พกิ ดั ของโรงเรียน โรง

งเรยี นหว้ ยน้าหอมวิทยาคาร 17

แผนภาพแหลง่ เรยี นรู้ โรง

งเรยี นหว้ ยน้าหอมวิทยาคาร 18

แผนภาพผังอาคาร สิ่งปลกู สรา้ ง พรอ้ มงบ

บประมาณ โรงเรยี นห้วยนา้ หอมวทิ ยาคาร 19



20

ขอ้ ม โรงเรียนไพ อ้าเภอไพศาลี จัง

มูล พศาลพี ิทยา งหวัดนครสวรรค์ 21

แผนท่พี ิกดั ของโรงเรยี น เขตพืนทบ่ี ริการ แผ ปี 2563-2565 โร

ผนจา้ นวนนกั เรยี น และอตั ราก้าลงั ในอนาคต รงเรียนไพศาลพี ิทยา 22

แผนที่โรงเรียนใกล้เคยี ง

โรงเรยี นไพศาลีพทิ ยา 23

แผนภาพแหล่งเรยี นรู้

โรงเรยี นไพศาลีพทิ ยา 24

แผนภาพผังอาคารสิ่งปลกู สร้าง พรอ้ มง

งบประมาณราคา โรงเรยี นไพศาลพี ทิ ยา 25

ขอ้ ม โรงเรียนโ อา้ เภอโกรกพระ จ

มูล โกรกพระ จงั หวดั นครสวรรค์ 26

แผนที่พกิ ดั ของโรงเรยี น

น โรงเรยี นโกรกพระ 27

แผนภาพแหลง่ เรยี นร

รู้ โรงเรียนโกรกพระ 28

แผนภาพผังอาคารสิ่งปลกู สร้าง พรอ้ ม

มงบประมาณราคา โรงเรยี นโกรกพระ 29

ข้อม โรงเรียนตากฟ อ้าเภอตากฟ้า จัง