Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore final-THAI (1)

final-THAI (1)

Published by กรพงศ์ พรมสว่าง, 2019-04-24 01:09:56

Description: final-THAI (1)

Search

Read the Text Version

พระราชพธิ ี บรมราชาภเิ ษก







บรมพรระารชาชาพภธิิเษี ก

พระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร วนั ท่ี ๕ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๔๙๓ 2 พระราชพิธบี รมราชาภิเษก

3 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

พระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอย่หู วั วันที่ ๒๕ กุมภาพนั ธ์ พุทธศกั ราช ๒๔๖๘ 4 พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก

5 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั วันท่ี ๑๑ พฤศจิกายน พุทธศกั ราช ๒๔๕๓ พระราชพธิ บี รมราชาภิเษกสมโภช วนั ท่ี ๒ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๔๕๔ 6 พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก

7 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั ครั้งแรก วันที่ ๑๒ พฤศจกิ ายน พทุ ธศักราช ๒๔๑๑ 8 พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก

9 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั ครั้งหลัง วนั ที่ ๑๖ พฤศจิกายน พุทธศักราช ๒๔๑๖ 10 พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก

11 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

พระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อย่หู วั วันที่ ๑๕ พฤษภาคม พทุ ธศักราช ๒๓๙๔ 12 พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก

13 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก



คำ� ปรารภ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เพื่อจัดพมิ พ์หนังสือพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก พทุ ธศักราช ๒๕๖๐ ประเทศไทยมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นปึกแผ่นมั่นคงมาจวบทุกวันน้ี เกิดจากความเข้มแข็ง ของสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะสถาบันพระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นศูนย์รวมใจ ของคนไทยท้ังชาติ และถือเป็นสัญลักษณ์แห่งความเป็นชาติไทย ประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรไทย ต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขของชาติมาตลอด พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ ทรงมีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนาชาติไทยให้มีความเจริญก้าวหน้าในด้านต่างๆ อย่างมั่นคง ท้ังด้านการป้องกัน และรักษาเอกราชของชาติ ด้านการสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย ด้านวัฒนธรรมการด�ำเนินชีวิต และด้านศิลปกรรม ทรงเป็นผู้น�ำท่ีปกครองแผ่นดินด้วยทศพิธราชธรรม ทรงเสียสละความสุขส่วนพระองค์ เพ่ือบ�ำบัดทุกข์ บ�ำรุงสุข สร้างความอยู่ดี กินดี และมีคุณภาพชีวิตท่ีดีให้แก่ปวงอาณาประชาราษฎร์ สร้างความร่มเย็นเป็นสุข ให้เกิดแก่ชาติบ้านเมือง และทรงน�ำพาให้ประเทศไทยรอดพ้นจากการรุกรานของชนชาติอ่ืน ท�ำให้สามารถ รักษาเอกราชอธิปไตยไว้ได้ตราบจนทุกวันน้ี ประชาชนคนไทยโชคดีท่ีได้เกิดมาใต้ร่มพระบารมีท่ีมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นหลักชัย และตามโบราณราชประเพณีก�ำหนดให้มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในการสืบราชสันตติวงศ์ เพื่อเสด็จขน้ึ ทรงราชยเ์ ปน็ พระมหากษตั ริย์โดยสมบรู ณ์ หนังสือ “พระราชพิธีบรมราชาภิเษก” เป็นการจดจารึกมรดกทางวัฒนธรรมตามโบราณ ราชประเพณีอันเนื่องด้วยพระมหากษัตริย์ แม้ว่าพระราชอ�ำนาจบางอย่างอาจเปล่ียนแปลงไปตามบริบท ของสังคม แต่วัฒนธรรมประเพณีอันเนื่องด้วยพระราชพิธีส�ำคัญยังคงสืบสานต่อมาตราบเท่าทุกวันน้ี นับเป็นเคร่ืองบ่งบอกเอกลักษณ์ของชาติได้เป็นอย่างดี คนไทยทุกคนควรภาคภูมิใจ และควรมีความรู้ ความเข้าใจในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอย่างถ่องแท้ เพื่อร่วมสืบสานวัฒนธรรมตามประเพณี ของไทยให้อยคู่ ชู่ าตไิ ทยตลอดไป พลเอก (ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา) นายกรฐั มนตรี 15 พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก

สาร รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม มีภารกิจหน้าที่ในการธ�ำรงรกั ษา ส่งเสรมิ และสืบทอดขนบธรรมเนยี มประเพณี อันเนื่องดว้ ยสถาบนั ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ให้เปน็ ทป่ี ระจกั ษแ์ ละคงอย่เู ป็นเครือ่ งหล่อเล้ียงบำ� รงุ สังคม ไทยให้ผาสุกร่มเย็น มีระเบียบแบบแผนเป็นเอกลักษณ์ โดยเฉพาะสถาบันพระมหากษัตริย์ มีคติความเช่ือและ แนวปฏิบัติหลายประการที่แสดงให้เห็นถึงความสูงส่งและศักด์ิสิทธ์ิแห่งสถาบันอันเป็นเคร่ืองยึดเหน่ียวรวมชาติ ไทยใหเ้ ป็นปึกแผ่นม่นั คงเสมอมา ตามโบราณราชประเพณี การเป็นพระมหากษัตริย์โดยสมบูรณ์จะทรงรับการบรมราชาภิเษก เฉลิมพระนามาภิไธยเป็นพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อันเป็นพระราชพิธีศักดิ์สิทธ์ิส�ำคัญยิ่ง แสดงให้เห็นถึง วัฒนธรรมอันงดงาม และเป็นการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ให้ทรงพระเกียรติยศอันสูงสุด สมกับท่ีทรงเป็น พระมง่ิ ขวญั ของปวงชนชาวไทยไปตลอดกาล หนังสือพระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก ทีก่ ระทรวงวฒั นธรรมจัดพิมพน์ ี้ เป็นการด�ำเนินการตามนโยบาย รฐั บาล พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ในการส่งเสรมิ การเรียนรปู้ ระวัติศาสตรข์ องชาติ และการเสรมิ สร้างความรู้อันเนื่องด้วยสถาบันพระมหากษัตริย์ การสืบทอดวัฒนธรรมซ่ึงเป็นโบราณราชประเพณีอันส�ำคัญ เพอ่ื สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจ และความรว่ มมอื รว่ มใจกนั ปกปอ้ ง เทดิ ทนู สถาบนั พระมหากษตั รยิ ข์ องไทยใหด้ ำ� รงอยู่ อย่างมัน่ คง เพือ่ ใหป้ ระชาชนชาวไทยประสบความรม่ เยน็ เปน็ สขุ ภายใตพ้ ระบรมโพธสิ มภารสบื ไป (นายวีระ โรจนพ์ จนรตั น)์ รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวัฒนธรรม 16 พระราชพิธีบรมราชาภิเษก

ค�ำน�ำ ปลดั กระทรวงวัฒนธรรม สมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราชเจ้าของไทยทุกพระองค์ ทรงปฏิบัติบ�ำเพ็ญพระราชกรณียกิจ ทงั้ ปวงเพอื่ ความผาสกุ ของอาณาประชาราษฎร์ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ จงึ เปน็ สถาบนั หลกั ทปี่ ระชาชนชาวไทยตา่ ง เคารพเทดิ ทนู และส�ำนกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ุณอยา่ งหาท่ีสุดมไิ ด้เสมอมา กระทรวงวัฒนธรรม เป็นหน่วยงานท่ีมีหน้าท่ีโดยตรงในการขับเคล่ือนภารกิจภาครัฐในการอนุรักษ์ สบื ทอด สง่ เสรมิ และเผยแพรศ่ ลิ ปวฒั นธรรมของชาติ เพอื่ สรา้ งจติ สำ� นกึ ความเปน็ ไทย ผา่ นกระบวนทศั นก์ ารดำ� เนนิ งานด้านวัฒนธรรมใหม้ ีความร่วมสมยั สอดคล้องกบั สภาพสังคมปจั จบุ นั ดว้ ยความรว่ มมือร่วมใจของทุกภาคส่วน ในสงั คมไทย เพอื่ ธำ� รงไว้ซ่ึงสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ การจัดพมิ พ์หนังสือ “พระราชพธิ บี รมราชาภิเษก” เล่มน้ี เพ่อื ใหป้ ระชาชนมีความรู้ ความเขา้ ใจเกีย่ ว กบั โบราณราชประเพณี ซงึ่ เปน็ พระราชพธิ ที ป่ี ฏบิ ตั เิ พอ่ื ความเปน็ พระมหากษตั รยิ โ์ ดยสมบรู ณ์ กลา่ วคอื การเสดจ็ ขน้ึ ครองราชย์จะสมบูรณ์เมื่อประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว เนื้อหาของหนังสือประกอบด้วย ความเป็นมา ของพระราชพธิ ี ล�ำดับขนั้ ตอนพระราชพธิ โี ดยสงั เขปทั้งการเตรียมการพระราชพิธี พระราชพิธเี บ้อื งตน้ พระราชพธิ ี เบ้ืองปลาย ตลอดจนข้อมูลความรู้ท่ีเกี่ยวเน่ืองกับพระราชพิธี อาทิ พระปฐมบรมราชโองการของพระมหากษัตริย์ ในสมัยรัตนโกสินทร์ เครื่องราชกกุธภัณฑ์ สถานที่ประกอบพระราชพิธี พระมหาเจดีย์ สถานที่ต้ังพิธีเสกน�้ำ พระพทุ ธมนต์รวมถงึ แหลง่ นำ้� ศกั ดส์ิ ทิ ธข์ิ องแตล่ ะจงั หวดั ทต่ี อ้ งพลกี รรมตกั นำ้� เพอ่ื ใชเ้ ปน็ นำ�้ สรงพระมรุ ธาภเิ ษกเปน็ ตน้ จงึ หวังเปน็ อยา่ งยงิ่ ว่า หนังสือเลม่ นจี้ ะอำ� นวยประโยชน์แก่ประชาชนผสู้ นใจศกึ ษาเรอื่ งราวเกี่ยวกับ พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษกและเกิดความเขา้ ใจในความสำ� คัญของพระราชพธิ ีโดยทัว่ กัน (นายกฤษศญพงษ์ ศิร)ิ ปลดั กระทรวงวฒั นธรรม 17 พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก

สารบัญ หน้า ค�ำปรารภนายกรฐั มนตรี ๑๕ สารรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวัฒนธรรม ๑๖ ค�ำน�ำปลดั กระทรวงวัฒนธรรม ๑๗ พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก ๒๑ ความเปน็ มาของพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก ๒๕ ล�ำดบั พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๒๘ การเตรียมน�้ำอภิเษก และน�้ำสรงพระมรุ ธาภิเษก ๒๘ การจารกึ พระสพุ รรณบัฏ และแกะพระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาล ๓๒ การจดั เตรียมสถานท ่ี ๓๘ พระราชพิธีเบื้องตน้ ๔๕ พธิ สี รงพระมุรธาภิเษก ๕๕ พธิ ถี วายน�้ำอภเิ ษก ๖๐ พิธีถวายสิริราชสมบัติ และถวายเคร่ืองราชกกธุ ภณั ฑ์ ๖๕ พระราชพธิ เี บอ้ื งปลาย ๗๙ ภาคผนวก ๑๑๙ พระปฐมบรมราชโองการ รชั กาลท่ี ๑ – รัชกาลท่ี ๙ ๑๒๑ ก�ำหนดการพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช สยามนิ ทราธิราช ๑๔๑ และพระราชพิธีเฉลมิ พระราชมนเทียร ๑๔๕ เครือ่ งราชกกุธภัณฑ์ ๑๔๖ พระมหาเศวตฉัตรหรือนพปฎลมหาเศวตฉัตร

พระมหาพชิ ยั มงกฎุ หน้า พระแสงขรรคช์ ัยศรี ธารพระกร ๑๔๗ วาลวิชนี (พดั และแส)้ ๑๔๘ ฉลองพระบาทเชงิ งอน ๑๔๙ พระราชลญั จกรประจ�ำแผน่ ดนิ ๑๕๐ พระสุพรรณบัฏ ๑๕๑ พระทน่ี ั่งพดุ ตานกาญจนสิงหาสน์ ๑๕๒ พระทน่ี ง่ั ภัทรบิฐ ๑๕๖ พระท่ีนง่ั อัฐทศิ อทุ มุ พรราชอาสน์ ๑๕๗ หม่พู ระมหามณเฑียร ๑๕๘ พระท่นี งั่ จกั รพรรดพิ มิ าน ๑๕๙ พระทีน่ งั่ ไพศาลทักษิณ ๑๖๑ พระที่นงั่ อมรนิ ทรวนิ ิจฉยั มไหสรู ยพิมาน ๑๖๓ พระที่น่ังดุสติ มหาปราสาท ๑๖๕ วดั พระศรีรตั นศาสดาราม ๑๖๗ พระมหาเจดยี สถาน สถานที่ตงั้ พิธีเสกน�้ำพระพทุ ธมนต์ ๗ แหง่ ๑๖๙ พธิ เี สกน�้ำ ๑๐ มณฑลในสมัยรัชกาลท่ี ๗ ๑๗๑ ปูชนียสถานและส่งิ สำ� คญั ๑๓ แหง่ ๑๗๒ บรรณานุกรม ๑๗๖ คณะทำ� งาน ๑๘๐ ๑๘๒ ๑๘๔



บรพมรระารชาาชภพิเิธษี ก

22 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก พระราชพิธีบรมราชาภิเษก เป็นโบราณราชประเพณีที่ต้องท�ำเพื่อความเป็นพระมหากษัตริย์อย่างสมบูรณ์ ดังความใน “จดหมายเหตุพระราชพิธบี รมราชาภิเษก สมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทรมหาวชริ าวุธ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว” ว่า “...ตามราชประเพณีในสยามประเทศนี้ ถือเปนต�ำรามาแต่โบราณว่าพระมหา กระษตั รยิ ซ์ งึ่ เสดจ็ ผา่ นพภิ พ ตอ้ งทำ� พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกกอ่ น จงึ จะเปนพระราชาธบิ ดโี ดย สมบูรณ์ ถ้ายังมิได้ท�ำพระราชพิธีบรมราชาภิเษกอยู่ตราบใด ถึงจะได้ทรงรับรัชทายาท เมอ่ื เสดจ็ เขา้ ไปประทบั อยใู่ นพระราชวงั หลวง กเ็ สดจ็ อยเู่ พยี ง ณ ทพี่ กั แหง่ หนง่ึ พระนามทข่ี าน กค็ งใชพ้ ระนามเดิม เปนแต่เพ่ิมค�ำวา่ “ซ่ึงทรงส�ำเรจ็ ราชการแผน่ ดนิ ” เข้าขา้ งท้ายพระนาม แลค�ำรับส่ังก็ยังไม่ใช้พระราชโองการ จนกว่าจะได้สรงมุรธาภิเษก ทรงรับพระสุพรรณบัฏ จารึกพระบรมราชนามาภิธัยกับท้ังเครื่องราชกกุธภัณฑ์จากพระมหาราชครูพราหมณ์ผู้ท�ำ พิธีราชาภเิ ษกแล้ว จึงเสดจ็ ข้นึ เฉลมิ พระราชมณเฑียร ครอบครองสริ ริ าชสมบัติสมบูรณ์ดว้ ย พระเกียรติยศแห่งพระราชามหากระษัตริย์แตน่ ้นั ไป...” จติ รกรรมฝาผนงั พระอโุ บสถวัดอัมพวนั เจตยิ าราม จังหวัดสมุทรสงคราม พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั 23 พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก

24 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

ความเป็นมาของพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก เป็นราชประเพณีคสู่ ังคมไทยมายาวนานโดยไดร้ บั อทิ ธิพลจากคติอินเดยี แตล่ ักษณะ การพระราชพธิ ีแต่เดมิ มีแบบแผนรายละเอียดเปน็ อยา่ งไรไม่ปรากฏหลกั ฐานแน่ชัด แม้แต่การเรียกชื่อพธิ กี แ็ ตกตา่ งกันออกไป ในแตล่ ะสมยั เช่น ในสมยั อยุธยา สมยั รตั นโกสินทรต์ อนตน้ เรียกวา่ “พระราชพิธีราชาภเิ ษก” หรือ “พธิ รี าชาภิเษก” ส่วนในปัจจุบนั เรยี กวา่ “พระราช พิธีบรมราชาภิเษก” สมัยสุโขทัยปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ ๒ หรือจารึกวัดศรีชุม ซึ่งเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเม่ือราว พุทธศตวรรษที่ ๑๘ กลา่ วถึงการขน้ึ เป็นผูน้ ำ� ของพอ่ ขนุ บางกลางหาว ไว้ว่า “...พอ่ ขนุ ผาเมืองจงึ อภิเษกพอ่ ขุนบางกลางหาวให้ เมืองสุโขทัย ให้ท้ังช่ือตนแก่พระสหายเรียกช่ือศรีอินทรบดินทราทิตย์...” ส่วนในศิลาจารึกวัดป่ามะม่วงภาษาไทย และภาษา เขมรกลา่ วถงึ เครอื่ งราชกกธุ ภัณฑ์ในพธิ บี รมราชาภเิ ษกพระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลไิ ทย) ว่ามี มกุฎ พระขรรคช์ ัยศรี และเศวตฉตั ร สมัยอยุธยาปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในค�ำให้การของชาวกรุงเก่า ข้อความตอนหนึ่ง กลา่ วถงึ ขัน้ ตอนของพระราชพธิ ีนว้ี ่า “...พระเจ้ากรุงศรีอยุธยาจึงโปรดให้เอาไม้มะเดื่อน้ัน มาท�ำตั่งส�ำหรับประทับสรง พระกระยาสนานในการมงคล เชน่ พระราชพธิ รี าชาภเิ ษก เปน็ ตน้ พระองคย์ อ่ มประทบั เหนอื พระที่นั่งตั่งไม้มะเด่ือ สรงพระกระยาสนานก่อนแล้ว (จึงเสด็จไปประทับพระที่น่ังภัทรบิฐ) มขุ อำ� มาตยถ์ วายเครอ่ื งเบญจราชกกธุ ภณั ฑ์ คอื มหามงกฎุ ๑ พระแสงขรรค์ ๑ พดั วาลวชิ นี ๑ ธารพระกร ๑ ฉลองพระบาทคู่ ๑...” จิตรกรรมฝาผนัง พระอุโบสถวัดอมั พวนั เจตยิ าราม จงั หวดั สมทุ รสงคราม พราหมณท์ ูลเกล้าฯ ถวายพระมหาพิชยั มงกุฎ ในพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั 25 พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก

จิตรกรรมฝาผนัง พระท่นี ่งั ทรงผนวช วัดเบญจมบพติ รดุสิตวนาราม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ วั เสดจ็ เลยี บพระนครทางสถลมารค ในการพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก 26 พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก

ต่อมาในสมัยกรุงธนบุรี ไม่ปรากฏหลักฐานการประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก สันนิษฐานว่าท�ำตามแบบ อย่างเมื่อคร้ังสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ แห่งกรุงศรีอยุธยา แต่ท�ำอย่างสังเขป เพราะบ้านเมืองไม่สงบเรียบร้อย ยังอยู่ ในภาวะสงคราม ครัน้ ถึงสมัยรัตนโกสินทร์ เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจฬุ าโลกมหาราชไดป้ ระดษิ ฐาน พระบรมราชจักรีวงศ์ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธีปราบดาภิเษกแต่โดยสังเขป ยังไม่พร้อมมูลเต็ม ต�ำรา คร้ัน พ.ศ. ๒๓๒๖ โปรดให้ข้าราชการผู้รู้คร้ังกรุงเก่า มีเจ้าพระยาเพชรพิชัยเป็นประธาน ประชุมปรึกษาหารือกับสมเด็จ พระสังฆราชและพระราชาคณะผู้ใหญ่ท�ำการสอบสวนร่วมกันตรวจสอบต�ำราว่าด้วยการราชาภิเษกในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้า อทุ มุ พร หรือขนุ หลวงวัดประดู่ แลว้ แต่งเรยี บเรียงข้ึนไว้เปน็ ต�ำรา เรยี กวา่ “ตำ� ราราชาภิเษกคร้ังกรงุ ศรีอยธุ ยาสำ� หรบั หอหลวง” เป็นต�ำราเก่ียวกับการราชาภิเษกที่เก่าแก่ที่สุดเท่าท่ีพบหลักฐานในประเทศไทย เมื่อได้แบบแผนการราชาภิเษกท่ีสมบูรณ์แล้ว อีกทั้งพระราชมณเฑียรสถานที่สร้างขึ้นใหม่แล้วเสร็จ ใน พ.ศ. ๒๓๒๘ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังการพระราชพิธี บรมราชาภิเษกให้สมบูรณ์ตามแบบแผนอันได้เคยมีมาแต่เก่าก่อนอีกคร้ังหนึ่ง และแบบแผนการราชาภิเษกดังกล่าวได้รับการ ยดึ ถอื ปฏบิ ตั เิ ปน็ แบบอยา่ งสบื มาเพอ่ื ความเปน็ พระมหากษตั รยิ โ์ ดยสมบรู ณ ์ บางพระองคท์ รงประกอบพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ๒ ครงั้ คอื พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั และพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก คร้งั แรก เมอ่ื วันที่ ๑๒ พฤศจกิ ายน พุทธศกั ราช ๒๔๑๑ เมื่อทรงข้ึนครองราชสมบตั สิ ืบต่อจากสมเด็จพระบรมชนกนาถ ขณะมี พระชนมพรรษาเพียง ๑๕ พรรษา ในระยะเวลาห้าปีแรกของรัชกาล สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสรุ ยิ วงศ์ (ชว่ ง บนุ นาค) เป็น ผู้ส�ำเร็จราชการแผ่นดิน จนกระท่ังเม่ือทรงเจริญพระชนมพรรษาครบ ๒๐ พรรษาจึงทรงพระผนวช หลังจากทรงลาสิกขาแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ครัง้ ท่ี ๒ เมอ่ื วันท่ี ๑๖ พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๑๖ หลัง จากนน้ั ทรงรบั พระราชภาระและมพี ระราชอำ� นาจในการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ โดยสมบรู ณ ์ สว่ นพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ๒ ครั้ง คอื พระราชพิธีบรมราชาภิเษกเฉลมิ พระราช มณเฑยี ร เมอื่ วนั ท่ี ๑๑ พฤศจกิ ายน พทุ ธศกั ราช ๒๔๕๓ เนอ่ื งจากยงั อยใู่ นชว่ งกำ� ลงั ไวท้ กุ ขง์ านพระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระ จลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จงึ โปรดใหง้ ดการเสดจ็ เลยี บพระนครและการรนื่ เรงิ ตอ่ มาเมอ่ื ถวายพระเพลงิ พระบรมศพพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั แลว้ จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ใหป้ ระกอบพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกสมโภช เมอ่ื วนั ที่ ๒ ธนั วาคม พุทธศกั ราช ๒๔๕๔ เพื่อใหเ้ ปน็ ส่วนร่นื เรงิ สำ� หรับประเทศ อีกทัง้ ให้นานาประเทศท่เี ป็นสัมพนั ธมิตรไมตรีมโี อกาสมาร่วมงาน 27 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

ลำ� ดับพระราชพธิ บี รมราชาภิเษก การพระราชพิธีบรมราชาภิเษก มีหลักฐานปรากฏขั้นตอนล�ำดับการพระราชพิธีชัดเจนในสมัยรัตนโกสินทร์ แบ่งเป็น ๔ ขน้ั ตอน ได้แก่ การเตรียมพระราชพธิ ี พระราชพิธีเบอื้ งต้น พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก และพระราชพิธเี บ้ืองปลาย โดยขั้นตอนและรายละเอียดของการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกได้ปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมตามกาลสมัยมาจนถึงปัจจุบัน ซงึ่ มีรายละเอียดโดยสังเขป ดังน้ี การเตรียมพระราชพธิ ี มกี ารทำ� พธิ ตี กั นำ้� และทต่ี งั้ สำ� หรบั ถวายเปน็ นำ้� อภเิ ษกและนำ้� สรงพระมรุ ธาภเิ ษกจารกึ พระสพุ รรณบฏั ดวงพระบรม ราชสมภพ และแกะพระราชลญั จกร เตรียมตง้ั เครอ่ื งบรมราชาภเิ ษก และเตรยี มสถานที่จัดพระราชพิธี การเตรยี มน�้ำอภิเษกและนำ้� สรงพระมุรธาภเิ ษก ขั้นตอนการเตรียมพิธีจะต้องมีการตักน�้ำจากแหล่งส�ำคัญ ๆ เพ่ือน�ำมาเป็นน�้ำสรงพระมุรธาภิเษก และเพ่ือท�ำ น�้ำอภิเษกก่อนท่ีจะน�ำไปประกอบในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตามต�ำราโบราณของพราหมณ์ น�้ำอภิเษกจะต้องเป็นน้�ำจาก “ปญั จมหานท”ี คอื แมน่ ำ�้ ใหญท่ งั้ ๕ สายในชมพทู วปี หรอื ในประเทศอนิ เดยี ไดแ้ ก่ แมน่ ำ้� คงคา แมน่ ำ้� มหิ แมน่ ำ้� ยมนา แมน่ ำ้� อจริ วดี และแมน่ �้ำสรภู ในศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู เช่อื ว่าแมน่ ้ำ� ทง้ั ๕ สายน้ี ไหลมาจากเขาไกรลาส ซงึ่ เปน็ ทสี่ ถติ ของพระอิศวร จึงถือว่า เป็นนำ�้ ศักดส์ิ ิทธ์ิ น�ำมาใชใ้ นการพระราชพธิ ตี า่ งๆ เชน่ น�้ำสรงพระมรุ ธาภเิ ษก น�ำ้ อภเิ ษก และน�ำ้ พระพุทธมนต์ ในสมยั สโุ ขทยั - แม่น้�ำบางปะกง แม่น้�ำป่าสกั 28 พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก

แม่น�้ำเจ้าพระยา แมน่ �ำ้ ราชบรุ ี แมน่ ้�ำเพชรบรุ ี อยุธยาไม่ปรากฏหลักฐานว่า มีการน�ำน�้ำปัญจมหานทีมาใช้ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก แต่ปรากฏหลักฐานว่า น้�ำสรง พระมรุ ธาภเิ ษกในสมยั อยธุ ยาใชน้ ำ้� จากสระเกษสระแกว้ สระคงคาสระยมนาแขวงเมอื งสพุ รรณบรุ ีนอกจากนี้ในสมยั รตั นโกสนิ ทร์ ในรัชกาลท่ี ๑ - รัชกาลท่ี ๔ ยงั ใช้น�ำ้ ในแมน่ �้ำสำ� คัญของประเทศเพม่ิ เตมิ อีก ๕ สาย เรยี กวา่ “เบญจสทุ ธคงคา” โดยอนโุ ลมตาม ปัญจมหานทีในชมพูทวีป คือ แม่น�้ำบางปะกง ตักท่ีบึงพระอาจารย์ แขวงเมืองนครนายก แม่น้�ำป่าสัก ตักที่ต�ำบลท่าราบ แขวงเมอื งสระบรุ ี แมน่ ำ้� เจา้ พระยา ตกั ทตี่ ำ� บลบางแกว้ แขวงเมอื งอา่ งทอง แมน่ ำ้� ราชบรุ ี ตกั ทต่ี ำ� บลดาวดงึ ส ์ แขวงเมอื งสมทุ รสงคราม และแม่น�้ำเพชรบุรี ตักท่ีต�ำบลท่าไชย แขวงเมืองเพชรบุรี เมื่อตักแล้วจะตั้งพิธีเสก ณ เจดียสถานส�ำคัญแห่งแขวงน้ันๆ แล้วจึงจัดส่งเข้ามาท�ำพิธีท่ีกรุงเทพมหานคร ในรัชกาลที่ ๔ โปรดเกล้าฯ ให้น�ำพิธีทางพระพุทธศาสนามาเพ่ิมเติมด้วย โดยให้ พระสงฆ์ซึ่งเป็นพระครูพระปริตรไทย ๔ รูป สวดท�ำน้�ำพระพุทธมนต์ในพิธีสรงพระมุรธาภิเษก จึงมีน�้ำพระพุทธมนต์เพ่ิมขึ้นอีก อย่างหนึ่ง ต่อมาในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว น้�ำสรงพระมุรธาภิเษกในการ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกคร้ังแรก เม่ือ พ.ศ. ๒๔๑๑ ได้ใช้น้�ำเบญจสุทธคงคาและน้�ำจากสระ ๔ สระ แขวงเมืองสุพรรณบุรี เชน่ เดยี วกบั รชั กาลกอ่ นๆ จนกระทงั่ พ.ศ. ๒๔๑๕ ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปประเทศอนิ เดยี ทรงนำ� นำ้� จากปญั จมหานทตี ามตำ� รา พราหมณก์ ลบั มาดว้ ย ดงั นน้ั นำ�้ สรงพระมรุ ธาภเิ ษกในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ครง้ั ที่ ๒ พ.ศ. ๒๔๑๖ จงึ มนี ำ�้ ปญั จมหานทเี จอื ลงในน้ำ� เบญจสทุ ธคงคาและน�ำ้ จากสระ ๔ สระ แขวงเมืองสพุ รรณบุรดี ้วย รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก เฉลิมพระราชมณเฑียร เมอื่ พ.ศ. ๒๔๕๓ ใช้นำ้� เช่นเดยี วกบั คร้งั สมยั พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หัว คร้ังที่ ๒ ครน้ั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ใหต้ ง้ั การพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกสมโภช เมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๔ โปรดใหพ้ ลกี รรมตกั นำ�้ จากแมน่ ำ�้ และแหลง่ นำ้� ตา่ งๆ ทถ่ี อื วา่ สำ� คญั และเป็นสิริมงคลมาตั้งพิธีเสกท�ำน้�ำพระพุทธมนต์ ณ พระมหาเจดียสถานท่ีเป็นหลักของมหานครโบราณ ๗ แห่ง และมณฑล ตา่ งๆ ๑๐ มณฑล *   * ภาคผนวก 29 พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก

พระธาตุซ่อแฮ จงั หวดั แพร่ หนึ่งในสถานที่ศกั ด์ิสทิ ธ์ิในการตง้ั พิธเี สกนำ�้ ในรชั กาลที่ ๗ 30 พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก

พระธาตุแชแ่ ห้ง จังหวัดนา่ น รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว หนึ่งในสถานทศี่ กั ดสิ์ ิทธิ์ในการตั้งพิธีเสกนำ�้ รัชกาลท่ี ๗ น้�ำสรงพระมุรธาภิเษกในการพระราชพิธีบรม ในรัชกาลที่ ๙ ราชาภิเษก เมอื่ พ.ศ. ๒๔๖๘ ได้ตงั้ พธิ ที �ำนำ�้ อภิเษกท่ีหวั เมอื ง มณฑลต่างๆ ๑๘ แห่ง ซึ่งสถานที่ตั้งท�ำน�้ำอภิเษกในรัชกาลนี้ ใช้สถานท่ีเดียวกับในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว เพียงแต่เปล่ียนจากวัดมหาธาตุ เมืองเพชรบูรณ์ มาต้ังท่ีวัดพระธาตุช่อแฮ จังหวัดแพร่ และเพิ่มอีกหน่ึงแห่งที่ วัดบึงพระลานชยั จังหวดั ร้อยเอด็ ต่อมารัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ในการพลีกรรมตักน้�ำ ณ สถานทศ่ี กั ดส์ิ ทิ ธใ์ิ นพระราชอาณาจกั ร แลว้ นำ� มาตง้ั ประกอบ พธิ เี ปน็ นำ้� สรงพระมรุ ธาภเิ ษกในการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๓ ท�ำพิธีเสกน้�ำ ณ มหาเจดียสถาน และ พระอารามต่างๆ ในราชอาณาจักรจ�ำนวน ๑๘ แห่ง เท่ากับ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว แต่เปลี่ยน สถานท่ีจากเดิม ๑ แหง่ คอื จากวัดพระธาตชุ อ่ แฮ จังหวดั แพร่ เป็นวัดพระธาตุแช่แห้ง จังหวัดน่านแทน ส่วนน้�ำจากสระสอง หอ้ ง เมืองพิษณุโลก ซ่ึงเคยน�ำมาเป็นน้�ำสรงพระมุรธาภิเษก ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวไม่ได้ใช้ ในครง้ั นี้ เน่ืองจากแหล่งนำ�้ ดงั กลา่ วตื้นเขนิ จนไมม่ นี ้�ำ 31 พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก

การจารกึ พระสพุ รรณบัฏ และแกะพระราชลัญจกรประจำ� รัชกาล พิธีจารึกพระสุพรรณบัฏและแกะพระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาลเป็นข้ันตอนส�ำคัญข้ันตอนหนึ่งในการเตรียม ประกอบพระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก โดยจะตอ้ งถวายพระสุพรรณบัฏเฉลมิ พระปรมาภไิ ธย ก่อนทจี่ ะถวายเคร่ืองราชกกธุ ภณั ฑ์ อน่ื ๆ และตอ้ งเชญิ แผน่ ดวงพระบรมราชสมภพและพระราชลญั จกรประจำ� รชั กาลขน้ึ ประดษิ ฐานบนพระแทน่ มณฑลในพระราช พธิ บี รมราชาภเิ ษกด้วย การจารึกพระสุพรรณบัฏเฉลิมพระปรมาภิไธย และดวงพระบรมราชสมภพของพระมหากษัตริย์ ในสมัย รตั นโกสนิ ทร์ จดั ขนึ้ ในพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม โหรหลวงเปน็ ผกู้ ำ� หนดพระฤกษพ์ ธิ จี ารกึ พระสพุ รรณบฏั เมอื่ กำ� หนด พระฤกษ์ได้วนั จารกึ พระสพุ รรณบฏั แลว้ ตอนเยน็ ก่อนถงึ วันพระฤกษ์ พระสงฆ์จะเจริญพระพทุ ธมนต์ ส่วนโหรหลวงจะสวดบชู า เทวดา เช้าวันรุ่งข้ึนก่อนเวลาพระฤกษ์ พระราชวงศ์ท่ีทรงเป็นประธานในพิธีจะทรงถวายภัตตาหารแก่พระสงฆ์ เมื่อพระสงฆ์ รับพระราชทานฉันแล้ว ประธานในพิธีจุดธูปเทียนเคร่ืองนมัสการและทรงศีล จากน้ันจึงเร่ิมพิธีจารึกพระสุพรรณบัฏและแกะ พระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาล การจารึกพระสุพรรณบัฏในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร เมือ่ วันที่ ๒๑ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓ เวลา ๙.๒๖ – ๑๐.๒๘ น. ณ พระอโุ บสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงพระ กรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ธานนี ิวัต เปน็ ประธานในพิธี มีหลวงบรรเจดิ อักษรการ (ทบั สาตราภัย) หัวหน้า กองปกาศิต ในหนา้ ท่อี าลักษณ์ จารึกอักษรพระปรมาภิไธยลงในพระสพุ รรณบัฏ พระยาโหราธิบดี (แหยม วัชรโชติ) โหรจารกึ ดวงพระบรมราชสมภพลงในแผ่นทอง และหมอ่ มเจ้าสมัยเฉลิม กฤดากร ศลิ ปนิ ในหนา้ ทีน่ ายช่าง แกะพระราชลญั จกร ในพระอุโบสถต้ังโต๊ะเครื่องบายศรีตอง ๓ ชั้น ซ้าย ขวา มีกล้วยน้�ำว้า หัวหมูส�ำหรับบูชาพระฤกษ์ อาลักษณ์ ผจู้ ารกึ พระสพุ รรณบฏั แตง่ กายดว้ ยเครอ่ื งขาวและรบั ศลี เมอ่ื ใกลเ้ วลาพระฤกษ์ ประธานพธิ ี พระวรวงศเ์ ธอ พระองคเ์ จา้ ธานนี วิ ตั จดุ เทยี นเงนิ เทยี นทองทกุ โตะ๊ จารกึ แลว้ อาลกั ษณน์ มสั การพระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร จากนนั้ ถวายบงั คมสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั (พระราชอาสน์) คล้องสายสิญจน์ และหันหน้าไปสู่ทิศมงคล ได้เวลาพระฤกษ์ โหรลั่นฆ้องชัย อาลักษณ์และโหรลงมือจารึก พระสุพรรณบัฏเฉลิมพระปรมาภิไธยและดวงพระบรมราชสมภพ ส่วนนายช่างท�ำหน้าที่แกะพระราชลัญจกรประจ�ำรัชกาลไป พรอ้ มกนั ในระหวา่ งนน้ั พระสงฆ์สวดชยั มงคลคาถา พราหมณ์เปา่ สังข์ เจ้าพนักงานประโคมแตร สังข์ และพิณพาทย์ 32 พระราชพธิ บี รมราชาภิเษก

ดวงพระบรมราชสมภพ พระบรมราชสมภพ วนั จันทร์ที่ ๕ ธนั วาคม พทุ ธศาสนายุกาล ๒๔๗๐ ตรงกับ ณ วนั ๒ ๑ฯ๒ ๑ ค�ำ่ ปีเถาะ นพศก จุลศักราช ๑๒๘๙ เวลา ๘ นาฬกิ า ๔๕ นาที (๒ โมงเช้า ๔๕ นาที เวลาทีก่ รุงเทพฯ) พระลคั นาสถติ ราศธี นู ตติยนวางค ๗ ปฐมตรยี างค ๖ เชฐฤกษ์ ๑๘ ประกอบดว้ ยสมณแห่งฤกษ์ พระสุพรรณบัฏ เฉลมิ พระปรมาภไิ ธย พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มหติ ลาธเิ บศรรามาธิบดี จักรนี ฤบดินทร สยามินทราธริ าช บรมนาถบพติ ร 33 พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก

พระอโุ บสถ วัดพระศรีรตั นศาสดาราม 34 พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก

พระพุทธมหามณรี ัตนปฏมิ ากร (พระแกว้ มรกต) 35 พระราชพิธีบรมราชาภิเษก

36 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

อนึ่ง เจ้าพนักงานน�ำพระสุพรรณบัฏ และพระราชลัญจกรท่ีแล้วเสร็จมาประดิษฐานบนธรรมาสน์ศิลา ในพระอโุ บสถวดั พระศรรี ตั นศาสดาราม เพอื่ เชญิ มาพระทน่ี ง่ั ไพศาลทกั ษณิ และวนั ท่ี ๒๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๓โปรดใหม้ พี ระราช พิธีราชาภิเษกสมรสและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ประกาศสถาปนาหม่อมราชวงศ์สิริกิต์ิ กิติยากร เป็นสมเด็จพระราชินี สิรกิ ติ ิ์ ทรงด�ำรงต�ำแหน่งพระอสิ รยิ ยศฐานนั ดรศกั ดิแ์ ห่งพระราชวงศ์ ครั้นวนั ที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ ในการพระราชพธิ ี บรมราชาภิเษก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระเกียรติยศสมเด็จพระราชินีสิริกิติ์ ข้ึนเป็นสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินี 37 พระราชพิธีบรมราชาภิเษก

การจดั เตรยี มสถานท่ี สถานที่ประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในสมัย รัตนโกสินทร์มีการเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละรัชกาลตามความเหมาะสม เชน่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ประกอบพระราช พธิ ี ณ พระทนี่ ง่ั อมรนิ ทราภเิ ษกปราสาท พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลัย ประกอบพระราชพิธี ณ พระที่นั่งในหมู่พระมหามณเฑียร ประกอบด้วย พระท่ีนั่งจักรพรรดิพิมาน พระที่นั่งไพศาลทักษิณ และ พระที่น่ังอมรินทรวินิจฉัย เนื่องด้วยพระท่ีน่ังดุสิตมหาปราสาทซึ่งสร้าง ขึ้นแทนที่พระท่ีนั่งอมรินทราภิเษกปราสาทเป็นท่ีประดิษฐานพระบรม ศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั จงึ โปรดใหป้ ระกอบพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก ณ พระทนี่ ง่ั ในหมพู่ ระมหามณเฑยี ร ซงึ่ ไดใ้ ชเ้ ปน็ สถานทปี่ ระกอบพระราช พิธบี รมราชาภิเษกในรัชกาลท่ี ๓ รัชกาลที่ ๔ รชั กาลที่ ๕ ตอ่ มาพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงประกอบ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกครงั้ แรกเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๕๓ ณ พระทน่ี งั่ หมพู่ ระมหา มณเฑยี รตอ่ มาในพ.ศ.๒๔๕๔ไดท้ รงกระทำ� พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษกสมโภช ณ พระท่ีนั่งดุสิตมหาปราสาท ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพติ ร ประกอบพระราชพธิ ี ณ พระทน่ี งั่ ในหมพู่ ระมหามณเฑยี ร หมพู่ ระมหามณเฑียร ในพระบรมมหาราชวงั 38 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

39 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

พระทน่ี งั่ ดุสติ มหาปราสาท ปลายสมยั รัชกาลท่ี ๕ 40 พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก

พระท่นี งั่ ดสุ ิตมหาปราสาท ในพระบรมมหาราชวงั ปจั จบุ ัน 41 พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก

ภายในพระท่นี ่ังไพศาลทักษิณ 42 พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก

ภายในทอ้ งพระโรงดา้ นที่ตอ่ กับพระที่นงั่ จักรพรรดิพมิ าน ภายในทอ้ งพระโรงด้านท่ตี อ่ กบั พระที่น่งั ไพศาลทกั ษณิ 43 พระราชพธิ ีบรมราชาภเิ ษก

44 พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก

พระราชพิธีเบื้องตน้ 45 พระราชพิธบี รมราชาภเิ ษก

พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนาถบพิตร และสมเดจ็ พระนางเจา้ สิริกิต์ิ พระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ พระราชดำ�เนินทางประตเู ทเวศร์รกั ษา ไปยงั พระทน่ี ั่งอมรนิ ทรวินิจฉยั ในพธิ ีจดุ เทยี นชยั วนั ท่ี ๔ พฤษภาคม พทุ ธศกั ราช ๒๔๙๓ 46 พระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook