Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือบริหารจัดการเพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ N-NET

คู่มือบริหารจัดการเพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ N-NET

Published by s_ec0835, 2022-11-15 05:49:54

Description: คู่มือบริหารจัดการเพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ N-NET

Search

Read the Text Version

คำนำ การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย มีเป้าหมายของการพัฒนาเพื่อศึกษาปัญหาการบริ หาจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดเลย เพ่ือพัฒนาแนวทางการบริหารการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาตดิ ้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสงั กัดสานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย และนาแนวทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ไปส่กู ารปฏิบัติในการพฒั นาคร้ังนี้ ดงั น้ัน จงึ ไดจ้ ดั ทาคู่มือทางการบริหารจดั การเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นจากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย น้ีขึ้น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการเรียนรู้ในการ พัฒนาการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอก ระบบ โรงเรยี น (N-NET) และคาดหวังว่าจะสามารถส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ และเปน็ กระบวนการ/วิธีการเสริมสร้าง ศักยภาพ นักศึกษา กศน. โดยเฉพาะนักศึกษาที่มีระดับผลสัมฤทธิ์ต่า เพ่ือรองรับการพัฒนาทักษะ ความสามารถด้านการเรียนรู้ที่สอดรบั กบั ทกั ษะในศตวรรษที่ 21 ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันให้สูงข้นึ ได้ คณะผู้จัดทา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าคู่มือการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการ ทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย ฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องใน การจัดการศึกษาตอ่ ไป สานักงาน กศน.จังหวดั เลย

สำรบญั ส่วนที่ 1 1 ความสาคัญและความเปน็ มา 1 วตั ถุประสงค์ 2 ส่วนที่ 2 4 กระบวนการพฒั นางาน 5 การบรหิ ารการจัดการสอบ (N-NET) 7 แนวคดิ เก่ียวกับค่มู ือ 12 การดาเนินงานจัดทาคู่มอื นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ 13 แผนภมู ิการดาเนนิ การบรหิ ารจดั การเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น แนวคดิ เก่ยี วกับนวัตกรรม 20 20 ส่วนที่ 3 28 แนวทางการบรหิ ารจดั การเพ่ือยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 38 จากการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 49 ด้านการวางแผน (Plan) ดา้ นการปฏิบตั ติ ามแผน (Do) ด้านการตรวจสอบ (Check) ดา้ นการปรบั ปรุงแกไ้ ข (Act) บรรณำนกุ รม ภำคผนวก

สว่ นท่ี1 ความสาคัญและความเป็นมาของการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) การดาเนินการจัดทาแนวทางการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ของสถานศกึ ษาในสงั กัดสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย ตามนโยบายของสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่จัดให้มีการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษา นอกระบบโรงเรียน (N-NET) ซึ่งผลการทดสอบในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 พบว่า ผลการประเมิน คณุ ภาพ การศึกษาระดับชาติของสถานศึกษาในสังกัดทง้ั 14 แห่ง มีผลคะแนนเฉลย่ี โดยรวมอยใู่ นระดบั ต่ากว่า ค่าเป้าหมายระดับประเทศ และเมื่อจัดลาดับตามผลคะแนนพบว่า ผลคะแนนเฉลี่ยโดยรวมของสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย อยู่ในลาดับท่ี 71 ของประเทศ ด้วยเหตุนี้ ผู้พัฒนาจึงได้ตระหนักและเล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีแนวทางในการ ดาเนินงานโดยวางเป้าหมายในการพัฒนายกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เพ่ือพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี นให้ผู้เรียน มคี วามพร้อมทางด้านจิตใจ รา่ งกาย สงั คม สติปญั ญา ก่อนทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา้ นการศกึ ษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) ทาให้มีผลการประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติมีผลสัมฤทธ์ิสูงข้ึนตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์ของการยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา้ นการศึกษา นอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจงั หวดั เลย วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับสถานศึกษาให้มีแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ สูงขนึ้ ตามเป้าหมายที่กาหนด 2. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติให้มีคุณภาพสูงขึ้น รวมทุกสาระ (สาระทักษะการเรียนรู้ สาระความรู้พื้นฐาน สาระทักษะการประกอบอาชีพ สาระทักษะการ ดาเนนิ ชวี ิต และสาระการพัฒนาสงั คม) คมู่ ือการบรหิ ารจัดการเพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวัดเลย 1

สว่ นท่ี2 กระบวนการพฒั นางาน วิธีพัฒนา การบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน Non-Formal National Educational Test (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย ประกอบด้วยสาระ 5 สาระ ได้แก่ สาระทักษะการเรียนรู้ สาระความรู้พ้ืนฐาน สาระทักษะการประกอบอาชีพ สาระทักษะการดาเนินชีวิต และสาระการพัฒนาสังคม การดาเนินการพัฒนาครั้งนี้ผู้พัฒนาได้พัฒนาแนว ทางการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้าน การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษา ในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย โดยมีระยะเวลาและขั้นตอนการดาเนินการ 2 ภาคเรียนซ่ึงแต่ละภาคเรียน จะมีการดาเนินการพัฒนา 4 ระยะ โดยดาเนินการตามแนวทางวงจร การบริหารงานคุณภาพ (Deming Cycle) ประกอบด้วย 4 ข้ันตอน คือการวางแผน (Plan) การปฏิบัติตามแผน (Do) การตรวจสอบ (Check) และการปรบั ปรงุ (Act) ภารกจิ ของสานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั เลย จากบทบาท ภารกิจด้านการศึกษาและบริบทต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สานักงานส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย จึงกาหนดทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประจาปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยมีสาระสาคญั ดังน้ี วสิ ัยทศั น์องค์กร (Vision) ประชาชนชาวจังหวัดเลย ได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถดารงชีวิตทเ่ี หมาะสมกับชว่ งวัย มที กั ษะในการประกอบอาชีพ สอดคล้องกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียง และมีทกั ษะที่จาเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 ค่านยิ มองคก์ ร รกั งานเหมอื นชีวติ รกั องค์กรเหมือนบา้ น รกั ภาคีเครือขา่ ยเหมอื นญาตมิ ิตร รกั ประชาชนเหมอื นผลู้ ิขติ ดว้ ยการยึดประชาชนเปน็ สาคัญ จะสรา้ งสรรค์ภารกิจ กศน.ใหม้ ีคุณคา่ ผลักดนั ให้เกดิ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ คู่มอื การบริหารจัดการเพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวดั เลย 2

พนั ธกจิ (Mission) 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ตลอดชีวติ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและชุมชน ในการจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั 3. ส่งเสริมและพัฒนา นาเทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ให้ เกิดประสทิ ธิภาพในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือและนวัตกรรม การวัดและประเมินผล ในทกุ รูปแบบ 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการ เพื่อมุ่งจัดการศึกษาท่ีมีคุณภาพโดยยึดหลัก ธรรมาภิบาลและการมสี ่วนร่วม เป้าประสงค์ (Goal) 1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษาได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบ การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานที่มคี ุณภาพ อย่างทว่ั ถงึ และเทา่ เทยี ม 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายพิเศษได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย ทเ่ี ปน็ ไปตามสภาพปญั หา และความตอ้ งการของแต่ละกลมุ่ 3. ชุมชนมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและปรัชญาคิดเป็น อาทิ หมู่บ้านตามรอยพระยุคลบาท หมู่บ้านแห่งการอ่าน บ้านหนังสือชุมชน แหลง่ การเรยี นรูช้ มุ ชน 4. ประชาชนได้รับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้เพ่ือแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตและ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชน โดยมี กศน.ตาบล ศูนย์การเรียนชุมชน และแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ ในชมุ ชนเป็นกลไกในการจัดการเรยี นรู้ 5. ชุมชนมีการจัดการความรู้ของชุมชน เพื่อพัฒนาไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สงั คมวัฒนธรรมประวัตศิ าสตรแ์ ละสิง่ แวดล้อม 6. ชุมชนและทุกภาคส่วน ร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการดาเนินงาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 7. บุคลากรของหน่วยงานและสถานศึกษาได้รับการพัฒนาเพ่ือเพิ่มสมรรถนะในการปฏิบัติงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทว่ั ถึง 8. หนว่ ยงานและสถานศึกษามีระบบการบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลและใช้หลักการบริหาร แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management : RBM) คู่มอื การบริหารจัดการเพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวัดเลย 3

ภารกจิ 1. กาหนดนโยบาย วางแผนการศกึ ษานอกระบบโรงเรียนระดับจงั หวดั 2. สง่ เสรมิ ประสานงาน และพัฒนาเครือขา่ ยการบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบโรงเรียนท้งั ภาครัฐและ เอกชน 3. ส่งเสริมและสนับสนุนการบริการการศึกษานอกระบบโรงเรียนท้ังในระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ของศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอ 14 แห่ง 4. สนบั สนุนและบรกิ ารสื่อทางการศึกษาแกห่ น่วยงานท่ีจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนท้ัง ภาครฐั และเอกชน 5. ดาเนินการเกีย่ วกับคลงั ข้อสอบเพอ่ื สนบั สนุนการวัดผล ประเมนิ ผลของ ศนู ย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอ 14 แหง่ 6. นิเทศ ติดตามการจัดกิจกรรมของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอ 14 แห่ง 7. กากบั ดแู ลสถานศึกษาในความดแู ลของสานักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั จงั หวดั เลย 8. ปฏบิ ัตงิ านอื่นตามที่ไดร้ บั มอบหมาย การบรหิ ารการจัดการสอบ (N-NET) วัตถุประสงค์ของการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal National Educational Test : N-NET) คือ การทดสอบเพ่ือวัดความรู้ ให้แก่นักเรียนชั้นปี สุดท้ายในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยจัดสอบครอบคลุมเนื้อหา 5 สาระการเรียนรู้ ได้แก่ สาระทักษะการเรียนรู้ สาระความรู้พื้นฐาน สาระการประกอบอาชีพ สาระทักษะการดาเนินชีวิต และสาระการ พฒั นาสงั คม โดยมวี ัตถปุ ระสงค์ในการจัดสอบ ดงั นี้ 1. เพ่ือทดสอบความรู้และความคิดของนักศึกษาในระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 2. เพื่อนาผลการทดสอบไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของสถานศึกษาในสังกัด สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดเลย 3. เพ่อื ประกอบการสาเรจ็ การศกึ ษา 4. เพอ่ื นาผลการทดสอบไปใช้ในวตั ถปุ ระสงคอ์ ื่น คู่มอื การบริหารจดั การเพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวดั เลย 4

แนวคิดเกย่ี วกบั คมู่ อื ( อ้างอิงจาก สานกั งานศกึ ษาธิการภาค 10 สานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ (2564) ) จากการศึกษาเอกสารและแนวคดิ ของนกั วิชาการไดใ้ ห้ความหมายของคาว่า คูม่ อื ไว้ดงั นี้ ปรีชา ช้างขวัญยืน และคณะ (2542) ให้ความหมายของคู่มือไว้ว่า คู่มือเป็นหนังสือท่ีใช้ควบคู่กับการ กระทาส่ิงใดสง่ิ หน่งึ ซงึ่ บอกแนวทางในการปฏบิ ัติแก่ผ้ใู ชใ้ หบ้ รรลุผลตามเปา้ หมาย สมมารถ ปรุงสุวรรณ (2544) ให้ความหมายของคู่มือไว้ว่า คู่มือ หมายถึง หนังสือ ตาราเอกสาร แนะนาหรือเป็นสื่อท่ีใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานที่มีเนื้อหาสาระสั้นๆ ซึ่งผู้อ่านหรือผู้ใช้สามารถนาไป ปฏบิ ัตไิ ดท้ ันทีจนบรรลผุ ลสาเรจ็ ตามเป้าหมาย อนุชิต เชิงจาเนียร (2545) ให้ความหมายของคู่มือไว้ว่า คู่มือ หมายถึง หนังสือท่ีเขียนข้ึนเพื่อใช้เป็น แนวทางให้ผู้ใชค้ มู่ ือไดท้ าความเขา้ ใจ และง่ายตอ่ การปฏิบตั ิ ปราณี กรุณวงษ์ (2546 : 10) ให้ความหมายว่า คู่มือเป็นหนังสือที่ใช้ควบคู่ไปกับการกระทา สงิ่ ใดสง่ิ หน่งึ เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ใช้ค่มู ือนาไปศกึ ษา ทาความเข้าใจและปฏบิ ตั ิตามให้บรรลุ เยาวภา อุส่าห์ฤทธ์ิ (2547 : 61) ให้ความหมายว่า คู่มือเป็นหนังสือท่ีเขียนเพ่ือเป็นแนวทาง ให้ผใู้ ชเ้ คร่ืองมอื ไดศ้ ึกษาทาความเขา้ ใจและงา่ ยต่อการปฏบิ ัติตามได้ในการทากจิ กรรมอย่างใดอย่างหน่ึง คณิต จิตเจริญทวีโชค (2548 : 43) ให้ความหมายว่า คู่มือเป็นหนังสือที่เขียนข้ึนมาเพื่อให้ความรู้กับ ผู้อ่านในการทากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมุ่งหวังให้ผู้อ่านได้ศึกษาทาความเข้าใจด้วยตนเองและสามารถ นาความรทู้ ี่ได้รบั ไปใช้เป็นแนวทางดาเนินการได้อยา่ งถูกต้องและเหมาะสม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (2549 : 16) อธิบายว่าวิธีปฏิบัติงาน/วิธีการทางาน (Work Instruction) เป็นเอกสารท่ีมีรายละเอียด วิธีการทางานเฉพาะหรือแต่ละขั้นตอนของกระบวนการ เปน็ ข้อมลู เฉพาะ มคี าแนะนาในการทางานและรวมทง้ั วธิ ีทอี่ งค์กรใชใ้ นการปฏิบตั งิ าน จากการศึกษาค้นคว้าและสังเคราะห์ข้อมูล ผู้พัฒนาได้สรุปข้อมูลเกี่ยวกับความหมายของคู่มือว่า คู่มือ หมายถึง เอกสารที่เขียนข้ึนเพื่อใช้ควบคู่กับการกระทาสิ่งหนึ่งส่ิงใดตามวัตถุประสงค์ มีการระบุ รายละเอียดวิธีการทางานเฉพาะหรือแต่ละขั้นตอนของกระบวนการเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติแก่ผู้ใช้ได้ ถูกต้องเหมาะสม และบรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย โดยใช้ภาษาในการส่ือสารท่ีง่ายต่อการปฏิบัติ ซ่ึงแนวคิดของคู่มือสามารถจาแนกได้ ดังนี้ 1. ประเภทของคมู่ ือ ศักรินทร์ สุวรรณโรจน์ และคณะ (2535) แบ่งประเภทของคู่มือออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) คู่มือการสอนหรือคู่มือการจัดกจิ กรรม เปน็ ค่มู ือท่ใี ห้ความรู้และข้อเสนอแนะ เก่ยี วกบั หลักสตู รการสอนและ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น คู่มือการอบรมนักเรียนหน้าเสาธง คู่มือการจัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมในโรงเรียน เปน็ ตน้ 2) คมู่ อื หนังสือเรยี น เปน็ คูม่ ือท่ีจัดขึ้นควบคู่กับหนังสือที่เราต้องการอธิบายให้ใช้ หนังสือนั้น ๆ ให้ถูกต้องอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการดาเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับเน้ือหาใน หนังสือจงึ มีลกั ษณะก่งึ แผนการสอนกง่ึ คู่มอื นักเรยี น คู่มอื การบรหิ ารจดั การเพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวัดเลย 5

ประดับ เรื่องมาลัย (2542 : 98) อธิบายเกี่ยวกับประเภทของคู่มือว่า คู่มือแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1) คู่มือการสอนหรือคู่มือการจัดกิจกรรม เป็นคู่มือที่ให้เน้ือหาสาระความรู้และคุณธรรมใน โรงเรียน คู่มือการอบรมหน้าเสาธง คู่มือการจัดกิจกรรมประชาธิปไตยในโรงเรียน 2) คู่มือหนังสือเรียน เป็น คู่มือท่ีจัดทาขึ้นควบคู่กับหนังสือเรียน 3) คู่มือการใช้ส่ือหรือนวัตกรรม เป็นการเผยแพร่ผลงานของครูเพื่อให้ ผู้อืน่ นาไปใช้ ให้ถูกต้องจงึ ต้องจดั ทาค่มู อื การใช้การจดั ทาส่ือการสอนกลมุ่ สรา้ งเสรมิ ประสบการณช์ วี ิต เป็นต้น ปราณี กรณุ วงษ์ (2546 : 11) อธบิ ายเก่ียวกบั ประเภทของคู่มือวา่ ค่มู อื แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังน้ี 1) คู่มือเกี่ยวกับการเรียนการสอนตามหลักสูตร เป็นคู่มือท่ีเสนอแนะแนวทาง เทคนิควิธีการสอน การใช้ ส่ือหรือนวัตกรรมท่ีสัมพันธ์กับวิชาใดวชิ าหน่ึง หรือระดับช้ันเรียนต่าง ๆ ท่ีกาหนดไว้ในหลักสูตรนนั้ ๆ 2) คู่มือ การจัดกิจกรรมการสอนท่ัวไป เป็นคู่มือที่เสนอแนะแนวทางหรือเทคนิค วิธีการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อ ส่งเสริมให้การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรบรรลุวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ 3) คู่มือโดยตรง เช่น คู่มือการ จัดกิจกรรมประชาธิปไตยในโรงเรียน คมู่ อื การจัดกจิ กรรมโครงการอาหารกลางวันในโรงเรยี น สรปุ ไดว้ ่า คูม่ ือ แบ่งเปน็ 2 ประเภท ดังนี้ 1) คู่มอื ทใี่ ช้กบั การเรียนการสอนโดยตรงตามหลักสูตร เป็นคู่มือที่แนะนาแนวทางการสอนหรือเทคนิคการสอน วิธีการสอน วิธีการใช้ส่ือนวัตกรรมที่สัมพันธ์และตรง ตามรายวิชาในหลักสตู ร 2) คูม่ ือท่ใี ชก้ ับกิจกรรมเฉพาะกจิ เป็นคู่มอื ทีแ่ นะนาแนวทางการจดั กจิ กรรมเฉพาะกิจ การให้ความรูเ้ ฉพาะเรอื่ ง วิธีปฏิบตั ิงานเฉพาะเรอ่ื ง 2. องค์ประกอบของคู่มือ ศักรินทร์ สุวรรณ์โรจน์ และคณะ (2535) ระบุองค์ประกอบของการจัดทาคู่มือ ดังน้ี 1) คาช้ีแจง การใช้คู่มือ 2) เนื้อหาสาระและกระบวนการหรือข้ันตอน 3) คาชี้แจงเก่ียวกับการเตรียมการท่ีจาเป็นต่าง ๆ เช่น วัสดุอุปกรณ์สื่อ 4) ความรู้เสริมหรือแบบฝึกหัดหรือแบบฝึกปฏิบัติเพื่อช่วยในการฝึกฝน 5) ปัญหาและ คาแนะนาเก่ียวกบั การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหา 6) แหล่งขอ้ มลู และแหล่งอ้างองิ ตา่ ง ๆ สมพร พุตตาล เบ็ทซ์ (2539) กล่าวว่า คู่มือในการปฏิบัติงานมีองค์ประกอบ ดังน้ี 1) ส่วนประกอบตอนต้น ได้แก่ ปก หน้าแสดงรายงานนามคณะผู้จัดทา และปีท่ีพิมพ์ คานา สารบัญและ แผนภูมิโครงสร้างของหน่วยงาน 2) ส่วนท่ีเป็นเน้ือหาหรือวิธีปฏิบัติงาน ได้แก่ คาอธิบายลักษณะงานแผนภูมิ แสดง สายการปฏิบัติงาน ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน และภาพประกอบ 3) ส่วนประกอบตอนท้าย ได้แก่ คาอธบิ ายศัพทแ์ ละดรรชนี ปรชั ญา ศิริภรู ี (2550 : 23) กล่าวถึงคู่มือการปฏบิ ัติงานว่า เป็นเอกสารที่ถูกจดั เตรียมข้ึนสาหรับ พนักงาน โดยคู่มือการปฏิบัติงานจะประกอบด้วย หัวข้อต่าง ๆ ดังน้ี คือ 1) สรุปข้ันตอนต่าง ๆ ท้ังหมดของ ระบบ 2) Flowchart ของระบบงาน (Details System Flowchart) 3) วิธีการจัดตดิ ตั้งระบบ (Job Program Setup Instructions) 4) ขั้นตอนการสารองข้อมูลและระบบงาน (Backup Procedure) 5) ขั้นตอนการเรียก คืนข้อมลู เพ่อื นากลับมาใชใ้ หม่ (Recovery and Restart Procedure) ณิชาภา เจริญรุ่งเรืองชัย (2547) ได้กล่าวไว้ว่า คู่มือ ควรประกอบด้วยเนื้อหาท่ีเกี่ยวกับ 1) การศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ 2) การวางแผน 3) การดาเนินงานตามแผน และ 4) การประเมินผลอีกท้งั มีตวั อยา่ ง แบบฟอรม์ ต่าง ๆ ทกุ ขนั้ ตอนของการปฏิบัติ คูม่ ือการบริหารจัดการเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวัดเลย 6

มนตรี ชมชื่น (2548 : 61) ได้สรุปแนวคิดองค์ประกอบของคู่มือไว้ว่า คู่มือท่ีดีนั้นต้องมี แหล่งข้อมูลและแหล่งอ้างอิงที่ถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านหรือผู้ใช้ในการค้นคว้าเรื่องต่าง ๆ อย่างลึกซึ้ง และง่ายตอ่ ความเข้าใจโดยประกอบไปด้วย 1) คาชแ้ี จงในการใชค้ ู่มอื 2) เนื้อหาของเรอื่ งทจ่ี ะคน้ ควา้ ในทุกด้าน 3) วิธีการนาไปใช้ 4) การแนะนาแหล่งความรู้อ้างองิ ตา่ ง ๆ จากการศึกษาค้นคว้าและสังเคราะห์ข้อมูล สรุปได้ว่า องค์ประกอบท่ีดีของคู่มือ ต้องมี องค์ประกอบ ดังนี้ 1) คาแนะนาในการใช้คู่มือ 2) เนอื้ หาสาระเกี่ยวกับเรื่องท่ีจะปฏิบัติตามคู่มือ 3) ข้อแนะนา เกย่ี วกับการเตรยี มวัสดุ อปุ กรณท์ ี่จาเปน็ 4) แนะนาแหลง่ ความรู้อ้างองิ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ ซ่ึงในการดาเนินการจัดทาคู่มือการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) คร้ังน้ี มีจุดประสงค์เพื่อ พัฒนาแนวทางการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) และเพอื่ นาแนวทางการบริหารพร้อมท้ังคู่มือการบริหาร จดั การเพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) ไปสู่การปฏบิ ัติอย่างมีประสิทธิภาพ การดาเนนิ งานจัดทาคู่มือนวตั กรรมการจดั การเรียนรู้ การดาเนินการจัดทาคู่มือการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จากการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ผู้พัฒนาได้กาหนดแนวทางการยกระดับ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ท่ีเป็นแบบฝึกทักษะการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนประจาภาคเรียนโดยปรับปรุงรูปแบบการพัฒนาและ แบบฝึกทกั ษะการยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียนประจาภาคเรียนของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย เม่ือครั้งดารงตาแหน่งผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสุโขทัย ให้เข้ากับบริบทของจังหวัดเลย หลังจากท่ีได้วิเคราะห์ปัญหาการบริหารจัดการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) โดยนาผลการ วิเคราะห์ปัญหาการพัฒนายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้าน การศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ที่มีจากการเก็บข้อมูลจากการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ซึ่งเป็น วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพเน้นการสนทนา อภิปรายของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย จานวน 12 คน พร้อมกับให้ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาท่รี ับผดิ ชอบงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน จานวน 14 คน ครู กศน.ตาบล จานวน 90 คน จัดทาแนวทางการบริหารและคู่มือการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย โดยผ่านกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมี ข้ันตอนการสร้างและพัฒนาคู่มือการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จากการทดสอบทาง การศกึ ษาระดับชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ประจาภาคเรยี นทจี่ ัดทาขึน้ จากการมีส่วนร่วม ของบุคลากรสังกดั สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัดเลย คมู่ อื การบรหิ ารจัดการเพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวดั เลย 7

ข้ันตอนน้เี ป็นขั้นตอนการสร้างรูปแบบท่ีเน้นผลการดาเนินงานตามกรอบแนวคิดในการศึกษา ดงั น้ี 1. นาผลจากการสังเคราะห์เอกสาร ทฤษฎแี ละงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง มาทาการสังเคราะหส์ าระสาคัญ เพอื่ กาหนดกรอบการร่างคมู่ อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน สรุปได้ดังน้ี 1.1 แนวคิดในการพฒั นายกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ประกอบดว้ ย 4 แนวคดิ คอื 1.1.1 แนวคิดเกี่ยวกับการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีได้จากการสังเคราะห์ แนวคิด Empowerment Evaluation ของ David Fetterman (1993, อ้างอิงมาจากสุพักตร์พิบูลย์,2562 : ออนไลน์) ซึ่งเป็นแนวคิดในการพัฒนาที่มุ่งหวังให้องค์กรหรือบุคลากรในองค์กร สามารถช้ีนาตนเอง ( Self – Directing) ท่ี จ ะ ช่ ว ย ใ ห้ อ ง ค์ ก ร เ กิ ด ก า ร พั ฒ น า แ บ บ ย่ั ง ยื น ใ น อ น า ค ต โ ด ย มี แ น ว ป ฏิ บั ติ และจันทนา นนทิกร (2552: 2 -3) ได้สรุปผลการวิเคราะห์วิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศระบบเรียนรู้ : การยกระดับ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวา่ แนวทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นมวี ธิ ีดาเนนิ การ ดังน้ี 1) การจัดการความรู้เพ่ือกาหนดนโยบาย 2) การวิเคราะห์สภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษามีการใช้ หลักสูตร 3) การกาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนากระบวนการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 4) การนิเทศ ภายในแบบกัลยาณมติ ร เพ่อื กากบั ตดิ ตามในระดับช้นั เรียนและระดบั เครอื ข่ายการเรียนรู้ 1.1.2 แนวคิดในการบริหารจัดการ แนวคิดเกี่ยวกับวงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA เป็นวงจรการบริหารงานคุณภาพ (Deming Cycle) เป็นแนวคิดหนึ่งที่ไม่ได้ให้ความสาคัญ เพียงแค่การ วางแผน แต่แนวคดิ นีเ้ น้นให้การดาเนินงานเป็นไปอย่างมรี ะบบ โดยมีเป้าหมายให้เกดิ การพัฒนาและถือปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง ขั้นตอนการดาเนินงานทั้งหมด 4 ข้ันตอน คือ ข้ันท่ี 1 เตรียมแผนงาน (Plan) ขั้นท่ี 2 ลงมือ ปฏิบัติตามแผน (Do) ขั้นที่ 3 ตรวจสอบ ผลการปฏิบัติงาน (Check) และข้ันท่ี 4 ปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง (Act) ซง่ึ แนวคิดวงจรการบรหิ ารงานคุณภาพ 1.1.3 แนวการพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาก ผู้ทรงคุณวุฒิความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิที่ศึกษาด้วยวิธีการเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการ สนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เป็นการกาหนดแนวการพัฒนาการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย ประกอบด้วยกลุ่มผูบ้ รหิ ารและผทู้ รงคณุ วฒุ ภิ ายนอก จานวน 17 คน 1.1.4 ความคิดเห็นจากการเก็บรวบรวมข้อมูลการศึกษาสภาพปัญหาของการพัฒนาแนว ทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิธีเชิงปริมาณ ( Quantitative Method) โดยการใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นการศึกษาสภาพปัญหาการพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการ เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกดั สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย จังหวัดเลย โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ข้าราชการครู ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ครู กศน.ตาบล ทปี่ ฏบิ ัตหิ น้าทีห่ ัวหน้า กศน.ตาบล ครศู ูนย์การเรียนชุมชน รวมทัง้ สน้ิ จานวน 137 คน คมู่ อื การบรหิ ารจัดการเพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวดั เลย 8

2. กาหนดส่วนประกอบและสาระสาคัญของคู่มือการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียน จากการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 3. จัดทาร่างของคู่มือการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ขั้นตอนการจัดทาร่างคู่มือการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) มีขั้นตอนการดาเนินงานดังนี้ 1) ประชุมข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่มีความรู้ความสามารถด้านการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ เพ่ือทาความเข้าใจเก่ียวกับความสาคัญและวัตถุประสงค์ในการจัดทาร่างคู่มือการบริหารจัดการเพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 2) วเิ คราะหข์ ้อมูลพ้ืนฐาน สภาพปญั หา รวมทั้งอุปสรรค โดยใชก้ ารวเิ คราะห์ จุดแขง็ จุดออ่ น รวมไปถงึ โอกาส ที่จะประสบผลสาเร็จในการจัดทาค่มู ือการบริหารจดั การเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนจากการทดสอบ ทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) 3) กาหนดแผนการดาเนินงาน เป้าหมาย ประเด็นในการพัฒนา รวมท้ังวิธกี ารสรา้ งและพัฒนาคู่มือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นจากการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ตามหลักการบริหารงานคุณภาพ PDCA 4) จัดทาร่างคู่มือการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) โดยใช้กระบวนการระดมความคิดและการแลกเปลี่ยน เรยี นรู้ ซึง่ มอี งค์ประกอบอยู่ 3 สว่ น ดงั นี้ ส่วนที่ 1 ประกอบด้วย 1. ความสาคัญและความเปน็ มา 2. วัตถุประสงค์ของการจดั ทาคมู่ ือ ส่วนที่ 2 ประกอบดว้ ย 1. กระบวนการพฒั นางาน 2. การบรหิ ารการจัดสอบ (N-NET) 3. แนวคิดเกย่ี วกับคมู่ ือ 4. แผนภูมิการดาเนินการบริหารจดั การเพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน 5. แนวคดิ เก่ยี วกับนวัตกรรม สว่ นท่ี 3 ประกอบด้วย แนวทางการบริหารจัดการเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติดา้ นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 4. ตรวจสอบความเหมาะสมของคู่มือโดยวิเคราะห์ข้อมูลเก่ียวกับคู่มือการบริหารจัดการ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกร ะบบ โรงเรยี น (N-NET) โดยพิจารณาจากความคิดเห็นของผทู้ รงคณุ วุฒิ หากผูท้ รงคุณวฒุ ิเหน็ ด้วยร้อยละ 80 ขึน้ ไป คู่มือการบริหารจดั การเพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวดั เลย 9

ถือว่าคู่มือท่ีพัฒนาข้ึนน้ีใช้ได้ ซ่ึงผลการวิเคราะห์พบว่าผู้ทรงคุณวุฒิเห็นด้วยร้อยละ 100 และมีข้อเสนอแนะ เพม่ิ เตมิ เพ่ือให้ผู้ศกึ ษานามาปรบั ปรงุ แกไ้ ข 5. นาข้อเสนอแนะที่ไดจ้ ากการตรวจสอบความเหมาะสมของคู่มือของผู้ทรงคุณวุฒิมาปรับปรุงแก้ไข และจัดทารูปเล่มคู่มือการบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ท่ีเน้นผลสัมฤทธ์ิในการดาเนินงาน สอดคล้องกับแนว ทางการพฒั นานวัตกรรมการจัดการเรียนรเู้ พื่อพฒั นาเด็กด้อยโอกาสของ สานักงานศึกษาธิการภาค 10 (2564 : 12) ให้มขี ดี ความสามารถในการแข่งขันในพ้นื ทีภ่ าคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 นน้ั โดยคณะผูว้ ิจัย เรื่อง แนวทางการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาเด็กด้อยโอกาส ได้ทาการสังเคราะห์ในประเด็นท่ีได้ จากระยะท่ี 1) ศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาเด็กด้อยโอกาสให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน ในพื้นท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ระยะท่ี 2) ศึกษากระบวนการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาเด็กด้อย โอกาสให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 และระยะที่ 3) พัฒนา นวัตกรรมคู่มือการจัดการเรียนรู้ เพ่ือพัฒนาเด็กด้อยโอกาสให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันในพ้ืนที่ภาค ตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน 1 โดยมีขัน้ ตอนการดาเนินงาน 3 ระยะ ดังนี้ ระยะท่ี 1 ศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาเด็กด้อยโอกาสให้มีขีดความสามารถในการ แข่งขันในพ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 เป็นการศึกษาเพื่อให้ทราบถึงสภาพและปัญหาในการจัด การศกึ ษาของเดก็ ดอ้ ยโอกาสในพน้ื ท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ดงั นี้ 1. ศึกษาเอกสาร ตาราและงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับสภาพปัญหาเด็กด้อยโอกาสและบริบททางสังคม ของชมุ ชนทมี่ ีผลตอ่ การจัดการเรียนรู้ของเด็กด้อยโอกาส โดยใชก้ ารสังเคราะห์เอกสารและงานวิจัยท่เี กย่ี วข้อง 2. ศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาเด็กด้อยโอกาส โดยใช้แบบสอบถาม Google form ถามนักเรียน และครูผู้สอนที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง จานวน 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านหลักสูตรการสอน 2) เทคนิคการ สอน 3) ด้านกจิ กรรมการเรยี นการสอน 4) ดา้ นสื่อท่ใี ช้ในการสอน และ 5) ด้านการวัดและประเมินผล 3. วิเคราะห์ สงั เคราะหก์ ารจัดการเรยี นร้ใู นการพัฒนาเด็กด้อยโอกาสทั้ง 5 ดา้ น ระยะท่ี 2 ศึกษากระบวนการจัดการเรยี นรู้ในการพัฒนาเด็กด้อยโอกาสให้มีขีดความสามารถในการ แขง่ ขันในพืน้ ท่ภี าคตะวันออกเถียงเหนือตอนบน 1 โดยนาผลการศึกษาในระยะท่ี 1 มาวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูล ประกอบกับคัดเลือกโรงเรียนที่มีวิธี ปฏิบัติทเ่ี ป็นเลศิ เกยี่ วกับกระบวนการจัดการเรยี นรู้ในการพัฒนาเด็กด้อยโอกาสท่ีประสบความสาเรจ็ และได้รับ การยอมรับในระดับจังหวัด จากคณะกรรมการวจิ ยั เพ่อื นามาวิเคราะหก์ ระบวนการจดั การเรียนรู้ ดงั น้ี 1. ถอดบทเรยี นและประเมินสภาพจรงิ ของโรงเรียนมีวธิ ปี ฏิบัติทีเ่ ป็นเลิศเก่ยี วกบั กระบวนการจัดการ เรยี นรใู้ นการพัฒนาเด็กด้อยโอกาสที่ประสบความสาเรจ็ และไดร้ บั การยอมรับในระดบั จังหวัด 2. นาแต่ละเทคนิควิธีในการจัดการเรียนรู้ของโรงเรยี นที่ประสบความสาเร็จ มาสรุปผลกระบวนการ จดั การเรยี นรู้ คมู่ ือการบริหารจัดการเพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวดั เลย 10

ระยะท่ี 3 พัฒนานวัตกรรมคู่มือการจดั การเรียนรู้เพ่ือพัฒนาเด็กด้อยโอกาสให้มีขีดความสามารถใน การแขง่ ขันในพ้ืนทีภ่ าคตะวนั ออกเฉยี งเหนือตอนบน 1 ดังนี้ 1. นาผลการศึกษาในระยะที่ 1 ที่มีค่าเฉล่ียรายด้านต่ากว่าค่าเฉลี่ยรวมมาวิเคราะห์สรุปประเด็น ปัญหา 2. นาข้อมูลการจัดกระบวนการเรียนรู้ท่ีได้จากโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศในระยะท่ี 2 โดย วธิ กี ารถอดบทเรียน และประเมินจากสภาพจริง 3. สร้างนวัตกรรมการจัดการเรียนร้โู ดยการนาข้อมูลจากระยะที่ 1 และระยะที่ 2 มาวิเคราะห์ และ สร้างเป็นนวัตกรรมได้คู่มือการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กด้อยโอกาสให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันใน พื้นท่ภี าคตะวันออกเฉยี งเหนือตอนบน 1 4. ยืนยันความเหมาะสมของนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กด้อยโอกาสให้มีขีด ความสามารถในการแข่งขนั ในพ้ืนที่ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือตอนบน 1 โดยผู้เช่ยี วชาญ 5. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะ และพิมพ์เผยแพร่ให้กับหน่วยงานทางการศึกษาท่ีเกี่ยวข้องใน พ้ืนที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน 1 ต่อไป ซึ่งขั้นตอนกระบวนการดาเนินงานจัดทาคู่มือนวัตกรรมการ จัดการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาเด็กด้อยโอกาสให้มีขีดความสามารถในการแข่งขันในพ้ืนท่ี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตอนบน 1 คู่มอื การบรหิ ารจดั การเพอ่ื ยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวัดเลย 11

แผนภูมิการดาเนนิ การบรหิ ารจดั การเพือ่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น แผนภมู กิ ารดาเนินการบรหิ ารจดั การเพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน จากการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกดั สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดเลย ระยะท่ี 1 ระยะท่ี 2 ระยะที่ 3 ระยะที่ 4 ขนั้ ตอนที่ 1 ขนั้ ตอนที่ 1 ขัน้ ตอนที่ 1 ข้นั ตอนท่ี 1 วิเคราะห์ข้อมูลจาก ปรบั ปรงุ แนวทางการ บนั ทกึ ขอ้ ตกลง (MOU) นาผลการทดสอบทาง สรุปผลการวิเคราะห์ พัฒนายกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ ขน้ั ตอนที่ 2 การศึกษา ประชมุ ชี้แจงบุคลากรและ ระดับชาติ มา ผลการทดสอบทาง ทางการเรียน เปรยี บเทยี บ ผเู้ กี่ยวข้อง เป็นรายภาคเรยี น การศกึ ษาระดบั ชาติ ข้ันตอนท่ี 3 ขน้ั ตอนท่ี 2 ขัน้ ตอนที่ 2 ข้ันตอนท่ี 2 สถานศึกษาในสังกดั นาแนว วเิ คราะห์ วิเคราะหป์ ญั หาและ พฒั นาแนวทางยกระดับ ผลการทดสอบทาง อุปสรรครวมท้งั แนวทาง ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ทางการพัฒนา การศกึ ษาระดบั ชาติ การยกระดับผลสัมฤทธ์ิ จากการทดสอบทาง ไปสูก่ ารปฏบิ ัติ ทางการเรยี นจากการ การศึกษาระดบั ชาติ ขัน้ ตอนท่ี 3 ทดสอบทางการศึกษา ประเมินผลการ โดย ปฏบิ ตั ิงานด้านการ ระดบั ชาติ ผู้ทรงคณุ วุฒิ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี น คมู่ ือการบริหารจัดการเพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ขัน้ ตอนที่ 4 จากการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ (N-NET) สรปุ ผลการวเิ คราะห์ ผลการทดสอบทาง การศกึ ษาระดับชาติ คมู่ ือการบริหารจดั การเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวดั เลย 12

แนวคดิ เก่ียวกับนวัตกรรม (อา้ งอิงจาก สานักงานศึกษาธิการภาค 10 (2564)) 1. ความหมายของนวตั กรรม นักคิดหลายท่าน ได้ใหแ้ นวคดิ เก่ียวกบั นวัตกรรมไวด้ ังน้ี กดิ านันท์ มลิทอง (2540) ไดก้ ล่าวไวว้ า่ นวตั กรรมเป็นแนวความคิดการปฏิบัติ หรอื สิ่งประดิษฐใ์ หม่ ท่ียังไม่เคยมีใช้มาก่อนหรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมท่ีมีอยู่แล้วให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น เม่ือนานวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้การทางานนั้นได้ผลดีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงกว่าเดิม ท้ังยังช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานไดด้ ว้ ย กีรติ ยศย่ิงยง (2552) ได้ให้ความหมายว่า นวัตกรรม เป็นกระบวนการสร้างสรรค์ คิดค้นพัฒนา สามารถนาไปปฏบิ ตั จิ รงิ และมีการเผยแพร่ออกส่ชู มุ ชน ในลักษณะเป็นของใหมท่ ไ่ี มเ่ คยมีมาก่อนหรือของเก่าที่ มีอยู่แต่เดิมแต่ได้รับการปรับปรุง เสริมแต่ง พัฒนาขึ้นใหม่ให้มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ Rogers, Everette M (1983) ได้ให้ความหมายของคาว่า นวัตกรรม (Innovation) ว่า คือ ความคดิ การกระทา หรือวตั ถใุ หม่ๆ ซึง่ ถูก รับรู้ว่าเป็นส่ิงใหม่ๆ ด้วยตัวบุคคลแต่ละคนหรือหน่วยอื่น ๆ ของการยอมรับในสังคม (Innovation is a new idea, practice or object, that is perceived as new by the individual or other unit of adoption) ดงั นนั้ นวัตกรรมอาจหมายถงึ ส่งิ ใหม่ ๆ ดังตอ่ ไปน้ี 1) สงิ่ ใหม่ท่ไี มเ่ คยมีผใู้ ดเคยทามาก่อนเลย 2) สง่ิ ใหมท่ ่เี คยทามาแลว้ ในอดตี แต่ไดม้ ีการรื้อฟ้นื ข้นึ มาใหม่ 3) ส่งิ ใหม่ท่มี กี ารพฒั นามาจากของเก่าท่ีมีอย่เู ดมิ Mckeown (2008) นวัตกรรม หมายถึง การทางานส่ิงต่าง ๆ ด้วยวิธีใหม่ ๆ และการเปลี่ยนแปลง ทางความคิด การผลติ กระบวนการ หรอื องค์กร ไม่วา่ การเปล่ียนนนั้ จะเกิดขึ้นจากการปฏวิ ัติ การเปลย่ี นอย่าง ถอนรากถอนโคน หรือการพัฒนาต่อยอด ทั้งน้ี มักมีการแยกแยะ ความแตกต่างอย่างชัดเจน ระหว่างการ ประดิษฐค์ ิดคน้ ความคิดรเิ ริ่ม และนวัตกรรม อันหมายถงึ ความคิดริเริ่มทน่ี ามาประยุกตใ์ ชอ้ ย่างสัมฤทธ์ิผล จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่า นวัตกรรม หมายถึง ความคิดและการกระทาใหม่ๆ ท่ีไม่เคยมีก่อนหรือการพัฒนาตัด แปลงจากของเดมิ ให้ดีข้ึน เมอื่ นาไปปฏิบัตจิ ริงทาให้งานมีประสิทธภิ าพมากขึ้นและเมื่อนานวัตกรรมไปใช้ในกร ศึกษาเราก็ เรยี กวา่ “นวตั กรรมทางการศึกษา” 2. แนวคิดพ้นื ฐานของนวตั กรรมทางการศึกษา ปัจจัยสาคัญท่ีมีอิทธิพลต่อวิธีการศึกษา ได้แก่ แนวความคิดพ้ืนฐานทางการศึกษาที่เปล่ียน แปลงไป อันมีผลทาใหเ้ กิดนวตั กรรมการศึกษาทีส่ าคัญ ๆ พอจะสรปุ ได้ 4 ประการ คอื 2.1 ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ ความสาคัญในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจน ซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาแห่งชาติ ให้มุ่งจัดการศึกษาตามความถนัดความสนใจ และความสามารถของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ ชัดเจนได้แก่ การจัดระบบห้องเรียนโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้าง ใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บ้าง นวัตกรรมที่ เกิดขน้ึ เพ่อื สนองแนวความคดิ พืน้ ฐานน้ี เช่น คมู่ ือการบริหารจัดการเพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวดั เลย 13

- การเรยี นแบบไม่แบ่งช้นั (Non-Graded School) - แบบเรียนสาเรจ็ รปู (Programmed Text Book) - เคร่อื งสอน (Teaching Machine) - การสอนเป็นคณะ (Team Teaching) - การจดั โรงเรยี นในโรงเรยี น (School with in School) - เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ชว่ ยสอน (Computer Assisted Instruction) 2.2 ความพร้อม (Readiness) เดิมเช่ือว่า เด็กจะเริ่มเรยี นได้กต็ อ้ งมคี วามพร้อมซง่ึ เป็นพัฒนาการ ตามธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันการวิจัยทางด้านจิตวิทยาการเรียนรู้ ช้ีให้เห็นว่าความพร้อมในการเรียนเป็นสิ่งท่ี สร้างขึ้นได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียนให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาที่เคยเชื่อกัน ว่ายาก และไม่เหมาะสมสาหรับเด็กเลก็ ก็สามารถนามาให้ศึกษาได้นวตั กรรมที่ตอบสนองแนวความคิดพ้ืนฐาน น้ีไดแ้ ก่ ศนู ยก์ ารเรียน การจัดโรงเรยี นในโรงเรียน นวตั กรรมทสี่ นองแนวความคิดพืน้ ฐานดา้ นนี้ เช่น - ศูนยก์ ารเรยี น (Learning Center) - การจดั โรงเรียนในโรงเรียน (School with in School) - การปรบั ปรุงการสอนสามชัน้ (Instructional Development in 3 Phases) 2.3 การใช้เวลาเพ่ือการศึกษา เดิมการจัดเวลาเพื่อการสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัย ความสะดวกเป็นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็นชั่วโมง เท่ากันทุกวิชา ทุกวัน นอกจากน้ันก็ยังจัดเวลาเรียน เอาไว้แน่นอนเปน็ ภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจดั เปน็ หน่วยเวลาสอนใหส้ ัมพันธ์กับลกั ษณะ ของแตล่ ะวชิ าซึ่งจะใชเ้ วลาไม่เทา่ กนั บางวิชาอาจใช้ช่วงส้นั ๆ แตส่ อนบ่อยครั้งการเรียนก็ไมจ่ ากัดอยูแ่ ต่เฉพาะ ในโรงเรยี นเทา่ น้นั นวตั กรรมที่สนองแนวความคิดพื้นฐานดา้ นน้ี เช่น - การจัดตารางสอนแบบยดื หยุ่น (Flexible Scheduling) - มหาวทิ ยาลยั เปิด (Open University) - แบบเรยี นสาเร็จรูป (Programmed Text Book) - การเรยี นทางไปรษณีย์ 2.4 ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปลี่ยนแปลงของสังคมทาให้มี สิ่งต่าง ๆ ที่คนจะต้องเรียนรู้เพิ่มข้ึนมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ จึงจาเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพสูงข้ึน ท้ังในด้านปัจจัยเก่ียวกับตัวผู้เรียนและปจั จัยภายนอก โดยนวตั กรรมในด้านน้ีทเ่ี กดิ ขึ้น เช่น - มหาวทิ ยาลยั เปดิ - การเรียนทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์ - การเรียนทางไปรษณยี ์ แบบเรยี นสาเรจ็ รูป - ชุดการเรยี น นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational Innovation) เป็นคาศัพท์เทคโนโลยีการศึกษา ซึง่ นกั การศึกษาได้ใช้คาศัพท์บัญญัติวิชาการ 2 ลกั ษณะ คอื นวัตกรรมการศึกษา และนวัตกรรมทางการศกึ ษา คูม่ อื การบริหารจดั การเพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวัดเลย 14

นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ซ่ึงอาจจะอยู่ในรูปของความคิด หรือ การกระทา รวมทั้งส่ิงประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงส่ิงท่ีมีอยู่เดิมให้ ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น ทาให้ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เกิดแรงจูงใจ ในการเรยี น และชว่ ยใหป้ ระหยดั เวลาในการเรยี น เช่น การสอนโดยใช้คอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน การใชว้ ีดิทัศนเ์ ชิง โต้ตอบ (Interactive Video) สอ่ื หลายมิติ (Hypermedia) และอนิ เทอร์เนต็ เหล่านเี้ ปน็ ตน้ นวัตกรรมการศึกษา หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การศึกษา และการเรียนการสอน มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการ เรียน ในแวดวงของการปฏิรูปการศึกษาจึงมีนักวิชาการคิดค้นรูปแบบของการเรียนการสอนเพ่ือให้นัก เรียน มสี ว่ นรว่ มมากข้นึ เชน่ 1) นวตั กรรมทางด้านหลักสูตร เปน็ การใชว้ ธิ ีการใหม่ ๆ ในการพัฒนาหลักสตู รใหส้ อดคล้อง กับสภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการของบุคคล โดยออกแบบหลักสูตรให้สอดคล้องกับ ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ และของโลก และสามารถบูรณาการจาก องค์ความรู้ในสาขาต่าง ๆ มาประกอบหลักสูตรให้เข้ากับคุณธรรม จริยธรรม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดี มีคณุ ธรรม 2) นวัตกรรมการเรียนการสอน คือ ส่ิงใหม่ ๆ ที่สร้างขึ้นมาเพื่อช่วยแก้ปัญหา เกี่ยวกับการเรียนการสอนหรือพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้แก่ แนวคิด รูปแบบ วิธีการ กระบวนการส่ือต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการศึกษาเป็นการใช้ระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอน แบบใหม่ ๆ 3) นวัตกรรมส่ือการสอน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เครือข่าย และ เทคโนโลยี โทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้ีมาใช้ในการผลติ ส่ือการ เรียนการสอนใหม่ ๆ จานวนมากมาย นวัตกรรมสื่อการสอน ได้แก่ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) มัลติมีเดีย (Multimedia) การประชุมทางไกล (Teleconference) ชุดการสอน (Instructional Module) วีดิทัศน์แบบ มีปฏสิ ัมพนั ธ์ (Interactive Video) ตัวอยา่ งนวัตกรรม เชน่ - คอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน (CAI : Computer-Assisted Instruction) - มลั ติมเี ดีย (Multimedia) - การประชมุ ทางไกล (Tele Conference) - วีดีทัศนแ์ บบมีปฏิสัมพนั ธ์ (Interactive Media Video) - บทเรยี นสาเร็จรูป (Programed Instruction) - เครือ่ งช่วยสอน (Teaching Machine) - วทิ ยุและโทรทัศน์ช่วยสอน (Teaching By Radio and TV) - ชดุ การสอน (Learning Packages) คูม่ ือการบรหิ ารจดั การเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวดั เลย 15

3. ความสาคญั ของนวัตกรรมทางการศึกษา มีผู้กลา่ วถึงความสาคญั ของนวตั กรรมทางการศึกษา ไวด้ งั นี้ พิสณุ ฟองศรี (2551) กลา่ วถงึ ความสาคญั และประโยชนข์ องนวตั กรรม ดงั น้ี การนานวัตกรรมทางการศึกษาไปใช้จัดการเรียนการสอน นอกจากจะช่วยให้ผู้เรียนได้รับการ พัฒนาการเรยี นร้ตู ามทกี่ าหนดแล้ว ยังมีประโยชน์ดงั ต่อไปน้ี 1. นกั เรียนเรียนรู้ได้เร็วข้นึ 2. นักเรียนเขา้ ใจบทเรยี นเป็นรปู ธรรม 3. บรรยากาศการเรียนสนุกสนาน 4. บทเรยี นนา่ สนใจ 5. ลดเวลาในการสอน 6. ประหยัดค่าใช้จ่าย ดวงกมล โพธ์ินาค (2559) นวัตกรรมการศึกษาทาให้เกิดทักษะด้านสารสนเทศส่ือและเทคโนโลยี ทักษะชีวิต และทักษะอาชีพ เพื่อความสาเร็จท้ังด้านการทางานและการดาเนินชีวิตในศตวรรษท่ี 21 การจัด กระบวนการเรียนรู้จึงพยายามเปล่ียนบทบาทผู้สอนจากผู้บรรยายมาเป็นผู้สอนร่วมกัน ออกแบบกิจกรรมใน การจัดกระบวนการเรียนรู้ (Pedagogy) ให้ผู้เรียนใช้เป็นเครื่องมือไปเรียนรู้สร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผู้สอน เป็นผู้อานวยความสะดวก และเสนอแนะเครื่องมือการเข้าถึงองค์ความรู้ ผ่านวิธีการต่าง ๆ โดยเฉพาะผ่าน เทคโนโลยีให้เข้าถึงความรู้ได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวางนาความรู้ท่ีได้มาแ ลกเปล่ียนกับเพื่อนในห้องเรียน เรียกกระบวนการเรยี นร้แู บบนีว้ ่า การเรยี นรู้เชงิ ลกึ (Active Learning) ทยี่ ดึ นักเรียนเป็นศนู ย์กลาง (Student centered) สาหรับการเรียนรู้ยุคใหม่ประสบความสาเร็จด้วยดีการเรียนรู้ยุคใหม่ใช้ความรู้ที่เรียกว่า World knowledge ซง่ึ มีแหลง่ ความรูม้ ากมายกระจายอยู่ท่ัวโลก ผูเ้ รียนต้องเรียนร้ไู ดม้ าก และรวดเรว็ อกี ทงั้ สามารถ แยกแยะค้นหาข่าวสาร ตลอดจนการแสวงหาสิ่งที่ต้องการได้ตรงความต้องการ เพื่อนาความรู้ที่ได้จากการ ค้นคว้า ศึกษาข้อมูลให้เกิดประโยชน์ในการเรียนของผู้เรียน และสามารถนาความรู้มาใช้ในชีวิตประจาวันได้ เมื่อพิจารณากจิ วตั รประจาวันตงั้ แตต่ นื่ ข้นึ มาจนเข้านอนชีวติ ในทุกวันน้แี วดลอ้ มด้วย สอ่ื เช่น หนงั สอื พมิ พว์ ทิ ยุ โทรทัศน์ และคอมพิวเตอร์ สอ่ื เหลา่ นีค้ อื ภาพรวมเรยี กว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Information and communication technology: ICT) ไม่ว่าจะเรื่อง การรับรู้และการใช้ ICT เป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งใน สงั คมแห่งความรทู้ ่เี ปล่ยี นแปลงอย่างรวดเรว็ 4. ประเภทของนวัตกรรมการศึกษา นวัตกรรมที่นามาใช้มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับการประยุกต์ใช้ในด้านต่าง ๆ ซึ่งจะนาเสนอนวัตกรรม การศึกษา 5 ประเภท ดังน้ี 1) นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในท้องถิ่น และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากข้ึน เน่ืองจากหลักสูตรจะต้องมีการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ คูม่ ือการบริหารจดั การเพือ่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวัดเลย 16

และของโลก นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตร บูรณาการ หลักสูตรรายบุคคล หลักสูตร กจิ กรรมและประสบการณ์ และหลักสตู รท้องถนิ่ 2) นวัตกรรมการเรียนการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนา วธิ ีสอนแบบใหม่ ๆ ท่ีสามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรยี นเป็นศูนย์กลาง การเรยี นแบบ มีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ ๆ เข้ามา จดั การ และสนบั สนุนการเรียนการสอน 3) นวัตกรรมสื่อการสอน ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและ เทคโนโลยโี ทรคมนาคม ทาให้นักศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ในการผลิตส่ือการเรียน การสอนใหม่อย่างมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเอง การเรียนเป็นกลุม่ และการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนสอ่ื ที่ใชเ้ พ่ือสนับสนนุ การฝกึ อบรมผ่านเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 4) นวตั กรรมทางดา้ นการประเมินผล เปน็ นวัตกรรมที่ใช้เป็นเครื่องมือเพื่อการวดั ผลและประเมินผล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และทาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัย สถาบันด้วยการ ประยกุ ต์ใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์มาสนับสนนุ การวดั ผลและประเมนิ ผลของสถานศึกษาครู อาจารย์ 5) นวัตกรรมการบริหารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการ บริหารจัดการ เพ่ือการตัดสินใจของผบู้ ริหารการศึกษา ให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของโลก นวัตกรรมการศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะเก่ียวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลใน หน่วยงานสถานศึกษา 5. คณุ ลักษณะของนวตั กรรมทางการศกึ ษา สุคนธ์ สินธพานนท์ (2553 : 8) กล่าวว่า นวัตกรรมทางการศึกษา ควรมีคุณลักษณะซึ่งพอสรุปได้ ดงั ต่อไปนี้ 1. เป็นส่ิงใหม่เกี่ยวกับการศึกษาท้ังหมด เช่น วิธีการสอนใหม่ ๆ ส่ือการสอนใหม่ ๆ ซึ่งไม่เคยมีใคร ทามาก่อน 2. เป็นส่ิงใหม่เพียงบางส่วน เช่น มีการผลิตชุดการสอนรูปแบบใหม่ แต่ยังคงมีรูปแบบเดิมเป็นหลัก อยู่ ตัวอย่างเช่น มีบัตรเนื้อหา บัตรความรู้ บัตรทดสอบ แต่มีการเพิ่มบัตรฝึกทักษะความคิดบัตรงานสาหรับ ผู้เรียน เปน็ ตน้ 3. เป็นส่ิงใหม่ที่ยังอยู่ในกระบวนการทดลองว่ามีประสิทธิภาพในการนาไปใช้มากน้อยเพียงไร เช่น การนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงบรู ณาการเข้าไปในการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทกุ รายวิชา 4. เป็นสงิ่ ใหมไ่ ดร้ ับการยอมรับและนาไปใช้บ้างแลว้ แต่ยังไมแ่ พร่หลาย เช่น แหลง่ การเรยี นรู้ท้องถ่ิน มีวนอุทยานอยู่ในท้องถ่ินนั้น แต่เน่ืองจากมีอุปสรรคเกี่ยวกับการเดินทางจึงยังไม่เป็นที่นิยมของสถานศึกษา ตา่ ง ๆ 5. เป็นสิ่งท่ีเคยปฏิบัติมาแล้วคร้ังหน่ึงแต่ไม่ค่อยได้ผลเน่ืองจากขาดปัจจัยสนับสนุนต่อมาได้นามา ปรบั ปรุงใหม่ ทดลองใช้ และเผยแพร่จดั ว่าเปน็ นวัตกรรมได้ ค่มู ือการบรหิ ารจดั การเพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวดั เลย 17

นคร ละลอกน้า (สัมภาษณ์) กล่าวว่า คุณลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษา คือ นวัตกรรมที่ผา่ น วิธีระบบวิเคราะห์ออกมาแล้ว ทดลองและพัฒนาแล้วนามาใช้ในวงกว้างแต่ยังไม่เป็นปกติวิสัย มีผลยืนยันว่า ใช้ได้จริงแกป้ ญั หาได้จรงิ สามารถยืนยนั ดว้ ยข้อมูลมหาศาล ราตรี เกตบุตตา (2546) ไดก้ ลา่ วว่านวตั กรรมทางการศึกษามลี กั ษณะ ดงั น้ี 1) เป็นสง่ิ ประดิษฐห์ รือวิธีการใหม่ - คิดหรือทาข้ึนใหม่ - เกา่ จากท่ีอืน่ พง่ึ นาเข้า - ดัดแปลงปรบั ปรงุ ของเดิม - เดิมไมเ่ หมาะแต่ปจั จุบันใชไ้ ดด้ ี - สถานการณ์เอ้ืออานวยทาให้เกิดสงิ่ ใหม่ 2) เปน็ สง่ิ ได้รับการตรวจสอบหรอื ทดลองและพฒั นา 3) นามาใช้หรอื ปฏิบัติไดด้ ี 4) มกี ารแพรก่ ระจายออกสูช่ ุมชน โดยทั่วไปนวตั กรรมมลี กั ษณะ ดังนี้ 1) การใชง้ านทแ่ี ปลกใหมแ่ ละมีประโยชน์ 2) มีความเกย่ี วข้องกบั ยคุ สมัยหรือกลุ่มผ้ใู ช้ 3) เปน็ ไอเดยี ที่เยี่ยมยอด ดาเนนิ การไดด้ ี และสอ่ื สารไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง 4) มีความเป็นไปได้และมีความเก่ียวข้องกับโมเดลธุรกิจปจั จบุ นั และถกู มองว่ามีคา่ ตอ่ ลูกค้า 5) การแนะนาสินค้าหรอื บรกิ ารใหมท่ ี่เพมิ่ มูลค่าให้องค์กร 6) สิ่งใหม่ทแี่ กป้ ัญหาใหล้ กู คา้ รปู แบบของนวัตกรรมไมส่ าคญั 7) กระบวนการและวธิ ที ่ธี รุ กิจจะสรา้ งคณุ คา่ ใหล้ ูกค้าไดเ้ ร่ือย ๆ 8) งานทส่ี รา้ งส่งิ ทลี่ กู ค้าในตลาดชอบ และสรา้ งกาไรได้มหาศาล 9) การดาเนนิ การของอะไรใหม่ ๆ 10) การดาเนนิ การของไอเดียสรา้ งสรรค์ทม่ี ีคณุ คา่ 11) อะไรก็ได้ที่ใหม่ มีประโยชน์ และนา่ ตน่ื เตน้ ตัวอย่าง นวัตกรรมการเรียนการสอนและเทคโนโลยีการศึกษา นวัตกรรมการเรียนการสอน และ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา 6 นวัตกรรม ไดแ้ ก่ 1) หนังสอื การ์ตูนประกอบเสียงดนตรี สาหรับสง่ เสริมการอ่านภาษาไทย 2) การเรยี นรโู้ ดยอาศัยแหล่งเรียนรู้เปน็ ฐาน RBL 3) บทเรียนคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เรอ่ื ง การเขียนแผนจดั ประสบการณ์ 4) การเรยี นแบบ มิติมิเดีย วชิ าชวี วิทยา ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย 5) การใชเ้ กมสค์ อมพวิ เตอรใ์ นการสอน 6) บทเรียนบนเครอื คา่ ยอนิ เทอร์เนต็ วชิ าเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศกึ ษา ค่มู อื การบริหารจัดการเพ่อื ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวดั เลย 18

6. องค์ประกอบของนวตั กรรมการศึกษา องคป์ ระกอบท่เี ปน็ มิติสาคญั ของนวตั กรรม มอี ยู่ 3 ประการ คือ 1) ความใหม่ (Newness) หมายถึง เป็นสิ่งใหม่ท่ีถูกพัฒนาข้ึน ซ่ึงอาจเป็นตัวผลิตภัณฑ์บริการ หรือ กระบวนการ โดยจะเปน็ การปรับปรุงจากของเดมิ หรือพัฒนาข้นึ ใหม่เลยกไ็ ด้ 2) ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ (Economic Benefits) หรือการสร้างความสาเร็จในเชิงพาณิชย์ กล่าวคือ นวัตกรรม จะต้องสามารถทาให้เกิดมูลค่าเพิ่มขึ้นได้จากการพัฒนาส่ิงใหม่นั้นๆ ซึ่งผลประโยชน์ท่ีจะ เกิดขน้ึ อาจจะวัดได้เป็นตัวเงนิ โดยตรง หรือไมเ่ ปน็ ตวั เงินโดยตรงกไ็ ด้ 3) การใช้ความรู้และความคิดสร้างสรรค์ (Knowledge and Creativity Idea) ส่ิงที่จะเป็น นวัตกรรมได้นั้นต้องเกิดจากการใช้ความรู้ และความคิดสร้างสรรค์เป็นฐานของการพัฒนาให้เกิดซ้าใหม่ไม่ใช่ เกิดจากการลอกเลียนแบบ การทาซ้า เป็นตน้ 7. กระบวนการพฒั นานวัตกรรม ทิศนา แขมมณี (2548 : 423) ไดใ้ หห้ ลักการพฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษาไว้พอสรปุ ได้ดงั น้ี 1) การระบุปญั หา (Problem) ความคดิ ในการพฒั นานวตั กรรมน้นั ส่วนใหญจ่ ะเรม่ิ จากการมองเห็น ปัญหา และต้องการแก้ไขปัญหานั้นใหป้ ระสบความสาเร็จอยา่ งมคี ุณภาพ 2) การกาหนดจุดมุ่งหมาย (Objective) เม่ือกาหนดปัญหาแล้วก็กาหนดจุดมุ่งหมายเพื่อจัดทาหรือ พฒั นานวตั กรรมใหม้ คี ณุ สมบตั ิ หรอื ลักษณะตรงตามจดุ มุ่งหมายที่กาหนดไว้ 3) การศึกษาข้อจากัดต่าง ๆ (Constraints) ผู้พฒั นานวัตกรรมทางด้านการเรียนการสอนต้องศึกษา ข้อมูลของปญั หาและข้อจากดั ที่จะใช้นวัตกรรมน้นั เพื่อประโยชนใ์ นการนาไปใชไ้ ด้จรงิ 4) การประดิษฐ์คิดค้นนวัตกรรม (Innovation) ผู้จัดทาหรือพัฒนานวัตกรรมจะต้องมีความรู้ ประสบการณ์ ความรเิ รมิ่ สรา้ งสรรค์ ซ่ึงอาจนาของเกา่ มาปรบั ปรุง ดดั แปลง เพื่อใชใ้ นการแกป้ ญั หาและทาให้มี ประสทิ ธิภาพมากข้นึ หรืออาจคดิ คน้ ข้นึ มาใหม่ท้ังหมด นวัตกรรมทางการศึกษามรี ูปแบบแตกต่างกนั ขนึ้ อยูก่ ับ ลักษณะปัญหาหรือวัตถุประสงค์ของนวัตกรรมน้ัน เช่น อาจมีลักษณะเป็นแนวคิด หลักการ แนวทาง ระบบ รูปแบบ วธิ ีการ กระบวนการ เทคนคิ หรอื ส่งิ ประดษิ ฐ์ และเทคโนโลยี เป็นตน้ 5) การทดลองใช้ (Experimentation) เม่ือคิดค้นหรือประดิษฐ์นวัตกรรมทางการศึกษาแล้ว ต้อง ทดลองนวัตกรรม ซ่ึงเป็นส่ิงจาเป็นเพ่ือเป็นการประเมินผลและปรับปรุงแก้ไขผลการทดลองจะทาให้ได้ข้อมูล นามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมต่อไป ถ้าหากมีการทดลองใช้นวัตกรรมหลายคร้ังก็ย่อมมีความ ม่ันใจในประสิทธิภาพของนวัตกรรมน้ัน 6) การเผยแพร่ (Dissemination) เม่ือม่ันใจนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพแล้วก็สามารถนาไป เผยแพร่ให้เปน็ ทร่ี ู้จัก คมู่ ือการบรหิ ารจดั การเพอื่ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวัดเลย 19

สว่ นที่ 3 แนวทางการบริหารจดั การเพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นจากการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ด้านการศกึ ษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของสถานศึกษาในสังกัด สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั เลยไปสูก่ ารปฏิบัติ ด้านการวางแผน (Plan) 1. การกาหนดขอบเขตของปัญหา วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และวิธีการท่ีจะบรรลุถึงวัตถุประสงค์ เพอ่ื ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติดา้ นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การตดิ ตาม วธิ กี ารติดตาม/เครอ่ื งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. แตง่ ตั้งคณะกรรมการ วัตถปุ ระสงค์ วิธีติดตาม 1. แบบสอบถามความ คดิ เหน็ เกย่ี วกบั “การ ดาเนนิ การยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ เป้าหมาย และวิธกี าร 1. สอบถาม ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นการ ทางการเรียนการทดสอบทาง ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ 2. ตรวจสอบเอกสาร ทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติด้านการศกึ ษา การศกึ ษาระดับชาติดา้ น ทางการเรียนการ นอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของ การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น ทดสอบทาง เคร่ืองมือ สถานศึกษา” 1. แบบสอบถามความ 2. แบบตรวจสอบเอกสาร (N-NET) การศกึ ษาระดบั ชาติ คดิ เห็นเกย่ี วกับ ทางการบรหิ ารจัดการ “การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ เพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ 2. แต่งตง้ั คณะกรรมการนิเทศ ดา้ นการศึกษานอก ทางการเรียนการทดสอบ ทางการเรียนจากการ ทางการศึกษาระดับชาติ ทดสอบทางการศึกษา การดาเนินการยกระดบั ระบบโรงเรยี น ดา้ นการศึกษานอกระบบ ระดับชาติด้านการศึกษา โรงเรยี น (N-NET) ของ นอกระบบโรงเรียน ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนการ (N-NET) สถานศึกษา” (N-NET) ของ 2. แบบตรวจสอบเอกสาร สถานศึกษา ในสังกัด ทดสอบทางการศึกษา ทางการบริหารจดั การเพ่ือ สานกั งานส่งเสริม ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการ การศึกษานอกระบบและ ระดับชาติด้านการศึกษานอก เรยี นจากการทดสอบทาง การศึกษาตามอธั ยาศัย การศึกษาระดับชาติดา้ น จังหวัดเลย ระบบโรงเรยี น (N-NET) การศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) ของ 3. ครผู ู้สอน ผบู้ ริหาร สถานศึกษาในสังกดั สานกั งานสง่ เสริมการศกึ ษา สถานศึกษา และผู้บริหาร การศกึ ษาร่วมกันทาความเข้าใจ เก่ยี วกับปญั หาการยกระดับ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นการ ทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ ดา้ นการศกึ ษานอก ระบบโรงเรยี น (N-NET) ของ สถานศึกษาในสังกัดสานกั งาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบ คมู่ อื การบรหิ ารจดั การเพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวดั เลย 20

แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การตดิ ตาม วิธกี ารติดตาม/เครือ่ งมือ เอกสาร/ร่องรอย และการศกึ ษาตามอัธยาศัย นอกระบบและการศกึ ษา 3. คาส่ังแต่งตัง้ จังหวดั เลย ตามอธั ยาศัยจังหวัดเลย คณะกรรมการ 4. กาหนดวตั ถุประสงค์ 3. รายละเอียดวัตถปุ ระสงค์ ดาเนนิ การยกระดับ เป้าหมาย และวิธีการยกระดับ เป้าหมาย และวิธกี าร ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นการ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการ การทดสอบทาง ทดสอบทางการศึกษา เรยี นการทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาติ ระดบั ชาติด้านการศกึ ษานอก การศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ ระบบโรงเรียน (N-NET) ในแต่ ด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) ละภาคเรียน โรงเรียน (N-NET) 4. คาสั่งแต่งตง้ั 4. คาส่ังแตง่ ต้ัง คณะกรรมการนิเทศ คณะกรรมการดาเนินการ การดาเนินการยกระดับ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน เรียนการทดสอบทาง การทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติ การศึกษาระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ ด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) โรงเรยี น (N-NET) 5. คาสงั่ แตง่ ตัง้ 5. ปฏิทนิ การดาเนนิ งาน คณะกรรมการนเิ ทศการ หลกั สูตรการศึกษานอก ดาเนินการยกระดบั ระบบ ระดับการศึกษา ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น ข้นั พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช การทดสอบทางการศึกษา 2551 ประจาปี ระดบั ชาติดา้ นการศกึ ษา การศกึ ษา 2564 นอกระบบโรงเรยี น 6. รายละเอยี ด (N-NET) วัตถุประสงค์ เป้าหมาย 6. ปฏทิ ินการดาเนนิ งาน และวธิ กี ารยกระดบั หลักสตู รการศกึ ษานอก ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ระบบระดบั การศึกษา การทดสอบทาง ขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช การศึกษาระดบั ชาติ 2551 ประจาปีการศึกษา ดา้ นการศึกษานอกระบบ 2564 โรงเรยี น (N-NET) คู่มอื การบรหิ ารจดั การเพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวดั เลย 21

2. การสร้างความตระหนักความเข้าใจในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้แก่ครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษาในทกุ ระดับ แนวทางการดาเนินงาน ประเด็นการตดิ ตาม วิธกี ารติดตาม/เครอ่ื งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. ผูบ้ ริหาร ครูผสู้ อน และ ความเข้าใจในการ วธิ ตี ดิ ตาม 1. แบบสอบถามความ ผู้เกย่ี วข้องทกุ ระดับวางแผนสรา้ ง ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ 1. สอบถาม คดิ เหน็ เกย่ี วกบั “การ ความตระหนักใหแ้ กผ่ ู้เรยี น ทางการเรียนของครู 2. ตรวจสอบเอกสาร ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ทุกกลมุ่ ทุกระดบั การศกึ ษา และบคุ ลากรทางการ ทางการเรียนการ ภาคเรียนละไม่น้อยกวา่ 2 ครั้ง ศกึ ษา เคร่ืองมอื ทดสอบทางการศึกษา (สปั ดาห์แรกและสปั ดาหส์ ดุ ท้าย 1. แบบสอบถามความ ระดับชาติ ดา้ น กอ่ นเขา้ รบั การทดสอบทาง คิดเหน็ เก่ยี วกับ การศึกษานอกระบบ การศึกษาระดบั ชาต)ิ “การยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ โรงเรียน (N-NET) ของ 2. ประชุมชแี้ จง สรา้ งการรับรู้ ทางการเรยี นการทดสอบ สถานศึกษา” สร้างความเขา้ ใจและสร้างความ ทางการศกึ ษาระดับชาติ 2. แบบตรวจสอบ ตระหนักกบั คณะครูและบุคลากร ด้านการศึกษานอกระบบ เอกสารทางการบริหาร ทางการศกึ ษา และผเู้ ก่ยี วข้อง โรงเรียน (N-NET) จดั การเพ่ือยกระดบั ทกุ ระดับ เก่ียวกับวตั ถปุ ระสงค์ ของสถานศึกษา” ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น เปา้ หมาย และวิธีการยกระดับ 2. แบบตรวจสอบเอกสาร จากการทดสอบ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ทางการบริหารจดั การเพื่อ ทางการศกึ ษาระดบั ชาติ 3. จดั พัฒนาบคุ ลากร ด้านการ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ดา้ นการศึกษานอกระบบ จดั ทาสื่อและนวัตกรรมในการ ทางการเรียนจากการ โรงเรยี น (N-NET) ของ จัดการเรยี นการสอนผ่าน ทดสอบทางการศกึ ษา สถานศึกษา ในสังกดั Application ตา่ ง ๆ ระดบั ชาติ ดา้ นการศกึ ษา สานกั งานสง่ เสริม นอกระบบโรงเรียน การศกึ ษานอกระบบและ (N-NET) ของ สถานศกึ ษา การศึกษาตามอธั ยาศัย ในสงั กัดสานกั งานสง่ เสริม จงั หวดั เลย การศึกษานอกระบบและ 3. ปฏทิ นิ การดาเนินงาน การศกึ ษาตามอธั ยาศัย หลักสูตรการศึกษานอก จังหวัดเลย ระบบระดับการศึกษาขน้ั 3. ปฏิทินการดาเนนิ งาน พื้นฐาน พุทธศักราช หลกั สตู รการศึกษานอก 2551 ประจาปี ระบบระดับการศึกษาข้ัน การศึกษา 2564 พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 4. โครงการพัฒนา ประจาปีการศึกษา 2564 บุคลากร ดา้ นการจัดทา ค่มู อื การบริหารจดั การเพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวดั เลย 22

แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การติดตาม วธิ ีการติดตาม/เครอื่ งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย สอ่ื และนวตั กรรมในการ จดั การเรยี นการสอนผ่าน Application ตา่ ง ๆ 3. การส่งเสริมให้สถานศึกษาวิเคราะห์ผลภาพรวม เปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติด้านการศกึ ษานอกระบบโณงเรียน (N-NET) กบั ภาคเรียนทผ่ี า่ นมา แนวทางการดาเนนิ งาน ประเด็นการตดิ ตาม วิธีการตดิ ตาม/เครือ่ งมือ เอกสาร/ร่องรอย ใหส้ ถานศึกษาดาเนนิ การ 1. ผลสมั ฤทธิ์ทางการ วิธตี ิดตาม 1. แบบตรวจสอบเอกสาร วเิ คราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรยี นตามมาตรฐาน ตรวจสอบเอกสาร ทางการบริหารจัดการ จากการทดสอบทางการศกึ ษา เป็นรายภาคเรยี น เพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอก 2. แผนจดั กิจกรรม เครือ่ งมอื ทางการเรียนจากการ ระบบโรงเรียน (N-NET) ในทุก พัฒนาคุณภาพ 1. แบบตรวจสอบเอกสาร ทดสอบทางการศึกษา ภาคเรยี นทง้ั 5 กลมุ่ สาระ ได้แก่ ผู้เรียน ด้านการ ทางการบรหิ ารจัดการเพอ่ื ระดับชาติ ด้านการศึกษา สาระทกั ษะการเรียนรู้ สาระ พัฒนาวิชาการ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ นอกระบบโรงเรียน ความรู้พืน้ ฐาน สาระทักษะการ ทางการเรยี นจากการ (N-NET) ของสถานศึกษา ประกอบอาชีพ สาระทักษะการ ทดสอบทางการศึกษา ในสังกดั สานักงาน ดาเนินชวี ติ และสาระการพัฒนา ระดับชาติ ด้านการศกึ ษา สง่ เสรมิ การศึกษานอก สังคม ดงั น้ี นอกระบบโรงเรยี น ระบบและการศึกษาตาม 1. วเิ คราะห์ผลสมั ฤทธิท์ างการ (N-NET) ของ สถานศกึ ษา อธั ยาศยั จังหวัดเลย เรยี นตามมาตรฐาน เปน็ รายภาค ในสงั กัดสานกั งานส่งเสรมิ 2. ตารางการ เรียน เพอ่ื พจิ ารณาในรายวชิ าทมี่ ี การศึกษานอกระบบและ เปรียบเทียบผลการ ผลสัมฤทธิต์ ่ากว่าคา่ เป้าหมายที่ การศึกษาตามอธั ยาศยั ทดสอบทางการศึกษา สถานศกึ ษากาหนดไว้ หรอื ท่ีต่า จงั หวดั เลย ระดบั ชาติ (N-NET) กว่าค่าเฉลยี่ (N-NET) ระดบั 2. ตารางการเปรียบเทียบ 3. แผนจดั กิจกรรม สถานศึกษา ระดับจงั หวดั และ ผลการทดสอบทาง พฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น หรอื ระดับประเทศ การศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการพัฒนาวชิ าการ 2. นาผลทวี่ เิ คราะห์ไปวางแผนจดั (N-NET) กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน 3.แผนจัดกจิ กรรมพฒั นา ด้านการพัฒนาวชิ าการ ได้แก่ การ คณุ ภาพผูเ้ รยี น ด้านการ พฒั นาวิชาการ คู่มอื การบริหารจดั การเพื่อยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวัดเลย 23

แนวทางการดาเนนิ งาน ประเดน็ การติดตาม วธิ ีการติดตาม/เครือ่ งมือ เอกสาร/ร่องรอย สอนเสริม หรือติวเขม้ เติมเต็ม ความรู้ในสาระ/รายวิชาท่ีมี ผลสมั ฤทธิต์ า่ กว่าค่าเป้าหมายที่ สถานศึกษากาหนดไว้ หรือท่ตี ่า กว่าค่าเฉลีย่ (N-NET) ระดับ สถานศึกษา ระดับจงั หวัด และ หรอื ระดับประเทศ เป็นต้น 4. การกาหนดแนวทางให้ครูวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคลและจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้โดย เนน้ ผู้เรียนเป็นสาคัญ แนวทางการดาเนินงาน ประเด็นการติดตาม วิธกี ารตดิ ตาม/เครอื่ งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. สถานศกึ ษามอบหมายให้ครู 1. ผลการวเิ คราะห์ วธิ ีตดิ ตาม 1. แบบสอบถามความ กศน. ทุกตาบล / ทุกกลมุ่ นา ผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล 1. สอบถาม คิดเหน็ เก่ียวกับ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นจาก 2. ระบบช่วยเหลือ 2. ตรวจสอบเอกสาร “การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ การทดสอบปลายภาคเรียนมา ผู้เรยี น ทางการเรียนการ 3. แผนการจัด เครอ่ื งมือ ทดสอบทางการศกึ ษา วเิ คราะหผ์ เู้ รียนเป็นรายบคุ คล กิจกรรมเรียนรเู้ ปน็ 1. แบบสอบถามความ ระดับชาติ ดา้ น 2. ใหค้ วามช่วยเหลือผูเ้ รยี นท่ีมี รายบคุ คล คดิ เห็นเกย่ี วกบั การศึกษานอกระบบ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นตา่ 4. แผนการสอนเสรมิ “การยกระดับผลสมั ฤทธิ์ โรงเรียน (N-NET) 3. จัดทาแผนการจดั กจิ กรรม ทางการเรียนการทดสอบ ของสถานศกึ ษา” เรยี นรู้เปน็ รายบุคคลและจัดทา ทางการศึกษาระดบั ชาติ 2. แบบตรวจสอบ แผนการสอนเสริมเป็นกรณีพเิ ศษ ดา้ นการศึกษานอกระบบ เอกสารทางการบริหาร 4. สานกั งานส่งเสริมการศึกษา โรงเรยี น (N-NET) ของ จดั การเพ่ือยกระดับ สถานศึกษา” ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น นอกระบบและการศึกษาตาม 2. แบบตรวจสอบเอกสาร จากการทดสอบทาง ทางการบริหารจดั การเพื่อ การศกึ ษาระดบั ชาติ อัธยาศัยจงั หวัดเลย กาหนด ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทาง ดา้ นการศึกษานอก การเรียนจากการทดสอบ ระบบโรงเรียน (N-NET) นโยบายใหส้ ถานศึกษา วิเคราะห์ ทางการศึกษาระดับชาติ ของ สถานศึกษา ใน ด้านการศึกษานอกระบบ สังกดั สานักงานส่งเสริม ขอ้ มูลผเู้ รียนเป็นรายบุคคล โรงเรยี น (N-NET) ของ การศึกษานอกระบบ สถานศึกษา ในสงั กัด คูม่ ือการบรหิ ารจัดการเพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวัดเลย 24

แนวทางการดาเนินงาน ประเด็นการติดตาม วธิ ีการติดตาม/เครื่องมือ เอกสาร/ร่องรอย สานักงานสง่ เสริม และการศึกษาตาม การศึกษานอกระบบและ อัธยาศยั จงั หวัดเลย การศกึ ษาตามอัธยาศยั 3. ผลการวเิ คราะห์ จงั หวัดเลย ผู้เรียนเป็นรายบคุ คล 3. ระบบชว่ ยเหลือผู้เรยี น 4. แผนการจัดการเรยี นรู้ 4. แผนการจัดกิจกรรม 5. แผนการสอนเสรมิ / เรยี นรเู้ ปน็ รายบุคคล การติวเขม้ เติมเตม็ 5. แผนการสอนเสริม ความรู้ 6. โครงการสอนเสรมิ 7. โครงการพฒั นา คุณภาพผเู้ รียน “ติวเข้ม เตมิ เต็มความรู้” 8. ระบบช่วยเหลอื ผูเ้ รียน 5. การส่งเสริม และสนับสนุนให้ครูสร้างสื่อ นวัตกรรมประกอบการสอน การวัดผลประเมินผล ท่ีสอดคล้องกับทักษะการเรียนรู้ที่สาคัญของผู้เรียน ในศตวรรษท่ี 21 และสอดคล้องกับมาตรฐานและ ตวั ชวี้ ัดของหลักสูตร แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การติดตาม วธิ กี ารติดตาม/เครือ่ งมือ เอกสาร/ร่องรอย สถานศึกษากาหนดใหค้ รู กศน. 1. สื่อประกอบการ วิธีติดตาม 1. แบบสอบถามความ ในทกุ ระดบั สร้างสือ่ หรือ เรยี นการสอน 1. สอบถาม คดิ เห็นเกีย่ วกับ นวัตกรรมประกอบ การจดั การ 2. เอกสารพัฒนา 2. ตรวจสอบเอกสาร “การยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ เรยี นการสอน ท่สี อดคล้องกับ ทักษะวิชาการผ้เู รียน 3. ผลงาน/ชิน้ งาน ทางการเรยี น มาตรฐาน ตวั ชีว้ ดั ของแตล่ ะ รายบุคคล การทดสอบทาง รายวิชา และสอดคลอ้ งกบั ผงั 3. Application เครอื่ งมือ การศกึ ษาระดบั ชาติ การออกขอ้ สอบ วัดผลสัมฤทธ์ิ ส่งเสรมิ การเรียนรู้ 1. แบบสอบถามความ ด้านการศึกษานอก ปลายภาคเรียนของสานักงาน คิดเหน็ เกย่ี วกับ ระบบโรงเรียน (N-NET) สง่ เสริมการศึกษานอกระบบและ “การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ ของสถานศึกษา” การศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ทางการเรียนการทดสอบ 2. แบบตรวจสอบ เลย และจัดใหม้ ีการประกวด ทางการศกึ ษาระดบั ชาติ เอกสารทางการบริหาร นวตั กรรม สือ่ การเรยี นการสอน ดา้ นการศึกษานอกระบบ จดั การเพื่อยกระดับ ในทกุ ภาคเรียน ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น ค่มู อื การบรหิ ารจดั การเพอื่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวดั เลย 25

แนวทางการดาเนนิ งาน ประเดน็ การตดิ ตาม วิธีการติดตาม/เครอื่ งมือ เอกสาร/ร่องรอย โรงเรยี น (N-NET) ของ จากการทดสอบทาง สถานศกึ ษา” การศกึ ษาระดับชาติ 2. แบบตรวจสอบเอกสาร ด้านการศึกษานอก ทางการบรหิ ารจดั การเพ่ือ ระบบโรงเรยี น (N-NET) ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ ของสถานศึกษา ใน ทางการเรียนจากการ สังกดั สานักงานสง่ เสริม ทดสอบทางการศึกษา การศึกษานอกระบบ ระดบั ชาติ ด้านการศึกษา และการศึกษาตาม นอกระบบโรงเรยี น อธั ยาศยั จงั หวัดเลย (N-NET) ของสถานศึกษา 3. สื่อประกอบการเรียน ในสงั กดั สานกั งานสง่ เสริม การสอน การศกึ ษานอกระบบและ 4. เอกสารพัฒนาทกั ษะ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย วชิ าการผ้เู รยี นรายบคุ คล จงั หวัดเลย 5. Application 3. สอ่ื /นวัตกรรม ส่งเสริมการเรียนรู้ 4. Application ส่งเสรมิ 6. ผังการออกข้อสอบ การเรียนรู้ วดั ผลสมั ฤทธ์ิปลายภาค 5. Test Blueprint เรยี น (Test Blueprint) 6. การกาหนดแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อยกระดับ ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น แนวทางการดาเนินงาน ประเด็นการตดิ ตาม วธิ กี ารติดตาม/เคร่ืองมือ เอกสาร/รอ่ งรอย วธิ ีติดตาม 1. สถานศึกษาเน้นการจัด 1. แผนการจดั 1. สอบถาม 1. แบบสอบถามความ กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี น กิจกรรมพัฒนา 2. ตรวจสอบเอกสาร คดิ เห็นเก่ียวกบั ด้านการพัฒนาวิชาการ ใน วิชาการในสาระการ “การยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ รายวชิ าท่ีมีผลสัมฤทธต์ิ า่ กว่าคา่ เรียนร้ทู เี่ กี่ยวข้อง เครอื่ งมือ ทางการเรยี น เป้าหมายทส่ี ถานศกึ ษากาหนดไว้ 2. ผลการดาเนนิ งาน 1. แบบสอบถามความ การทดสอบทาง หรือทต่ี ่ากวา่ คา่ เฉล่ีย N-NET การจดั กิจกรรม คดิ เหน็ เกี่ยวกับ การศกึ ษาระดบั ชาติ ระดบั สถานศึกษา ระดบั จงั หวัด พฒั นาคุณภาพ “การยกระดับผลสัมฤทธิ์ ดา้ นการศึกษานอกระบบ และหรือระดับประเทศ ผูเ้ รยี น ดา้ นการ ทางการเรยี นการทดสอบ โรงเรียน (N-NET) ของ พัฒนาวิชาการ สถานศกึ ษา” คู่มอื การบรหิ ารจัดการเพ่อื ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวัดเลย 26

แนวทางการดาเนินงาน ประเด็นการติดตาม วธิ ีการติดตาม/เคร่อื งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 2. ครู กศน.ทุกตาบล /ทุกกลุ่ม ทางการศึกษาระดบั ชาติ 2. แบบตรวจสอบ วางแผนการจัดกจิ กรรมพัฒนา ด้านการศึกษานอกระบบ เอกสารทางการบริหาร วิชาการในสาระการเรียนรู้ให้ โรงเรยี น (N-NET) จัดการเพื่อยกระดบั ผเู้ รยี นทม่ี ผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรียน ของสถานศึกษา” ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน ท่ีไมผ่ า่ นการประเมินตาม 2. แบบตรวจสอบเอกสาร จากการทดสอบทาง เปา้ หมายมาตรฐาน หรือผ่านการ ทางการบริหารจดั การเพื่อ การศกึ ษาระดบั ชาติ ประเมนิ ตามเปา้ หมายมาตรฐาน ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ดา้ นการศึกษานอกระบบ ข้นั ตา่ ทางการเรยี น จากการ โรงเรียน (N-NET) ของ 3. จัดทาแผนการจัดกิจกรรม ทดสอบทาง สถานศึกษา ในสังกดั พฒั นาผูเ้ รียนโดยเน้นการจัด การศกึ ษาระดับชาติ สานกั งานส่งเสริม กจิ กรรมการเรยี นรู้เพ่ือยกระดับ ดา้ นการศึกษานอกระบบ การศกึ ษานอกระบบและ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ท่ีมี โรงเรยี น (N-NET) ของ การศกึ ษาตามอัธยาศยั การบูรณาการและการ สถานศึกษา จังหวัดเลย แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ในรายวิชาทีม่ ี ในสงั กดั สานกั งานสง่ เสรมิ 3. แผนพัฒนาคุณภาพ ผลสมั ฤทธิ์ต่ากว่าคา่ เป้าหมายที่ การศกึ ษานอกระบบและ การศึกษา สถานศกึ ษากาหนดไว้ หรอื ที่ต่า การศกึ ษาตามอัธยาศยั 4. แผนปฏบิ ัติการ กศน. กวา่ คา่ เฉลยี่ N-NET ระดบั จังหวัดเลย ตาบล /กศน.อาเภอ สถานศกึ ษา ระดับจงั หวัด และ 3. แผนการจดั กิจกรรม 5. แผนการจัดกิจกรรม หรือระดับประเทศ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 4. ผลการดาเนินงานการ 6. แผนการจดั การเรียนรู้ จดั กจิ กรรมพฒั นา 7. ผลการทดสอบ คุณภาพผูเ้ รียน ทดสอบทางการศกึ ษา ดา้ นการพฒั นาวิชาการ ระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) 8. ผลการดาเนนิ งานการ จดั กจิ กรรมพฒั นา คุณภาพผู้เรยี นดา้ นการ พัฒนาวิชาการ คมู่ อื การบรหิ ารจดั การเพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวดั เลย 27

ด้านการปฏบิ ตั ิตามแผน (Do) 1. การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวการจัดกิจกรรมการ เรยี นรู้ เพอ่ื สง่ เสรมิ ใหผ้ ้เู รยี นเกิดทกั ษะสาคัญ ในศตวรรษท่ี 21 แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การติดตาม วิธกี ารตดิ ตาม/เครอื่ งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. สารวจวชิ าเอก ความรู้ 1. การพัฒนาครู ความสามารถ และความ และบคุ ลากรทางการ วธิ กี ารติดตาม 1. ขอ้ ตกลงความรว่ มมือ ต้องการในการจดั การ ศกึ ษา เรยี นรูท้ ี่เหมาะสมสาหรบั 1. สารวจคณุ สมบัตดิ า้ น (MOU) ผู้เรยี น 2. ดาเนินการอบรม การศึกษา ความสามารถ และ 2. โครงการพฒั นา ครูผสู้ อน ให้มคี วามรู้ความ เข้าใจเก่ียวกับเทคนิคการ ความตอ้ งการในการจดั การ บุคลากร จดั กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ เน้นผูเ้ รียนเป็นสาคัญและ เรยี นรู้ 3. แบบสารวจคุณสมบตั ิ เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นเกิดทักษะ การเรียนร้ใู นศตวรรษ 2. ประเมินความพงึ พอใจ ดา้ นการศึกษา ท่ี 21 ทม่ี ีความหลากหลาย ของผู้เข้ารว่ มอบรมครูผ้สู อน 4. แบบประเมินความพงึ สอดคลอ้ งกับผูเ้ รียน 3. สารวจและจัดกลุ่ม 3. สารวจครผู สู้ อนตาม พอใจ ครูผสู้ อน ตามผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น การทดสอบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 5. สรุปผลการดาเนนิ ทางการศกึ ษาระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ การทดสอบทางการศึกษา โครงการ โรงเรยี น (N-NET) 4. คดั เลือกครูผูส้ อนท่ี ระดับชาติด้านการศึกษานอก 6. หนงั สือเชญิ วิทยากร ผเู้ รยี นมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี น ผ่านการ ระบบโรงเรียน (N-NET) 7. เกียรตบิ ตั ร ประเมนิ ตามคา่ เป้าหมาย มาตรฐานขนั้ สูง จากการ 4. จดั ทาข้อตกลงความ 8. ภาพกจิ กรรม ทดสอบทางการศึกษา รว่ มมอื (MOU) กบั เครือข่ายใน การพฒั นาครูผสู้ อน เครื่องมอื 1. แบบสารวจคุณสมบตั ดิ า้ น การศกึ ษาความสามารถและ ความตอ้ งการในการจดั การ เรยี นรู้ 2. แบบประเมินความพงึ พอใจผู้เข้ารว่ มอบรมครผู ้สู อน 3. แบบสารวจครูผสู้ อนท่ีมี ผูเ้ รียนตามคา่ เปา้ หมาย ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น การทดสอบทางการศึกษา ค่มู อื การบริหารจัดการเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวัดเลย 28

แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การตดิ ตาม วิธกี ารติดตาม/เคร่ืองมือ เอกสาร/ร่องรอย ระดบั ชาติด้านการศึกษา ระดับชาตดิ า้ นการศกึ ษานอก นอกระบบโรงเรยี น ระบบโรงเรยี น (N-NET) (N-NET) เปน็ ครพู ่ีเล้ยี ง ทาหน้าที่ให้คาปรึกษา แนะนา เพ่ือนครผู ู้สอน ท่ี มี ผ ล สั ม ฤ ท ธิ์ ท า ง ก า ร เรียนไม่ผ่านการประเมิน ตามคา่ เปา้ หมายมาตรฐาน หรือผ่านการประเมินตาม เป้าหมายมาตรฐานข้ันต่า ภาคเรยี นละ 1 คร้งั 5. สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย จงั หวดั เลย สนับสนุน ส่งเสรมิ การสร้างภาคี เครอื ข่ายในการพฒั นา ครผู ้สู อนเพอื่ พัฒนา ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ในระดับจงั หวดั เลย คมู่ ือการบริหารจดั การเพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวัดเลย 29

2. ครสู ามารถใช้กระบวนการจดั การเรียนการสอนเทคนคิ วิธกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอน ทหี่ ลากหลาย แนวทางการดาเนนิ งาน ประเด็นการตดิ ตาม วิธกี ารติดตาม/เครื่องมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. สานักงานส่งเสริม กระบวนการจดั การ การศกึ ษานอกระบบและ เรียนการสอน เทคนคิ วิธกี ารติดตาม 1. โครงการพัฒนา การศกึ ษาตามอัธยาศยั วธิ กี ารจัดกจิ กรรม 1. สอบถามครูผสู้ อนใน บุคลากร จังหวัดเลย/สถานศึกษา การเรียนการสอนที่ 2. แบบสอบถาม ส่งเสริม และสนบั สนนุ ให้ หลากหลายของ การจัดกจิ กรรมการเรยี น 3. แบบสารวจ ครูผู้สอน จดั กจิ กรรมการ ครผู ูส้ อน เรยี นการสอนท่ีมคี วาม การสอน หลากหลาย โดยเน้น ผเู้ รยี นเป็นสาคัญ 2. รายงานผลการจดั 4. แบบรายงานผลการ และเน้นให้ผูเ้ รียนเกิด กจิ กรรมการเรยี นการ จดั กิจกรรมการเรียน ทักษะการเรยี นรู้ใน สอนของครผู ูส้ อน การสอนของครผู สู้ อน ศตวรรษที่ 21 2. สรรหาครผู ้สู อน 3. คัดเลือกครูผู้สอน 5. แบบประเมนิ ความ ต้นแบบการจัดกิจกรรม ต้นแบบ พึงพอใจของผู้เรียน การเรียนรูท้ ี่มีความ หลากหลาย ส่งผลให้ ในการจัดกิจกรรม ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี น ผ่านการประเมิน เคร่ืองมือ สอนเสริม กิจกรรมติว ตามคา่ เปา้ หมายมาตรฐาน 1. แบบสอบถามครูผ้สู อนใน เขม้ และโครงการพฒั นา ขัน้ สูง สถานศกึ ษาละ การจัดกิจกรรมการเรียนการ คณุ ภาพผู้เรยี น 1 คน/ปี และคัดเลอื กเปน็ 6. สรปุ ผลการดาเนิน ครูผสู้ อน ต้นแบบในระดบั สอน โครงการ จังหวัดปีละ 1 คน พฒั นา 7. ภาพกจิ กรรม ครูต้นแบบ ในการจดั 2. แบบรายงานผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ที่ กจิ กรรมการเรียนการสอน ตอบสนองความต้องการ ของผ้เู รียนทห่ี ลากหลาย ของครูผูส้ อน 3. สร้างแรงจูงใจ รวมท้ัง สรา้ งขวญั และกาลงั ใจ 3. แบบสารวจครผู ู้สอนที่มี ใหแ้ ก่ สถานศึกษาและ ผเู้ รียนตามค่าเปา้ หมาย ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นการ ทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ ด้านการศึกษานอก ระบบโรงเรียน (N-NET) 4. แบบประเมนิ ความ พงึ พอใจของผู้เรียนใน การจัดกิจกรรมสอนเสรมิ กิจกรรมติวเข้ม และโครงการ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน คู่มอื การบริหารจดั การเพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวดั เลย 30

แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การตดิ ตาม วธิ ีการตดิ ตาม/เครอื่ งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย ครผู สู้ อน ท่มี ผี ู้เรยี นที่มี ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน จากการทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) สงู กว่า ระดบั ชาติ โดยให้รางวัล โล่ เกยี รติบัตร 4. สรา้ งเครือขา่ ยเพื่อ แลกเปลีย่ นข้อมลู วิธีการ เทคนคิ รวมไปถึงส่ือและ นวตั กรรม การจัดกจิ กรรม การเรยี นรู้ และสนับสนนุ ทรัพยากรบุคคลสาหรบั จดั การเรยี นร้ใู นการจัด กจิ กรรมสอนเสริม กิจกรรมติวเข้ม และ โครงการพัฒนาคณุ ภาพ ผูเ้ รียน 3. ครนู าส่อื นวัตกรรม เทคโนโลยที ่ีทันสมยั มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีตอบสนอง ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลทหี่ ลากหลาย แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การติดตาม วิธีการตดิ ตาม /เครอื่ งมือ เอกสาร/ร่องรอย 1. สานกั งานสง่ เสรมิ การนาส่ือนวัตกรรม วธิ กี ารติดตาม 1. โครงการพัฒนา การศึกษานอกระบบและ เทคโนโลยี การจดั 1. รายงานผลการนาสือ่ บุคลากรด้านการจัดทา การศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมการเรยี น นวตั กรรม เทคโนโลยี ส่ือ และนวตั กรรมในการ กาหนดนโยบายในการพฒั นา การสอนที่ มาใช้ในการจัดกิจกรรม จัดการเรยี นการสอนผา่ น ครผู ูส้ อนในทุกระดับในดา้ น หลากหลาย การเรยี นการสอนท่ี Applications ต่าง ๆ การใช้เทคโนโลยกี ารจัด หลากหลาย 2. รายงานผลการนาสื่อ กิจกรรมการเรยี นการสอน 2. ประกวดสือ่ นวตั กรรม นวัตกรรม เทคโนโลยี 2. สถานศกึ ษาสร้างแรงจูงใจ และเทคโนโลยีในการ มาใช้ในการจดั กิจกรรม ใหค้ รูผู้สอน ทุกระดับนาสื่อ จัดการเรียนการสอน คมู่ ือการบรหิ ารจดั การเพ่ือยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวดั เลย 31

แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การติดตาม วิธกี ารติดตาม /เคร่อื งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย นวัตกรรมเทคโนโลยีท่ีทันสมัย เครอ่ื งมือ การเรียนการสอนท่ี มาใช้ในการจดั กิจกรรมการ 1. แบบรายงานผลการ หลากหลาย เรยี นการสอนที่ตอบสนอง นาสอ่ื นวัตกรรม 3. สรุปผลการดาเนิน . ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล เทคโนโลยมี าใช้ในการ โครงการ ของผูเ้ รยี น จดั กิจกรรมการเรยี น 4. แบบประเมินการ 3. สร้างสือ่ และนวัตกรรม การสอนที่หลากหลาย ประกวดสือ่ นวัตกรรม ที่ใชใ้ นกจิ กรรมการเรียนการ 2. แบบประเมินการ และเทคโนโลยี สอน และประกวดคัดเลือกส่ือ ประกวดสื่อ นวตั กรรม 5. ภาพกจิ กรรม นวัตกรรม และเทคโนโลยี และเทคโนโลยีในการ ในการจดั การเรยี นการสอน จัดการเรยี นการสอน ภาคเรียนละ 1 ครง้ั 4. จัดกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน เชน่ การเรยี นการสอนผ่าน Applications ตา่ ง ๆ ทเ่ี หมาะสมกับผู้เรียนแตล่ ะ กลมุ่ เป้าหมาย 5. พัฒนาผู้เรยี นทกุ คนให้มี ทกั ษะการเรียนรู้ผ่านสื่อและ เทคโนโลยีท่ีทนั สมยั 6. จัดใหผ้ ู้เรยี นสามารถ แสวงหาการเรียนรไู้ ด้ ตลอดเวลา และสถานศึกษา ตอ้ งจัดหาเครื่องมอื นวตั กรรม รวมไปถึงระบบ เครือข่ายสัญญาณ ให้มีความ พร้อมในการจดั กิจกรรมการ เรียนการสอน คูม่ อื การบริหารจัดการเพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวัดเลย 32

4. การกระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นเห็นความสาคญั ของการยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน แนวทางการดาเนินงาน ประเด็นการติดตาม วิธกี ารตดิ ตาม /เครือ่ งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. กาหนดนโยบายและ การกระตุ้นใหผ้ ูเ้ รยี นเห็น วิธีการติดตาม 1. โครงการ ประชมุ ชแ้ี จงครูผูส้ อน ความสาคัญของ 1. การปฐมนเิ ทศ และปัจฉิม 2. รายงานผลการ และผเู้ กยี่ วข้องทุกระดับ การยกระดับผลสัมฤทธ์ิ นเิ ทศผู้เรยี น ทดสอบทางการศกึ ษา ตระหนักและ ทางการเรยี น 2. จานวนผเู้ ข้าสอบทาง ระดบั ชาติดา้ นการศึกษา เหน็ ความสาคัญ ของการ การศึกษาระดบั ชาติ นอกระบบโรงเรยี น ทดสอบทางการศกึ ษา ดา้ นการศึกษานอกระบบ (N-NET) ระดบั ชาติดา้ นการศึกษา โรงเรียน (N-NET) และผลการ 3. ภาพกิจกรรม นอกระบบโรงเรยี น ทดสอบทางการศกึ ษา (N-NET) ระดบั ชาตดิ ้านการศกึ ษานอก 2. สรา้ งความตระหนกั ระบบโรงเรียน และกระตุน้ ใหผ้ ู้เรียน (N-NET) ทกุ คน ทุกกลุ่ม ทุกระดับ การศึกษา เห็นความสาคญั เคร่ืองมอื ของการทดสอบทาง 1. แบบรายงานผู้เข้าสอบ การศกึ ษาระดับชาติ ยกระดับการทดสอบทาง ด้านการศึกษานอกระบบ การศกึ ษาระดบั ชาตดิ า้ น โรงเรยี น (N-NET) การศึกษานอกระบบโรงเรยี น ภาคเรียนละไม่นอ้ ยกวา่ (N-NET) ระบบบรหิ ารการจดั 2 ครั้ง (สปั ดาห์แรก และ สอบ (www.niets.or.th/th/) สัปดาหส์ ดุ ทา้ ยก่อนเขา้ 2. เอกสารพัฒนาผู้เรียน รบั การทดสอบทาง ทักษะวิชาการ ผเู้ รยี น การศึกษาระดบั ชาติ) โดย รายบคุ คล หลักสตู รการศึกษา การชี้แจง แนะแนวให้ นอกระบบ ระดับการศึกษา ทราบถงึ เง่ือนไขในการจบ ข้ันพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 หลกั สูตร และนาไปใชใ้ น 3. รายงานผลสัมฤทธท์ิ างการ การศกึ ษาต่อสถาบัน ศกึ ษาระดบั ชาติดา้ นการศกึ ษา อ่ืน ๆ ได้ นอกระบบโรงเรียน (N-NET) 3. สรา้ งแรงจูงใจให้ผเู้ รยี น เหน็ ถงึ ความสาคัญและผล ท่ีเกดิ จากการทดสอบ เพ่ือให้ครผู ู้สอน และ คูม่ ือการบรหิ ารจัดการเพ่อื ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวดั เลย 33

แนวทางการดาเนินงาน ประเด็นการติดตาม วิธีการตดิ ตาม /เคร่อื งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย ผ้เู รยี นจัดกจิ กรรมการ เรียนการสอนท่ีมี ประสิทธภิ าพ 5. สถานศึกษา ร่วมกับครูผู้สอน ดาเนินการติดตามให้ความช่วยเหลือผู้เรียน ที่มีปัญหาในการ เข้าร่วมกจิ กรรมการเรยี นรู้ แนวทางการดาเนนิ งาน ประเด็นการตดิ ตาม วิธีการติดตาม /เคร่อื งมือ เอกสาร/ร่องรอย 1. มอบหมายให้ครูผูส้ อน การติดตามใหค้ วาม วธิ ีการติดตาม 1. บนั ทึกการเยยี่ มบา้ น ทกุ คนติดตาม และ ชว่ ยเหลอื ผู้เรียนทม่ี ี ดาเนินการคดั กรอง ปัญหาในการจัด 1. วเิ คราะห์ผู้เรยี นและคดั ครอง ผู้เรียน ผูเ้ รยี นออกเปน็ 3 กลุ่ม กิจกรรมการเรยี นการ ดังนี้ สอน ผ้เู รียนออกเปน็ กลุ่ม 2. รายงานสรปุ ผลการ 1) กลุ่มท่เี ขา้ รว่ มกิจกรรม อย่างสมา่ เสมอ 2. การติดตามเย่ยี มบา้ นของ ตดิ ตามผ้เู รียน 2) กลุ่มทเี่ ข้ารว่ มกิจกรรม ไมส่ ม่าเสมอ ผู้เรียน 3. ภาพกิจกรรม 3) กลมุ่ ท่ีไม่คอ่ ยเขา้ รว่ ม กจิ กรรม 3. สรุปผลการวิเคราะห์ผเู้ รยี น 2. ครูผสู้ อน ตดิ ตาม เยยี่ มบ้านของผเู้ รยี นใน การเย่ียมบ้าน และนาผลการ กลุ่มที่ 2 และ 3 ทกุ ภาค เรยี น (ภาคเรยี นละ 1 วิเคราะหม์ าใชใ้ นการช่วยเหลือ ครัง้ ) 3.นาผลการเย่ียมบ้าน เครือ่ งมือ มาวเิ คราะหห์ าสาเหตุ 1. แบบบนั ทกึ การเขา้ ร่วม ตา่ งๆ และดาเนินการให้ กิจกรรมของผู้เรียน ความช่วยเหลือ 2. แบบบันทกึ การเย่ยี มบ้าน ของผเู้ รยี น คูม่ ือการบรหิ ารจัดการเพอื่ ยกระดบั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวดั เลย 34

6. สถานศึกษาพัฒนาเทคนิคการวัดผลประเมินผลระหว่างภาคเรียน (กลางภาค) ที่เน้นข้อสอบ การคดิ เชิงวเิ คราะห์ แนวทางการดาเนินงาน ประเด็นการติดตาม วิธีการติดตาม/เครอื่ งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. สานกั งานสง่ เสรมิ การพัฒนาเทคนคิ วธิ ีการติดตาม 1. โครงการอบรมเชงิ การศกึ ษานอกระบบและ การวดั ผลประเมินผล การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ระหว่างภาคเรียน 1. จัดอบรมเชงิ ปฏิบัติการการ ปฏบิ ัตกิ ารการจดั ทา จังหวดั เลย จัดอบรม (กลางภาค) ที่เนน้ เชิงปฏิบัติการการจดั ทา ขอ้ สอบการคิด จัดทาข้อสอบวดั ผลประเมนิ ผล ขอ้ สอบวัดผลประเมนิ ผล ขอ้ สอบวดั ผลประเมนิ ผล เชิงวเิ คราะห์ ผู้เรยี นทเ่ี นน้ การคิดเชิง ผเู้ รยี นทเี่ น้นการคิดเชงิ ผเู้ รยี นท่เี น้นการคดิ เชงิ วิเคราะห์ ตามมาตรฐาน การเรยี นรูร้ ายวชิ า วิเคราะหต์ ามมาตรฐานการ วิเคราะห์ ภาคเรยี นละ 1 คร้งั 2. จัดทาแบบทดสอบ เรียนร้รู ายวชิ า 2. แบบทดสอบวดั ผล วัดผลประเมินผลระหวา่ ง ภาคเรยี นที่เน้นทักษะการ 2. ประเมนิ ความสอดคล้องของ ประเมินผลระหว่างภาค คิดวิเคราะห์ เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รยี น ได้ฝกึ การคิดเชิงวเิ คราะห์ แบบทดสอบใหต้ รงตาม เรียน (กลางภาค) จากการทาแบบทดสอบ การวดั ผลระหวา่ ง จุดประสงคแ์ ละมาตรฐานการ 3. สรุปผลการดาเนนิ ภาคเรยี น (กลางภาค) เรยี นรรู้ ายวชิ า และแผนผัง โครงการ การออกข้อสอบ 4. แผนผังการออก ข้อสอบ/ Test เครอื่ งมอื Blueprint 1. แผนผังการออกข้อสอบ 5. ภาพกจิ กรรม ผังการออกขอ้ สอบ (ฉบบั ปรบั ปรงุ ใช้ 2/61) 2. บตั รข้อสอบ 7. การจัดกิจกรรมยกย่องเชิดชูเกียรติ ชมเชย หรือให้รางวัลแก่สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน ผู้เรียน ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าระดับประเทศ และมีการพัฒนาการท่ีสูงขึ้นอย่าง ชดั เจน แนวทางการดาเนนิ งาน ประเดน็ การตดิ ตาม วธิ กี ารติดตาม/เคร่อื งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. สานกั งานส่งเสริม การยกย่องเชิดชเู กียรติ วธิ ีการติดตาม 1. โครงการแขง่ ขัน การศกึ ษานอกระบบและ ชมเชย หรอื ให้รางวัล 1. ยกยอ่ งเชิดชเู กียรติ ชมเชย ทกั ษะวชิ าการ การศึกษาตามอธั ยาศัย แก่ สถานศึกษา ครู หรอื ใหร้ างวัลแก่ สถานศกึ ษา 2. โล่ จังหวดั เลย จัดกจิ กรรม และบุคลากรทางการ ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 3. เกยี รตบิ ัตร ประกวดยกย่องเชิดชู ศึกษา ผู้เรยี น ทมี่ ี ผเู้ รยี น ท่มี ผี ลสัมฤทธท์ิ างการ 4. ผลสัมฤทธทิ์ างการ เกียรติและมอบรางวลั ใน คมู่ อื การบรหิ ารจัดการเพือ่ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวัดเลย 35

แนวทางการดาเนนิ งาน ประเด็นการตดิ ตาม วธิ ีการติดตาม/เครื่องมือ เอกสาร/รอ่ งรอย ระดับจงั หวัด ใหแ้ ก่ ผลสมั ฤทธ์ิทางการ เรยี นจากการทดสอบทาง เรียน จากการทดสอบ การศึกษาระดบั ชาติ ทางการศกึ ษาระดับชาติ สถานศกึ ษาบรหิ าร เรียนสูงกว่า ด้านการศึกษานอกระบบ ดา้ นการศึกษานอก โรงเรียน (N-NET) สงู กว่า ระบบโรงเรยี น (N-NET) สถานศึกษา ครูผสู้ อนและ ระดับประเทศ และมี ระดบั ประเทศ และมีการ 5. ภาพกิจกรรม พัฒนาการที่สูงขน้ึ อย่างชดั เจน ผู้เรียน ทีม่ ีผลสมั ฤทธท์ิ าง การพฒั นาการทสี่ ูงข้ึน เครอ่ื งมอื การเรยี น ผา่ นการประเมิน อย่างชัดเจน 1. รายงานผลการทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาติ ดา้ น ตามคา่ เปา้ หมายมาตรฐาน การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ขนั้ สงู จากการทดสอบทาง การศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) สูงทีส่ ดุ ในระดบั จงั หวดั 2. สถานศึกษาจัดกิจกรรม ยกยอ่ งเชิดชูเกียรติ และ มอบรางวัลให้แก่ครผู ูส้ อน ผเู้ รียนท่ีมีผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียน ผ่านการ ประเมินตามค่าเปา้ หมาย มาตรฐานขน้ั สูง จากการ ทดสอบทางการศกึ ษา ระดบั ชาติ ด้านการศึกษา นอกระบบโรงเรียน (N-NET) สูงทสี่ ดุ ในระดับ สถานศึกษา ภาคเรยี นละ 1 ครั้ง คู่มือการบรหิ ารจดั การเพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวดั เลย 36

8. การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ และนาเสนอผลการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice) สาหรบั ผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ครูผ้สู อนทมี่ ีผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสงู กว่าระดับประเทศอยา่ งต่อเนอื่ ง แนวทางการดาเนนิ งาน ประเดน็ การติดตาม วธิ ีการตดิ ตาม/เครื่องมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. สานักงานสง่ เสริม การจัดเวทีแลกเปล่ยี น วธิ กี ารติดตาม 1. โครงการนาเสนอผล การศกึ ษานอกระบบและ เรยี นรู้ และนาเสนอผล 1. สังเกต แลกเปล่ยี นเรียนรู้ การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ การศึกษาตามอธั ยาศัย (Best Practice) จงั หวดั เลย จัดเวที การปฏบิ ตั ิงานทเ่ี ป็น และนาเสนอผลการปฏบิ ัตงิ าน 2. สรุปผลการดาเนินงาน 3. โล่ เลศิ (Best Practice) ทเ่ี ป็นเลิศ (Best Practice) 4. เกียรตบิ ัตร 5. ภาพกิจกรรม แลกเปล่ียนเรยี นรโู้ ดย สาหรับผบู้ รหิ าร ครู ใหผ้ บู้ รหิ ารสถานศกึ ษา และบุคลากรทางการ เครื่องมือ และครผู ู้สอน ที่มี ศกึ ษา ทมี่ ผี ลสมั ฤทธิ์ 1. แบบสังเกตปฏิบัตงิ านทเี่ ป็น ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ทางการเรยี นสูงกวา่ เลศิ (Best Practice) ของผ้เู รียน ผา่ นการ ระดับประเทศอยา่ ง ประเมินตามเปา้ หมาย ตอ่ เน่ือง มาตรฐานข้นั สงู จากการ ทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติดา้ นการศึกษา นอกระบบโรงเรียน (N-NET) สงู ที่สุดในระดับ สถานศึกษา แหง่ ละ 1 คน นาเสนอผลการปฏบิ ัติงาน ท่เี ป็นเลศิ (Best Practice) ให้แก่ คณะกรรมการสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั จงั หวดั เลย ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา ครูผสู้ อน และผูท้ ีเ่ ก่ียวขอ้ ง เพอื่ ติชมและให้ ขอ้ เสนอแนะ ภาคเรยี นละ 1 คร้งั คู่มอื การบริหารจดั การเพอื่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จังหวัดเลย 37

ด้านการตรวจสอบ (Check) 1. สถานศึกษาวิเคราะห์ รวบรวม ขอ้ มูลผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผ้เู รยี นในแตล่ ะ กศน.ตาบล หรือแต่ละกลุ่มอย่างต่อเน่ือง การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) แนวทางการดาเนนิ งาน ประเด็นการติดตาม วิธกี ารตดิ ตาม/เคร่อื งมือ เอกสาร/ร่องรอย 1. สานกั งานสง่ เสรมิ สถานศกึ ษาวเิ คราะห์ วิธีการตดิ ตาม 1. แบบวิเคราะห์ข้อมลู การศกึ ษานอกระบบและ รวบรวมขอ้ มลู 1. การสงั เกต ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน การศึกษาตามอัธยาศยั ผลสมั ฤทธ์ิทางการ 2. การสอบถาม จากการทดสอบทาง จงั หวดั เลย มอบหมาย เรยี นของผ้เู รียนใน 3. การสัมภาษณ์ การศกึ ษาแหง่ ชาติ คณะกรรมการ ระดบั สถานศึกษา 4. การตรวจสอบเอกสาร ด้านการศึกษานอกระบบ อยา่ งต่อเนื่อง โรงเรยี น (N-NET) เคร่ืองมือ 2. ผลทดสอบทางการ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ 1. แบบวิเคราะห์ข้อมลู ศกึ ษาแห่งชาติ ด้าน 2. แบบสงั เกต การศึกษานอกระบบ ทางการเรยี น วเิ คราะห์ 3. แบบสอบถาม โรงเรยี น (N-NET) 4. แบบสัมภาษณ์ 5 กล่มุ สาระ รวบรวมข้อมูลผลสมั ฤทธ์ิ 5. แบบตรวจสอบเอกสาร 3. ตารางการปรียบเทียบ ผลการทดสอบทาง ทางการเรียนของผู้เรยี นใน การศกึ ษาแห่งชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ ระดบั สถานศึกษา แต่ละ โรงเรียน (N-NET) กับ ภาคเรียนท่ผี ่านมา กล่มุ ทุกภาคเรียน หลังจาก 4. ผลการทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาติ ทสี่ ถาบันทดสอบทาง ดา้ นการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) การศกึ ษาแห่งชาติ (สทศ.) ภาคเรยี นทีผ่ ่านมา 5. ผลการทดสอบทาง ประกาศผลการทดสอบ การศึกษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ ทางการศึกษาแหง่ ชาติ โรงเรยี น (N-NET) ภาคเรียนปจั จบุ ัน ดา้ นการศึกษานอก ระบบโรงเรยี น (N-NET) ใน 5 กลมุ่ สาระ ได้แก่ สาระทกั ษะการเรยี นรู้ สาระความรู้พื้นฐาน สาระทักษะการประกอบ อาชีพ สาระทักษะการดาเนินชวี ติ สาระการพัฒนาสงั คม พร้อมรายงานผบู้ รหิ าร คูม่ ือการบริหารจดั การเพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวัดเลย 38

แนวทางการดาเนนิ งาน ประเดน็ การตดิ ตาม วธิ กี ารติดตาม/เครอื่ งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 2. วางแผนการประเมินผล แผนการประเมนิ ผล วธิ กี ารตดิ ตาม 6. คาสั่งคณะกรรมการ การยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ การยกระดับ 1. การสงั เกต ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ทางการเรยี นการทดสอบ ผลสมั ฤทธ์ิทางการ 2. การสอบถาม ทางการเรยี น ทางการศึกษาแห่งชาติ เรยี นของผูเ้ รียน 3. การสมั ภาษณ์ 1. แผนพัฒนาคุณภาพ ด้านการศึกษานอกระบบ ในภาคเรียนถัดไป 4. การตรวจสอบเอกสาร การศึกษา โรงเรียน (N-NET) ของ 2. แผนปฏบิ ตั ิการ กศน. ผเู้ รยี นในภาคเรียนถดั ไป เครื่องมือ อาเภอ/ตาบล แบบตรวจสอบเอกสาร 3. แผนการประเมินการ ยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ าง การเรยี นการทดสอบ ทางการศึกษาแห่งชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) 4. แบบวิเคราะหข์ ้อมูล ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน จากการทดสอบทาง การศึกษาแห่งชาติ ด้านการศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) 5. แบบเปรียบเทียบผล การดาเนินการดา้ นการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนทุกระดบั ก่อนและหลัง 6. วาระการประชุมเพือ่ หาแนวทางแก้ไขปัญหา และพัฒนาการบริหาร จดั การยกระดับ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น คู่มือการบรหิ ารจดั การเพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวัดเลย 39

2. การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ านตามแผนอย่างตอ่ เนอื่ ง แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การติดตาม วธิ ีการติดตาม/เคร่อื งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. สถานศกึ ษามอบหมาย ติดตามการประเมินผล วิธกี ารติดตาม 1. คาส่งั แต่งต้ัง ใหค้ ณะกรรมการยกระดับ การปฏบิ ัติงานดา้ นการ 1. การสังเกต คณะกรรมการ ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ 2. การสอบถาม ดาเนนิ การยกระดบั ประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน ทางการเรยี นของ 3. การสมั ภาษณ์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ด้านการยกระดบั ครผู ู้สอน ทกุ ระดบั 4. การตรวจสอบเอกสาร การทดสอบทาง ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เคร่ืองมอื การศึกษาระดบั ชาติ ของครผู ู้สอน ทุกระดับ 1. แบบประเมินผล ดา้ นการศึกษานอกระบบ ตามแผนการประเมนิ ผล 2. แบบสังเกต โรงเรียน (N-NET) การปฏิบัตงิ าน โดย 3. แบบสอบถาม 2. คาสั่งแต่งตง้ั ประเมินผลการปฏิบตั งิ าน 4. แบบสมั ภาษณ์ คณะกรรมการนิเทศการ ต้งั แต่ ครูผสู้ อน ทุกระดับ 5. แบบตรวจสอบเอกสาร ดาเนนิ การยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น การทดสอบทาง การศึกษาระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) 3. ปฏิทนิ การปฏิบตั ิงาน การยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรยี นการ ทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติ ดา้ น การศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) คมู่ อื การบรหิ ารจัดการเพ่อื ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวัดเลย 40

แนวทางการดาเนนิ งาน ประเด็นการตดิ ตาม วิธกี ารตดิ ตาม/เคร่ืองมือ เอกสาร/ร่องรอย 2. สร้างความตระหนัก ผลการยกระดับ วิธกี ารติดตาม 1. แบบสารวจวฒุ ิ ดา้ นการยกระดับ ผลสมั ฤทธ์ิทางการ 1. การสังเกต การศึกษา สาขาวิชาเอก ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรยี นของภาคเรียน 2. การสอบถาม ความสามารถและความ ใหแ้ กผ่ ู้เรยี น ท่ีผ่านมา 3. การสมั ภาษณ์ ต้องการในการจดั การ 4. การตรวจสอบเอกสาร เรียนรู้ 2. แบบสารวจครูผสู้ อนท่ี เคร่อื งมือ มผี เู้ รียนตามค่าเป้าหมาย 1. แบบบนั ทกึ พฤติกรรม ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน 2. แบบสังเกต การทดสอบทาง 3. แบบสอบถาม การศกึ ษาระดับชาติ 4. แบบสัมภาษณ์ ด้านการศึกษานอกระบบ 5. แบบตรวจสอบเอกสาร โรงเรียน (N-NET) 3. แบบสารวจผลสมั ฤทธิ์ ทางการเรียน การทดสอบทาง การศกึ ษาระดับชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ โรงเรยี น (N-NET) 4. แผนการจดั การเรียนรู้ / แ ผ น ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี น 5. แผนพัฒนาคุณภาพ ผ้เู รยี น 6. ผังการออกข้อสอบ วดั ผลสมั ฤทธิ์ปลายภาค เรียน (Test Blueprint ) /แผนผงั การออกขอ้ สอบ / บัตรข้อสอบ 7. ผลการยกระดับ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น ของภาคเรยี นท่ีผ่านมา คู่มอื การบริหารจดั การเพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวดั เลย 41

แนวทางการดาเนนิ งาน ประเดน็ การตดิ ตาม วธิ กี ารตดิ ตาม/เครอ่ื งมือ เอกสาร/ร่องรอย 3. การจดั กจิ กรรมการ 1. ผลการจัดกจิ กรรม วธิ ีการตดิ ตาม 1. โครงการสอนเสริม สอนเสรมิ หรอื กจิ กรรม การสอนเสรมิ หรอื 1. การสังเกต 2. โครงการพฒั นา อ่นื ๆ การเยีย่ มบา้ นผู้เรยี น กิจกรรมอื่นๆ 2. การสมั ภาษณ์ คุณภาพผู้เรียน ติวเขม้ การให้ความช่วยเหลือ 2. การเย่ยี มบ้าน 3. การตรวจสอบเอกสาร เติมเต็มความรู้ ผู้เรยี น ผเู้ รยี น 3. แผนการสอนเสริม/ 3. การใหค้ วาม เคร่ืองมือ การตวิ เข้มเติมเต็มความรู้ ชว่ ยเหลือผูเ้ รยี น 1. แบบบันทึก 4. Application ส่งเสรมิ การเรียนรู้ การเยยี่ มบ้าน 5. เอกสารพฒั นาทักษะ 2. ระบบดูแลชว่ ยเหลอื วิชาการผู้เรียน รายบุคคล/แบบฝึก ผเู้ รยี น ทกั ษะวิชาการ 3. แบบสังเกต 6. สอ่ื ประกอบการเรยี น 4. แบบสอบถาม การสอน 5. แบบสมั ภาษณ์ 7. แบบบันทึกการเยยี่ ม 6. แบบตรวจสอบเอกสาร บ้าน 8. ระบบดูแลช่วยเหลือ 4. ติดตามการเข้ารับการ ผลการเข้ารับการ วิธีการตดิ ตาม ผ้เู รียน ทดสอบทางการศึกษา ทดสอบทางการศึกษา 1. การสงั เกต 1. แบบตดิ ตามการเขา้ รับการทดสอบทาง ระดับชาติ ด้านการศึกษา ระดบั ชาติ ด้าน 2. การสอบถาม การศกึ ษา ระดบั ชาติ ดา้ นการศึกษานอกระบบ นอกระบบโรงเรียน การศึกษานอกระบบ 3. การสัมภาษณ์ โรงเรียน (N-NET) 2. รายงานผลการเข้า (N-NET) ของผู้เรยี น โรงเรียน (N-NET) ของ 4. การตรวจสอบเอกสาร สอบทางการศึกษา ระดับชาติ ดา้ นการศึกษา เป็นระยะ ๆ อยา่ งต่อเนอ่ื ง ผเู้ รียน นอกระบบโรงเรียน (N-NET) ของผูเ้ รียน เครือ่ งมือ 3. แบบสรปุ ผลการ 1. แบบสังเกต ทดสอบทางการศึกษา ระดับชาติ 2. แบบสอบถาม 3. แบบสมั ภาษณ์ 4. แบบตรวจสอบเอกสาร 5. แบบตดิ ตามการเข้ารับการ ทดสอบทางการศึกษา ระดบั ชาติ ด้านการศกึ ษานอก คมู่ ือการบรหิ ารจัดการเพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวดั เลย 42

แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การตดิ ตาม วิธกี ารติดตาม/เครื่องมือ เอกสาร/ร่องรอย ระบบโรงเรียน (N-NET) ดา้ นการศึกษานอกระบบ โรงเรียน (N-NET) 4. แบบนเิ ทศกากบั ติดตามการจดั กจิ กรรม การเรียนการสอนของ ครผู ู้สอน 3. การนเิ ทศ ติดตาม ประเมินผลการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนอยา่ งสมา่ เสมอ แนวทางการดาเนินงาน ประเด็นการตดิ ตาม วิธีการติดตาม/เครื่องมือ เอกสาร/ร่องรอย 1. สถานศึกษามอบหมาย การดาเนินการนเิ ทศ ให้คณะกรรมการนิเทศ การจดั กจิ กรรมการ วธิ ีการติดตาม 1. แบบนิเทศการจัด ภายในสถานศกึ ษา เรียนการสอนของ 1. การสังเกต กิจกรรมการเรียนการ ดาเนินการนเิ ทศการจดั ครผู สู้ อน ทกุ กลมุ่ ทุก กิจกรรมการเรยี นการสอน ระดบั 2. การสอบถาม สอนของ ครผู ้สู อนทุก ของครูผ้สู อน ทกุ กลมุ่ ทุก 3. การสัมภาษณ์ ระดับ ระดับ แบบกลั ยาณมติ ร ผลการนเิ ทศ และ 4. การตรวจสอบเอกสาร 2. คาส่ังคณะกรรมการ อยา่ งสมา่ เสมอ ไมน่ อ้ ย รว่ มกนั ดาเนนิ การ กว่าภาคเรยี นละ 2 คร้งั แก้ไขปญั หาการจดั เครอ่ื งมอื นิเทศภายใน กิจกรรมของครู ผสู้ อน 1. แบบสังเกต 2. เสนอผลการนเิ ทศ เพอื่ ให้การยกระดับ ผบู้ รหิ ารและผ้เู กย่ี วข้อง ผลสัมฤทธทิ์ างการ 2. แบบสอบถาม และรว่ มกนั ดาเนินการ เรยี นผลการทดสอบ แกไ้ ขปญั หาการจัด การศกึ ษาระดับชาติ 3. แบบสัมภาษณ์ กจิ กรรมของครูผสู้ อน ด้านการศึกษานอก เพื่อใหก้ ารยกระดบั 4. แบบตรวจสอบเอกสาร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น การทดสอบการศึกษา 5. แบบนเิ ทศการจัดกิจกรรม ระดับชาติ ด้านการศกึ ษา นอกระบบโรงเรียน การเรยี นการสอนของ ครู กศน. วธิ ีการติดตาม 1. รายงานการนิเทศ 1. การสังเกต ดาเนินการแกไ้ ขปัญหา การจัดกิจกรรมของครู 2. การสอบถาม กศน.เพื่อให้การยกระดับ 3. การสมั ภาษณ์ 4. การตรวจสอบเอกสาร ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 2. บันทึกผลการนิเทศ เครอ่ื งมอื 1. แบบสงั เกต 2. แบบสอบถาม 3. แบบสัมภาษณ์ ค่มู อื การบริหารจัดการเพ่อื ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวัดเลย 43

แนวทางการดาเนินงาน ประเดน็ การติดตาม วิธกี ารติดตาม/เครื่องมือ เอกสาร/รอ่ งรอย (N-NET) บรรลตุ าม ระบบโรงเรยี น (N-NET) 4. แบบตรวจสอบเอกสาร เปา้ หมาย บรรลตุ ามเป้าหมาย 5. รายงานการนเิ ทศ 4. การตรวจสอบและรายงานผลการนเิ ทศการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนของครูและบคุ ลากร ทางการศึกษาอย่างต่อเน่อื ง แนวทางการดาเนนิ งาน ประเดน็ การติดตาม วธิ ีการติดตาม/เครื่องมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 1. แต่งต้ังคณะกรรมการ คณะกรรมการนิเทศ วิธกี ารติดตาม คาสง่ั คณะกรรมการ นิเทศภายในสถานศกึ ษา ภายในสถานศึกษา 1. การสัมภาษณ์ นเิ ทศภายในสถานศกึ ษา 2. การตรวจสอบเอกสาร เคร่ืองมอื 1. แบบสัมภาษณ์ 2. แบบตรวจสอบเอกสาร 3. แบบบันทกึ การนิเทศ 2. จัดทาแผนและ 1. แผนการจดั กิจกรรม วธิ ีการติดตาม 1. แผนการนิเทศการจดั ดาเนินการนเิ ทศการจดั การเรยี นการสอนของ 1. การสงั เกต กจิ กรรมการเรียน กจิ กรรมการเรียนการสอน ครู ผู้สอน เปน็ รายภาค 2. การสอบถาม การสอน ของครู ผสู้ อน เป็นราย 2. รายงานการจดั 3. การสัมภาษณ์ 2. เครือ่ งมือการนิเทศ ภาคเรยี นละ 2 คร้งั กิจกรรมการเรียนการ 4. การตรวจสอบเอกสาร การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สอนของครู ผู้สอนราย กศน. ภาค เครอื่ งมือ 3. แบบบนั ทกึ การนเิ ทศ 1. แบบสงั เกต 4. รายงานการนิเทศ 2. แบบสอบถาม 3. แบบสัมภาษณ์ 4. แบบตรวจสอบเอกสาร 5. เครือ่ งมอื การนเิ ทศการศึกษา ขนั้ พนื้ ฐาน กศน. 6. แบบบันทึกการนิเทศ 7. รายงานการนิเทศ คมู่ ือการบรหิ ารจัดการเพอ่ื ยกระดับผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวดั เลย 44

แนวทางการดาเนนิ งาน ประเดน็ การตดิ ตาม วิธีการติดตาม/เครอ่ื งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 3.หลงั จากนเิ ทศการจดั รายงานผลการนิเทศ วิธกี ารติดตาม 1. เครื่องมือการนิเทศ กจิ กรรมการเรียนการสอน หลังจากจัดกิจกรรม 1. การสังเกต การศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน กศน. รายงานผลการนเิ ทศเสนอ การเรียนการสอน 2. การสอบถาม 2. แบบบันทกึ การนเิ ทศ 3. รายงานการนิเทศ ผ้บู รหิ ารภายใน 3 วัน 3. การสมั ภาษณ์ ทาการ 4. การตรวจสอบเอกสาร เครื่องมอื 1. แบบสังเกต 2. แบบสอบถาม 3. แบบสมั ภาษณ์ 4. แบบตรวจสอบเอกสาร 5. เครอื่ งมอื การนิเทศการศึกษา ขนั้ พื้นฐาน กศน. 6. แบบบันทึกการนเิ ทศ 7. รายงานการนิเทศ คู่มือการบรหิ ารจัดการเพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (N-NET) สานกั งาน กศน. จงั หวดั เลย 45

5. การรวบรวมข้อมูล เพื่อการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการยกระดับผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรยี นการทดสอบการศกึ ษาระดับชาติ ด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) แนวทางการดาเนนิ งาน ประเดน็ การติดตาม วิธีการตดิ ตาม/เครือ่ งมือ เอกสาร/ร่องรอย 1. สถานศึกษามอบหมาย คณะกรรมการยกระดับ ขอ้ มลู การตดิ ตาม วธิ ีการตดิ ตาม 1. รายงานการประชุม ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น ตรวจสอบและการ 1. การสังเกต เพือ่ หาแนวทางแกไ้ ข รวบรวมการติดตาม ตรวจสอบและการ ประเมนิ ผลการ 2. การสอบถาม ปัญหาและพัฒนาการ ประเมินผลการยกระดับ บรหิ ารจัดการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ 3. การสัมภาษณ์ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน จากคณะนิเทศภายใน สถานศกึ ษาและจาก ทางการเรียน จากคณะ 4. การตรวจสอบเอกสาร ครูผสู้ อนทกุ แหง่ นเิ ทศภายในและจาก 2. แบบการติดตาม 2. สรุปข้อมลู และ นาเสนอผบู้ ริหารทุกเดือน ครผู ูส้ อนทุกแห่ง เครื่องมือ ตรวจสอบและการ อย่างน้อยเดอื นละ 1 ครงั้ 1. แบบสังเกต ประเมินผลการยกระดับ 2. แบบสอบถาม ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 3. แบบสัมภาษณ์ จากคณะนิเทศภายใน 4. แบบตรวจสอบเอกสาร และจาก ครู ผู้สอน 5. แบบการตดิ ตามตรวจสอบ ทกุ แหง่ และการประเมินผลการ 3. คาส่ังคณะกรรมการ ยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ เรยี น ทางการเรยี น การสรุปข้อมลู เพื่อ วิธกี ารติดตาม รายงานสรุปผลการ นาเสนอผบู้ รหิ าร ทกุ 1. การสังเกต ตดิ ตามตรวจสอบและ เดือนอย่างนอ้ ยเดือน 2. การสอบถาม การประเมินผลการ ละ 1 ครัง้ 3. การสัมภาษณ์ ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ 4. การตรวจสอบเอกสาร ทางการเรียน การทดสอบการศึกษา เคร่ืองมือ ระดบั ชาติด้านการศกึ ษา 1. แบบสังเกต นอกระบบโรงเรยี น (N-NET) 2. แบบสอบถาม 3. แบบสัมภาษณ์ 4. แบบตรวจสอบเอกสาร 5. รายงานสรปุ ผลการตดิ ตาม ตรวจสอบ 6. แบบประเมินผลการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี น คูม่ อื การบริหารจดั การเพือ่ ยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น (N-NET) สานักงาน กศน. จังหวัดเลย 46

แนวทางการดาเนนิ งาน ประเด็นการตดิ ตาม วธิ ีการติดตาม/เครอ่ื งมือ เอกสาร/รอ่ งรอย 3. ประชุมเพ่ือหาแนว การประชมุ เพื่อหาแนว วธิ ีการตดิ ตาม 1. วาระการประชมุ เพ่ือ ทางแก้ไขปัญหาและ ทางแก้ไขปัญหาและ 1. การสงั เกต หาแนวทางแก้ไขปัญหา พัฒนาการบริหารจดั การ พฒั นาการบริหาร 2. การแบบสอบถาม และพัฒนาการบริหาร ยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ จัดการยกระดับ 3. การสัมภาษณ์ จดั การยกระดับ ทางการเรยี นการทดสอบ ผลสัมฤทธ์ิทางการ 4. การตรวจสอบเอกสาร ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน การศกึ ษาระดบั ชาติ เรยี นการทดสอบ 2. รายงานการประชุม ดา้ นการศึกษานอกระบบ การศึกษาระดบั ชาติ เครอ่ื งมือ เพ่ือหาแนวทางแกไ้ ข โรงเรียน (N-NET) ดา้ นการศึกษานอก 1. แบบสังเกต ปญั หาและพฒั นาการ ระบบโรงเรียน 2. แบบสอบถาม บริหารจัดการยกระดบั (N-NET) 3. แบบสัมภาษณ์ ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 4. แบบตรวจสอบเอกสาร 5. วาระการประชุมเพื่อหาแนว ทางแก้ไขปัญหาและพฒั นาการ บริหารจดั การยกระดับ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 6. รายงานการประชุมเพ่ือหา แนวทางแก้ไขปัญหาและ พัฒนาการบริหารจัดการ ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการ เรียน คู่มอื การบริหารจัดการเพือ่ ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน (N-NET) สานักงาน กศน. จงั หวัดเลย 47