Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20190731_140905_0000

20190731_140905_0000

Published by boonsita250210, 2019-07-31 06:12:03

Description: 20190731_140905_0000

Search

Read the Text Version

วัสดุในชีวิตประจาํ วัน จัดทําโดย ด.ญบุ ญสิตา ดาวหน เลขที 25 ม.2/4 เสนอ คุ ณ ค รู ภั ท ร า ว ร ร ณ อุ ท ธ สิ ง ห์

คํานาํ หนงั สอื อิเล็กทรอนคิ เล่มนเี ปนสว่ นหนงึ ของ รายวชิ าการออกเเบบเเละเทคโนโลยี ว22103 โดยเนอื หาภายในเล่มนวี า่ ดว้ ยเรอื งของวสั ดทุ ีมี อยูใ่ นชวี ติ ประจาํ วนั อาทิเชน่ ไม้ โลหะ พลาสติก เเละอืนๆ ผจู้ ดั ทําหวงั อยา่ งยงิ วา่ รายงานฉบบั นจี ะเปน ประโยชนต์ ่อผทู้ ีต่อผทู้ ีต้องการจะศึกษาได้ ไมม่ ากก็นอ้ ยหากขอ้ ผดิ พลาดประการใดผู้ ณ ทีนดี ว้ ย

สารบญั ไม้ 1 โลหะ 4 พลาสติก 7 ยาง 10 อ้างอิง 13

ไม้ 1 ไม ้ เปนวสั ดแุ ขง็ ทีทําจากแก่นลําต้น ของต้นไม ้ สว่ นใหญเ่ ปนไมย้ นื ต้น โดยแบง่ เปนไมเ้ นอื แขง็ เชน่ ไมเ้ ต็ง ไมแ้ ดง และไมเ้ นอื อ่อน เชน่  ไมส้ กั  ไม้ ยางพารา ไมโ้ อ๊ก โดยนยิ ามแล้ว ไม้ จะหมายถึงเนอื เยอื ไซเล็มชนั ที สอง (Xylem) ของต้นไม้ แต่ในความ เขา้ ใจไม้ อาจหมายรวมไปถึงวสั ดใุ ดๆ ทีมสี ว่ นประกอบทํามาจากไมด้ ว้ ย ม2ี ประเภทคือ 1.ไมธ้ รรมชาติ 2.ไมป้ ระกอบ

ไมธ้ รรมชาติ ไมเ้ ปนวสั ดจุ ากธรรมชาติทีมนษุ ยร์ จู้ กั นาํ มาใช้ นานแล้ว ในสมยั โบราณเมอื ยงั ไมย้ งั มปี รมิ าณ มากและมรี าคาถกู มนษุ ยจ์ ะนาํ ไมจ้ ากธรรมชาติ มาสรา้ งทีอยูอ่ าศัยและเครอื งมอื เครอื งใชต้ ่างๆ ต่อมาเมอื ประชากรมจี าํ นวนเพมิ มากขนึ ก็ยงิ มกี ารนาํ ไมจ้ ากธรรมชาติมาใชป้ ระโยชนม์ าก ขนึ สง่ ผลใหป้ าไมถ้ กู ทําลายและปรมิ าณของ ไมจ้ ากธรรมชาติลดลงอยา่ งรวดเรว็ ทําใหไ้ ม้ จากธรรมชาติเปนวสั ดทุ ีหายากและมรี าคาแพง มนษุ ยจ์ งึ พยายามหาวสั ดอุ ืนๆ มาใชแ้ ทนไม้ ผา่ นทางกรรมวธิ ที างวศิ วกรรม เชน่ แผน่ ไวนลิ กระเบอื ง แผน่ ลามเิ นต ฯลฯ เปนต้น แต่ความ นยิ มในการใชไ้ มจ้ ากธรรมชาติก็ยงั คงมอี ยู่ โดย เฉพาะอยา่ งยงิ การนาํ ไมม้ าใชท้ ําพนื บา้ น

ไมป้ ระกอบ หมายถึง ผลิตภัณฑ์จากไมท้ ียอ่ ยเปนชนิ ไสเปนฝอย หรอื แยกเปนเสน้ ใย แล้วนาํ มาอัดรวมกันเขา้ เปนชนิ เปนแผน่ ทังนี โดยจะมวี ตั ถเุ ชอื มประสานดว้ ยหรอื ไม่ ก็ได้ จดั เปนอุตสาหกรรมทีใชไ้ มข้ นาด เล็ก ตลอดจนเศษไมป้ ลายไมใ้ หเ้ ปน ประโยชนอ์ ยา่ งสาํ คัญ ไมป้ ระกอบอาจ แบง่ ออกไดเ้ ปน ๓ พวก คือ แผน่ ชนิ ไมอ้ ัด แผน่ ใบไมอ้ ัด และแผน่ ฝอยไมอ้ ัด

โลหะ 4 โลหะ คือ วสั ดทุ ีประกอบดว้ ยธาตโุ ลหะ ทีมอี ิเล็กตรอนอิสระอยูม่ ากมาย นนั คือ อิเล็กตรอนเหล่านไี มไ่ ดเ้ ปนของอะตอมใด อะตอมหนงึ โดยเฉพาะ ทําใหม้ คี ณุ สมบตั ิ พเิ ศษหลายประการ เชน่

โลหะกล่มุ เหล็ก เปนวสั ดทุ ีมกี ําลังรบั การรบั แรงสงู มคี วามคงทน ตลอดอายุการใชง้ านหากมกี ารบาํ รุงรกั ษาทีดี และ มรี ปู ทรงมาตราฐานทีเมน่ ยาํ ไมเ่ ปลียนแปลงง่าย จงึ ถกู นาํ มาใชง้ านในดา้ นต่าง ๆ เชน่ ทําเปนเครอื งมอื กสกิ รรม เครอื งมอื ชา่ ง ใชใ้ นงานก่อสรา้ ง หรอื ใชใ้ น งานอุตสาหกรรมเปนต้น จงึ จดั ได้วา่ โลหะเหล็กมคี วาม สาํ คัญต่อมนษุ ยม์ ากเพราะนอกจากจะสรา้ ง ความ เจรญิ ใหก้ ับโลกแล้วยงั เปนสว่ นประกอบของอาวุธยุ โทปกรณ์ทีมนษุ ยน์ ํามาฆา่ ฟนกันอีกด้วย

โลหะนอกกล่มุ เหล็ก โลหะนอกกล่มุ เหล็ก หมายถึง โลหะที ไมม่ เี หล็กเปนองค์ประกอบสว่ นใหญ่ เชน่ ทองแดง, อะลมู เิ นยี ม, แมกนเี ซยี ม, สงั กะสี ฯลฯ ในทางวศิ วกรรมและอุตสาหกรรมจะ ใชโ้ ลหะนอกกล่มุ เหล็กในปรมิ าณทีนอ้ ย กวา่ โลหะในกล่มุ เหล็ก ทังนเี นอื งเพราะ ราคาทีสงู กวา่ ของโลหะนอกกล่มุ เหล็ก นนั เอง ดงั นนั จงึ มกั ใชง้ านโลหะนอกกล่มุ เหล็กในกรณที ีจาํ เปน เชน่ คณุ สมบตั ิที ต้องการในงานนนั ๆ ไมส่ ามารถใชโ้ ลหะใน กล่มุ เหล็กได้

พลาสติก 7 พลาสติก คือ เปนสารประกอบอินทรยี ์ ทีสงั เคราะหข์ นึ ใชแ้ ทนวสั ดธุ รรมชาติ บางชนดิ เมอื เยน็ ก็แขง็ ตัว เมอื ถกู ความ รอ้ นก็อ่อนตัว บางชนดิ แขง็ ตัวถาวร มี หลายชนดิ เชน่ ไนลอน ยางเทียม ใช้ ทําสงิ ต่าง ๆ เชน่ เสอื ผา้ ฟล์ม ภาชนะ สว่ นประกอบของยานพาหนะ 

เทอรโ์ มพลาสติก เทอรโ์ มพลาสติก เปนพลาสติกทีมี จุดหลอมเหลว และมจี ุดอ่อนตัว (ต่างจาก เทอรโ์ มเซท็ พลาสติก) มโี ครงสรา้ งแบบ สายยาวหรอื แบบสาขาสามารถนาํ กลับ มาใชใ้ หมไ่ ดอ้ ีก เทอรโ์ มพลาสติกจะเกิด การอ่อนตัวและหลอมเหลวเมอื ไดร้ บั ความ รอ้ น และจะเกิดแขง็ ตัวเมอื ทําใหเ้ ยน็ ลง พลาสติกทีแขง็ ตัวแล้วสามารถนาํ มาหลอม ซาํ ได้ ดว้ ยความรอ้ นเทอรโ์ มพลาสติก ดงั นนั เทอรโ์ มพลาสติกจงึ เปนวสั ดทุ ีมสี มบตั ิ เหมาะสม สาํ หรบั การขนึ รปู เปนผลิตภัณฑ์ ต่าง ๆ เทอรโ์ มพลาสติกจะอ่อนตัว และ หลอมเหลวเมอื ไดร้ บั ความรอ้ นและจะแขง็ ตัวเมอื ทําใหเ้ ยน็ ลง พลาสติกทีแขง็ ตัวแล้ว สามารถนาํ มาหลอมซาํ ได้ ดว้ ยความรอ้ น เทอรโ์ มพลาสติก

เทอรโ์ มเซตติงพลาสติก เปนพลาสติกทีมสี มบตั ิพเิ ศษ คือทนทานต่อการ เปลียนแปลงอุณหภมู แิ ละทนปฏิกิรยิ าเคมไี ดด้ ี เกิดคราบและรอยเปอนไดย้ าก คงรปู หลังการ ผา่ นความรอ้ นหรอื แรงดนั เพยี งครงั เดยี ว เมอื เยน็ ลงจะแขง็ มาก ทนความรอ้ นและความดนั ไมอ่ ่อน ตัวและเปลียนรปู รา่ งไมไ่ ด้ แต่ถ้าอุณหภมู สิ งู ก็ จะแตกและไหมเ้ ปนขเี ถ้าสดี าํ พลาสติกประเภท นโี มเลกลุ จะเชอื มโยงกันเปนรา่ งแหจบั กันแนน่ แรงยดึ เหนยี วระหวา่ งโมเลกลุ แขง็ แรงมาก จงึ ไม่ สามารถนาํ มาหลอมเหลวได้ กล่าวคือ เกิดการ เชอื มต่อขา้ มไปมาระหวา่ งสายโซข่ องโมเลกลุ ของโพลิเมอร์ (cross linking among polymer chains)      

ยาง 10 ยาง คือวสั ดพุ อลิเมอรท์ ีประกอบดว้ ย ไฮโดรเจนและคารบ์ อน ยางเปนวสั ดทุ ีมคี วาม ยดื หยุน่ สงู ยางทีมตี ้นกําเนดิ จากธรรมชาติจะ มาจากของเหลวของพชื บางชนดิ ซงึ มลี ักษณะ เปนของเหลวสขี าว คล้ายนาํ นม มสี มบตั ิเปน คอลลอยด ์ อนภุ าคเล็ก มตี ัวกลางเปนนาํ ยางในสภาพของเหลวเรยี กวา่ นาํ ยาง ยางที เกิดจากพชื นเี รยี กวา่ ยางธรรมชาติ ในขณะ เดยี วกันมนษุ ยส์ ามารถสรา้ งยางสงั เคราะหไ์ ด้ จากปโตรเลียม

ยางธรรมชาติ ยางธรรมชาติ  มกั อยูก่ ับต้นไมช่ นดิ ต่างๆ  เรมิ ต้นที ประเทศบราซลิ จากต้นเฮเวยี   เปนยางทีมคี ณุ ภาพ สงู   ชอื พารานนั เปนชอื ของเมอื งท่าของประเทสบ ราซลิ   เนอื งจากเปนการขนสง่ ทีท่าเมอื งพาราเปน จาํ นวนมากในตอนนนั ยางจะอยูร่ ะหวา่ งแกนลําต้น และเปลือกลักษณะเปนสขี าวเขน้   โดยต้นพาราจะ ต้องมอี ายุพอทีจะใหน้ าํ ยางพาราได ้ โดยจะทําการ กรดี เอาเปลือกออก  หาภาชนะรองไว ้ พอหยุด ไหลจะเก็บมาเปนนาํ ยางหรอื ทําเปนแผน่   เนอื งจาก นาํ ยางทีไดจ้ ากต้นจะลอยขนึ ทําใหผ้ วิ มคี วามขน้ มากจนแขง็ ตัวจงึ มดั ผสมกํามะถันลงไปดว้ ย

ยางสงั เคราะห์ ยางสงั เคราะหไ์ ดม้ กี ารผลิตมานานแล้ว ตังแต่ ค.ศ. 1940 ซงึ สาเหตทุ ีทําใหม้ กี ารผลิตยางสงั เคราะหข์ นึ ในอดตี เนอื งจากการขาดแคลนยางธรรมชาติทีใช้ ในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณแ์ ละปญหาในการ ขนสง่ จากแหล่งผลิตในชว่ งสงครามโลกครงั ที 2จนถึงปจจุบนั ไดม้ กี ารพฒั นาการผลิตยาง สงั เคราะหเ์ พอื ใหไ้ ดย้ างทีมคี ณุ สมบตั ิตามต้องการ ในการใชง้ านทีสภาวะต่าง ๆ เชน่ ทีสภาวะทนต่อ นาํ มนั ทนความรอ้ น ทนความเยน็ เปนต้น การใช้ งานยางสงั เคราะหจ์ ะแบง่ ตามการใชง้ าน

อ้างอิง https://th.m.wikipedia.org/wiki/ไม้ https://www.thba.or.th/detail_article.php? news_id=00096 http://kanchanapisek.or.th/ kp6/sub/book/book.php? book=3&chap=6&page=t3-6- infodetail07.html https://th.m.wikipedia.org/wiki/เทอร์ โมพลาสติก http://www.ruengrat.com/เทอรโ์ มเซตติง พลาสติกคืออ.htm


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook