Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุป ผ้าด้นมือ

สรุป ผ้าด้นมือ

Published by kanteema.pook, 2021-04-07 14:45:33

Description: สรุป ผ้าด้นมือ

Search

Read the Text Version

รายงานผลการประเมินโครงการ โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน รูปแบบช้นั เรยี นวชิ าชพี หลักสตู รผลติ ภณั ฑผ์ ้าดน้ มอื วันที่ 2-10 มีนาคม 2563 ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ 6 ตาบลลาลูกบวั อาเภอดอนตมู จังหวดั นครปฐม ผรู้ ับผิดชอบโครงการ นางสาวกานตธ์ มี า แสงสวา่ ง ครู กศน.ตาบลลาลกู บัว ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอดอนตูม สานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจังหวดั นครปฐม

คานา กศน.ตาบลลาลูกบัว จดั โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้า ด้นมือ มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทาผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ สามารถการทา ผลติ ภัณฑ์ผ้าด้นมือได้ และสามารถนาความรู้ไปประกอบอาชีพหรือใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน และได้ดาเนิน โครงการดังกล่าวเพ่อื ทราบวา่ การดาเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ ท่กี าหนดไวห้ รือไม่บรรลุในระดับใด และ ได้จัดทาเอกสารรายงานประเมินโครงการ รายงานต่อผู้บริหาร ผู้เก่ียวข้องเพ่ือนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงและ พฒั นาดาเนินโครงการใหด้ ียง่ิ ขน้ึ ต่อไป ขอขอบคุณนางจิดาภา บวั ทอง ตาแหนง่ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอดอนตูม ที่ให้คาแนะนา คาปรึกษาใน การในการจดั ทาเอกสารรายงานประเมินโครงการในคร้ังน้ี หวังเป็นอย่างย่งิ วา่ เอกสารรายงานผลการประเมินโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑผ์ า้ ด้นมอื ฉบบั นี้ จะเปน็ ประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติ ผู้ท่ีสนใจและเป็นแนวทางในการดาเนินกิจกรรม ตอ่ ไป นางสาวกานต์ธมี า แสงสวา่ ง ครู กศน.ตาบลลาลูกบวั

คานา ก ก สารบัญ ข สารบญั ตาราง สารบญั ค ความเปน็ มา 1 วัตถปุ ระสงค์ 1 กล่มุ เป้าหมาย 1 วัตถปุ ระสงค์ของการประเมนิ 1 ประชากร 1 เคร่ืองมอื ที่ใช้ในการรวบรวมขอ้ มูล 2 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 2 การวิเคราะห์ขอ้ มูล 2 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 3 ตอนที่ 1 ข้อมูลเกยี่ วกับผตู้ อบแบบสอบถาม 3 ตอนที่ 2 ความพึงพอใจ 5 ตอนที่ 3 ข้อคิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ 8 ภาคผนวก 1. ขออนุญาตจัดโครงการการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการพัฒนาอยา่ งยั่งยืน รปู แบบชน้ั เรียนวิชาชีพ หลกั สตู รผลิตภณั ฑ์ผ้าดน้ มอื 2. ขออนุมตั โิ ครงการการจดั การศกึ ษาอาชพี เพื่อการพฒั นาอย่างยั่งยืน รปู แบบช้นั เรียนวิชาชีพ หลกั สตู รผลิตภณั ฑ์ผา้ ด้นมอื 3. แบบรายงานผลการจัดโครงการการจัดการศกึ ษาอาชีพเพ่อื การพฒั นาอย่างยั่งยนื รูปแบบชัน้ เรียนวิชาชพี หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าดน้ มือ 4. แบบประเมินความพึงพอใจโครงการการจดั การศึกษาอาชพี เพอื่ การพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน รูปแบบช้นั เรยี นวชิ าชีพ หลกั สตู รผลติ ภัณฑ์ผ้าดน้ มอื

ข สารบญั ตาราง ตารางท่ี หน้า ตารางท่ี 1. จานวนและร้อยละของผู้เรยี น ทต่ี อบแบบสอบถามความพึงพอใจ 3 3 โครงการการจัดการศกึ ษาอาชพี เพอื่ การมีงานทาอยา่ งยัง่ ยนื รปู แบบช้นั เรยี นวชิ าชพี 4 4 หลกั สตู รผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมอื จาแนกตามเพศ 5 5 ตารางที่ 2. จานวนและร้อยละของผู้เรยี น ที่ตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจ 6 7 โครงการการจัดการศึกษา อาชีพเพอื่ การมงี านทาอย่างยัง่ ยืน รูปแบบช้นั เรียนวิชาชพี 7 หลกั สตู รผลิตภณั ฑผ์ ้าด้นมือ จาแนกตามอายุ ตารางท่ี 3. จานวนและร้อยละของผ้เู รยี น ทต่ี อบแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการการจัดการศึกษาอาชพี เพอื่ การมีงานทาอยา่ งยง่ั ยืน รปู แบบชั้นเรียนวิชาชพี หลักสูตรผลิตภณั ฑ์ผา้ ดน้ มือ จาแนกตามระดบั การศกึ ษา ตารางที่ 4. จานวนและร้อยละของผู้เรียน ทีต่ อบแบบสอบถามความพึงพอใจ โครงการการจดั การศกึ ษาอาชีพเพ่ือการมงี านทาอย่างย่ังยนื รปู แบบช้นั เรยี นวชิ าชีพ หลกั สูตรผลิตภณั ฑผ์ า้ ด้นมอื จาแนกตามอาชพี ตารางที่ 5. ค่าเฉล่ยี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจตอ่ โครงการการจัดการศึกษาอาชพี เพือ่ การมงี านทาอยา่ งยั่งยืนรูปแบบช้นั เรียนวชิ าชพี หลกั สตู รผลิตภณั ฑ์ผ้าดน้ มือ ในภาพรวม ตารางที่ 6. คา่ เฉลย่ี และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการจดั การศึกษาอาชีพ เพอื่ การมงี านทาอย่างยัง่ ยืน รปู แบบช้ันเรียนวชิ าชพี หลักสูตรผลิตภณั ฑ์ผา้ ดน้ มอื ด้านเนอื้ หา ตารางที่ 7. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอ่ การจัดการศึกษาอาชพี เพ่อื การมีงานทาอย่างยง่ั ยืน รปู แบบชนั้ เรียนวชิ าชีพ หลกั สูตรผลติ ภัณฑผ์ ้าด้นมือ ด้านกระบวนการจดั กจิ กรรมอบรม ตารางท่ี 8. คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อการจัดการศกึ ษาอาชพี เพื่อการมงี านทาอย่างยั่งยนื รูปแบบชั้นเรียนวิชาชพี หลกั สตู รผลิตภัณฑผ์ า้ ด้นมอื ดา้ นวิทยากร ตารางท่ี 9. คา่ เฉลีย่ และสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจต่อการจดั การศกึ ษาอาชพี เพือ่ การมงี านทาอย่างย่ังยนื รูปแบบชนั้ เรยี นวิชาชพี หลกั สตู รผลิตภัณฑผ์ า้ ด้นมอื ด้านการอานวยความสะดวก

บทสรปุ การดาเนินโครงการ การสรุปผลการดาเนินโครงการในปีงบประมาณ 256 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของผ้เู รยี นท่ีมีต่อโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ กลุ่มเป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ ได้แก่ ประชาชนทั่วไป จานวน 16คน เปา้ หมายเชงิ คุณภาพ เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจสามารถการทา ผลิตภัณฑผ์ า้ ดน้ มือ และสามารถนาความร้ไู ปประกอบอาชพี หรอื ใชป้ ระโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั ผรู้ บั ผิดชอบโครงการ นางสาวกานตธ์ มี า แสงสวา่ ง ครู กศน.ตาบลลาลกู บวั การจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างย่ังยืน ดาเนินการจัดกิจกรรมตามขั้นตอนกระบวนการ วงจรคุณภาพ PDCA ไดแ้ ก่ (Plan) การวางแผนการดาเนินการ แต่งตั้งคณะทางาน จัดทาโครงการและขออนุมัติโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการ (Do) ขน้ั ดาเนนิ งาน โครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชพี หลักสูตรผลิตภัณฑ์ ผ้าด้นมือ (Check) ประเมนิ โครงการ ประเมินก่อนดาเนินโครงการ ประเมินระหว่างดาเนินโครงการ ประเมินหลังเสร็จ ส้ินโครงการ (Action) ข้ันปรับปรุงแก้ไข ประชุมคณะกรรมการโครงการเพ่ือสรุปผลการดาเนินงานโครงการ นาผลการ ดาเนินโครงการไปปรับปรุงและพัฒนาโครงการ ประชากรท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล จานวน 16 คน เคร่ืองมือท่ีใช้เก็บ รวบรวมข้อมูลเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) แบง่ เป็น 5 ระดับ การวเิ คราะหข์ ้อมูล ตอนที่ 1 ข้อมูลเก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์หาค่าความถ่ีและค่า ร้อยละ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจต่อโครงการนามาวิเคราะห์หาคา่ เฉลี่ยและค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐานแลว้ นามาแปลความหมาย โดยการเทียบเกณฑ์ และนาเสนอขอ้ มลู ในรปู ตารางประกอบความเรียงเกณฑ์การประเมินค่าเฉล่ียของคะแนน แบ่งเป็น 5 ระดบั (ประคอง กรรณสตู ,2542:73) ผลท่ไี ดจ้ ากการดาเนนิ โครงการพบวา่ 1. ผู้เรียนตามเป้าหมาย จานวน 16 คน ผลท่จี ัดไดจ้ านวน 16 คนจบหลักสูตรจานวน16คน คดิ เป็นรอ้ ยละ100 2. ผลจากข้อมูลผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลกั สตู รผลิตภัณฑ์ผ้าดน้ มอื ในภาพรวมพบว่าผเู้ รียนเปน็ เพศหญิง จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 100 มีช่วงอายุท่ีเข้ารับ บริการอายุ15 - 29 ปี จานวนละ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 รองลงมาช่วงอายุ30 - 39 ปี จานวนละ 3 คน คิด เปน็ รอ้ ยละ 18.75 ชว่ งอายุ 40 – 49 ปี จานวนละ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ช่วงอายุ 50 – 59 ปี จานวนละ 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 25.00 และสดุ ทา้ ย อายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 37.50 มีการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 รองลงมามีการศึกษาระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ25.00 มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 3 คน คิดเป็นร้อย ละ 18.75 และสุดท้ายอื่นๆ จานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง จานวน 6 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 54.55 และสุดท้ายประกอบอาชีพแมบ่ ้าน จานวน 11 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 68.75 คดิ เป็นร้อยละ6.25 3. ผลจากการประเมินความพึงพอใจ พบว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมีงานทาอย่างย่ังยืน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ที่สดุ ( ̅=4.20) คิดเปน็ ร้อยละ 84.00 เม่อื พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดทุก ด้าน โดยด้านวทิ ยากร มีคา่ เฉลย่ี มากท่ีสดุ คอื ( ̅ = 4.48) คิดเป็นร้อยละ 80.40 รองลงมาคือด้านกระบวนการ จดั กจิ กรรมอบรม ( ̅ = 4.26) คิดเป็นร้อยละ 85.20 ด้านการอานวยความสะดวก( ̅ = 4.04) คิดเป็นร้อยละ 80.80 และสุดทา้ ยดา้ นเน้อื หา( ̅ = 4.02) คดิ เป็นร้อยละ80.40 ตามลาดับโดยมีสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ ระหว่าง 0.06 – 0.51 แสดงว่าผเู้ รียนมีความพงึ พอใจสอดคลอ้ งกัน โดยคิดเป็นร้อยละ 84.00 ขอ้ เสนอแนะ ไม่มี

รายงานผลการประเมนิ โครงการ การจดั การศึกษาอาชีพเพอ่ื การมีงานทาอยา่ งย่ังยืน รูปแบบชน้ั เรยี นวชิ าชีพ หลกั สตู รผลิตภัณฑ์ผา้ ดน้ มอื กศน.ตาบลลาลกู บวั 1. ความเป็นมา ผ้าดน้ มอื เปน็ งานเยบ็ ผ้าและประกอบกันเข้าเป็นชิ้นงาน โดยทุกขั้นตอนของการทาล้วนใช้มือในการเย็บ ปัก ฉะนน้ั จึงถอื ว่าเป็นภมู ิปัญญาขั้นพ้ืนฐานท่ไี ด้รับการสืบทอดมา เพราะในอดีตไม่มีเคร่ืองมือทุนแรงในการเย็บ ผา้ ซ่ึงการปกั ผา้ ด้วยมือกม็ กี ารพัฒนามากขึ้นโดยการทาลวดลายตา่ งๆ นอกจากน้กี ารทากระเป๋าผ้าด้นมือถือเป็น การใช้เวลาว่างให้เกดิ ประโยชน์ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของตนลงในช้ินงาน ปัจจุบันได้ มีการพัฒนารูปแบบ การเย็บปัก ลายเส้น ลวดลาย สีสัน เพื่อให้เข้ากับยุคสมัย แต่ยังไม่ทิ้งภูมิปัญญาท้องถ่ิน มีการเย็บปักด้วยมือ ลายเส้นและลวดลาย มีลักษณะท่ีบ่งบอกถึงวัฒนธรรมของ ภูมิปัญญาท้องถิ่น จึงกลายเป็นผ้าด้นมือในรูปแบบ ใหม่ ทีม่ ใิ ชเ่ พียงแคก่ ารทีใ่ ชใ้ นครัวเรอื นท่เี ย็บ ความรู้ประสบการณ์การทากระเป๋าผ้าด้นมือ มาประยุกต์ดัดแปลง เดิมทาเปน็ งานดน้ มือชิ้นเลก็ ๆและได้พฒั นาชิน้ งานใหญข่ ึ้น มีรปู แบบตา่ งๆมากมาย เช่น กระเป๋าสตางค์ กระเป๋า สะพาย เป้ใส่ของ ฯลฯ การทากระเป๋าผ้าด้นมือขยายวงกว้างไม่เฉพาะประชาชนวัยแรงงานเท่าน้ัน ยังส่งเสริม สนับสนุนไปยังเยาวชน และประชาชนในพ้ืนที่ๆต่างมีความช่ืนชอบในงานปักผ้าด้นมือ ออกแบบลวดลาย และ ผสมผสานสีเนื้อผ้าให้มีความกลมกลืนกัน เป็นท่ีชื่นชอบของลูกค้าท่ีสามารถสั่งลวดลาย สี โทน รูปร่างฯลฯ ได้ และ ในปัจจุบันแนวโน้มความต้องการของตลาด ของผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ที่ทาด้วยมือหรืองาน “Handmade” นั้น มแี นวโน้มทสี่ ูงขนึ้ เรอ่ื ยๆ สามารถสรา้ งรายไดใ้ หแ้ กก่ ล่มุ อาชพี นไ้ี ด้เป็นอย่างดี สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงเห็นความสาคัญ ในการพัฒนา หลกั สตู รการทากระเป๋าผา้ ด้นมือและช่องทางในการขยายอาชีพ เพื่อมุ่งพฒั นาคน ให้ได้รับการศึกษา เพื่อพัฒนา อาชีพ และการมีงานทา สามารถสร้างรายได้อาชีพให้มีความม่ันคง สามารถทางานร่วมกับภาคีเครือข่าย และ นาเอาความรู้ มาเทยี บโอนเขา้ สู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ให้ สอดคล้องกับ ศักยภาพ พัฒนาตนเอง สังคม ชุมชน และส่ิงแวดล้อมและมีความพร้อมที่จะสามารถทางานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ดังกล่าวต่อไป ดังน้ัน เพ่ือเป็นการสนองนโยบายและขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ของ กระทรวงศึกษาธิการ ด้านการจัดการ เรียนรู้ 1.3 การศึกษาต่อเนื่อง จัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่าง ยั่งยืน โดยให้ความสาคัญกับการศึกษาเพ่ือ การมีงานทา และอาชีพที่สอดคล้องกับศักยภาพของผู้เรียนและ ศักยภาพของแต่พืน้ ที่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอดอนตูม ในฐานะเป็นหน่วยงานทาง การศึกษา ซ่ึงมีบทบาทหน้าที่จัดการศึกษา สนองตอบต่อความต้องการของประชาชนในอาเภอดอนตูม และ เป็นไปตามนโยบายจัดการศึกษาของสานักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ี สอดคล้องกับบรบิ ทของชมุ ชน

2. วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการทาผลิตภณั ฑ์ผ้าดน้ มอื 2. เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนสามารถการทาทาผลิตภัณฑผ์ ้าด้นมือได้ 3. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนนาความรไู้ ปประกอบอาชพี หรือใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ิตประจาวันได้ 3. เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ ประชาชนทวั่ ไป จานวน 16 คน เชงิ คณุ ภาพ ผู้เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจการทาผลติ ภัณฑ์ผ้าดน้ มือ สามารถการทาผลติ ภัณฑ์ผา้ ด้นมือได้ และนา ความรู้ไปประกอบอาชพี หรอื ใชป้ ระโยชน์ในชีวติ ประจาวนั 4. วตั ถุประสงคข์ องการประเมิน เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน ท่ีมีต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างยั่งยืน รูปแบบชนั้ เรียนวิชาชพี หลักสูตรผลิตภัณฑผ์ า้ ด้นมือ 5. ประชากร ไดแ้ ก่ ประชาชนท่วั ไป จานวน 16 คน 6. เคร่อื งมอื ที่ใช้เกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เคร่ืองมือท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา อาชพี เพ่อื การมีงานทาอย่างยัง่ ยนื รูปแบบช้นั เรียนวิชาชีพ หลกั สูตรผลิตภณั ฑ์ผ้าดน้ มือ แบบสอบถามมี 3 ขั้นตอน ตอ นที่ 1 ถามข้อมู ลเก่ียว กับผู้ตอบแบบสอ บถามจาน วน 4 ข้อ ลักษณะ แบบสอ บถาม เปน็ แบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างย่ังยืน รูปแบบ ชน้ั เรยี นวิชาชพี หลกั สูตรผลติ ภัณฑ์ผ้าด้นมอื จานวน 15 ขอ้ ซง่ึ ประเมิน 4 ด้าน คือ 1. ดา้ นเนื้อหา 2. ด้านกระบวนการจัดกจิ กรรมอบรม 3. ด้านวิทยากร 4. ดา้ นการอานวยความสะดวก ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราสว่ นประเมนิ ค่า (Rating Scale) แบ่งเปน็ 5 ระดับดังน้ี 5 มากทส่ี ุด หมายถงึ มีความพึงพอใจมากท่สี ุด 4 มาก หมายถงึ มีความพงึ พอใจมาก 3 ปานกลาง หมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง 2 น้อย หมายถงึ มีความพึงพอใจน้อย 1 นอ้ ยที่สดุ หมายถงึ มีความพงึ พอใจน้อยท่สี ุด

ตอนท่ี 3 ขอ้ คิดเหน็ และขอ้ เสนอแนะ จุดเดน่ และจุดทีค่ วรพัฒนาตอ่ โครงการการจดั การศกึ ษาอาชพี เพื่อการมีงานทาอย่างย่ังยืน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ มีลักษณะเป็นแบบสอบถาม ปลายเปดิ 7. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ได้ดาเนินการเก็บข้อมูลหลังจากการจัดโครงการการจัดการศึกษาอาชีพ เพ่ือการมีงานทาอย่างยั่งยืน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ ในวันท่ี 2-10 มีนาคม 2563 เก็บแบบสอบถามได้ จานวน ทง้ั ส้นิ 16 ฉบับ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 8. การวิเคราะหข์ อ้ มูล นาแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจ ที่ดาเนินการสารวจเรียบร้อยแล้วมาตรวจสอบความสมบูรณ์ ของข้อมลู แลว้ นาไปวิเคราะห์ดังนี้ 8.1 ตอนท่ี 1 ถามข้อมูลเก่ยี วกับผตู้ อบแบบสอบถามจานวน 4 ขอ้ วิเคราะห์หาค่าความถี่และคา่ ร้อยละ 8.2 ตอนท่ี2 ความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างยั่งยืน รูปแบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ หลกั สตู รผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ นามาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน แล้ว นามาแปลความหมายโดยการเทียบเกณฑ์ และนาเสนอขอ้ มลู ในรปู ตารางประกอบความเรียง เกณฑ์การประเมินค่าเฉล่ีย ของคะแนนแบ่งเปน็ 5ระดับดังนี้ ( ประคอง กรรณสตู , 2542 : 73) มากทสี่ ดุ มีคา่ เฉลี่ย 4.50 – 5.00 มาก มคี ่าเฉลี่ย 3.50 – 4.49 ปานกลาง มีค่าเฉล่ีย 2.50 – 3.49 นอ้ ย มีคา่ เฉลีย่ 1.50 – 2.49 น้อยทสี่ ุด มีค่าเฉลี่ย 1.00 – 1.49 8.3 ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เห็นและขอ้ เสนอแนะ ใช้วธิ กี ารวเิ คราะห์และนามาประมวลใหเ้ ป็นขอ้ ความโดยสรุป 9. ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ในการดาเนินโครงการการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลกั สูตรผลติ ภณั ฑ์ผา้ ด้นมือ ไดด้ าเนินการรวบรวมขอ้ มูลจากผู้เรยี นทกุ คน โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ ซ่ึง เป็นกลุ่มประชากรจานวน 16 คน ข้อมลู สรุปได้ดงั นี้ ตอนที่ 1 ขอ้ มลู เก่ยี วกับผูต้ อบแบบสอบถาม ตารางท่ี 1 จานวนและร้อยละของผู้เรียน ท่ีตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการการจัดการศึกษา อาชีพเพอ่ื การมงี านทาอยา่ งย่งั ยนื รูปแบบชนั้ เรียนวิชาชีพ หลกั สูตรผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ จาแนกตามเพศ เพศ จานวน/คน รอ้ ยละ ชาย 3 18.75 หญงิ 13 81.25

จากตารางที่ 1 พบวา่ ผเู้ รียนเป็นชาย จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 เพศหญิง จานวน 11 คน คิด เป็นรอ้ ยละ 81.25 ตารางท่ี 2 จานวนและร้อยละของผู้เรียน ท่ีตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการการจัดการศึกษา อาชีพเพอ่ื การมีงานทาอยา่ งย่งั ยืน รปู แบบช้นั เรียนวิชาชพี หลกั สูตรผลิตภัณฑ์ผา้ ดน้ มือ จาแนกตามอายุ ช่วงอายุ จานวน/คน รอ้ ยละ 15 - 29 ปี 1 6.25 30 - 39 ปี 3 18.75 40 – 49 ปี 2 12.50 50 – 59 ปี 4 25.00 60 ปขี ้นึ ไป 6 37.50 จากตารางท่ี 2 พบว่าผู้เรียนมีช่วงอายุ 15 - 29 ปี จานวนละ 1 คน คิดเป็นร้อยละ 6.25 รองลงมาช่วง อายุ30 - 39 ปี จานวนละ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 ช่วงอายุ 40 – 49 ปี จานวนละ 2 คน คิดเป็นร้อยละ 12.50 ชว่ งอายุ 50 – 59 ปี จานวนละ 4 คน คิดเป็นร้อยละ 25.00 และสดุ ท้าย อายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 37.50 ตารางท่ี 3 จานวนและร้อยละของผู้เรียน ที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการการจัดการศึกษา อาชีพเพื่อการมีงานทาอย่างยั่งยืนรูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ จาแนกตามระดับ การศึกษา การศึกษา จานวน/คน ร้อยละ ประถมศกึ ษา 8 50.00 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ 4 25.00 มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3 18.75 อนุปรญิ ญา 0 0.00 ปริญญาตรี 0 0.00 อื่น ๆ 1 6.25 จากตารางที่ 3 พบวา่ ผูเ้ รยี นสว่ นใหญ่มกี ารศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 8 คน คิด เป็นร้อยละ 50.00 รองลงมามีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ25.00 มี การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 18.75 และสุดท้ายอื่นๆ จานวน 1 คน คิด เป็นร้อยละ 6.25

ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของผู้เรียน ที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการ การจดั การศกึ ษาอาชพี เพอ่ื การมงี านทาอย่างยั่งยืน รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ จาแนก ตามอาชพี การศึกษา จานวน/คน ร้อยละ รับจ้าง 5 31.25 ค้าขาย 0 0.00 เกษตรกร 0 0.00 แมบ่ ้าน 11 68.75 อื่น ๆ 0 0.00 จากตารางท่ี 4 พบว่าผเู้ รียนประกอบอาชีพรบั จา้ ง จานวน 5 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 31.25 และสุดท้ายอาชีพ แมบ่ า้ น จานวน 11 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 68.75 คดิ เป็นร้อยละ 6.25 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทาอย่างย่ังยืน รูปแบบชั้นเรียน วิชาชพี หลกั สตู รผลิตภณั ฑ์ผา้ ด้นมอื ตารางท่ี 5 คา่ เฉลีย่ และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อ การมีงานทาอยา่ งย่งั ยืน รปู แบบช้ันเรียนวิชาชพี หลกั สูตรผลติ ภณั ฑ์ผา้ ดน้ มอื ในภาพรวม รายการ ค่าเฉลีย่ สว่ นเบีย่ งเบน ระดบั ความพึง รอ้ ยละ ̅ มาตรฐาน พอใจ ด้านเนอ้ื หา S.D 80.40 ด้านกระบวนการจัดกิจกรรม 4.02 0.06 มากทส่ี ดุ 85.20 อบรม มากที่สดุ ดา้ นวิทยากร 4.26 0.49 89.60 ด้านการอานวยความสะดวก มากท่สี ดุ 80.80 4.48 0.51 มากที่สุด 84.00 รวมทุกดา้ น 4.04 0.16 มากท่สี ดุ 4.20 0.30 จากตารางท่ี 5 พบว่าผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา อยา่ งย่งั ยืน รูปแบบชน้ั เรยี นวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผา้ ด้นมือ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.20) เม่ือพจิ ารณาเปน็ รายดา้ น พบวา่ ผูเ้ รียนมคี วามพงึ พอใจในระดับมากทสี่ ดุ ทุกด้าน โดยด้านวิทยากร มีค่าเฉล่ียมาก ทีส่ ุด คอื ( ̅ = 4.48) รองลงมาคือ ดา้ นกระบวนการจัดกิจกรรมอบรม ( ̅ = 4.26) ดา้ นการอานวยความสะดวก ( ̅ = 4.04) และสุดท้ายด้านเนื้อหา( ̅ = 4.02) ตามลาดับ โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ระหว่าง 0.06 – 0.51 แสดงวา่ ผู้เรยี นมคี วามพงึ พอใจสอดคลอ้ งกัน โดยคดิ เปน็ รอ้ ยละ 84.00

ตารางท่ี 6 ค่าเฉล่ยี และส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจตอ่ การจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา อย่างยั่งยนื รปู แบบชั้นเรยี นวิชาชพี หลกั สูตรผลติ ภัณฑ์ผ้าด้นมอื ด้านเน้ือหา รายการ คา่ เฉล่ีย ส่วนเบยี่ งเบน ระดบั ความพึง ร้อยละ เนือ้ หาตรงตามความต้องการ ̅ พอใจ 80.00 มาตรฐาน 4.00 S.D มากทส่ี ดุ 0.00 เนือ้ หาเพียงพอตอ่ ความต้องการ 4.00 0.00 มากท่ีสุด 80.00 เนื้อหาปัจจบุ ันทนั สมัย 4.00 0.00 มากที่สุด 80.00 เน้อื หามปี ระโยชนต์ อ่ การนาไปใช้ใน 4.06 0.25 มากทส่ี ดุ 81.20 การพัฒนาคุณภาพชีวติ รวมทุกด้าน 4.02 0.06 มากทส่ี ดุ 80.40 จากตารางท่ี 6 พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา อย่างยั่งยืน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ ด้านเน้ือหาอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅ = 4.02) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าผ้เู รยี น มีความพงึ พอใจในระดบั มากท่สี ดุ ทกุ ขอ้ โดยพบวา่ เนอ้ื หามีประโยชน์ต่อการ นาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต มีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด คือ ( ̅ = 4.06) รองลงมาได้แก่ เน้ือหาปัจจุบันทันสมัย เนื้อหาเพียงพอตอ่ ความต้องการ และเน้ือหาตรงตามความต้องการ มีค่าเฉลี่ย คือ ( ̅ = 4.00) ตามลาดับ โดยมี ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน(S.D) อยู่ระหวา่ ง 0.00 – 0.25 แสดงวา่ ผ้เู รยี นมีความพึงพอใจสอดคล้องกัน โดยคิดเป็น ร้อย ละ80.40 ตารางที่ 7 ค่าเฉล่ียและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจตอ่ การจัดการศึกษาอาชพี เพ่อื การมีงานทาอย่าง ยง่ั ยืน รปู แบบชั้นเรยี นวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าดน้ มอื ด้านกระบวนการจดั กิจกรรมอบรม รายการ ค่าเฉล่ยี ส่วนเบย่ี งเบน ระดับความพงึ รอ้ ยละ ̅ มาตรฐาน พอใจ การเตรยี มความพรอ้ มก่อนการเรียนรู้/ S.D 82.60 อบรม 4.13 0.62 มากที่สดุ 83.80 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั 86.20 วตั ถปุ ระสงค์ 4.19 0.40 มากทสี่ ดุ การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา 4.31 มากทส่ี ดุ 0.48 การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับ 4.38 0.50 มากทสี่ ุด 87.60 กล่มุ เปา้ หมาย วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับ 4.31 0.48 มาก 86.20 วัตถปุ ระสงค์ รวมทุกด้าน 4.26 0.49 มากที่สดุ 85.20 จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีง านทา อย่างยัง่ ยืน รปู แบบชน้ั เรียนวชิ าชีพ หลกั สตู รผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ ด้านกระบวนการจัดกิจกรรมอบรม อยู่ในระดับ

มากที่สุด ( ̅ = 4.26) เพ่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดทุกข้อ โดยการจัด กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย ค่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ ( ̅ = 4.38) รองลงมาได้แก่ วิธีการวัดผล/ประเมินผล เหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ การจัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา คา่ เฉลี่ยมากทสี่ ุด ( ̅ = 4.31) การออกแบบกิจกรรม เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ค่าเฉล่ียมากที่สุด ( ̅ = 4.19) และสุดท้ายการเตรียมความพร้อมก่อนการเรียนรู้/ อบรม ค่าเฉลี่ยมากที่สดุ คือ ( ̅ = 4.13) มสี ่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) อยทู่ ี่ 0.40-0.62 แสดงว่าผู้เรียนมีความ พึงพอใจสอดคล้องกัน โดยคดิ เปน็ ร้อยละ 85.20 ตารางที่ 8 คา่ เฉลี่ยและสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา อยา่ งยัง่ ยืน รูปแบบชนั้ เรยี นวชิ าชีพ หลกั สูตรผลิตภณั ฑผ์ ้าดน้ มอื ด้านวทิ ยากร รายการ คา่ เฉลี่ย สว่ นเบยี่ งเบน ระดบั ความพึง รอ้ ยละ ̅ มาตรฐาน พอใจ 88.80 วทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่อง S.D ท่ีถา่ ยทอด 4.44 มากทสี่ ุด 0.51 วทิ ยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้สอื่ 4.56 0.51 มากท่สี ุด 91.20 เหมาะสม วทิ ยากรเปดิ โอกาสให้มีสว่ นร่วมและ 4.44 0.51 มากทีส่ ุด 88.80 ซกั ถาม รวมทุกด้าน 4.48 0.51 มากทีส่ ดุ 89.60 จากตารางท่ี 8 พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา อยา่ งยั่งยนื รูปแบบช้ันเรยี นวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ ด้านวิทยากรอยู่ในระดับ มากท่ีสุด ( ̅ = 4.48) เพ่อื พิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ ผเู้ รยี น มคี วามพงึ พอใจในระดับมากทส่ี ุด โดย วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อ เหมาะสม มีค่าเฉลี่ยมากท่ีสุด คือ ( ̅ = 4.56) และสุดท้ายวิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องท่ีถ่ายทอด วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถามมีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ ( ̅ = 4.44) โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) อยรู่ ะหว่าง 0.51 แสดงว่าผเู้ รียนมคี วามพงึ พอใจสอดคลอ้ งกนั โดยคดิ เปน็ ร้อยละ 89.60

ตารางท่ี 9 ค่าเฉล่ียและสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมีงานทา อยา่ งยง่ั ยืน รปู แบบชัน้ เรียนวิชาชพี หลักสูตรผลิตภัณฑผ์ า้ ดน้ มอื ด้านการอานวยความสะดวก รายการ คา่ เฉลี่ย สว่ นเบี่ยงเบน ระดับความ ร้อยละ ̅ มาตรฐาน พงึ พอใจ 81.20 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสง่ิ อานวย S.D ความสะดวก 4.06 มากทส่ี ุด 0.25 การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศ 4.00 0.00 มากที่สุด 80.00 เพอื่ ให้เกดิ การเรยี นรู้ การบริการ การชว่ ยเหลอื และการ 4.06 0.25 มากทีส่ ุด 81.20 แก้ปัญหา รวมทกุ ด้าน 4.04 0.16 มากทีส่ ุด 80.80 จากตารางท่ี 9 พบว่า ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพเพื่อการมีงานทา อยา่ งยัง่ ยืน รูปแบบช้ันเรียนวิชาชีพ หลักสูตรผลิตภัณฑ์ผ้าด้นมือ ด้านการอานวยความสะดวก อยู่ในระดับ มาก ทสี่ ดุ ( ̅ = 4.04) เพอ่ื พิจารณาเปน็ รายข้อพบวา่ ผเู้ รยี น มีความพงึ พอใจในระดับมากท่สี ดุ ทุกข้อ โดย สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสิ่งอานวยความสะดวก การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ และการบริการ การ ชว่ ยเหลือและการแกป้ ญั หา มคี า่ เฉล่ีย มากทีส่ ดุ คอื ( ̅ = 0.16) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ระหว่าง 0.00 แสดงว่าผู้เรยี นมีความพึงพอใจสอดคล้องกนั โดยคดิ เปน็ ร้อยละ 80.80 ตอนท่ี 3 ขอ้ คิดเห็น ข้อเสนอแนะ จดุ เด่น และจุดท่คี วรพัฒนาต่อโครงการการจัดการศึกษาอาชีพ เพื่อการมี งานทาอยา่ งย่งั ยนื รปู แบบชนั้ เรียนวิชาชพี หลักสูตรผลติ ภัณฑผ์ า้ ดน้ มอื ข้อคิดเหน็ การจัดกิจกรรมการเรยี นรใู้ นคร้ังนี้ จดั ในรูปแบบของกลุ่มสนใจ เพอื่ ให้ผู้เรยี นมีความรู้ความเข้าใจการการ ทาผลิตภณั ฑ์ผา้ ด้นมอื สามารถการทาผลิตภัณฑ์ผา้ ด้นมือได้ และนาความรู้ไปประกอบอาชพี หรอื ใชป้ ระโยชน์ใน ชีวติ ประจาวนั ขอ้ เสนอแนะ ผ้เู รียนให้ความสนใจในการเรียนรู้การทาผลิตภัณฑ์จากผ้าด้นมือเป็นอย่างดี ผู้เรียนมีความต้องการท่ีจะ เรยี นรใู้ นครงั้ ตอ่ ไป จุดเด่นของโครงการ / กิจกรรม ในครัง้ น้ี - ผู้เรียนใหค้ วามสนใจและตงั้ ใจปฏบิ ตั ิดี - วทิ ยากรเป็นผู้มีความรู้ความสามารถเหมาะสม - สถานท่จี ัดกิจกรรมมีความเหมาะสม - กิจกรรมที่จดั ตรงตามความตอ้ งการของประชาชนทส่ี นใจ - ผ้เู รยี นมคี วามพึงพอใจในการจัดกิจกรรมอย่ใู นระดับมากที่สดุ

จดุ ที่ควรพฒั นาของโครงการ / กิจกรรม ในครง้ั นี้ - ไม่พบจดุ ท่คี วรพัฒนา ลงช่อื ผรู้ ายงาน (นางสาวกานตธ์ ีมา แสงสว่าง) ครู กศน.ตาบลลาลูกบัว


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook