รายงานสรุปผลการดาเนินงาน กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเน่ือง รปู แบบช้ันเรยี นวชิ าชพี หลกั สูตรการสานตะกร้าจากหวายเทยี ม จานวน 40 ชวั่ โมง นายกฤชวัฒน์ จารุมณี ตาแหน่ง ครู กศน.ตาบล ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบางไทร สานกั งาน กศน.จังหวัดพระนครศรอี ยุธยา สานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
รายงานสรปุ ผลการดำเนินงาน กจิ กรรมการศกึ ษาต่อเนือ่ ง รูปแบบชนั้ เรยี นวชิ าชพี หลักสตู รการสานตะกร้าจากหวายเทียม จำนวน 40 ชั่วโมง ณ ศาลาประชาคม หมู่ที่ 7 ตำบลโคกชา้ ง อำเภอบางไทร จงั หวัดพระนครศรีอยุธยา วันท่ี 10 – 18 มกราคม พ.ศ.2566 จดั ทำโดย นายกฤชวฒั น์ จารมุ ณี ครู กศน.ตำบลโคกชา้ ง ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร สำนักงาน กศน.จังหวดั พระนครศรีอยุธยา สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
บนั ทกึ ขอ้ ความ ส่วนราชการ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางไทร ที่ ศธ 0210.4805/1043 วันที่ 1 มนี าคม 2566 เร่ือง รายงานสรุปผลการดำเนินงานการจัดกิจกรรมการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง รูปแบบชนั้ เรยี นวิชาชีพ หลักสตู รการสานตะกร้าจากหวายเทียม จำนวน 40 ช่ัวโมง เรยี น ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางไทร ตามที่ ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ได้อนุมัติการจัดกิจกรรมการศึกษาตอ่ เน่ือง รูปแบบชั้นเรียนวชิ าชีพ หลักสูตรการสานตะกร้าจากหวายเทียม จำนวน 40 ชวั่ โมง นน้ั ข้าพเจ้า นางนฤมล ดงจันทร์ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล รับผิดชอบพื้นที่ตำบลบ้านกลึง และ นายกฤชวัฒน์ จารุมณี ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล รบั ผิดชอบพน้ื ทตี่ ำบลโคกช้าง ได้ดำเนนิ การจัดกิจกรรม การศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรการสานตะกร้าจากหวายเทียม จำนวน 40 ชั่วโมง ระหว่างวนั ที่ 10 – 18 มกราคม พ.ศ. 2566 ณ ศาลาประชาคม หมู่ 7 ตำบลโคกช้าง อำเภอบางไทร จังหวัด พระนครศรอี ยุธยา โดยมเี ปา้ หมายเป็นประชาชนผู้สนใจในพืน้ ที่ จำนวน 12 คน จัดได้ 15 คน บัดนี้กิจกรรม/ โครงการดังกล่าวได้ดำเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงขอรายงานผลการจัดกิจกรรม/โครงการ ดังเอกสาร รปู เล่มแนบทา้ ยนี้ จงึ เรยี นมาเพ่ือโปรดทราบ (นางนฤมล ดงจันทร์) (นายกฤชวัฒน์ จารุมณี) ครู กศน.ตำบลบา้ นกลึง ครู กศน.ตำบลโคกช้าง (นางสาวฐติ พิ ร พาสี) หวั หนา้ งานการศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ทราบ อ่นื ๆ …………………… (นายสวัสดิ์ บุญพร้อม) ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอนครหลวง รกั ษาการในตำแหน่งผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอบางไทร
คำนำ กศน.ตำบลบ้านกลงึ ร่วมกับ กศน.ตำบลโคกช้าง สงั กดั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ไดด้ ำเนินการจัดกจิ กรรมการศึกษาตอ่ เน่อื ง รปู แบบชนั้ เรียนวิชาชีพ หลักสูตรการ สานตะกร้าจากหวายเทียม จำนวน 40 ชั่วโมง เพื่อให้ประชาชนผู้รับบรกิ ารมีความรู้ความเข้าใจในการสาน ตะกร้าจากหวายเทียม และเพื่อให้ประชาชนผู้รับบริการมีทักษะและมองเห็นช่องทางการประกอบอาชีพจาก สานตะกรา้ จากหวายเทยี ม ทาง กศน.ตำบลบา้ นกลึง และ กศน.ตำบลโคกช้าง สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลกั สูตรการสานตะกร้าจากหวายเทยี ม จำนวน 40 ชั่วโมง จะเป็นประโยชนก์ ับผู้เข้ารว่ มกิจกรรมในคร้ังนี้ไม่ มากก็น้อย และหากการจัดโครงการในครั้งนี้มีข้อบกพร่องประการใด ทาง กศน.ตำบลบ้านกลึง และ กศน. ตำบลโคกช้าง สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร ต้องขออภัยไว้ ณ ท่ีน้ดี ว้ ย รายงานสรปุ ฉบบั นเี้ ป็นการรวบรวมข้อมูลในการจดั ทำโครงการ ภาพกจิ กรรม ตลอดจนประเมนิ ผล โครงการเพอื่ เปน็ การเพ่ิมพนู ความรูแ้ ละเปน็ แนวทางในการจัดทำโครงการในครัง้ ต่อไป ผูจ้ ดั ทำ สงิ หาคม 2565
สารบัญ หนา้ เร่อื ง 1 บนั ทึกข้อความ 6 คำนำ 12 สารบญั 15 บทท่ี 1 บทนำ 17 บทที่ 2 เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง 30 บทที่ 3 สรปุ ผลการดำเนนิ งาน บทท่ี 4 แบบสอบถามความพึงพอใจ บทท่ี 5 สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ ภาคผนวก รูปภาพประกอบโครงการฯ รายงานผลการจบหลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่อง บรรณานุกรม คณะผจู้ ัดทำ
บทที่ 1 บทนำ 1. ชื่อ กิจกรรมการศึกษาตอ่ เนื่อง รปู แบบช้ันเรียนวิชาชพี หลกั สตู รการสานตะกรา้ จากหวายเทียม จำนวน 40 ช่ัวโมง นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 นโยบายเร่งดว่ นเพื่อรว่ มขับเคลอื่ นยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ 2. ดานการสรางสมรรถนะและทักษะคณุ ภาพ 2.1 สงเสรมิ การจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ทีเ่ นนการพัฒนาทักษะทีจ่ ำเปนสำหรับแตละชวงวยั และการจดั การศกึ ษาและการเรียนรูทเ่ี หมาะสมกบั แตละกลุมเปาหมายและบรบิ ทพ้นื ท่ี 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้นที่เนน New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคลองกับ บริบทพื้นที่ ความตองการและความหลากหลายของกลุมเปาหมายเชน ผูพิการผูสูงอายุความตองการของ ตลาดแรงงาน และกลุมอาชพี ใหมท่รี องรับ DisruptiveTechnology 2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ สินคา บริการจากโครงการศูนยฝกอาชีพชุมชน ที่เนน “สงเสริม ความรูสรางอาชีพ เพิ่มรายได และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ใหมีคุณภาพมาตรฐาน เปนที่ยอมรับของตลาด ตอยอดภูมิปญญาทองถิ่นเพื่อสรางมูลคาเพิ่ม พัฒนาสูวิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มชองทางประชาสัมพันธ และชองทางการจำหนาย 2. หลกั การและเหตุผล ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561 - 2580) ไดกำหนดแผนแมบทประเด็นการพฒั นา ศกั ยภาพคนตลอดชวงชวี ติ โดยมแี ผนยอยท่ีเกย่ี วของกับการใชการศกึ ษาเปนเครื่องมือในการขับเคล่ือน ไดแก แผนยอยประเดน็ การพัฒนาการเรียนรู และแผนยอยประเดน็ การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชวงชีวติ ท่ีมุ่งเน้น การสรางสภาพแวดลอมทเ่ี ออ้ื ตอการพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพมนุษยการพัฒนาเด็กตัง้ แตชวงการตั้งครรภ จนถงึ ปฐมวยั การพัฒนาชวงวยั เรียน/วยั รนุ การพฒั นาและยกระดบั ศักยภาพวัยแรงาน รวมถงึ การสงเสริม ศกั ยภาพวยั ผูสงู อายุ ประเดน็ การพัฒนาการเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหปุ ญญาของมนุษยท่ีหลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏริ ูปประเทศดานการศกึ ษา นโยบายรฐั บาลทง้ั ในสวน นโยบายหลักดานการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชวงชวี ิต และนโยบายเรงด วน เร่ืองการเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพฒั นาประเทศอื่นๆ ทเ่ี กี่ยวของ อาทิ แผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดบั ชาติวาดวยความมัน่ คง แหงชาติ (พ.ศ. 2562 - 2568) โดยคาดหวงั วาการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชวงชีวิต ประชาชนจะไดรบั การ 1
พัฒนาการเรียนรใู หเปนคนดี คนเกงมคี ณุ ภาพ และมคี วามพรอมรวมขบั เคล่อื นการพัฒนาประเทศสูความม่นั คง มั่งคง่ั และยงั่ ยืน และกระทรวงศกึ ษาธิการ ไดกำหนดนโยบายและจดุ เนน ประจำปงบประมาณ พ.ศ.2565 ขึ้น เพื่อเปนเข็มมุงของหนวยงานภายใตกระทรวงศึกษาธิการ ขับเคลื่อนการดำเนนิ งานใหบรรลุตามวัตถุประ สงคของแผนตาง ๆ ดังกลาว สำนักงาน กศน. เปนหนวยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนกั ถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดชวงชวี ิต ไดมุงมัน่ ขบั เคล่ือนภารกิจหลัก ตามแผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเนนของกระทรวงศึกษาธิการ ทค่ี ำนงึ ถึงหลกั การบริหารจดั การท้ัง ในเรื่องหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจายอำนาจ การใชประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร การมุงเนนผลสัมฤทธิ์ และปฏิบัติการดานขอมูลขาวสารการสรางบรรยากาศในการทำงาน และการเรียนรู ตลอดจนการใชทรัพยากรดานการจดั การศกึ ษาอยางมีคุณภาพ โดยเนนการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยใน 4 ประเด็นใหญ ประกอบดวย การจดั การเรียนรูคุณภาพ การสรางสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ องคกร สถานศกึ ษาและแหลงเรยี นรูคุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนำไปสูการสรางโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การ ยกระดบั คุณภาพและเพิ่มประสิทธภิ าพการใหบริการสำหรับทกุ กลุมเปาหมาย และสรางความพงึ พอใจใหกับผู รับริการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร จึงได้นำนโยบาย ยุทธศาสตร์และความจำเป็นดังกล่าวสู่การปฏิบัติเพื่อการพัฒนาห ลักสูตรอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมายและ ประชาชนมีรายไดแ้ ละมีอาชพี เสรมิ การสานตะกร้าจากหวายเทยี ม สำหรบั ผทู้ ส่ี นใจควรศกึ ษาหาความร้แู ละฝึก ปฏบิ ัติจนเกิดความชำนาญสามารถนำไปประกอบอาชีพใหก้ บั ตนเองได้ ดังนั้นการส่งเสริมสนับสนุนให้คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ ความสามารถและการพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตอยา่ งเหมาะสม เต็มตามศกั ยภาพในแต่ละช่วงวัย และเพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชน จงึ ได้จดั ทำโครงการศูนย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน หลกั สูตรการสานตะกร้าจากหวายเทียมให้กบั ประชาชนและผู้สนใจให้ สามารถนำไปประกอบอาชพี สร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครวั ต้องการไดร้ ับการพัฒนา และใช้เวลาว่าง ใหเ้ กิดประโยชน์ 3. วตั ถปุ ระสงค์ 3.1 เพ่ือให้ประชาชนผรู้ บั บริการมีความรู้ความเข้าใจการสานตะกรา้ จากหวายเทยี ม 3.2 เพื่อให้ประชาชนผรู้ ับบริการมที ักษะและมองเหน็ ช่องทางการสานตะกร้าจากหวายเทียม 4. กล่มุ เป้าหมาย 4.1 เชงิ ปริมาณ 4.1.1 ประชาชน และผ้สู นใจในพ้ืนท่ีตำบลบ้านกลงึ และตำบลโคกชา้ ง จำนวน 16 คน 4.2 เชงิ คณุ ภาพ 4.2.1 ผู้เรียนร้อยละ 85 เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการสานตะกร้า จากหวายเทยี ม โดยเนน้ การปฏบิ ัติจริง 2
4.2.2 ผเู้ รยี นร้อยละ 85 มที กั ษะ และมองเหน็ ช่องทางในการสานตะกรา้ จากหวายเทยี ม สามารถนำความรไู้ ปปรบั ใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้ 5. วธิ ีดำเนินการ กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุม่ เปา้ หมาย พ้ืนท่ดี ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 1. ขนั้ วางแผน ( Plan ) 1. เพื่อให้ 1.1 สำรวจกล่มุ เปา้ หมายและความตอ้ งการ ประชาชน ประชาชน 19 ค่าตอบแทน 1.2 รวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมูลเพอ่ื จัด ผู้รบั บริการมี และผ้สู นใจ มกราคม วิทยากร กระบวนการเรียนรู้ใหต้ รงตามศักยภาพความ ความรู้ความ ในพนื้ ทีต่ ำบล 2566 8,000 บาท ต้องการของผู้เรียน เขา้ ใจการสาน บา้ นกลึง คา่ วสั ดุ 1.3 ประชมุ วางแผนชแี้ จงการปฏบิ ตั ิงาน ตะกร้าจาก จำนวน 16 คน ณ กศน.ตำบล 3,000 บาท หวายเทียม บ้านกลึง หมู่ 4 17 - 25 - จดั ทำหลกั สตู รและอนมุ ตั ิหลกั สตู ร 2. เพือ่ ให้ ตำบลบ้านกลึง กุมภาพนั ธ์ - เตรยี มสื่อเอกสาร , วัสดุ ประชาชน อำเภอบางไทร 2566 2. ขัน้ ดำเนินการ ( Do ) ผู้รบั บริการมี จงั หวัด 2.1 ดำเนนิ การตามโครงการท่ีเสนอ ทักษะและ พระนครศรอี ยุธยา - กิจกรรมการศกึ ษาต่อเนือ่ ง มองเหน็ ช่อง รูปแบบกล่มุ สนใจ หลกั สูตรการสานตะกรา้ ทางการสาน 27 จากหวายเทยี ม ตะกรา้ จาก กมุ ภาพันธ์ หวายเทยี ม 3. ข้ันตรวจสอบ ( Check ) 2566 3.1 ประเมนิ ความพึงพอใจ 1–2 ( แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ) มีนาคม 3.2 การนิเทศตดิ ตามผล 2566 4. ข้นั ปรับปรงุ แก้ไข ( Action ) 4.1 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมลู จาก แบบสอบถามความพึงพอใจและแบบ ประเมนิ ผลความรู้ , แบบนเิ ทศการจัดกิจกรรม 4.2 ประชุมคณะทำงานเพื่อรบั ทราบผล การดำเนินงานทผี่ ่านมาในการจัดกิจกรรม 4.3 นำปัญหา/อปุ สรรคและข้อเสนอแนะ ในการจัดกจิ กรรมมาเปน็ แนวทางในการ วางแผนพัฒนาในการจดั กิจกรรมคร้ังต่อไป 3
6. งบประมาณ งบประมาณประจำปี 2566 แผนงาน : ยทุ ธศาสตร์เพือ่ สนับสนนุ ด้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน กิจกรรมส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ 31 ชั่วโมงขึ้นไป) งบรายจ่ายอื่น รหัสงบประมาณ 20002340052005000033 รหัสกิจกรรมหลัก 20002666164900000 แหล่งของเงิน 6611500 ศูนย์ต้นทุน 2000200214 จำนวนเงิน 11,000 บาท (หน่ึงหมืน่ หนง่ึ พนั บาทถว้ น) 1. คา่ วทิ ยากร จำนวน 5 ช่ัวโมง x 200 บาท x 8 วัน เปน็ เงนิ 8,000 บาท 2. คา่ วสั ดุ เป็นเงนิ 3,000 บาท รวมเป็นเงินทงั้ สิ้น 11,000 บาท (หนง่ึ หมน่ื หนึ่งพนั บาทถ้วน) **หมายเหตุ ถวั จ่ายทุกรายการ 7. ระยะเวลา วนั ท่ี 17 – 25 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ.2565 8. สถานท่ี ณ กศน.ตำบลบ้านกลงึ หมทู่ ่ี 4 ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยุธยา 9. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ 9.1 ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอบางไทร 9.2 กศน.ตำบลบา้ นกลึง 9.3 กศน.ตำบลโคกช้าง 10. โครงการท่ีเกย่ี วขอ้ ง 10.1 โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต ประจำปีงบประมาณ 2565 10.2 โครงการจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 10.3 โครงการจดั กระบวนการเรยี นร้ตู ามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจำปีงบประมาณ 2565 10.4 โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2565 11. หน่วยงานเครือข่าย 11.1 องค์การบรหิ ารส่วนตำบลบ้านกลึง 11.2 โรงเรยี นวัดแก้ว(ประโชตวิ ิทยาภรณ)์ 11.3 ผู้นำชุมชน 11.4 ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ิน 4
12. ผลลัพธ์ (OUT COME) 12.1 ผเู้ รียนเกิดกระบวนการเรยี นรู้ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการสานตะกร้าจากหวายเทียมโดย เนน้ การปฏิบัติจริง 12.2 ผู้เรียนมที ักษะ และมองเหน็ ชอ่ งทางในการสานตะกรา้ จากหวายเทียมสามารถนำความรู้ไป ปรบั ใช้ในการประกอบอาชพี ได้ 13. ดชั นชี ีว้ ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ 13.1 ตัวชีว้ ดั ผลผลิต (OUTPUT) 13.1.1 ผู้เรียนร้อยละ 85 เกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจในการสานตะกร้าจาก หวายเทียมโดยเน้นการปฏบิ ตั จิ รงิ 13.1.2 ผู้เรียนร้อยละ 85 มีทักษะ และมองเห็นช่องทางในการสานตะกร้าจากหวายเทียม สามารถนำความร้ไู ปปรบั ใชใ้ นการประกอบอาชพี ได้ 13.2 ตวั ชว้ี ดั ผลลพั ธ์ (OUTCOME) 13.2.1 ผู้เรยี นเกิดกระบวนการเรียนรู้ มีความรู้ ความเขา้ ใจในการสานตะกร้าจากหวายเทียมโดย เนน้ การปฏบิ ตั ิจริง 13.2.2 ผเู้ รยี นมีทกั ษะ และมองเหน็ ช่องทางในการสานตะกร้าจากหวายเทยี มสามารถนำความรู้ ไปปรับใช้ในการประกอบอาชพี ได้ 14. การตดิ ตามและประเมินผล 14.1 แบบสำรวจความพึงพอใจ 14.2 แบบประเมินผลความรู้ 14.3 แบบนิเทศตดิ ตามงาน 14.4 แบบวดั ผลและประเมินผล 14.5 ติดตามจากแบบรายงานผลการดำเนนิ โครงการฯ 5
บทที่ 2 เอกสารท่ีเกีย่ วขอ้ ง หลกั สตู รการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง รปู แบบกลุ่มสนใจ ชอ่ื หลกั สูตร การสานตะกรา้ จากหวายเทยี ม จำนวน 40 ชวั่ โมง ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางไทร กลุ่มอาชีพด้านดา้ นอุตสาหกรรมหรอื หตั ถกรรม ความเปน็ มา โ ค ร ง ก า ร ศู น ย์ ฝึ ก อ า ชี พ ชุ ม ช น เ ป็ น โ ค ร ง ก า ร ส ำ คั ญ ต า ม พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ส่ ง เ ส ริ ม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ.2551 มีความสอดคล้องกับแผนระดับ ต่าง ๆ ใน ก าร ดำเนิน ก าร ขับเคลื่อ น โ คร ง ก าร ตาม ยุ ทธ ศาสตร์ชาติ 20 ปี(พ .ศ.2561-2579) ยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ : ด้านการพัฒนาศักยภาพคนตลอดชีวิต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566 – 2570) ในการกำหนดทิศทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ให้ประเทศสามารถก้าวข้ามความท้าทายต่าง ๆ เพอ่ื ให้ “ประเทศไทยมีความมน่ั คง ม่งั คงั่ ยัง่ ยนื เป็นประเทศพัฒนาแลว้ ดว้ ยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” ตามเจตนารมณ์ของยุทธศาสตร์ชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้ความช่วยเหลือกลุ่ม เปราะบางให้มีโอกาสได้รบั การพฒั นาอยา่ งเตม็ ศักยภาพ เพอื่ แก้ไขปัญหาความยากจนเร้ือรังและป้องกันการ สง่ ต่อความยากจนไปยงั ลูกหลาน โดยเนน้ ส่งเสรมิ โอกาสทางการศึกษาและการพฒั นาทกั ษะอาชพี ทมี่ ีคุณภาพ แก่เด็กและเยาวชนจากครัวเรือนยากจน พร้อมทั้งพัฒนาหลักประกันและความคุ้มครองทางสังคมที่มีการ บรู ณาการอย่างเปน็ ระบบ เพอื่ สง่ เสริมความมั่นคงในชีวิตให้ทกุ คนในสังคมไดร้ ับความคุม้ ครองทางสังคมอย่าง เหมาะสมเพียงพอ สามารถหลุดพ้นจากความยากจนได้อย่างยั่งยืน ในส่วนของการลดความเหลื่อมล้ ำของ ศักยภาพในการแข่งขันทางธุรกิจนั้น ควรมุ่งให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมให้สามารถแข่งขันได้ และมีการเติบโตที่ยั่งยืน โดยพัฒนาสภาพแวดล้อมให้ผู้ประกอบการไทย สามารถแข่งขันไดอ้ ยา่ งเป็นธรรม อาทิ การสนับสนุนทางเทคโนโลยีและกลไกทางการเงินที่เหมาะสมเพื่อให้ เข้าถึงแหล่งทุนได้อย่างทั่วถึง การยกระดับมาตรฐานและพัฒนาต่อยอดผลิตภัณฑ์และบริการ การเพิ่มการ เขา้ ถงึ บรกิ ารและการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ รวมถึงการสนบั สนนุ ให้วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมของไทย ยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงศึกษาธกิ าร : ยุทธศาสตร์ที่ 3 พฒั นาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ยใ์ ห้มคี ุณภาพ แผนงานยุทธศาสตรเ์ พอื่ สนับสนุนดา้ นการพัฒนา และเสริมสรา้ งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ ปงี บประมาณ 2566 จดุ เน้นการดำเนินงานของ กศน.“กศน.เพือ่ ประชาชน “กา้ วใหม่ : กา้ วแห่ง คุณภาพ” โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนให้ความสำคญั กับการจัดกิจกรรมฝึกอาชพี ให้ประชาชนระดับฐานราก ท่ีอาศัยอยใู่ นตำบล โดยเนน้ การจัดการศึกษาทย่ี ดึ พื้นทเ่ี ป็นฐานในการพฒั นา(Area – based Development) 6
ใช้หลักสูตรอาชีพเป็นฐาน (Career – Based Education) ในหลักสูตร 5 กลุ่มอาชีพ ได้แก่ หลักสูตรกลุ่ม อาชีพด้านเกษตรกรรม ด้านอุตสาหกรรมหรือหัตถกรรม ด้านพาณิชยกรรมและบริการ ด้านความคิด สร้างสรรค์ และกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง ให้ได้รับการพัฒนาสมรรถนะและทักษะในการประกอบอาชีพ การศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะอาชพี และเพ่มิ ขีดความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาหลักสูตรอาชพี ระยะสน้ั ที่เน้น Up – Skill Re – Skill และ New – Skill ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และกลุ่มอาชีพใหม่ท่ี รองรับ Disruptive Technology เพื่อการมีรายได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี ต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น สร้าง มูลค่าเพิ่ม และพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน ยกระดับผลิตภัณฑ์สินค้าให้มีคุณภาพมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของ ตลาด มีการบูรณาการกับหน่วยงานภาคีเครือข่ายให้เกิดการรวมกลุม่ และจัดต้ังเป็นวิสาหกิจชุมชน เพื่อเพิ่ม ช่องทางการประชาสัมพันธ์ และสนับสนุนให้เกิดช่องทางการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ในโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ ชุมชน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางไทร จัดทำโครงการ ขับเคลื่อนการพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนหลักสูตรอาชีพเพ่อื การมีงานทำ รูปแบบ ช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตร การสานตะกร้าจากหวายเทยี ม เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนท่มี า จากการทำแบบสำรวจความต้องการและเวทีชาวบ้าน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการ การสานตะกร้าจากหวายเทียม ได้อย่างถูกต้องตามขั้นตอน ผู้เรียนสามารถนำความรู้ไปใช้ในการประกอบ อาชีพและสร้างรายได้ และสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข สอดคล้องตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง หลกั การของหลักสตู ร 1. ม่งุ พฒั นาประชาชนใหไ้ ดร้ ับการศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชพี และการมงี านทำอยา่ งมีคณุ ภาพ 2. เปน็ หลักสตู รอาชีพทเ่ี น้นการสรา้ งรายได้เสรมิ ในครัวเรอื น มีคณุ ภาพชีวติ ที่ดี และใชเ้ วลาว่างให้ เกิดประโยชน์ 7
จดุ มุ่งหมาย 1. เพ่ือให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจและเกิดทกั ษะในการสานตะกร้าจากหวายเทียม 2. เพ่อื ให้ผูเ้ รยี นสามารถสร้างอาชพี เพ่มิ รายได้ มคี ุณภาพชวี ิตท่ดี ีให้กบั ตนเองและครอบครวั กลุม่ เป้าหมาย ประชาชนทั่วไปในอำเภอบางไทร ระยะเวลา จำนวน 40 ช่ัวโมง จำนวน 5 ชัว่ โมง จำนวน 35 ชวั่ โมง - ภาคทฤษฎี - ภาคปฏบิ ตั ิ 8
รายละเอียดโครงสรา้ งหลกั สตู ร ท่ี เรื่อง จุดประสงค์การเรยี นรู้ เน้อื หา การจัดกระบวนการเรยี นรู้ จำนวนชั่วโมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 1 การสานตะกร้า 1.1 อธบิ ายความสำคญั 1.1 ความสำคญั ของ 1. วทิ ยากรบรรยายให้ความรู้ 2 - จากหวายเทยี ม ของการประกอบอาชีพ การประกอบอาชพี เรอื่ งความสำคญั ของอาชพี การ การสานตะกรา้ จาก การสานตะกร้าจาก สานตะกรา้ จากหวายเทียม หวายเทียม หวายเทยี ม 2. ศกึ ษา ความรเู้ บ้อื งตน้ ในการ 1.2 อธบิ ายความเปน็ ไปได้ 1.2 ความรูเ้ บ้อื งต้น ประกอบอาชพี การสานตะกร้า ในการประกอบอาชพี การ ในการประกอบอาชีพ จากหวายเทยี ม ขอ้ มลู ที่ สานตะกรา้ จากหวายเทียม การสานตะกร้าจาก เก่ียวขอ้ งกับอาชพี จากผู้รู้ 1.3 บอกความสำคัญและ หวายเทยี ม ผูป้ ระกอบการในชุมชน ความ ประโยชน์ของแหลง่ เรียนรู้ 1.2.1 ข้อมูลที่ ตอ้ งการของตลาด การลงทุน และภูมปิ ญั ญาในท้องถ่นิ เกยี่ วข้องกับอาชพี และ กระบวนการผลติ การ 1.4 สามารถบอกทศิ จากผู้รู้ ประกอบการ จัดหาวสั ดุ อปุ กรณ์และวัตถุดิบ ทางการประกอบอาชพี ได้ ในชุมชน 3. ศึกษาดงู านจากแหล่งเรียนร/ู้ 1.2.2 ความ ภมู ิปญั ญาในท้องถิ่น ตอ้ งการของตลาด 4. วทิ ยากรกับผู้เรยี นร่วมกัน 1.2.3 การลงทนุ วเิ คราะห์รปู แบบ วธิ กี ารในการ 1.2.4 ระบวนการ ประกอบอาชพี การทำการสาน ผลติ การจดั หาวสั ดุ ตะกร้าจากหวายเทียมกบั อปุ กรณแ์ ละวตั ถดุ ิบ ผู้เรยี นทจี่ ะนำไปสู่การประกอบ 1.3 แหล่งเรยี นร้/ู ภมู ิ อาชพี ทเ่ี ปน็ ไปตามความพร้อม ปัญญาในทอ้ งถิน่ และศกั ยภาพของผู้เรยี นเชน่ 1.4 ทศิ ทางการ การเปน็ เจา้ ของกิจการ การ ประกอบอาชีพ รับจา้ ง เปน็ ต้น 2 ทักษะการ 2.1 บอกวธิ ีการจดั เตรียม 2.1 สถานท่ี ในการ 2.1 วทิ ยากรให้ความรู้ เก่ียวกบั - 35 ประกอบ สถานที่ ในการประกอบ ประกอบอาชีพ การเตรยี ม สถานท่ี อุปกรณ์ ใน อาชีพการสาน อาชพี การสานตะกร้าจาก การสานตะกร้าจาก การประกอบอาชพี การสาน ตะกร้าจาก หวายเทียมได้ถกู ต้อง หวายเทยี ม ตะกร้าจากหวายเทียม หวายเทยี ม 2.2 บอกขั้นตอนการ 2.2 ขน้ั ตอนการ 2.2 วทิ ยากรใหค้ วามรแู้ ละฝึก จดั เตรียมวัสดุ อปุ กรณ์ เตรยี มวสั ดุ อปุ กรณ์ ปฏบิ ตั ิจริงใหเ้ กิดทักษะในการ และเคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการ 2.3 ข้นั ตอนการ เตรยี มวสั ดุ สานตะกร้าจากหวายเทียม ออกแบบลวดลายให้ 2.3 วทิ ยากรใหค้ วามรู้ วธิ กี าร ได้ถูกตอ้ ง เหมาะสมกับรปู ทรง ออกแบบลวดลายของตะกร้า 9
ท่ี เรอ่ื ง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนอื้ หา การจดั กระบวนการเรยี นรู้ จำนวนชัว่ โมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 2.3 บอกข้ันตอนการสาน ของตะกรา้ หวาย หวายเทียมให้สวยงามเหมาะสม ตะกร้าจากหวายเทยี ม เทียม กับรูปทรงของตะกรา้ และฝกึ ถูกต้องตามขน้ั ตอนที่ได้ 2.4 ขนั้ ตอนการฝกึ ปฏบิ ัติจรงิ ใหเ้ กิดทักษะ จน มาตรฐาน ทักษะการสานตะกรา้ เข้าใจเทคนคิ การออกผลิตภัณฑ์ 2.4 บอกวธิ กี ารเพม่ิ มูลคา่ จากหวายเทยี ม 2.4 สาธติ และฝึกปฏิบัติจริงให้ ของผลิตภัณฑ์ดว้ ยการ เกิดทกั ษะ จนเข้าใจเทคนิคและ ออกแบบผลิตภัณฑใ์ หม่ วิธีการของการสานตะกรา้ จาก หวายเทียม 3 การบรหิ าร 3.1 สามารถบรหิ ารจัดการ 3.1 การบริหาร 3.1 ให้ผูเ้ รียน สนทนา 2- จดั การในการ ควบคุม จดั การการผลิตและ แลกเปล่ียนขอ้ มูลความคิดเห็น ประกอบการ - วางแผนกระบวนการ พัฒนารูปแบบ เร่ือง การบริหารจัดการการ สานตะกร้าจาก ผลติ การสานตะกรา้ จาก ผลิตภัณฑ์การสาน ผลติ แล้วจดั กิจกรรมการเพ่อื หวายเทียม หวายเทียม ตะกรา้ จากหวาย สรา้ งแนวคิดในการดำเนิน - สามารถบอกขัน้ ตอน เทยี ม กจิ กรรมการเรยี นรู้ สรุปองค์ และรายละเอียดการจัดทำ 3.1.1 การควบคุม ความรู้ในรูปแบบการตอบ องคป์ ระกอบการตลาด ปรมิ าณ คุณภาพการ คำถามจากใบงาน หรือแบบ สำหรับการเข้าสู่ตลาดของ ผลติ และพฒั นา บันทกึ การเรียนรู้ อาชพี การสานตะกร้าจาก รูปแบบผลติ ภณั ฑ์ 3.2 จัดให้ผู้เรียนแบง่ เปน็ หวายเทยี ม 3.1.2 การลด กลุ่มๆ เพ่อื ศึกษาสาระขอ้ มูล 3.3 สามารถบอกอปุ สรรค ต้นทุน จากใบความรู้ เรอ่ื ง การจัดการ และความเสยี่ งของอาชีพ 3.1.3 การวางแผน การตลาด บันทึกการเรียนรู้ การสานตะกรา้ จากหวาย การผลิตการใช้ และจดั การอภิปราย เทยี ม นวัตกรรม และ แลกเปลี่ยนแนวคิด เพอื่ สรุป 3.4 สามารถจดั ทำ เทคโนโลยใี นการ ขั้นตอนท่ีถูกตอ้ งและวิธีการ แผนการตลาดเพื่อเข้าสู่ ออกแบบช้ินงาน เหมาะสม อาชพี การผลิตการสาน 3.2 การจดั การ 3.3 ครูสนทนาแลกเปล่ียนกับ ตะกร้าจากหวายเทียมให้ การตลาด ผู้เรียน ความเส่ียงและ ครอบคลมุ และมี 3.2.1 การทำ อุปสรรคในการประกอบธุรกิจ ประสิทธิภาพสงู สดุ ฐานข้อมูลลูกคา้ พรอ้ มสรุปแนวคิดทไ่ี ด้ในแบบ 3.2.2 การ บันทึกการเรียนรู้ ประชาสมั พันธ์ 3.4 ครูกำหนดให้ผเู้ รยี นฝึก สร้างแบรนด์โลโก้ ปฏิบัตกิ ารจัดทำแผนการตลาด 10
ท่ี เรื่อง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ เนือ้ หา การจัดกระบวนการเรียนรู้ จำนวนชัว่ โมง ทฤษฎี ปฏิบตั ิ 4 โครงการ เพอ่ื เพิม่ มลู ค่า อยา่ งง่ายในการนำอาชพี เขา้ สู่ ประกอบอาชีพ 1- 3.2.3 การนำ ตลาด เพ่ือวางแผนนำไปใช้จรงิ สนิ คา้ เข้าสู่ เม่ือเสร็จสิ้นการฝึก โดยผู้สอน กระบวนการ ให้คำช้ีแนะวิธีการ มาตรฐานสินคา้ 3.2.4 การ จำหนา่ ยผลิตภณั ฑ์ 3.2.5 การทำบัญชี รายรบั – รายจ่าย 3.2.6 การ วางแผนการตลาด 3.2.7 การเข้าสู่ การตลาดใน ระดบั ประเทศและ ตลาดต่างประเทศ 3.3 การจัดการ ความเสย่ี ง 3.3.1 การ วิเคราะหแ์ ละควบคมุ ความเสี่ยง 1) ระยะเวลาการ ผลิตกบั การจำหน่าย 2) ราคาขาย 3) คู่แข่งขนั 3.4 การวางแผน การดำเนินงาน 4.1 บอกความสำคญั ของ 4.1 ความสำคญั ของ 4.1 จัดใหผ้ ู้เรียนศกึ ษาเน้ือหา โครงการอาชีพได้ โครงการอาชีพ จากใบความรู้ เรอ่ื ง ความสำคัญ 4.2 บอกประโยชน์ของ 4.2 ประโยชนข์ อง ของโครงการอาชีพ ประโยชน์ โครงการอาชพี ได้ โครงการอาชพี ของโครงการอาชีพ 4.3 บอกองคป์ ระกอบของ องค์ประกอบของโครงการ โครงการอาชีพได้ อาชีพ แล้วจัดกจิ กรรมการ 11
ท่ี เร่ือง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เน้ือหา การจัดกระบวนการเรยี นรู้ จำนวนช่วั โมง ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ 4.4 อธิบายความหมาย 4.3 องคป์ ระกอบ สนทนาแลกเปลยี่ นขอ้ มูลความ ขององค์ประกอบของ ของโครงการ คิดเหน็ เพอื่ สร้างแนวคดิ ในการ โครงการอาชพี ได้ ประกอบอาชพี ดำเนินกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.5 อธบิ ายลักษณะการ 4.4 การเขียน 4.2 จัดให้ผู้เรียนศกึ ษาสาระ เขยี นทด่ี ีขององค์ประกอบ โครงการอาชพี ข้อมูลจากใบความรู้ เรอ่ื ง ของโครงการอาชพี ได้ 4.5 การประเมิน ตัวอยา่ งการเขยี นโครงการ 4.6 เขียนโครงการในแต่ ความเหมาะสมและ อาชีพทดี่ ี เหมาะสม และ ละองค์ประกอบให้ สอดคล้องของ ถูกต้อง พร้อมจัดการอภิปราย เหมาะสมและถูกต้องได้ โครงการอาชีพ เพอ่ื สรุปแนวคิดเปน็ แนวทางใน 4.7 ตรวจสอบความ การเขยี นโครงการอาชีพท่ดี ี เหมาะสมและสอดคล้อง เหมาะสม และถูกตอ้ ง ของโครงการอาชีพได้ 4.3 จัดให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ การเขียนโครงการอาชีพ 4.4 กำหนดใหผ้ ู้เรียนฝกึ ปฏิบตั กิ ารประเมนิ ความ เหมาะสมและสอดคล้องของ โครงการอาชพี 4.5 จัดให้ผู้เรียนปรับปรุง โครงการอาชีพ ให้มีความ เหมาะสมและถูกต้อง 4.6 กำหนดให้ผู้เรียนเขียน โครงการอาชีพของตนเอง เพอื่ เสนอขอรบั การสนับสนุน งบประมาณดำเนินงานอาชพี และใช้ในการดำเนนิ การ ประกอบอาชีพตอ่ ไป 12
ส่ือการเรียนรู้ 1. แผน่ พับ 2. ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ /วิทยากร 3. ตวั อยา่ งชิน้ งาน 4. วสั ดุ อปุ กรณ์ ท่ีใชใ้ นการฝกึ ปฏิบตั ิจรงิ 5. ส่ือเทคโนโลยี เชน่ เว็บไซตค์ ลิปวิดโี อ การวัดและประเมินผล 1. แบบทดสอบความรู้เรอื่ งการสานตะกรา้ จากหวายเทียม 2. การประเมนิ จากการฝึกปฏบิ ตั ิ ชนิ้ งานหรือผลงานที่เกดิ จากการจัดการเรยี นรู้ 3. แบบประเมินความพึงพอใจ เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร 1. มีเวลาเรียนและฝึกปฏิบัติตามหลกั สูตร ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80 2. มผี ลการประเมินผ่านเกณฑ์ไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของหลกั สูตร 3. มีผลงานผ่านการประเมนิ ทดสอบท่ีมีคณุ ภาพตามหลักเกณฑ์ 13
บทท่ี 3 สรุปผลการดำเนินงาน ขนั้ ตอนการดำเนินงานในการจดั กิจกรรมการศกึ ษาต่อเนื่อง รูปแบบชน้ั เรียนวิชาชพี หลักสูตรการสาน ตะกร้าจากหวายเทียม กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 12 คน จัดได้ 15 คน ในระหว่างวันที่ 10 - 18 มกราคม พ.ศ.2566 ณ ศาลาประชาคม หมู่ท่ี 7 ตำบลโคกช้าง อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา มดี ังน้ี 1. ขั้นวางแผน (Plan) 1.1 สำรวจความตอ้ งการ วเิ คราะหค์ วามตอ้ งการ ของกลุ่มเป้าหมาย 1.2 ประชุมชแี้ จงผ้เู กี่ยวข้องและแต่งตั้งคณะ ดำเนินงาน 1.3 จัดทำหลักสูตร/ อนุมตั ิหลักสูตร 1.4 ประสานเครอื ขา่ ย 2. ข้นั ดำเนินการ (Do) ดำเนินการจัดกจิ กรรม 2.1 จัดฝกึ อบรม กิจกรรมการศึกษาตอ่ เนอื่ ง รูปแบบชน้ั เรียนวชิ าชีพ หลกั สตู รการสานตะกร้าจากหวายเทียม จำนวน 40 ชั่วโมง 3. ขัน้ ตรวจสอบ (Check) 3.1 ประเมินความพึงพอใจ (แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์) 3.2 การนเิ ทศติดตามผล 4. ข้นั ปรับปรงุ แกไ้ ข (Action) 4.1 นำผลการนเิ ทศมาปรับปรุงพฒั นา 14
ขอ้ มูลผเู้ ข้ารว่ มโครงการ เปา้ หมายผ้เู ข้าร่วมโครงการจำนวนทั้งหมด 12 คน จดั ได้ 15 คน 1. เพศ เพศชาย จำนวน 5 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.37 เพศหญงิ จำนวน 10 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66.67 รวม จำนวน 15 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00 2. อายุ จำนวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 00.00 โดยเฉลี่ยมอี ายตุ ้ังแต่ จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6.67 ต่ำกว่า 15 ปี จำนวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 40.00 อายุ 15 - 39 ปี จำนวน 8 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 53.33 อายุ 40 - 59 ปี จำนวน 15 คน คดิ เป็นร้อยละ 100.00 และอายุ 60 ปีขึน้ ไป รวม 3. ระดับการศกึ ษา จำนวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 40.00 ต่ำกว่าประถมศกึ ษา จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 26.67 ประถมศึกษา จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 13.33 มัธยมศกึ ษาตอนต้น จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.67 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 00.00 อนปุ รญิ ญา/ปว.ส. จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 13.33 ปรญิ ญาตรี จำนวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 00.00 สงู กวา่ ปริญญาตรี จำนวน 15 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00 รวม 4. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ โดยเฉลยี่ ประกอบอาชีพ รับราชการ จำนวน 0 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 00.00 คิดเป็นรอ้ ยละ 00.00 รับจา้ ง จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 คดิ เปน็ ร้อยละ 00.00 เกษตรกร จำนวน 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 33.33 คิดเปน็ ร้อยละ 00.00 คา้ ขาย จำนวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00 พ่อบา้ น/แม่บ้าน จำนวน 5 คน อาชพี อ่ืน ๆ จำนวน 0 คน รวม จำนวน 15 คน 15
ผลการดำเนนิ งาน 1. จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการฯ ที่ตั้งเป้าหมายไว้ จำนวน 12 คน จัดได้ 15 คน ประกอบอาชีพตาม กลุ่มเป้าหมาย 15 คน 2. วิทยากรใหค้ วามรู้ โดยวิธีการบรรยาย วิธกี ารสาธติ และวิธกี ารฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ 3. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ในระดับมากที่สุด (ตามเอกสารบทที่ 4 แบบสอบถามความพึงพอใจและสรุปแบบสอบถามความพึงพอใจ) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏบิ ตั ิงาน งบประมาณในการจดั ซื้อวัสดมุ ีจำนวนจำกดั วัสดุอปุ กรณ์ในการฝึกมจี ำนวนจำกดั ไม่เพียงพอตอ่ จำนวนผูเ้ รยี น จำนวนหลกั สูตรบางหลักสูตรจำนวนช่วั โมงมากเกนิ ไป ขอ้ เสนอแนะ งบประมาณจดั สรรค่าวัสดุให้เพยี งพอต่อจำนวนผูเ้ รียน
บทท่ี 4 สรปุ แบบสอบถามความพึงพอใจ หลกั สตู ร/โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน จำนวน 40 ชวั่ โมง รูปแบบชน้ั เรยี นวชิ าชีพ หลักสตู รการสานตะกรา้ จากหวายเทียม วนั ที่ 10 – 18 มกราคม พ.ศ.2566 สถานทจี่ ัด ศาลาประชาคม หม่ทู ี่ 7 ตำบลโคกช้าง อำเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ขอ้ มูลพ้นื ฐานของผู้ประเมินความพงึ พอใจ คำชีแ้ จง แบบประเมินความพึงพอใจ มี 2 ตอน ตอนที่ 1 ขอ้ มลู ทั่วไป คำชี้แจง โปรดใสเ่ ครอื่ งหมาย ลงในชอ่ ง ทีต่ รงกับข้อมลู ของทา่ นเพยี งช่องเดยี ว เพศ ชาย หญิง อายุ ตำ่ กว่า 15 ปี 15 - 29 ปี 30 - 39 ปี 40 - 49 ปี 50 - 59 ปี 60 ปีข้ึนไป ระดบั การศึกษา ตำ่ กวา่ ประถมศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนตน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย อนุปริญญา/ปว.ส. ปริญญาตรี สงู กวา่ ปริญญาตรี อื่นๆ โปรดระบ.ุ ............................................................................................ ประกอบอาชีพ ผ้นู ำท้องถิ่น อบต./เทศบาล พนักงานรฐั วสิ าหกิจ ทหารกองประจำการ เกษตรกร รบั ราชการ คา้ ขาย รบั จา้ ง อสม. แรงงานตา่ งด้าว พอ่ บ้าน/แม่บา้ น อน่ื ๆ โปรดระบ.ุ ......................... 17
ตอนที่ 2 ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมและความพงึ พอใจของผ้เู รียน/ผ้รู บั บรกิ าร คำชแี้ จง โปรดใส่เคร่ืองหมาย ลงในช่อง ที่ตรงกบั ความคิดเห็นของท่านเพียงช่องเดียว ข้อ รายการประเมนิ ความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจด้านเนอื้ หา มาก ปาน นอ้ ย 1 เน้ือหาตรงตามความต้องการ ทีส่ ุด มาก กลาง น้อย ทีส่ ดุ 2 เน้ือหาเพยี งพอต่อความต้องการ 3 เนือ้ หาปัจจบุ นั ทนั สมัย 4 เน้ือหามีประโยชน์ตอ่ การนำไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพชวี ิต ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม 5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เป้าหมาย 9 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวัตถปุ ระสงค์ ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวทิ ยากร 10 วิทยากรมีความรคู้ วามสามารถในเร่อื งท่ถี า่ ยทอด 11 วิทยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 12 วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มสี ่วนร่วมและซักถาม ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก 14 การส่อื สาร การสร้างบรรยากาศเพ่อื ให้เกิดการเรียนรู้ 15 การบริการ การช่วยเหลอื และการแกป้ ัญหา ความคดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอืน่ ๆ...................................................................................................................... …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…… 18
บทท่ี 5 สรปุ แบบสอบถามความพงึ พอใจ หลกั สตู ร/โครงการศนู ย์ฝกึ อาชพี ชุมชน จำนวน 40 ช่วั โมง รูปแบบชั้นเรยี นวิชาชพี หลักสูตรการสานตะกรา้ จากหวายเทยี ม วันท่ี 10 – 18 มกราคม พ.ศ.2566 สถานท่จี ัด ศาลาประชาคม หมู่ที่ 7 ตำบลโคกชา้ ง อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรีอยุธยา ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่วั ไป ผู้เรยี นหลกั สตู รการสานตะกรา้ จากหวายเทียม จำนวน 40 ชัว่ โมง เป้าหมาย 15 คน จัดได้ 16 คน 1. เพศ เพศชาย จำนวน 5 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.37 เพศหญิง จำนวน 10 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 66.67 รวม จำนวน 15 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 100.00 10 10 หญงิ 8 65 4 2 0 ชาย ผตู้ อบแบบสำรวจเป็นเพศหญงิ (ร้อยละ 66.67) เพศชาย (ร้อยละ 33.37) 2. อายุ จำนวน 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 00.00 โดยมีอายเุ ฉล่ยี ต้งั แต่ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 6.67 ตำ่ กวา่ 15 ปี จำนวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 40.00 อายุ 15 - 39 ปี จำนวน 8 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 53.33 อายุ 40 - 59 ปี จำนวน 15 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100.00 และอายุ 60 ปีขนึ้ ไป รวม 19
8 8 6 7 1 40-59 ปี 60 ปีขน้ึ ไป 6 15-39 ปี 5 4 3 2 10 0 ต่ากวา่ 15 ปี ผูต้ อบแบบสำรวจสว่ นมากอยู่ในช่วงอายุ 60 ปีขนึ้ ไป (รอ้ ยละ 53.33) รองลงมาอายุ 40-59 ปี (ร้อยละ 40.00) อายุ 15 – 39 ปี (รอ้ ยละ 6.67) ตามลำดับ 3. ระดับการศกึ ษา จำนวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 40.00 ตำ่ กว่าประถมศกึ ษา จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.67 ประถมศึกษา จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.33 มธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 6.67 มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 0 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 00.00 อนปุ ริญญา/ปว.ส. จำนวน 2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 13.33 ปรญิ ญาตรี จำนวน 0 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 00.00 สูงกวา่ ปรญิ ญาตรี จำนวน 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100.00 รวม 10 10 9 8 7 6 5 4 3 2 12 2 10 0 ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาตอน ปรญิ ญาตรี สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี ตอนตน้ ปลาย ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นมาก มีการศึกษาอยูใ่ นระดับประถมศกึ ษา (รอ้ ยละ 73.33) รองลงมา ระดบั ม.ต้น (รอ้ ยละ 13.33) ระดับปริญญาตรี (ร้อยละ 13.33) และระดบั ม.ปลาย (รอ้ ยละ 6.67) ตามลำดบั 20
4. ผู้เขา้ รว่ มโครงการฯ โดยเฉลย่ี ประกอบอาชพี รับราชการ จำนวน 0 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 00.00 คดิ เป็นรอ้ ยละ 00.00 รับจ้าง จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 66.67 คดิ เป็นร้อยละ 00.00 เกษตรกร จำนวน 10 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 33.33 คดิ เป็นรอ้ ยละ 00.00 ค้าขาย จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 พ่อบา้ น/แมบ่ ้าน จำนวน 5 คน อาชีพอืน่ ๆ จำนวน 0 คน รวม จำนวน 15 คน 10 10 9 8 0 เกษตรกรรม 0 5 7 คา้ ขาย รบั ราชการ อน่ื ๆ 6 5 4 3 2 10 0 รบั จา้ ง ผตู้ อบแบบสำรวจส่วนมากประกอบอาชพี เกษตรกร (ร้อยละ 66.67) รองลงมาอาชพี อาชีพแมบ่ ้าน/ พอ่ บ้าน (ร้อยละ 33.33) ตามลำดับ 21
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อการจัดกจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ือง รปู แบบช้นั เรียนวิชาชีพ หลกั สูตรการสานตะกรา้ จากหวายเทยี ม จำนวน 40 ช่วั โมง เป้าหมาย 12 คน จัดได้ 15 คน ข้อ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ ระดับความพึงพอใจ หมาย เหตุ มาก ปาน นอ้ ย ทสี่ ดุ มาก กลาง น้อย ทส่ี ดุ ตอนที่ 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอื้ หา 1 เน้ือหาตรงตามความต้องการ 13 2 - - - 2 เน้ือหาเพียงพอตอ่ ความต้องการ 12 3 - - - 3 เนอ้ื หาปัจจบุ ันทันสมัย 12 2 - - - 4 เนอ้ื หามีประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการพฒั นาคณุ ภาพชีวิต 13 2 - - - ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม 5 การเตรียมความพรอ้ มก่อนอบรม 13 2 - - - 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์ 78 - - - 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 14 1 - - - 8 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย 13 2 - - - 9 วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 14 1 -- ตอนที่ 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร 10 วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถในเร่อื งท่ถี ่ายทอด 13 2 - - - 11 วิทยากรมเี ทคนิคการถ่ายทอดใช้สอื่ เหมาะสม 12 3 - - - 12 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีส่วนร่วมและซักถาม 13 2 - - - ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอำนวยความสะดวก 13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอำนวยความสะดวก 12 3 - - - 14 การสอ่ื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพื่อใหเ้ กิดการเรียนรู้ 14 1 - - - 15 การบริการ การชว่ ยเหลือและการแกป้ ญั หา 96 - - - 22
ส่วนประเมินผลความพึงพอใจด้วยเกณฑค์ ะแนนเฉลี่ยรวม มีคา่ คะแนน 1 คะแนนและเกณฑร์ ะดบั ความพงึ พอใจเปน็ นี้ มีคา่ คะแนน 2 มคี ่าคะแนน 3 ระดบั ความพึงพอใจ / ความคิดเห็น ปรับปรงุ มคี า่ คะแนน 4 ระดบั ความพึงพอใจ / ความคดิ เห็น พอใช้ มคี ่าคะแนน 5 ระดบั ความพงึ พอใจ / ความคิดเห็น ปานกลาง ระดับความพึงพอใจ / ความคดิ เห็น ดี ระดับความพึงพอใจ / ความคิดเหน็ ดีมาก 23
สรปุ ความพึงพอใจในภาพรวม จากการจดั กิจกรรม การจดั การศึกษาต่อเนอ่ื ง รูปแบบชั้นเรียนวชิ าชีพ หลักสูตรการสานตะกรา้ จากหวายเทียม จำนวน 40 ชัว่ โมง เป้าหมาย 12 คน จดั ได้ 15 คน พบวา่ แบบสอบถามทั้ง 15 ขอ้ ผ้เู ข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจในระดับ “ดมี าก” ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจดา้ นเนอ้ื หา ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน ร้อยละ 1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ ดี 13 86.67 ปานกลาง 2 13.33 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 2 ดมี าก 13 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากมคี วามพึงพอใจอยใู่ นระดบั ดีมาก (ร้อยละ 86.67) และระดับดี (ร้อยละ 13.33) ตามลำดับ ขอ้ รายการ ดมี าก จำนวน ร้อยละ 2 เน้อื หาเพียงพอต่อความตอ้ งการ ดี 12 80.00 ปานกลาง 3 20.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง 0 0.00 0 0.00 24
3 ดมี าก 12 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผตู้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดับดีมาก (รอ้ ยละ 80) ระดบั ดี (ร้อยละ 20) ตามลำดบั ข้อ รายการ จำนวน ร้อยละ 3 เน้อื หาปัจจบุ นั ทนั สมัย 13 86.67 ดมี าก 2 13.33 ดี 0 0.00 ปานกลาง 0 0.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 2 ดมี าก 13 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผ้ตู อบแบบสำรวจส่วนมากมีความพึงพอใจอยู่ในระดับดมี าก (ร้อยละ 86.67) และระดับดี (ร้อยละ 13.33) ตามลำดับ 25
ขอ้ รายการ ดมี าก จำนวน ร้อยละ 4 เน้อื หามปี ระโยชนต์ อ่ การนำไปใชใ้ นการพฒั นา ดี 13 86.67 ปานกลาง 2 13.33 คณุ ภาพชวี ติ พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง 0 0.00 0 0.00 2 ดมี าก 13 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผ้ตู อบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั ดมี าก (ร้อยละ 86.67) และระดบั ดี (รอ้ ยละ 13.33) ตามลำดบั ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม ข้อ รายการ จำนวน ร้อยละ 13 86.67 5 การเตรียมความพรอ้ มก่อนอบรม ดมี าก 2 13.33 0 0.00 ดี 0 0.00 0 0.00 ปานกลาง พอใช้ ปรับปรงุ 2 ดมี าก 13 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผูต้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดีมาก (ร้อยละ 86.67) และระดับดี (รอ้ ยละ 13.33) ตามลำดับ 26
ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน รอ้ ยละ 6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ ดี 7 46.67 ปานกลาง 8 53.33 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 ดมี าก 8 7 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผตู้ อบแบบสำรวจส่วนมากมีความพงึ พอใจอยใู่ นระดบั ดี (ร้อยละ 46.67) และระดับดีมาก (ร้อยละ 53.33) ตามลำดับ ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน ร้อยละ 7 การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา ดี 14 93.33 ปานกลาง 1 6.67 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรุง 0 0.00 0 0.00 1 ดมี าก 14 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผู้ตอบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั ดมี าก (ร้อยละ 93.33) และระดบั ดี (ร้อยละ 6.67) ตามลำดับ 27
ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน รอ้ ยละ 8 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย ดี 13 86.67 ปานกลาง 2 13.33 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรงุ 0 0.00 0 0.00 2 ดมี าก 13 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผตู้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมีความพงึ พอใจอยูใ่ นระดบั ดมี าก (รอ้ ยละ 86.67) และระดบั ดี (รอ้ ยละ 13.33) ตามลำดับ ข้อ รายการ ดีมาก จำนวน ร้อยละ 9 วธิ ีการวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วตั ถุประสงค์ ดี 14 93.33 ปานกลาง 1 6.67 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรุง 0 0.00 0 0.00 1 ดมี าก 14 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากมคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดบั ดีมาก (ร้อยละ 93.33) และระดบั ดี (ร้อยละ 6.67) ตามลำดบั 28
ตอนท่ี 3 ความพึงพอใจต่อวิทยากร ดมี าก จำนวน ร้อยละ ข้อ รายการ ดี 13 86.67 10 วทิ ยากรมคี วามรูค้ วามสามารถในเรอ่ื งทถี่ ่ายทอด ปานกลาง 2 13.33 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 2 ดมี าก 13 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากมคี วามพงึ พอใจอยู่ในระดับดีมาก (ร้อยละ 86.67) และระดับดี (ร้อยละ 13.33) ตามลำดบั ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน รอ้ ยละ 11 วทิ ยากรมเี ทคนคิ การถ่ายทอดใช้ส่ือเหมาะสม ดี 12 80.00 ปานกลาง 3 20.00 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรุง 0 0.00 0 0.00 3 ดมี าก 12 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผตู้ อบแบบสำรวจสว่ นมากมคี วามพึงพอใจอยูใ่ นระดับดีมาก (ร้อยละ 80) และระดับดี (ร้อยละ 20) ตามลำดบั 29
ขอ้ รายการ ดีมาก จำนวน ร้อยละ 12 วิทยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีสว่ นร่วมและซกั ถาม ดี 13 86.67 ปานกลาง 2 13.33 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรงุ 0 0.00 0 0.00 2 ดมี าก 13 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผตู้ อบแบบสำรวจส่วนมากมีความพึงพอใจอยใู่ นระดบั ดมี าก (ร้อยละ 86.67) และระดบั ดี (ร้อยละ 13.33) ตามลำดับ ตอนที่ 4 ความพงึ พอใจด้านการอำนวยความสะดวก ดีมาก จำนวน ร้อยละ ข้อ รายการ ดี 12 80.00 13 สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก ปานกลาง 3 20.00 พอใช้ 0 0.00 ปรบั ปรงุ 0 0.00 0 0.00 3 ดมี าก 12 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรุง ผ้ตู อบแบบสำรวจส่วนมากมีความพงึ พอใจอยูใ่ นระดับดมี าก (รอ้ ยละ 80) รองลงมาระดบั ดี (รอ้ ยละ 20) ตามลำดบั 30
ข้อ รายการ ดมี าก จำนวน รอ้ ยละ 14 การสอ่ื สาร การสร้างบรรยากาศเพอ่ื ใหเ้ กิดการเรียนรู้ ดี 14 93.33 ปานกลาง 1 6.67 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรุง 0 0.00 0 0.00 1 ดมี าก 14 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผตู้ อบแบบสำรวจส่วนมากมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดับดีมาก (ร้อยละ 93.33)ระดบั ดี (ร้อยละ 6.67) ข้อ รายการ ดีมาก จำนวน รอ้ ยละ 15 การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแกป้ ัญหา ดี 9 60.00 ปานกลาง 6 40.00 พอใช้ 0 0.00 ปรับปรงุ 0 0.00 0 0.00 6 ดมี าก 9 ดี ปานกลาง พอใช้ ปรบั ปรงุ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนมากมคี วามพึงพอใจอยู่ในระดบั ดีมาก (ร้อยละ 60) และระดับดี (ร้อยละ 40) ตามลำดับ 31
ภาคผนวก 32
รูปภาพประกอบ การศึกษาต่อเนอ่ื งรูปแบบช้นั เรียนวชิ าชีพ หลกั สูตรการสานตะกรา้ จากหวายเทยี ม จำนวน 40 ชัว่ โมง ระหวา่ งวนั ท่ี 17 – 25 กุมภาพันธ์ 2566 ณ กศน.ตำบลบา้ นกลึง หมู่ 4 ตำบลบ้านกลึง อำเภอบางไทร จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา 33
บรรณานกุ รม ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอบางไทร จงั หวดั พระนครศรอี ยุธยา 2565. หลักสตู รการสานผลิตภัณฑจ์ ากเสน้ พลาสตกิ จำนวน 40 ชว่ั โมง. 34
ที่ปรกึ ษา คณะผ้จู ดั ทำ นายสวสั ด์ิ บุญพรอ้ ม ผอู้ ำนวยการ กศน.อำเภอนครหลวง นางสาววชิ ชตุ า แกว้ โมรา รักษาการในตำแหน่งผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอบางไทร นางสาวหทัยรัตน์ ศริ แิ กว้ บรรณารกั ษ์ชำนาญการ นางสาวฐิติพร พาสี ครู ครผู ู้ชว่ ย คณะทำงาน/ผรู้ วบรวมข้อมลู /สรปุ ผล/รายงานผล/จดั พิมพร์ ูปเล่ม นางนฤมล ดงจนั ทร์ ครู กศน.ตำบล นายกฤชวัฒน์ จารมุ ณี ครู กศน.ตำบล 35
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอบางไทร สำนักงำน กศน.จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยำ สำนกั งำนปลัดกระทรวงศึกษำธกิ ำร
Search
Read the Text Version
- 1 - 41
Pages: