Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภาวะผู้นำทางการศึกษา

ภาวะผู้นำทางการศึกษา

Published by kunagorn.yonthanom, 2022-01-04 14:04:51

Description: ภาวะผู้นำทางการศึกษา-ได้มีนักวิชาการให้ความหมายชองการบริหารไว้ดังนี้

Search

Read the Text Version

ภาวะผู้นำทางการศึกษา ได้มีนักวชิ าการใหค้ วามหมายชองการบริหารไว้ดังน้ี ๑. นายสมยศ ชี้แจง ได้กล่าวไว้วา่ ภาวะผ้นู ําทางการศึกษา Educational Leadership สมยศ ชแ้ี จง บทคัดยอ่ คาํ ว่า “ภาวะผนู้ าํ ทางการศกึ ษา” เปน็ การกลา่ วถึงวธิ ีการท่ผี ูบ้ รหิ ารระดบั สูงทางการ ศกึ ษานํามาใช้ท้ัง ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการอย่างทั่วถึงทั้งองค์กรซึ่งเป็นพื้นฐานและ วิถีทางในการตัดสินใจ การสื่อสาร และการนําไปปฏบิ ัติ รวมถึงการกําหนดระบบและกลไก ในการดําเนนิ งานทีจ่ ะบรรลุวสิ ยั ทศั น์ขององค์กร ภาวะผู้นําทางการศึกษาที่มีประสิทธิผลต้องคํานึงถึงความสามารถ ความต้องการ ของคณาจารย์ บุคลากรและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยจะต้องตั้งความคาดหวังในด้านผลการ ดําเนินงานที่ท้าทายและการ ปรับปรุงผลการดําเนินงานให้สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ ผู้เกี่ยวข้องกําหนดการส่งเสริมและกระตุ้น สนับสนุน ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ การพิจารณา ถึงปัจจัยเสี่ยงที่จะก่อให้เกิดผลกระทบเชิงลบต่อองค์กรอย่างถ่องแท้ การจัดสายการบงั คับ บัญชาตามจุดประสงค์และหน้าที่และหลกี เลี่ยงการมีสายการบังคับบญั ชาทีม่ ีขั้นตอนใน การ ตัดสินใจหลายขั้นตอน ภาวะผู้นําที่มีประสิทธิผลน้ันต้องเปิดโอกาสให้มีระบบกลไกที่ เข้มแข็งโดยให้ผู้นาํ ประเมนิ ตนเองและรบั ข้อมลู ป้อนกลบั เพ่ือนําไปปรบั ปรุงแกไ้ ข ขอ้ ผิดพลาดและพัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง บทนาํ ในปัจจุบันอุดมศึกษาเผชิญกับปัจจัยทั้งภายในและภายนอกหลายประการที่ส่งผล กระทบต่อการ ดําเนินภารกิจของอุดมศึกษาทั้งข้อจํากัดด้านทรัพยากร ความหลากหลายของ ระบบอุดมศึกษา ปัญหาเรื่อง จํานวนนักศึกษาที่มีแนวโน้มชะลอตัว กระแสโลกาภิวัฒน์ กระแสการแข่งขันที่รุนแรง ความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยสี ารสนเทศ ดงั นั้นการบริหาร จดั การของสถาบันอดุ มศึกษายคุ ใหม่ จึงจาํ เปน็ ต้องมีผู้บรหิ ารท่ีมคี วาม รอบรู้ ความเชี่ยวชาญ มี วิสัยทัศน์ที่กว้างไกล มีวิธีการคิดแบบใหม่ ๆ และต้องเปลี่ยนแปลงวิธีการบริหาร จัดการใน รปู แบบทีไ่ มเ่ หมือนเดิม เพราะผู้บริหารจะต้องเผชิญกับโจทยแ์ ละปัญหาใหม่ ๆ รวมถึง ปัญหาเดิมที่ มีการสะสมมาแต่อดีตซึ่งมีความสลับซับซ้อนมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อให้การดําเนินภารกิจของสถาบันอุดมศึกษาเกิด สัมฤทธิผลที่เอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศและเป็นที่พึ่ง ของสังคม (สํานักงานคณะกรรมการการ อดุ มศกึ ษา, ๒๕๕๑ : ๑) ในมุมมองของการบริหารทัว่ ไป การศกึ ษาเก่ียวกับภาวะผนู้ าํ เป็นทีย่ อมรบั โดยท่วั กันมานานแล้ว และ เปน็ ปจั จยั ทส่ี าํ คญั ในการบรหิ ารทจ่ี ะชว่ ยเพ่มิ ประสิทธิภาพและ ประสทิ ธิผลขององคก์ ร ในอดตี มีการศึกษาจาก นักวิชาการและนักวิจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้นํา เป็นจํานวนมาก โดยศึกษาคุณลักษณะและคุณสมบัติของการเป็น ผู้นําโดยมุ่งศกึ ษาด้าน พฤติกรรมของผู้นําแต่ละประเภทและมุ่งศึกษาด้านสถานการณ์ จนกระทั่งรวบรวมเปน็ ทฤษฎไี ด้มากมาย แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม ความเปน็ ผนู้ ําท่ดี ีมไิ ด้จํากดั อยเู่ พียงทฤษฎีใคทฤษฎหี น่ึง เท่านั้น การศึกษา ทฤษฎผี นู้ ําแบบต่าง ๆ มิได้ใหค้ าํ ตอบท่ีแน่นอนตายตัววา่ ผู้นาํ ควรเป็น อย่างไร แตก่ ารศึกษาท่ีผ่านมาในอดีตให้ ประโยชน์แก่บุคคลผู้เป็นผู้นําในรุ่นหลัง ๆ ได้นํา แนวคิดทฤษฎีมาปฏิบัติได้อย่างเหมาะสมตามแนวทางที่ควร จะเปน็ ในมุมมองของประชาคม การศกึ ษา (แนตรพ์ ัณณา ยาวิราช, ๒๕๔๙: ๙๓) ในบริบททางการศึกษานั้นภาวะผู้นํา ถือเป็นปัจจัยสนับสนุนที่สําคัญต่อการเจริญ ก้าวหน้าของ สถาบันการศึกษาที่ผู้บริหารทุกระดับต้องมีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นําที่ดี มีธรรมาภิ บาลรับผิดชอบต่อสังคม รัก ความกา้ วหน้า ดูแลบุคลากรอย่างดี เปิดโอกาสใหช้ ุมชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการบริหาร มคี วามสามารถในการ

ตดั สินใจ แก้ปัญหาและกาํ กับดแู ล ติดตามผล การทํางานของสถาบนั ให้เปน็ ไปในทิศทางที่ถูกตอ้ งซ่ึงจะส่งผลให้ สถาบันเจริญกา้ วหนา้ ได้ อย่างรวดเร็ว สาระความรู้และสมรรถนะโดยทัว่ ไปของผนู้ าํ ทางการศกึ ษา ในการพิจารณาเกี่ยวกับผู้นําทางการศึกษานั้น มีข้อสาระ ความรู้และสมรรถนะอัน เป็นคุณลักษณะ พื้นฐานของผ้บู รหิ ารในสถาบนั การศึกษาดงั นี้ (เอกชัยทส่ี ขุ พนั ธ์, ๒๕๕๒ : ๑-๓) หลกั การ สาระความรู้ สมรรถนะ ๑. หลกั และ - หลักและทฤษฎีทางการบริหาร - สามารถนาํ ความร้คู วามเขา้ ใจในหลกั การและ กระบวนการ การศึกษา ทฤษฎีทางการบรหิ ารการศกึ ษาไปประยกุ ต์ใช้ใน บรหิ าร - ระบบและกระบวนการบริหารและ การบริหารการศึกษา การศึกษา การจัดการศึกษายุคใหม่ - สามารถวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และสรา้ งองค์ - การสร้างวสิ ยั ทศั นใ์ นการบริหาร และ ความรใู้ นการบรหิ ารจดั การศึกษา การจดั การการศึกษา - สามารถกาํ หนดวิสัยทัศน์และเป้าหมายของ - กฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกบั การศึกษาใน การศึกษา บรบิ ทและแนวโนม้ ของการจัดการ - สามารถจดั องค์กร โครงสร้างการ บรหิ ารและ การศึกษา กําหนดภารกจิ ของ อาจารยแ์ ละบุคลากรทางการ ศกึ ษาได้อย่างเหมาะสม ๒. นโยบาย - พืน้ ฐานทางเศรษฐกิจ สงั คมการเมือง - สามารถวิเคราะห์ขอ้ มูลเพ่ือจัดทํานโยบาย และการ และเทคโนโลยีท่มี ีผลต่อการจัด การศกึ ษา วางแผน การศกึ ษา - สามารถกาํ หนดนโยบาย วางแผนการ การศกึ ษา - ระบบและทฤษฎีการวางแผน ดําเนนิ งานและประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา - การวเิ คราะหแ์ ละการกาํ หนด - สามารถจดั ทาํ แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาท่ี นโยบายการศึกษา มงุ่ ให้เกิดผลดี คุ้มค่าต่อการศึกษา สังคมและ - การวางแผนพฒั นาคุณภาพ สง่ิ แวดล้อม การศกึ ษา - สามารถนําแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาไป - การพัฒนานโยบายการศกึ ษา ปฏบิ ัติ - การประเมินนโยบายการศึกษา - สามารถติดตาม ประเมนิ และ รายงานผลการ ดาํ เนินงาน ๓. การบรหิ าร - การบริหารจัดการเรียนร้ทู ยี่ ึดผเู้ รียน - สามารถบริหารจัดการการเรยี นรู้ ด้านวชิ าการ เป็นสาํ คัญ - สามารถพัฒนาหลกั สตู รสถานศึกษา - หลกั การและรปู แบบการพัฒนา - สามารถนิเทศการจดั การเรียนรูใ้ นสถานศึกษา หลักสูตร - สามารถสง่ เสรมิ ให้มีการวจิ ัยเพือ่ พัฒนา - การพัฒนาหลกั สูตรท้องถิน่ คณุ ภาพการจัดการเรียนรู้ - หลกั การและแนวคิดเกี่ยวกับการ นิเทศ - กลยทุ ธ์การนิเทศการศึกษา - การวางแผนและการประเมินผลการ นเิ ทศการศึกษา

หลักการ สาระความรู้ สมรรถนะ - ระเบียบวิธวี ิจัยทางการศกึ ษา - สามารถจัดระบบงานสารบรรณได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ - หลักการและเทคนคิ การวดั และ - สามารถบริหารจัดการ งบประมาณอย่าง ถกู ต้องและเป็นระบบ ประเมนิ ผล ทางการศึกษา - สามารถวางระบบการบริหารและ การจดั การ ทรพั ยากรภายใน สถานศึกษาไดอ้ ย่างมี - สถติ ิและคอมพิวเตอรเ์ พ่ือการวจิ ัย ประสทิ ธภิ าพ - สามารถพัฒนาส่งิ แวดล้อมทาง กายภาพเพอื่ ๔. การบรหิ าร - กฎหมายทีเ่ ก่ยี วข้องกบั งานธุรการ ส่งเสรมิ การจดั การ การเรยี นรู้ - สามารถสรรหาบคุ ลากรท่ีมี ดา้ นธรุ การ การเงิน พัสดุ และอาคารสถานท่ี ประสิทธภิ าพเข้ามาปฏิบตั ิงาน - สามารถจดั บุคลากรให้เหมาะสมกับหนา้ ทค่ี วาม การเงิน พสั ดุ - การจดั วางระบบควบคุมภายใน รบั ผดิ ชอบ - สามารถพฒั นาอาจารยแ์ ละ บคุ ลากรทางการ และอาคาร - เทคนิคการบริหารจดั การ ศกึ ษาใน สถานศึกษาใหส้ ามารถปฏิบัติหนา้ ท่ีได้ อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ สถานที่ สภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา - สามารถเสริมสรา้ งขวัญและ กาํ ลงั ใจสําหรับครู และบุคลากรใน สถานศึกษา ๕. การ - หลกั การบริหารงานบคุ คล - สามารถให้คําปรึกษาและแก้ไข ปญั หาการ บริหารงาน ทาํ งานใหแ้ กค่ รูและบคุ ลากรในสถานศึกษา บคุ คล - สามารถบรหิ ารจัดการให้เกิดกิจกรรมการ พฒั นาผูเ้ รยี น ๖. การบรหิ าร - คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและ - สามารถบริหารจดั การใหเ้ กิดงานบริการผเู้ รียน กจิ การ คณุ ลักษณะบณั ฑิตท่ีพงึ ประสงค์ - สามารถสง่ เสรมิ การจดั กจิ กรรมพเิ ศษเพ่ือ นักศึกษา - ระบบการดูแลช่วยเหลือนักศกึ ษา พัฒนาศักยภาพผ้เู รยี นในดา้ นต่าง ๆ - สามารถส่งเสรมิ วนิ ัย คุณธรรม จริยธรรมและ - การจัดกิจกรรมส่งเสรมิ และพฒั นา ความสามัคคใี นหมู่คณะ ผู้เรยี น - สามารถจัดทาํ แผนพฒั นาคุณภาพของ สถานศึกษา ๗. การประกนั - หลักการและกระบวนการในการ - สามารถประเมนิ ผลและติดตามตรวจสอบ คุณภาพ ประกนั คุณภาพการศึกษา คุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาของ การศึกษา - องค์ประกอบของการประกัน สถานศกึ ษา คณุ ภาพการศึกษา - มาตรฐานการศึกษา

หลักการ สาระความรู้ สมรรถนะ - การประกนั คุณภาพภายในและ - สามารถจดั ทาํ รายงานผลการประเมนิ ตนเอง ภายนอก ของสถานศึกษาเพ่อื รองรับการประเมนิ ภายนอก - บทบาทของผู้บริหาร ในการประกนั คุณภาพการศึกษา ๘. การบริหาร - เทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การศึกษา - สามารถใช้และบรหิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ จดั การ - เทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การบรหิ าร เพ่ือการศึกษาและการปฏบิ ัตงิ านได้อย่าง เทคโนโลยี จัดการ เหมาะสม สารสนเทศ - เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การจดั การ - สามารถประเมนิ การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เรียนรู้ เพื่อนาํ มาปรบั ปรงุ การบรหิ ารจัดการ - สามารถส่งเสริมสนับสนนุ การใชเ้ ทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือการศกึ ษา ๙. การบริหาร - หลักการประชาสมั พนั ธ์ - สามารถบริหารจัดการข้อมูลขา่ วสารไปสู่ผู้เรยี น การ - กลยทุ ธ์การสร้างความสัมพันธ์ อาจารย์และบุคลากรในสถานศึกษา ประชาสมั พนั ธ์ กบั ชมุ ชน - สามารถเผยแพรข่ ้อมูล ข่าวสาร และกิจกรรม และความ ของสถานศกึ ษาไปสูช่ มุ ชน สัมพันธก์ บั - สามารถใชย้ ุทธศาสตร์ที่เหมาะสมในการ ชุมชน ประชาสัมพันธ์ - สามารถสร้างกจิ กรรมเพ่ือพัฒนาความสมั พันธ์ อนั ดกี บั ชมุ ชน โดยมีเป้าหมายในการเขา้ ไป ชว่ ยเหลือชุมชนและเปิดโอกาสให้ชุมชนเข้า มามี สว่ นรว่ ม - สามารถระดมทรพั ยากรและ ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ เพื่อเสรมิ สร้างการจดั การศึกษา ๑๐. คณุ ธรรม - คุณธรรมและจริยธรรมสําหรับ - สามารถระดมทรพั ยากรและ ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ และจรยิ ธรรม ผ้บู รหิ าร เพ่อื เสริมสร้างการจดั การศึกษา สําหรบั - จรรยาบรรณวชิ าชพี ของผู้บรหิ าร - เปน็ ผู้นําเชงิ คุณธรรม จริยธรรม และปฏิบตั ิตน ผู้บริหาร สถานศึกษา เป็นแบบอยา่ งทด่ี ี สถานศึกษา - การพัฒนาจรยิ ธรรมผูบ้ ริหารให้ - ปฏิบัตติ นตามจรรยาบรรณของวิชาชพี ผบู้ ริหาร ปฏิบัติตนในกรอบคุณธรรม สถานศกึ ษา - การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ - ส่งเสริมและพัฒนาใหผ้ รู้ ว่ มงานมคี ุณธรรม ดี(Good Governance) และจรยิ ธรมทเ่ี หมาะสม สาระความรู้และสมรรถนะพ้ืนฐานขา้ งต้นถือเป็นคุณลักษณะท่วั ไปของ “ผู้นาํ ทาง การศึกษา” ซ่ึงเป็น องค์ประกอบสําคัญในการบริหารจัดการการศึกษา แต่ในปัจจุบันยุคแห่ง การเปลี่ยนแปลงได้เคลื่อนตัวมาสู่ “ยุคสังคมฐานความรู้” ดังนั้นการบริหารองค์กรทาง การศึกษาจึงต้องปรับทิศทางการบริหารให้สอดคล้องกบั การเปลี่ยนแปลงดงั กล่าว ผู้นําจึง ต้องมีศักยภาพและสมรรถนะที่ไรข้ อบเขตขององค์ความรู้ เพื่อนําพาองค์กร ไปสูว่ ิสยั ทัศน์ และเผชิญหนา้ กบั ความท้าทายใหม่ ๆ ทีไ่ มเ่ หมือนเดมิ อีกต่อไป ภาวะผนู้ ําทางการศึกษาทม่ี งุ่ สคู่ วามเปน็ เลิศ

ผู้นําในองค์กรทางการศึกษาที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศ จะเสาะแสวงหาเครื่องมือทางการ บริหารที่มี ประสิทธิภาพมาเป็นแนวทางในการดําเนินงานเพื่อนําองค์กรไปสู่วิสัยทัศน์อันพึง ประสงค์ เกณฑ์คุณภาพ การศึกษาเพื่อการดําเนินงานที่เป็นเลิศ ถือเป็นเครื่องมือในการ บริหารองค์กรทางการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางในการวางแผนและพัฒนา ระบบการจัดการในด้านการประกันคุณภาพการศึกษา โดยเรื่อง ของ “ภาวะผู้นํา” ถือเป็นปัจจัยสําคัญประการแรกซึ่งกําหนดไว้ในหมวดที่ ๑ โดยระบุไว้ ๒ ประเด็น ดังน้ี (National Institute of Standards and Technology, ๒๕๐๙:๗-๘) ๑. ภาวะผู้นําองค์กร เป็นการกล่าวถึงบทบาทของการดําเนินงานและการนําพา องค์กรไปสู่ความ ยั่งยืน กระบวนการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพไปยังบุคลากรและการ สนับสนุนปัจจัยต่าง ๆ ที่จะก่อให้เกิด ผลลพั ธ์ตอ่ การดําเนนิ งานตามทค่ี าดหวัง โดย ครอบคลุมขอ้ กําหนดดงั นี้ ๑.๑ วิสัยทศั น์ กลยุทธ์ ค่านยิ มและพนั ธกจิ ๑) กาํ หนดวิสยั ทัศน์ กลยทุ ธ์ คา่ นยิ มขององค์กร ๒) แปลงวิสัยทัศน์ กลยุทธ์ ค่านิยมเพื่อนําไปปฏิบัติและถ่ายทอดสู่ บุคลากรทุก ระดับและผมู้ ีส่วนเกีย่ วขอ้ ง ๓) สรา้ งความเชอื่ ม่นั ต่อการบรรลวุ ิสัยทศั น์ ๔) สร้างสภาพแวดล้อมในองค์กรที่ดีโดยเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติตาม กฎ ข้อบังคับที่เกย่ี วข้องท้ังหมดรวมไปถึงการเป็นผูม้ ีพฤติกรรมจรยิ ธรรมท่ีพงึ ประสงค์ ๕) ตระหนักในการสร้างองค์กรไปสู่ความยั่งยืน โดยมุ่งปรับปรุงและ พัฒนาใน ผลลัพธ์จากการดําเนินงานตามพันธกิจ กลยุทธ์ที่ท้าทาย ความยืดหยุ่นในการ ดําเนินงาน แบบอย่างการปฏิบัติท่ีดี การสนับสนุนการเรียนรู้ของบุคลากรอย่างเป็นธรรม การมีส่วนรว่ ม ในการเรียนรูข้ ององคก์ ร ความพยายามในการผลักดันแผนงานให้บรรลุ ความสําเร็จและการ พฒั นาทกั ษะภาวะผู้นําท่ีมงุ่ สอู่ นาคต ๑.๒ กระบวนการสือ่ สารและผลลัพธจ์ ากการดําเนินงาน ๑) การสรา้ งความเชอื่ มัน่ ในวสิ ัยทศั น์และสือ่ สารไปยงั บุคลากรอย่าง ทว่ั ถงึ ทั้งองค์กร ในลักษณะของการสื่อสารแบบสองทาง การสื่อสารนั้นรวมไปถึงการ ตัดสินใจในเรื่องสําคัญ ต่างๆ การส่งเสริมและการให้รางวัลบุคลากรเพื่อเสริมสร้างและ สนับสนุนให้เกิดผลลัพธ์ใน การปฏิบตั งิ านท่ีดี ๒) ในผู้ชี้นําและพาองค์กรไปสู่เป้าประสงค์ตามที่คาดหวัง มีการ ทบทวนผลการ ดําเนินงานเป็นระยะ โดยมุ่งให้เกิดผลลัพธ์ของการตอบสนองและแก้ไข ปัญหาของผู้เรียน และผูเ้ กย่ี วข้องไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ๒. การบริหารงานและความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นการกลา่ วถึงระบบการดำเนินงาน การสนับสนนุ และความรับผิดชอบต่อสงั คม ๒.๑ การบรหิ ารงานในองคก์ ร ๑) ยินยอมรับการตรวจสอบในระบบต่าง ๆ ของการดําเนินงานตามรอบระยะเวลา โดยปราศจากอคติ เป็นอิสระจากการตรวจสอบท้งั ภายในและภายนอก ๒) ดําเนินงานอย่างโปร่งใสทั้งระบบและเปิดเผยผลลัพธ์จากการดําเนินงานต่อ คณะกรรมการในทุกระดับ ๓) เปดิ โอกาสให้มีการประเมนิ ผลการดาํ เนินงานของผูบ้ ริหารในแตล่ ะระดับ ๒.๒ กฎหมาย ข้อบังคับและพฤตกิ รรมจริยธรรม

๑) มีส่วนร่วมในการให้บริการต่อสาธารณะและสังคม รวมถึงการ อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยบูรณาการกับการปฏิบัติงานในองค์กร อย่าง เหมาะสม ๒) ส่งเสริมและสนบั สนนุ การสร้างเสรมิ พฤติกรรมจรยิ ธรรมโดย กําหนดตัวช้ีวัดและ กระบวนการดาํ เนนิ งานอยา่ งเป็นระบบ ๒.๓ ความรบั ผิดชอบและการสนบั สนุนต่อสงั คม ๑) จัดและเขา้ ร่วมกิจกรรมทางสังคมที่องค์กรมสี ่วนเกี่ยวข้อง ๒) เป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสังคมที่เข้มแข็ง โดยเริ่มต้นจากชุมชนหรือ ภาคีท่ี เก่ียวขอ้ งในการรว่ มมือ ร่วมใจ คาํ เนินกจิ กรรมรว่ มกนั ในเชิงสรา้ งสรรค์ ขอ้ กําหนดใน ๒ ประเดน็ ขา้ งตน้ เป็นคุณลักษณะประการแรกของ “ภาวะผ้นู าํ ” ใน การบริหารองค์กร ไปสู่ความเป็นเลิศโดยเฉพาะในมุมมองของการบริหารการศึกษา นอกจากนี้เครื่องมือทางการบริหารอีก ประการหนึ่ง ได้แก่ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance System) ซึ่งถือเป็นส่วนหนึ่งของ ระบบในการบรหิ ารจดั การการศึกษา โดยกําหนดตวั บง่ ช้ี เรอื่ ง “ภาวะผนู้ ํา” ของผูบ้ ริหารทกุ ระดับของสถาบัน ไว้ คําอธิบายตัว บ่งชี้ดังกล่าว คือ “ภาวะผู้นําเป็นปัจจัยสนับสนุนที่สําคัญต่อการเจริญก้าวหน้าของสถาบัน กล่าวคือ หากผู้บริหารทุกระดับของสถาบันมีวิสัยทัศน์เป็นผู้นําที่ดีมีธรรมาภิบาลรับผิดชอบ ต่อสังคม รัก ความก้าวหน้าดูแลบุคลากรเป็นอย่างดี เปิดโอกาสให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมใน การบริหาร มีความสามารถใน การตัดสินใจ แก้ปัญหาและกํากับดแู ล ติดตามผลการ ดําเนินงานของสถาบันให้เป็นไปในทิศทางท่ีถกู ต้องก็จะ ทําใหส้ ถาบันเจริญรุดหน้าอย่าง รวดเรว็ ” ทัง้ นร้ี ะบบกลไกดังกล่าวยังได้นําเสนอแนวปฏิบัติที่ดีต่อภาวะผู้นําไว้ ดังน้ี ๑. ผู้บริหารต้องมีวิสัยทัศน์และสามารถถ่ายทอดไปยังบุคลากรทุกระดับ มีความ สามารถในการ วางแผนกลยทุ ธ์ นาํ ขอ้ มูลสารสนเทศเปน็ ฐานในการปฏิบตั งิ านและพัฒนา สถาบนั ๒. มคี วามสามารถในการบรหิ ารโดยคาํ นึงถงึ ประโยชนข์ องสถาบนั นักศกึ ษาและ ผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี ๓. มีธรรมาภิบาล มีความสามารถในการกํากับดูแล ติดตามผลการทํางานของ สถาบัน และสามารถ ตัดสนิ ใจแก้ไขปัญหาอย่างมีประสทิ ธิภาพ ๔. มีความสามารถด้านการบริหารงาน งบประมาณ บริหารรายได้ บริหารงาน บุคคลและทรัพยากร อืน่ ๆ ๕. สนับสนุนให้บุคลากรในสถาบันและชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการ ให้ อํานาจในการ ตดั สินใจแกบ่ คุ ลากรตามความเหมาะสมและจูงใจให้รักสถาบนั ๖. สร้างบรรยากาศเพื่อส่งเสริมให้บุคลากรมีพฤติกรรมที่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบปฏิบัติและมี จรยิ ธรรม การนําพาองค์กรทางการศึกษาไปสคู่ วามเปน็ เลศิ “ผูน้ าํ ” เปน็ ปัจจยั แรกทีส่ าํ คญั ท่สี ดุ ในกระบวนการ บริหารทั้งหมด เนื่องจากเป็นผู้กําหนดทศิ ทางการดาํ เนินงานที่สําคญั และหากผู้นําไม่มีประสทิ ธภิ าพในบริบท ของการเปลี่ยนแปลงในปจั จุบันก็อาจนําองค์การ ไปสู่ภาวะชะลอตัว สะสมปัญหาและอาจลม่ สลายได้ แต่หาก ผู้นําพัฒนาตนเองในสังคมยุค ฐานความรู้และใช้ความรู้ได้เต็มตามศักยภาพรับฟังข้อเสนอแนะจากการ ตรวจสอบในทุก ระบบแล้วนํามาปรับปรุงและพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่อง ก็จะสามารถนําพาองค์กรไปสู่ วิสยั ทศั นท์ ี่กําหนดไวไ้ ด้ ภาวะผ้นู ำทางการศกึ ษา ;Educational leadership โดย : สมยศ ชี้แจง.

หน่วยงาน : วิทยาลยั ดุสิตธานี ปที ี่จัดทำ : ประเภท : บทความ/Article ๒. ผศ.ดร.อนิ ถา ศิรวิ รรณ ได้กลา่ วไวว้ ่า รปู แบบของภาวะผูน้ ําทางการศึกษา ผศ.ดร.อนิ ถา ศริ ิวรรณ อาจารยห์ ลักสูตรพุทธบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ ภาวะผู้นําทางการศึกษามีรูปแบบที่แตกต่างไปจากภาวะผู้นําขององค์การอื่น ๆ เพราะการบริหาร การศึกษา เป็นรูปแบบการบริหารที่เกี่ยวข้องกับความชํานาญการ และทักษะในการจัดการด้านการ ศึกษา นอกจากน้ผี ูน้ ําทางการศึกษาจะต้องมีปรชั ญาของการจัดการศึกษา ท่ีตอบสนอง การพฒั นา เยาวชนเพ่ือสังคม และประเทศชาติ การจะนําองค์การทางการศึกษาไปสู่ความสําเร็จได้ จึงต้องขึ้นอยู่ กับแนวทางในการบริหาร จัดการเรยี นการสอน ในวงการการศกึ ษาพบว่า รปู แบบภาวะผนู้ ําทม่ี ี ความหมายสาํ หรบั การพัฒนาผเู้ รียนและ การจดั การเรียนการสอนไดแ้ ก่ ๑). รูปแบบภาวะผนู้ ําแบบร่วมแรงรว่ มใจ (Collaborative leadership) ของ เทลฟอร์ด (Telford) ๒. รูปแบบภาวะผู้นาํ แบบนกั บรกิ าร (Servant leadership) ของกรีนสฟี (Greenleaf) ๓. รปู แบบภาวะผู้นําแบบห้นุ สว่ น (Share holder leadership) ของ บล็อก (Block) ๔. รูปแบบภาวะผู้นําแบบเพื่อนแท้ (True good friend leadership) ของสุภัททา ปิณฑะแพทย์ ซึ่ง ให้ความสําคัญตอ่ การประสานงานของผนู้ าํ ดา้ นการศึกษาที่มีศูนยก์ ลางของการพฒั นา อยทู่ ี่ผ้เู รียน เทลฟอร์ด (Telford) ได้กล่าวถึงทฤษฎี ภาวะผู้นําแบบร่วมแรงร่วมใจ ( Collaborative Leadership) ได้ทําการศึกษาผู้นาํ ทางการศึกษาที่สามารถพัฒนาระบบการทํางาน ของโรงเรียนสู่การ บริหาร จัดการให้แนวคิดว่าผู้นําทางการศึกษา ไมใ่ ชผ่ ู้ทจี่ ะบรหิ ารจัดการองค์ความรู้ได้เสมอไป ผูท้ ่ีทําให้ หน้าที่จัดการ เรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ให้แก่ผูเ้ รียน คือผู้สอนการบริหารจัดการโรงเรยี น จึงต้องเข้าใจ บทบาทของผู้สอน และผู้เรียน บทบาทของผู้นําในฐานะผู้บริหารที่ส่งผลให้เกิดการเรียนการสอนที่บรรลุ เป้าหมาย คือ ผู้นําที่มี คุณลกั ษณะของนักการศึกษามากกว่านักบรหิ ารจัดการที่ต้องยดึ ถือกฎระเบียบทเ่ี ครง่ ครัด การศึกษาภาวะผู้นํา แบบร่วมแรงรว่ มใจยดึ กรอบความคิดและทฤษฎกี ารบริหารจดั การ ทจ่ี ดั กรอบการบรหิ ารเปน็ ๔ ดา้ น คอื ๑. ด้านโครงสร้าง (Structural) ๒. ดา้ นการเมือง (Political) ๓. ด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ (Human resource) ๔. ดา้ นสญั ลักษณ์ (Symbolic) กรีนลีฟ (Greenleaf) ได้กล่าวทฤษฎีรูปแบบภาวะผู้นําแบบนักบริการ (Servant leadership) เป็น รูปแบบของผู้นําที่เน้นการให้การบริการผู้อื่น พนักงาน ลูกค้า และชุมชนเพื่อช่วยกันสร้างอํานาจ การนําทาง การศึกษา ผู้นําที่มคี วามเช่ือในเรือ่ งของการบรกิ ารนั้นตอ้ งเกดิ ความรู้สึกท่ีเกิดขึ้นภายใน อย่างเป็นธรรมชาติท่ี นําไปสู่การให้บริการ และต้องมีความเชื่อว่าการให้บริการเป็นความสําคัญ อันดับแรก การทดสอบว่าการ บริการนั้นมีประสิทธิภาพ คือพิจารณาว่าการให้บริการนั้นทําให้บุคคล พัฒนาขึ้น ในขณะที่ได้รับการบริการ บคุ คลนนั้ มสี ุขภาพทดี่ ขี ้ึน ฉลาดขึ้น มอี ิสระเพิ่มขน้ึ มกี ารพง่ึ พา ตนเองไดม้ ากขึน้ และพวกเร่มิ ทจ่ี ะกลายมาเป็น ผู้ให้บริการมากขน้ึ คณุ สมบตั ิ ๑๐ ประการทกี่ ารนาํ ไป สู่การเป็นผู้นาํ ท่มี ภี าวะผนู้ าํ แบบผู้ให้บรกิ าร ไดแ้ ก่ ๑. การฟัง ๒. การมคี วามเหน็ ใจ

๓. การเยียวยา ๔. การตระหนักรู้ ๕. การชักจูง ๖. การมคี วามคิดรวบยอด ๗. การมองเหน็ ภาพ ๘. การดูแล ๙. การพร้อมรว่ มใจ ๑๐. การสร้างชมุ ชน ภาวะผู้นําแบบให้บริการนี้เป็นสิ่งที่จําเป็นในการสนับสนุนให้งานด้านการบริหารการศึกษา เพื่อเป็น การบรหิ ารเพ่อื การเรียนการสอน จาํ เป็นตอ้ งได้รับการบริการจากผนู้ ําและใหก้ ารสนับสนุน เพื่อใหเ้ กดิ ความคิด อสิ ระ สรา้ งสรรค์รูปแบบการเรยี นรเู้ พ่ือพัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ีคณุ ภาพ บล็อก (Block) ได้กล่าวทฤษฎีรูปแบบภาวะผู้นําแบบหุ้นส่วน (Share holder leadership) เป็น รูปแบบการนําแบบเป็นหุ้นส่วนก็อาจเป็นทางเลือกหนึ่งเพราะการบริหารเช่นนี้ทําให้ทุกคนมีภาวะ ผู้นําที่เท่า เทียมกัน ฐานะหุ้นส่วนระหว่างผู้นํากับกลุ่มสมาชิกด้วยความสัมพันธ์เชื่อมโยงในแนวทาง ที่ทําให้อํานาจ ระหว่างกันอยู่ในภาวะที่สมดุลในการบริหารด้านการศึกษารูปแบบการคิดของบลอ็ ก ในการกําหนดภาวะผู้นํา ในรปู แบบของการเปน็ หุ้นสว่ นตอ่ กนั เปน็ แนวคดิ ทน่ี ําไปสู่การมอบอํานาจและการทาํ งานเป็นทีม ในการบริหาร จัดการลักษณะของการเข้ามาเป็นหุ้นส่วนมีความสําคัญในด้านการบริหารการศึกษา เนื่องจากการศึกษาเป็น งานพัฒนาผู้เรียน ดังนั้นการออกแบบการจัดการเรียน การสอนมุ่งไปสู่ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น ในตัวผู้เรียนอย่าง ความเปน็ อสิ ระทางวิชาการ ลักษณะทจ่ี ําเป็น ของภาวะผู้นําแบบเป็นห้นุ สว่ นตอ่ กัน ไดแ้ ก่ ๑. การสร้างยทุ ธศาสตรใ์ นการสนทนาการแลกเปล่ียนจดุ ม่งุ หมาย (Strategic conversation) ในการ เป็นหุ้นส่วนกันนั้น สมาชิกทุกคนจะมีความรับผิดชอบในการให้ความหมายของวิสัยทัศน์และ คุณค่าด้วยการ สนทนากนั ในทกุ ระดบั และมีผู้นาํ เป็นผ้ทู ําหนา้ ท่ีนาํ ทุกคนใหม้ าเกาะเกี่ยวกันในภาพกวา้ ง ของวสิ ัยทศั น์ ๒. การให้อสิ ระทางดา้ นความคิด (Freedom of choices) การใหข้ อ้ คดิ ท่แี ตกตา่ ง ใหท้ กุ คนใช้สทิ ธิใน การออกความคิดเห็นในความเชื่อที่ว่าคนเราอาจมีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน ดังนั้น การมีความคิดเห็นที่ แตกตา่ งเป็นเสียงๆ หน่งึ ท่ีควรสนใจ ๓. การสร้างความน่าเชื่อถือร่วมกัน (Accountability) ทุกคนต้องมีความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์ และ สถานการณท์ ีเ่ กิดขึ้น แตล่ ะคนสร้างความน่าเชอ่ื ถอื ตอ่ ความสําเร็จและความลม้ เหลวรว่ มกนั ๔. การมีความบริสุทธิ์ใจต่อกันอย่างสมบูรณ์ (Mutual trust) ต้องพูดความจริง เมื่อมีการกระจาย อาํ นาจออกไปทุกคนตอ้ งพูดความจริงเพื่อทจี่ ะทําให้ความรสู้ ึกไม่ม่ันคงลดน้อยลง สุภัททา ปิณฑะแพทย์ ได้กล่าวถึง รูปแบบภาวะผู้นําแบบเพื่อนแท้ (KaLaYaNaMiTr; True good friend leadership) ในวงการการศึกษานั้น การทํางานเป็นการสร้างคุณค่าเพื่อการพัฒนาคน ผลกําไร คือ การสร้างคนใหเ้ ปน็ ผู้มีความรู้ความสามารถในการดํารงชีวิตอย่างมีความสุขทุกคน ที่เกี่ยวข้องจงึ มีจุดมุ่งหมาย เดียวกัน คือ การพัฒนาผู้เรียนให้ก้าวทันโลกในการทํางานรูปแบบพฤติกรรม ผู้นําที่นําความสําเร็จในการ บริหารงานคือ รปู แบบท่เี ปน็ เพอ่ื นร่วมอาชพี ท่ีมีความเชื่อมโยงสมั พนั ธก์ นั มใี หค้ วามชว่ ยเหลือสนับสนุนและมีความจริงใจต่อกัน เออ้ื อาทร มีมติ รภาพท่ีกลมเกลียวกันจึงเป็น ส่ิงสําคัญที่ จะช่วยกันนําไปสู่การบริหารจัดการในยุคที่ต้องมีการปรับเปลี่ยนกระบวนการทํางานเพื่อให้ทันต่อการ เปลีย่ นแปลงในยุคขอ้ มลู ขา่ วสาร คณุ ลักษณะสรปุ ของภาวะผนู้ าํ ในฐานะเพื่อนแท้ เมือ่ นาํ มารวมกลุ่มพฤติกรรม เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ดงั น้ี ๑. มคี วามรูท้ กั ษะและความสามารถ (K = Knowledge) ๒. ให้ความรกั ใคร่และเป็นมิตรเอื้ออาทร (L= Loving Care) ๓. ทาํ ใหเ้ กิดผลตอบแทนตามผลลัพธ์ (Y = Yield) ๔. ให้การสนบั สนุนทจี่ ําเป็น (N= Need)

๕. ยึดถือทางสายกลาง (M= Middle way) ๖. สรา้ งการทาํ งานเปน็ ทีม (T=Team) การพฒั นาให้เกิดภาวะผู้นําในรปู แบบนี้ จะต้องมีฐานของการพัฒนามาจากภาวะผู้นาํ แบบธรรมะ ของ พระธรรมปฎิ ก (ประยทุ ธ ปยุตโต) ซ่งึ เปน็ ทม่ี าของฐานอาํ นาจ ๔ ประการคอื ฐานอาํ นาจทเี่ กดิ จาก ความฉลาด รอบรู้ (Wisdom Power) ฐานอํานาจที่เกิดจากความพยายาม (Effort Power) ฐานอํานาจ ที่เกิดจากความ เมตตา (Kindliness Power) และฐานอาํ นาจที่เกิดจากการไม่ประพฤติผิด (Faultiness Power) คอลเวลล์ (Caldwell) ได้กล่าวทฤษฎีภาวะผู้นําเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic leadership) จาก การศึกษาภาวะผู้นํา ท่ีสามารถนําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในองค์กรได้อย่างประสบความสําเร็จ โดยเฉพาะ ในเรื่องที่เกี่ยวกับ ระบบการเรียนการสอนในภาพรวมของเกสตัลท์ ที่จะสร้างให้สถาบัน การศึกษาเป็นสังคม ของการเรียนรู้ ความสามารถของผู้นําที่มียุทธศาสตร์เป็นสิ่งจําเป็นในยุคที่การ เรียนรู้เสมือนจริงได้เกิดขึ้นใน โลกของการศึกษา ผู้นําที่มีภาวะผู้นําที่สามารถนําการเปลี่ยนแปลงได้สําเร็จ จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจจากการ สัมภาษณ์ของตัวผู้นํา และจากการรับรู้ของผู้บริหารและคณาจารย์ในสถาบัน ของตนจะสามารถทําให้เข้าใจ พฤตกิ รรมของผ้นู าํ ภายใตแ้ นวคิดและการปฏิบัตขิ อง คาลด์ ซง่ึ ได้นาํ เสนอ ยุทธศาสตร์ ๕ ประการดงั น้ี ๑. การมีวิสัยทัศน์ของผู้นําและการได้รับการยอมรับว่ามีวิสัยทัศน์ที่มองเห็นความสําคัญ ของการจัด การศึกษาเพื่อมวลชนเพื่อการพัฒนาประเทศ ผู้บริหารเป็นผู้ที่ใฝ่รู้ศึกษาแนวทางการจัด การเรียนการสอนใน รูปแบบใหม่ๆ ทงั้ จากตา่ งประเทศและในประเทศและสามารถนํามาประยกุ ต์ใช้ ๒. ด้านการสื่อสารข้อมูลและแนวคิดนั้น ผู้บริหารต้องเป็นผู้ที่มีทักษะในการสื่อสารให้ผู้อื่น เข้าใจได้ อย่างดี ตลอดจนต้องสร้างช่องทางในการสื่อสารให้หลากหลายเพื่อแสดงวิสัยทัศน์ให้เด่นชัด ทักษะในการ ส่อื สาร ซ่ึง ได้แก่การพูดสนทนาน้นั ผบู้ ริหารจําเปน็ ต้องรู้จักธรรมชาติของมนุษย์และ วัฒนธรรมในการทํางาน การให้เกยี รติซ่งึ กันและกันในการส่ือสารพูดจามีความสําคัญยง่ิ จะพบว่า การพดู ให้ข้อมูลทช่ี ัดเจนเป็นส่ิงท่ีผู้นํา ต้องกระทํา การสื่อสารแบบถึงตัวบุคคลเป็นทางเลือกที่ผู้นําจําเป็น ต้องนํามาใช้เมื่อต้องการผลลัพธ์ท่ี ตอบสนองได้ฉับไว โดยใช้ยุทธศาสตร์การสือ่ สาร (Strategic Conversation) การใช้ผู้แทนที่มีผูย้ อมรับนับถือ ในกลมุ่ เปน็ ตวั แทนในการสื่อสารใหท้ ําหนา้ ทน่ี ้ีอาจเปน็ ทางเลือกหนึ่งในการส่ือสารแบบไม่เป็นทางการ การใช้ วาทศิลป์เป็นสิ่งที่ทําให้เกิดความประนีประนอม ยอมอ่อนตาม นอกจากนี้การให้การยกย่องชมเชย ให้การ ยอมรับและใหค้ วามเชอ่ื ถือ ก็เปน็ ส่งิ ทีน่ าํ ไปสู่ การสื่อสารทไ่ี ดผ้ ลดี ๓. ด้านการร่วมมือ การปฏิบัติต่อกันก่อให้เกิดความร่วมมือหรือขัดแย้งได้เท่าๆ กัน การพูด ที่แสดง ความเป็นกันเองมีความสําคัญยิ่งต่อการสร้างเครือข่ายของการทํางานการแสดงความอ่อนน้อม ต่อกัน ในบาง วัฒนธรรมการแสดงออกแบบญาติพี่น้องเป็นวัฒนธรรมที่ยึดถือกันอยู่ จะเห็นได้จาก การใช้สรรพนามในการ พูดคุยกันที่จะบ่งชี้ระดับของความสนิทสนมกัน ซึ่งแสดงออกด้วยการพบปะกัน การช่วยเหลือในเรื่องส่วนตัว ซึ่งมกั จะเข้ามาปะปนกับการทํางานอยู่เสมอ การแสดงความเอื้อเฟื้อ ดว้ ยการใหข้ องรางวัลเป็นการแสดงน้ําใจ การแสดงความเป็นเพื่อนที่สามารถตักเตือนหรือพูดจากันได้ เป็นความภาคภูมิใจของเฉพาะตัวบุคคล การมี ลักษณะของความอ่อนข้อให้อภัย ใจเย็นเป็นคุณลักษณะ ที่เป็นรูปแบบที่ต้องการ ซึ่งผู้นําอาจมีความแตกต่าง กันและเหมือนกันในบางประเด็น เช่น การใช้ ความเงียบ นิ่งเฉยไม่โต้ตอบสยบความขัดแย้ง แต่ยังคงเดินหน้า ทําไปเรื่อยๆ ซึ่งทําให้ผู้โต้แย้งเกิดความ ลังเลไม่แน่ใจ และเมื่อพบว่าการโต้แย้งไม่มีผลก็จะหันกลับมาร่วมมือ แม้จะไม่เต็มใจก็ตาม หรือการโต้ตอบ แบบเปิดเผยโดยลงมือกระทําให้เป็นแบบอย่าง ซึ่งสร้างให้เกิดการต่อสู้ เพ่อื เอาชนะให้ได้ในเชงิ วิชาการ และการทํางานก็เปน็ ประเดน็ ทเ่ี กดิ ข้นึ ในวงการการศกึ ษา การใช้อํานาจตัดสิน เด็ดขาดลงไปและทําโทษ อาจไม่ได้ผลดี แตก่ ารทําให้ผตู้ ่อต้านยอมรับนาํ้ ใจและความร้สู ึกที่ดดี ้วยความยตุ ิธรรม โดยสว่ นรวมเปน็ แนวทางหน่งึ ในการเปน็ ผบู้ รหิ ารทีด่ ี

๔. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษา และมีความมุ่งมั่นที่จะตอบสนองความ ต้องการของ ชุมชนอย่างแท้จริง สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน ให้ชุมชนมีความ เชื่อถือในคุณภาพของ การจัดการศึกษาและให้สถาบันเป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนได้ ความสัมพันธ์อันดี ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนจะ ทาํ ใหเ้ กดิ การชว่ ยเหลือสนับสนุนทรัพยากรทจี่ ําเป็นในการจัดการเรยี นรู้ ในดา้ นศิลปวฒั นาธรรมที่ต้องสืบสาน รวมท้งั ภูมปิ ญั ญาชาวบ้านซงึ่ เป็นการเรยี นรู้ทมี่ ีความสําคญั เปน็ อยา่ งย่ิง ๕. การควบคุมดูแลและการประเมินคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและบริการให้บริการ ทาง การศึกษาอย่างมีคุณภาพจะต้องมีการประเมินคุณภาพของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนารูปแบบ การเรียนรู้ที่ เหมาะกับผู้เรียนด้วยระบบการประเมินแบบครบวงจร การประเมินต้องมีจุดมุ่งหมายที่ชัดเจน คือ เพื่อการ พฒั นาใหก้ ารจดั การเรยี นการสอนมคี ุณภาพและทนั ต่อเหตุการณ์ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต) ได้กล่าวถึงรูปแบบภาวะผู้นําแบบประสานให้พากันไป กล่าววา่ เป็นรูปแบบที่ใช้ความสัมพันธ์แบบประสานตัวระหว่างผู้นํา และผู้ร่วมที่ไปด้วยการประสานตัวกันมีลําดับ ขัน้ ตอนดังน้ี ขั้นที่ ๑ เริ่มต้นด้วยการที่ตนเองต้องมีคุณงามความดี ความรู้และความสามารถเป็นองค์ประกอบ พื้นฐานในการสร้างศรัทธาให้เกิดขึ้นในหมู่คน เพื่อให้เกิดความมั่นใจในตัวผู้นําที่เชื่อว่าผู้นําจะสามารถ แก้ปัญหา นําพวกเขาไปได้จนถึงจุดหมาย ซึ่งทําให้พอใจ เต็มใจ และอยากเข้าร่วมไปด้วยความศรัทธา ท่ี เกดิ ขน้ึ ทาํ ใหไ้ ม่ตอ้ งแสดงตนว่าเปน็ ผ้นู ํา แต่จะเป็นผูน้ ําโดยเขาอยากใหน้ ํา ขั้นที่ ๒ ผู้นําจะต้องเริ่มทําให้ผู้ร่วมไปด้วยเกิดความมั่นใจในตนเองว่ามีศักยภาพ มีทุนแห่งความ สามารถท่ีจะเอามาปรับจัดและพัฒนาให้สามารถทาํ กจิ การงานได้สําเร็จ คอื สามารถเขา้ ร่วมไปด้วยกัน ได้ให้มี ความม่ันใจว่าจะรว่ มไปดว้ ยกนั ได้ ขั้นที่ ๓ ช่วยให้ผู้ร่วมไปด้วยกันประสานกันเอง คือชักนําให้เกิดความสามัคคีพร้อมเพรียงกัน ทั้ง ประสานมือและประสานใจซึ่งมีความสําคัญในการที่จะอยู่ร่วมกัน ซึ่งต้องการความกลมเกลียว มีน้ำหนึ่งใจ เดียวกัน รว่ มจิตรว่ มคิดร่วมใจซึ่งเปน็ หลกั ใหญ่ทีต่ ้องการหลักธรรม ขั้นที่ ๔ ประสานคนกับสิ่งที่จะทํา หรือประสานคนกับงานนอกจากจะให้เขามั่นใจในตนเองแล้ว ต้อง สร้างความมั่นใจในการงานด้วย หรือสิ่งท่ีจะทําด้วยว่าสิ่งน้ีดีแน่ งานนี้จะทําใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ุขตามทีม่ ุ่งหมาย อย่างแท้จรงิ สร้างให้เขาเกิดความม่ันใจในคุณค่าของงานจนทําให้อยากทําและรกั งาน ที่ทําซึง่ จะนําไปสู่ความ ตั้งใจทํางาน ข้ันที่ ๕ ประสานความต้ังใจในการทํางานให้เกิดกําลังใจในการทาํ งาน คือทําให้เกดิ เป็นพลังใจ ท่ีทําให้ มีการขับเคลื่อน เกิดความกระตือรือร้นและตื่นตัวอยู่เสมอ ทางพุทธศาสนา เรียกว่า มีความไม่ประมาท ไม่ เฉื่อยชา แม้ว่าความรักงานจะทําให้คนมีกําลังใจในการทํางาน แต่บางทีถ้าไม่หนุนให้กําลัง ขึ้นไปบ้างก็อาจจะ เกิดอาการเสื่อมถอยลงได้ ดังนั้นจึงต้องพยายามคงไว้ทั้งความรักงาน ตั้งใจทํางาน และกําลังใจเข้มแข็งที่จะสู้ งาน บกุ ฝา่ ไปขา้ งหน้า ไม่ย่อท้อ ไม่ท้อถอยและไม่ท้อแท้ ขั้นที่ ๖ ประสานประโยชน์สุขแก่คนที่เข้าไปเกี่ยวข้อง หรือคนที่ร่วมไปด้วยกัน ดังนั้น ผู้นําต้อง พยายามใหค้ นท่ีรว่ มงานอยู่ ไดพ้ ัฒนาตนเองอยู่เสมอ ซ่งึ เป็นสง่ิ ทส่ี ําคญั มาก ไมใ่ ชแ่ ตเ่ พยี งให้เขา สละกําลังร่วม ทํางานแต่จะต้องหาวธิ กี ารสง่ เสริมสนบั สนนุ เอ้ือโอกาสให้เขาได้พฒั นาให้เกิดความเจริญแกต่ นเอง ซ่งึ จะเป็นผล ย้อนกลับทําให้มาสู่องค์การเพราะเมื่อเขาเก่งขึ้นดีขึ้น ก็จะทํางานได้ผลดีขึ้น มีความสุขมากขึ้นมีชีวิตที่ดีงาม บรรลผุ ลประโยชนอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ บทสรปุ

รูปแบบภาวะผู้นํานั้นเปน็ ภาวะผู้นาํ ที่นําหลักธรรมที่เป็นธรรมชาติของมนุษย์เพื่อให้มนุษย์มีความ สุข ในการทํางานและสร้างสนั ตภิ าพท่ีย่ังยนื ให้แก่ชวี ติ ด้วย เป็นการให้ผนู้ ําสร้างความศรัทธา และความเชื่อต่อผู้นํา และต่อผรู้ ว่ มไปดว้ ยกนั จึงเปน็ รูปแบบทีส่ ร้างความสมดุลต่อภาวะผู้นาํ และผู้ตาม ยังเป็นรูปแบบของความเป็น ผู้นําทางการศึกษา อาจตอ้ งมีการผสมผสานกับรปู แบบภาวะผ้นู ําแบบต่างๆ เพอ่ื ทําให้เกิดประสิทธิภาพในการ นําสถาบันการศึกษาให้ประสบความสําเร็จก้าวหน้าและเป็นที่น่า เชื่อถือ ผู้นําทางการศึกษา คือ ผู้นําของ ผูใ้ ต้บงั คบั บัญชานักเรียน ผู้ปกครอง ผมู้ สี ่วนได้ส่วนเสีย และชมุ ชน การเป็นผู้นาํ ทมี่ ีความน่าเชื่อถือจะสามารถ นําการพัฒนามาสูเ่ ยาวชนและบคุ คลในชุมชนได้ รปู แบบของภาวะผนู้ ำทางการศกึ ษา โดย : ผศ.ดร.อนิ ถา ศริ ิวรรณ หน่วยงาน : มหาวทิ ยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลยั ปีท่จี ัดทำ : ๒๕๕๗ ประเภท : บทความ/Article ๓. รศ.ดร.สทุ ธพิ งษ์ ศรวี ิชัย, พระครกู ิตติญาณวสิ ิฐ, ดร. ไดก้ ลา่ วไวว้ า่ การพฒั นาทกั ษะภาวะผนู้ าํ ทางการศึกษา รศ.ดร.สุทธิพงษ์ ศรวี ชิ ยั , พระครวู ิรุฬหส์ ตุ คุณ, ดร. พระครูกติ ติญาณวิสิฐ, ดร. อาจารยป์ ระจาํ คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวิทยาลยั คาํ นาํ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว มาจากสาเหตุหลายประการด้วยกัน เช่น ความเจริญ ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจ ปัญหาคนว่างงาน และอัตรา การ เพิ่มขึ้นของประชากรที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดปัญหาพื้นฐานและปัญหาอื่น ๆ ติดตามมา เป็นลูกโซ่ โดยเฉพาะปัญหาด้านศีลธรรม จรยิ ธรรมเสอ่ื มลงความประพฤติในทางมชิ อบของบุคคลหลายระดับ และหลาย องคก์ ร รวมถึงสถาบันทางการศกึ ษาจึงส่งผลกระทบต่อบุคคลอ่ืนและสังคมในทีส่ ดุ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้กล่าวถึงการบริหารการศึกษาต้องเป็นไป อย่าง โปร่งใส และสามารถตรวจสอบได้ ส่วนคุณสมบัติของผู้บริหารที่ดีนั้น จะต้องมีจรรยาบรรณ ในวิชาชีพเพื่อ ความสําเร็จในการบรหิ ารจัดการของสถานศกึ ษาและการจัดการศกึ ษา สง่ิ ที่สําคญั คอื ตอ้ งมคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และมีภาวะผู้นําตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการพัฒนาทักษะ ภาวะผู้นําทางการศึกษาตามแนว พทุ ธควรอาศัยหลกั พุทธธรรมดังนี้ การพฒั นาภาวะผนู้ าํ ทางการศกึ ษาตามหลกั พรหมวิหาร ๔ คือ ๑. ด้านเมตตา ผบู้ รหิ ารควรให้ความยุตธิ รรมเท่าเทียมกนั ในการทํางาน ชว่ ยเหลือด้าน กําลัง ทรัพย์ ใชง้ านใหถ้ ูกกบั บคุ คลที่มคี วามสามารถกับงาน ๒. ด้านกรุณา ผู้บริหารควรใหก้ ารช่วยเหลอื ตอบแทนตอ้ งบรสิ ุทธิ์ยุติธรรม เสมอเท่าเทียมกัน ผู้บรหิ ารต้องรับทราบปัญหาของบคุ ลากรในโรงเรยี น เพอ่ื ใหค้ วามช่วยเหลือ ในดา้ นตา่ งๆ ๓. ด้านมุทิตา ผู้บริหารควรพลอยยินดีเมื่อบุคลากรได้ตําแหน่งใหม่ หรือ ทําหน้าที่ใหม่ ให้ เสมอเทา่ เทียมกนั ในการปฏิบตั ิหน้าที่ ๔. ดา้ นอุเบกขา ผู้บรหิ ารตอ้ งมีใจเป็นกลางในการทํางานหน้าที่มอบหมายงานให้กับบุคคล ท่ี มคี วามรแู้ ละความสามารถกบั งาน ไม่ใช้บคุ คลที่ไมถ่ ูกกับงาน เลือกบคุ คลทีถ่ นัดกับงานเทา่ เทยี มกัน

ซง่ึ มรี ายละเอียดดงั ต่อไปน้ี ๑. แนวคดิ เกยี่ วกับผู้นําและภาวะผนู้ าํ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยตุ โต) ได้กล่าวถงึ ผนู้ ําว่า ผนู้ ําในทางพระพุทธศาสนาน้ัน ผู้นําสูงสุด ใน สมัยพุทธกาล ก็คือพระศาสดา อธิบายว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงนําหมู่ ชื่อว่า พระศาสดา เหมือนบุคคล ผู้นําเกวียน ย่อมนําหมู่เกวียนข้ามที่กันดาร ข้าม คือข้ามขึ้น ข้ามออก ข้ามพ้นที่กันดาร เพราะโจรที่กันดาร เพราะสตั วร์ า้ ย ทก่ี นั ดาร เพราะอดอยากที่กันดาร เพราะขาดนํ้าได้แก่ ให้ถึงถ่ินที่ ปลอดภัย ฉนั ใด พระผู้มีพระ ภาคเจ้าทรงเป็นผู้นํา เป็นผู้นําโดยวิเศษ เป็นผู้ตามแนะนํา ทรงให้รู้จัก ประโยชน์ ให้พินิจพิจารณา ให้เพ่ง ประโยชน์ ทรงให้เล่ือมใสได้ เพราะเหตุน้ันพระผู้มีพระภาคเจ้า จงึ ชอื่ ว่า ผทู้ รงนาํ หมูเ่ พราะว่าพระผู้มีพระภาค นั้นทรงมีพระนามวา่ “นายโก” และ “วินายโก” ไวพจน์ อย่างหนึ่งที่เรียกพระพุทธเจ้า ก็คือ นายก ซึ่งแปลว่า ผู้นํา ในขณะที่ ประเวศวะสี กล่าวถึง ภาวะผู้นํา คือภาวะที่ก่อให้เกิดศรัทธาเปน็ ที่ยอมรับและเกิดจุดมุ่งหมาย ร่วมกันในสังคมนั้น ๆ และมหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมธิราชภาวะผู้นําคือการใช้อิทธิพลของบุคคลหรือของ ตาํ แหน่งให้ผอู้ ่ืนยนิ ยอมปฏิบตั ติ าม เพ่อื ทจี่ ะนําไปส่กู ารบรรลุเป้าหมายของกล่มุ ตามท่ไี ด้กําหนดไว้ สรุปได้ว่า ผู้นํา คือผู้มีอํานาจหน้าที่มีความสามารถดีเป็นบุคคลที่ได้รับการยอมรับโดยสามารถ ที่จะ ประสานชักจูงบุคคลทั้งหลายให้เกิดความเชื่อมั่นและปฏิบัติตามด้วยความเต็มใจและภาวะผู้นําคือ การใช้ อิทธิพลต่อบุคคลอื่นในการสร้างสรรค์หรือปลูกฝังศรัทธาความร่วมมือร่วมใจให้เกิดขึ้นในระหว่าง ผู้ร่วมงาน หรอื ผู้ตามทง้ั น้ีเพอื่ ใหก้ ารปฏิบตั ิงานเป็นไปในทิศทางทผี่ ู้นําหรือผู้บรหิ ารต้องการ ซง่ึ มี รายละเอยี ด ดังน้ี ๒. ประเภทของผู้นําและภาวะผู้นาํ ประเภทของผู้นําและลกั ษณะของผู้นําจะเป็นแบบใดซ่ึงขึ้นอยู่กับสถานการณ์ของสังคมในแต่ละ แห่ง เป็นต้นตัวกําหนด เพราะผู้นําที่เป็นบุคคลธรรมดาก็สามารถที่จะได้รับการยอมรับจากมติมหาชน จึงต้อง ปรับปรุงตนเองให้เข้าสภาพแวดล้อมและสารภาพการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ มีทัศนะของนักวิชาการทั้งหลาย ตอ่ ไปน้ี กวี วงศพ์ ุฒ ไดจ้ าํ แนกผูน้ ําออกเปน็ ๓ ประเภทด้วยกัน ไดแ้ ก่ ก. พิจารณาตามความรับผิดชอบที่ผู้รับผดิ ชอบอยู่ซึ่งแยก ได้เป็นผู้นําซึ่งได้มาโดยอํานาจ อันได้แก่ ผู้นําที่เป็นผู้นําขึ้นมาโดยอาศัยอํานาจทางกฎหมายหรืออํานาจทางการปกครอง อํานาจจาก การบังคับบัญชา ทาํ ใหส้ ามารถใช้บุคคลอ่ืนๆให้เกดิ ประโยชน์ในการดําเนินงาน เพอ่ื ใหบ้ รรลุเป้าหมาย ของกลุ่มอํานาจของผู้นํา ในลกั ษณะน้ีใช้จําแนกได้ดังน้ี ๑. ผู้นําแบบใช้พระเดช ผู้นําในลักษณะนี้ได้อํานาจมาตามตัวบทกฎหมาย เป็นผู้มีอํานาจ ตามกฎหมายและสามารถใช้อํานาจได้ตามกฎหมาย ผู้ใต้บังคบั บัญชาตอ้ งเชือ่ ฟังและปฏิบัติตาม ผู้นาํ ประเภทนไี้ ด้แก่ ผูน้ ําตามหน่ายราชการตา่ งๆ ๒. ผู้นําลกั ษณะพเิ ศษหรือมีความสามารถพิเศษผนู้ าํ ท่ีมคี ุณลักษณะนี้เปน็ ผู้ท่ีมีพรสวรรค์ โดย กําเนิด มมี นุษย์สัมพนั ธท์ ดี่ ี มคี วามสามารถพเิ ศษในการโน้มน้าวหรือเขา้ ใจคนผนู้ ําประเภทนี้ไม่จําเป็น ต้องมีตําแหน่งอย่างเป็นทางการ ความสัมพันธ์ระหว่างผู้นําและสมาชิกในกลุ่มจะออกมาในรูปแบบ ความร่วมมือร่วมใจกันทํางานด้วยความรักความศรัทธาที่มีสมาชิกในกลุ่มมีต่อผู้นําซึ่งจะเป็นให้พลัง สมาชิกเหล่านั้นร่วมกันปฏิบัติตามคําแนะนําด้วยความเคารพนับถือที่สมาชิกในกลุ่มมีต่อผู้นําซึ่งจะ เปน็ ให้พลังสมาชกิ เหล่าน้นั ร่วมกันปฏบิ ัติตามคําแนะนําด้วยความพรอ้ มเพยี ง ๓. ผู้นําแบบพ่อพระ ผู้นําลักษณะนี้ เป็นผู้นําที่เป็นจุดศูนย์กลางแห่งความรักเป็นจุด ศูนย์กลาง รวมศรัทธา ความศรัทธา ความเชื่อม่ันจากคนท้ังปวง ผ้นู าํ ในลักษณะนี้จะไม่ใช้อํานาจตาม

แบบอย่าง ผู้นําแบบใช้พระเดชหรือผู้นําในลักษณะพิเศษอํานาจต่างๆ เกิดจากแรงศรัทธารักและ เคารพนับถือจาก ประชาชนโดยประชาชนจะพร้อมใจกันปฏิบัติตาม ผู้นําแบบ พ่อพระที่เห็นชัดคือ องค์พระมหากษัตริย์ ข. พจิ ารณาจากวธิ กี ารท่ผี ู้นําใช้ ซึ่งจําแนกได้ ดงั น้ี ๑. ผู้นําแบบอัตนิยม หรือแบบเผด็จการ คือ ผู้นําที่มีความก้าวร้าวใช้อํานาจเหนือผู้อื่น ข่ม ผู้อื่น ทําตัวเปน็ จุดศูนย์กลางของกลุ่ม ความลําบากบ้าบิน เกี่ยวกับความสัมพันธ์ที่มีตอ่ ผู้อื่นนั้นมีน้อย มาก ผู้นําแบบอัตนิยม จะมุ่งหนักไปทางด้านวินัยและชอบสัญลักษณ์ภายนอกที่แสดงถึงฐานะและ อํานาจ เป็นต้นว่า เครื่องแบบทางทหารหรือตํารวจผู้นําประเภทนี้ส่วนใหญ่แล้วจะมีความเชื่อมั่นใน ตัวเองเทา่ นนั้ ความเชอื่ ในผูอ้ ยู่ใตบ้ งั คับบญั ชาหากมจี ะนอ้ ยมากหรอื แทบจะไม่มีเลย ๒. ผู้นําแบบประชานิยมหรือการเป็นผู้นําแบบประชาธิปไตยผู้นําประเภทนี้จะไม่มุ่งความ สนใจเก่ียวกบั การมีอํานาจแต่ใช้วิธีกระตุ้นหรือเร้าใหส้ มาชิกในกลุ่มมสี ว่ นรว่ มกจิ กรรม ร่วมออกความ คิดเห็น ผู้นําในลักษณะนี้ไม่ได้ทําตัวเป็นจุดศูนย์กลางในการแสดงพฤตกิ รรมของกลุ่ม การนํากลุม่ จะ นํา โดยอาศัยวิธีการเชิญชวนให้สมาชกิ ในกลุ่มมีส่วนร่วมออกความคิดเพ่ือจะได้วัตถุประสงคข์ องกลุม่ สมาชกิ ในกลมุ่ จะได้รบั การสนบั สนุนในกลมุ่ รว่ มกนั พจิ ารณา ๓. ผู้นําแบบเสรีนิยม ผู้นําในลักษณะนี้ เป็นผู้นําที่ปล่อยปละละเลยเปิดโอกาสให้สมาชิก ใน กลุ่มใชเ้ สรีภาพอย่างกวา้ งขวางจนดปู ระการหน่งึ ขาดหลัก ยนิ ยอมให้ทุกคนปกครองตนเองมากกว่า ที่ จะชี้นําหรือจํากัดแนวทางปฏิบัติเป็นผู้นําประเภทปล่อยกลุ่มตามสบายในบางครั้งอาจจําเป็นจะต้อง กํากับ ก็เป็นการกํากับหรือดูแลเพียงเล็กน้อยเท่านั้นลักษณะผู้นําประเภทนี้โดยทั่วๆ ไปจะมีลักษณะ เหนื่อยหน่าย เลื่อยชา สมาชิกในกลุ่มต่างทํางานตามความพอใจของตนเองเป็นกลุ่มที่ขาดระเบียบ วนิ ยั เปน็ ท่ีสุด ค. พิจารณาจากบทบาททผี่ นู้ ําแสดง จําแนกได้ ดังนี้ ๑. ผู้นําแบบแสดงตนเองในลักษณะพ่อแม่ปกครองลูก คือ ทาํ ตวั เหมือนพอ่ แมใ่ ห้ลูกนอ้ ง เช่ือ ฟังและปฏบิ ัติตามเสมือนหน่ึงเป็นลกู หลานดแู ลปกป้องและค้มุ ครองลูกน้อง ๒. ผู้นําแบบใช้กลอุบายกุมบังเหียนการบรหิ าร ผู้นําในลักษณะน้ีจะพยายามสร้างอํานาจ ใช้ อํานาจโดยอาศัยประสบการณ์ความรอบรู้และตําแหน่งของตนให้เข้ากับสถานการณ์ พยายามเชิด บุคคลหนึ่งขึ้นให้แสดงบทบาทเพื่อผลประโยชน์ของตนให้เข้ากับสถานการณ์ พยายามเชิดบุคคลหนึ่ง ขน้ึ ใหแ้ สดงบทบาทเพอื่ ผลประโยชน์ของตนเอง ๓. ผู้นําในลักษณะผูเ้ ช่ียวชาญประเภทน้ีไม่มอี ํานาจในการบังคับบัญชาผู้อืน่ ไม่ใช่หัวหน้างาน โดยแท้จรงิ เพยี งแต่คอยใหค้ าํ แนะนาํ ทางวชิ าการในสาขาทต่ี นรอบรู้และถนัด สมพงษ์ เกษมสนิ กลา่ วถงึ ประเภทของผนู้ าํ ไว้เพ่อื ใหเ้ ห็นพฤติกรรมของผู้นํา ๓ ประเภท คอื ก. พิจารณาจากสถานการณ์ของผู้นําหรือลักษณะผู้ที่ได้มาซึ่งอํานาจแบ่งออกเป็น ๓ ประเภท ได้แก่ ๑. ผู้นําตกทอด คือ ผู้นําที่ได้รับตําแหน่งหน้าที่กลุ่มเพราะบิดามารดาเป็นผู้นํากลุ่ม ดังน้ัน ตําแหน่งผู้นําจึงเป็นตําแหน่งมรดกตกทอดสืบกันมาสมาชิกจะมีการยอมรับผู้นําประเภทนี้ เพราะว่า เคยมีความศรัทธาในบดิ ามารดามาก่อนจงึ เปน็ ประเพณี ๒. ผ้นู ําเปน็ ทางการคอื ผูน้ ําที่ได้รบั การแต่งตั้งให้เป็นหัวหนา้ กลุม่ โดยมีวธิ ดี ังต่อไปน้ี - ไดร้ ับการแต่งตงั้ จากผู้มีอํานาจสูงสดุ ขึน้ ไปในกรณีผู้มีอาํ นาจจะไม่มีอาํ นาจสามารถ พิเศษ อะไรแต่เมอื่ ผูม้ ีอาํ นาจเห็นสมควรกอ็ าจแตง่ ตัง้ ได้ดังน้ี

- ได้รับการเลือกตั้งจากสมาชิกของกลุ่ม ผู้นําประเภทนี้มักเป็นผูท้ ี่มีคุณสมบัติพิเศษ กว่าบุคคลอื่นๆ ในกลุ่ม เช่นมีความคล่องแคล่ว มีการพูดจาโน้มน้าวจิตใจคนอื่นได้ดีเฉลียว ฉลาดทําใหเ้ ปน็ ท่ศี รัทธาของบุคคลในกลุ่ม ซ่งึ ได้รบั การเลือกตง้ั ให้เป็นผู้นําเม่ือมีการเลือกต้ัง แล้วสมาชกิ ก็จะเสนอ ชือ่ น้ไี ปยังบุคคลทม่ี อี ํานาจให้แตง่ ตง้ั เป็นผู้นําแบบทางการต่อไป ๓. ผู้นําตามธรรมชาติ จะแสดงความสามารถออกมาจนเป็นที่ยอมรับของกลุ่มอย่างเปิดเผย เป็นผทู้ ี่มคี วามรักอย่างแท้จริงต่อการปฏิบตั ิหน้าที่และจะไม่ตกอย่ภู ายใต้อทิ ธิพลของผู้อื่น ยิ่งถ้าได้รับ การฝึกฝนเป็นอย่างดีจะทําให้เขามีความสามารถสูงในการทํางานเพราะเขามีลักษณะเด่นพิเศษอยู่ใน ตัวอยู่แล้ว ผู้นําตามธรรมชาติอาจแบ่งออกได้เป็น ๓ ประเภทคือผู้นําแบบใช้พระเดช ผู้นําแบบใช้ พระคุณ และ ผู้นําแบบพอ่ พระคือผู้นําทม่ี ีลักษณะเป็นสัญลักษณ์อย่ใู นตําแหน่งที่ควรแก่การเคารพนับ ถือได้แก่ พระองคพ์ ระมหากษัตริย์ ข. พิจารณาลักษณะหรอื วิธกี ารทผ่ี นู้ าํ ใช้อํานาจแบง่ ผูน้ ําออกเปน็ ๓ ประเภทคอื ๑. ผูน้ าํ แบบอัตตาธิปไตย ๒. ผนู้ ําแบบประชาธปิ ไตย ๓. ผู้นาํ แบบตามสบาย ค. พจิ ารณาจากลักษณะและวธิ กี ารทํางานหรือบทบาททผ่ี นู้ ําแสดงออกแบ่งเป็น ๖ ประเภท คอื ๑. ผนู้ าํ แบบเจ้าระเบยี บ ๒. ผู้นาํ แบบบงการหรือคําส่งั ๓. ผู้นําแบบเชี่ยวชาญ คือผู้นําที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในเฉพาะสาขาที่วิชาที่ได้รับการ ฝกึ อบรมมา ๔. ผนู้ ําแบบจูง ๕. ผู้นาํ แบบร่วมมอื รว่ มใจ ๖. ผู้นาํ แบบบิดามารดา สรุปได้ว่า ผู้นำดังที่ได้กล่าวมาแล้วนั้นมีอยู่หลายประเภท ซึ่งแบ่งออกตามลักษณะความรับผิดชอบ ของผู้นํา ตามวิธีการที่ผู้นําใช้ ตามบทบาทหน้าที่ที่ผู้นําแสดงออก ตามการได้มาซึ่งอํานาจความเป็นผู้นํา ตาม การใชอ้ าํ นาจของผูน้ าํ และตามการแสดงออกของผู้นํา ซ่งึ มที ั้งผู้นําแบบเปน็ ทางการและ แบบไม่เป็นทางการ ๓. คณุ ลกั ษณะและคณุ สมบตั ขิ องภาวะผูน้ าํ ผู้นําเป็นปัจจัยสําคัญในการที่จะทําให้องค์การบรรลุเป้าหมายตามจุดประสงค์ที่ตั้งไว้ความสามารถ และลักษณะต่างๆ ของผู้นําจะสามารถทําให้การปฏิบัติงานนั้นๆ มีประสิทธิภาพนักวิชาการและนกั บริหาร ได้ กลา่ วถึงคุณสมบตั แิ ละคุณลกั ษณะของผู้นาํ ไวด้ งั น้ี ธงชัย สนั ตวิ งษแ์ ละชัยยศ สันตวิ งษ์ กลา่ วไวว้ ่าคณุ ลักษณะของผู้นาํ ที่มปี ระสิทธิภาพสูง มักจะต้องมี ความเฉลียวฉลาด มีความยุติธรรม มีความเข้าใจ มีความรอบรู้ท่ัวไปและความรอบรู้เฉพาะอย่าง มีการรับรู้ได้ อย่างถูกต้องและเป็นผู้มีความซื่อสัตย์สูงอีกด้วย นอกจากนี้ยังได้ศึกษาและตั้งทฤษฎี เกี่ยวกับคุณสมบัติของ ผนู้ าํ ไว้หลายประการ ไดแ้ ก่ ๑. คณุ ลักษณะทางรา่ งกาย (Physical Traits) ๒. คณุ ลกั ษณะทางบคุ ลกิ ภาพ (Personality) ๓. คณุ ลักษณะทางนสิ ยั ส่วนตัว (Personal Traits) ๔. คณุ ลักษณะทางสงั คม (Social Traits) สรุปไดว้ ่าผู้นําที่ดีนน้ั ต้องมคี ณุ สมบตั ิของความเป็นผนู้ ําทดี่ ดี ังนี้ ๑. คณุ ลกั ษณะ ทางร่างกาย

๒. คุณลกั ษณะทางบคุ ลกิ ภาพ ๓. คุณลกั ษณะทางนิสยั ส่วนตัว ๔. คุณลักษณะทางสังคม เช่น ความกล้าหาญ ความเด็ดขาด ความเที่ยงตรง ความกระตือรือร้น และ ที่ขาดไม่ได้คือ วสิ ัยทัศนท์ ีก่ ว้างไกล ๔. แนวทางการพฒั นาภาวะผ้นู าํ ทางการศึกษา การพัฒนาภาวะผู้นําทางการศึกษาได้มีนักปราชญ์ทางการศึกษาและทางพระพุทธศาสนาที่มี ประสบการณ์ในการบริหารการศกึ ษาไดใ้ ห้แนวคิดท่นี ่าสนใจดังน้ี พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมุมจิตโต) ได้กล่าวไว้ว่า นักบริหารจะทําหน้าที่สําเร็จลลุ ว่ งไป ด้วยดี ตอ้ งสรา้ งภาวะผู้นาํ ๓ ประการ ดงั ทพี่ ระพทุ ธเจ้าตรสั ไวใ้ น ทตุ ิยปาปณิกสูตร ดังนี้ ๑. จักขมุ า หมายถงึ มีปญั ญามองการไกล เช่น ถ้าเปน็ พอ่ ค้าหรือนักบริหารธุรกจิ น้นั จะต้องรวู้ ่า สินค้า ไหนได้ราคาถูก แล้วนําไปขายที่ไหนจะได้ราคาแพงในสมัยนี้ต้องรู้ว่าหุ้นจะขึ้นหรือจะตก ถ้าเป็น นักบริหาร ทั่วไปต้องสามารถวางแผนและฉลาดในการใช้คนคุณลักษณะข้อแรกนี้ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Conceptual Skill คือ ความชํานาญในการใช้ความคดิ ๒. วิธโร หมายถึง การจัตธุระได้ดี มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เช่น พ่อค้าเพชร ต้องดูออกว่า เป็น เพชรแท้ หรือเพชรเทียม แพทย์หัวหน้าคณะผ่าตัดต้องเชี่ยวชาญการผ่าตัดคุณลักษณะที่สองนี้ ตรงกับคําว่า Technical Skill คือ ความชํานาญดา้ นเทคนิค ๓. นิสสยสัมปันโน หมายถึง พึ่งพาอาศยั คนอ่ืนได้ เพราะเปน็ คนมมี นษุ ยสัมพันธด์ ี เช่น พ่อคา้ เดนิ ทาง ไปค้าขายต่างเมืองก็มีเพื่อนพ่อค้าในเมืองนั้นๆ ให้ที่พักอาศัยหรือให้กู้ยืมเงิน เพราะมีเครดิตดี นักบริหารที่ดี ตอ้ งผูกใจคนไวไ้ ด้ คุณลักษณะท่ีสามน้สี าํ คัญมาก “นกไมม่ ขี น คนไม่มเี พื่อน ขนึ้ สู่ท่ีสงู ไม่ได้” ข้อนีต้ รงกับคําว่า Human Relation Skill คอื ความชาํ นาญด้านมนุษยส์ ัมพนั ธ์ สุพจน์ วังสินธ์ ได้สรุปคุณลักษณะที่สําคัญของผู้บริหารสถานศึกษาอย่างมืออาชีพในยุคปฏิรูป การศึกษาไว้วา่ ๑. มีวสิ ยั ทัศนก์ วา้ งไกล ๒. มีบุคลิกภาพประชาธปิ ไตย ใชห้ ลักเหตผุ ลในการบริหารงาน ๓. มีจิตสํานึกในความม่งุ มั่น ๔. ใจกวา้ งเปดิ โอกาสให้ครมู เี สรภี าพในการคิด ๕. ปฏิบตั กิ ารเปล่ียนแปลงการจัดการเรยี นร้ใู หเ้ กดิ ตามเป้าหมายของการจัดการศึกษา ๖. มีคณุ ภาพในการจัดการระบบบริหารโรงเรยี น โดยการนาํ ระบบคณุ ธรรมมาใช้ ๗. สร้างขวัญกําลังใจให้ครู มีกําลังใจที่จะเป็นครูดี ครูเก่ง ครูที่ปรึกษา ( Mentor) บทบาทของ ผู้บริหารโรงเรยี นในการปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเปน็ สาํ คญั จากแนวทางการพัฒนาภาวะผูน้ าํ ทางการศกึ ษาพอสรุปไดด้ ังนี้ ๑. เปน็ ผู้นาํ ในการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านยิ มท่พี งึ ประสงคข์ องครูและนกั เรียน ๒. เปน็ ผู้นาํ ในการบริหาร โดยยดึ แนวทางการบรหิ ารโดยใชโ้ รงเรียนเป็นฐาน ๓. เปน็ ผู้นําด้านการนาํ นวัตกรรม และเทคโนโลยี มาใชใ้ นการพฒั นาการเรยี นรู้ ๔. เป็นผนู้ าํ ในการพฒั นาวชิ าการ ๕. เปน็ ผปู้ ระสานความรว่ มมอื กับชุมชน

๖. เป็นผู้นําในการบริหารงานแบบประชาธิปไตย โดยร่วมกันทํางานเป็นทีม และส่งเสริมให้ ทุกคนมี สว่ นร่วมอย่างแขง็ ขนั ๗. เปน็ ผู้นําในการจัดการศกึ ษา และเป็นเอกลักษณข์ ององค์กรในทางสรา้ งสรรค์ ๘. เป็นผู้นําในการบริหารคุณภาพ โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ลงมือทําและรับผิด ชอบ รว่ มกนั เพอ่ื มุ่งพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรยี นเป็นสาํ คัญ ๔. เป็นผู้สร้างขวัญ และกําลังใจแก่บุคลากรเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในการเรียนรู้ และ แลกเปลย่ี นเรยี นรรู้ ่วมกัน ๑๐. เป็นผู้นาํ ในการจัดหางบประมาณ เพ่อื สนบั สนุนการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา การพัฒนาทกั ษะภาวะผนู้ ำทางการศึกษา โดย : รศ.ดร.สทุ ธพิ งษ์ ศรวี ชิ ยั ;พระครูกิตตญิ าณวสิ ฐิ , ดร. หนว่ ยงาน : มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปที ่ีจัดทำ : ประเภท : บทความ/Article จากการกล่าวข้างต้น สรุปไดว้ ่า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook