Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน ปี 2563

วิจัยในชั้นเรียน ปี 2563

Published by แฮมเตอร์ ทานตะวัน, 2021-05-07 07:45:11

Description: วิจัยในชั้นเรียน ปี 2563

Search

Read the Text Version

รายงานการวิจัยในชั้นเรียน (Classroom Action Research) การพัฒนาการเรียนรูไ้ วยากรณภ์ าษาองั กฤษโดยใช้ชุดแบบฝกึ ทกั ษะ ไวยากรณข์ องนักเรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 จดั ทาโดย นางสาวพรรตั น์ พาเชือ้ ครผู ชู้ ่วย กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ โรงเรยี นมัธยมวัดสงิ ห์ สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษามธั ยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1

บทคัดย่อ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพ่ือพัฒนาชุดการเรียนการสอนและแบบฝึกทักษะ เร่ือง Present Simple Tense ให้มคี ณุ ภาพตามเกณฑท์ ่ีกาหนด 80/80 (2) เพือ่ ศกึ ษาผลสมั ฤทธิท์ างการเรียน เรอื่ ง Present Simple Tense ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 1 ทีเ่ รียนโดยชดุ การเรียนการสอนแบบฝึกทักษะ (3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง Present Simple Tense ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ท่ี เรียนโดยชุดการเรียนการสอนและชุดแบบฝึกทักษะกับการเรียนปกติ กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย นักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ จานวน 45 คน ได้มาโดยการสุ่ม ตัวอย่างแบบง่าย เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัยเป็นแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน มีค่าร้อยละ 83.57 และ บทเรียนสาเร็จรูป เรื่อง Present Simple Tense ครอบคลุมเน้ือหารายวิชาภาษาอังกฤษพ้ืนฐาน รหัสวิชา อ 22102 เรื่อง Present Simple Tense มีคณุ ภาพตามเกณฑ์ท่ีกาหนด 80/80 การวเิ คราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ยี เปรยี บเทียบความแตกตา่ งระหวา่ ง 2 กลมุ่ ใชส้ ถติ ิแบบหาคา่ เฉลีย่ และคา่ รอ้ ยละ่ ผลการวิจัยพบว่า (1) ค่าเฉล่ียของคะแนนการทาแบบฝึกเรื่อง Present Simple Tense วิชา ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนมัธยมวัดสงิ ห์ โดยรวมเท่ากับ 100.35 คิดเป็นร้อย ละ 83.62 (2) เมื่อพิจารณาเป็นรายชดุ ฝึก ได้แก่ ชดุ ฝกึ ท่ี 8 มคี ่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.35 คะแนน คดิ เป็นร้อย ละ 82.37 ชุดฝกึ ท่ี 7 มีค่าเฉล่ยี เทา่ กับ 13.11 คดิ เป็นร้อยละ 87.40 ชุดฝึกท่ี 6 มคี า่ เฉล่ียเท่ากบั 12.24 คิด เป็นร้อยละ 81.62 ชุดฝึกที่ 5 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.06 คิดเป็นร้อยละ 80.44 ชุดฝึกท่ี 4 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 11.86 คดิ เป็นร้อยละ 79.11 ชุดฝึกท่ี 3 มคี ่าเฉลย่ี เทา่ กับ 12.11 คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.74 ชุดฝกึ ท่ี 2 มีคา่ เฉลย่ี เทา่ กบั 13.15 คิดเปน็ รอ้ ยละ 87.70 และชดุ ฝึกที่ 1 มีค่าเฉลยี่ เท่ากับ 13.44 คิดเปน็ ร้อยละ 89.62

สารบญั หนา้ ก หวั เรอ่ื ง 1 บทคดั ย่อ 1 บทที่ 1 บทนา………………………………………………………………………………………………………... 1 2 ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา…………………………………………………......... 2 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย…………………………………………………………………………….. 2 สมมติฐานการวิจัย………………………………………………………………………………………. 3 ขอบเขตของการวิจยั …………………………………………………………………………………… 4 นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ……………………………………………………………………………………….. 25 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ…………………………………………………………………………… 25 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง………………………………………………………………….. 25 บทที่ 3 วธิ ดี าเนินการวิจัย………………………………………………………………………………………. 26 ประชากร/กลมุ่ ตวั อย่าง……………………………………………………………………………….. 26 เครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย………………………………………………………………………………. 27 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล…………………………………………………………………………………. 33 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ……………………………………………………………………………………… 33 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ………………………………………………………………………………… 33 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจัย…………………………………………………………………………………………. 34 สรปุ ผลการวิจัย…………………………………………………………………………………………… 35 อภิปรายผล………………………………………………………………………………………………... ขอ้ เสนอแนะ………………………………………………………………………………………………. บรรณานกุ รม……………………………………………………………………………………………… ภาคผนว

-1- บทท่ี 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญของปญั หา ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากลท่ีนิยมใช้ในการติดต่อสื่อสารกันท่ัวโลก ซ่ึงผู้คนท่ัวโลกใช้เป็นสอ่ื กลางใน การตดิ ตอ่ ส่อื สาร ชว่ ยใหค้ นท่ัวโลกสามารถตดิ ต่อสื่อสารกันได้รู้เร่ืองหรือมีความเข้าใจตรงกัน ปจั จบุ ันประเทศ ไทย ได้พัฒนาด้านภาษาอังกฤษ โดยมีการใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สองท่ีจะทาให้คนไทยสื่อสารกับ ชาวต่างชาติท่ีเข้ามาท่องเที่ยวหรืออาศัยอยู่ในประเทศไทยได้ และในปี 2558 ประเทศจะก้าวเข้าสู่ประชาคม อาเซียนและจะใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อกลางในการส่ือสาร การเรียนรู้เกี่ยวกับภาษาอังกฤษ จึงมีความจาเป็น อย่างมากท่ีนักเรียนสามารถท่ีจะนาไปสื่อสารในชีวิตประจาวัน การฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน ภาษาอังกฤษท้ัง 4 ทักษะ เป็นศกั ยะทางภาษาที่มีความสาคัญและมีความหมายในการเรยี นทุกระดบั การสอนภาษาอังกฤษเร่ืองการพูดและการเขียนภาษาอังกฤษ เป็นทักษะท่ีช่วยในการสอนภาษาที่ ประสบความสาเร็จ ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจและสามารถฟัง พูด และเขียนภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้อง แต่การ เรียนการสอนการเขียนและการอ่านในประเทศไทย ในปัจจุบันยังประสบปัญหาอยู่มากในด้านการเรียนและ การพูด การใช้ชุดการเรียนรู้และชุดแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะเป็นทางหน่ึงท่ีจะช่วยพัฒนาทักษะด้านการเขียน การพูด การฟัง และการอ่าน ภาษาอังกฤษของนักเรียน เป็นสื่อการสอนให้นักเรียนสามารถเขียนและการพูดประโยคอย่างง่ายใน ภาษาอังกฤษได้ ก่อนที่จะเริ่มเรียนในส่ิงที่ยากต่อไป เป็นการปูพ้ืนฐานการเขียนประโยคให้กับนักเรียน อีกทั้ง ช่วยให้นักเรียนมีทัศนคติท่ีดีต่อภาษาอังกฤษอีกด้วย เพราะเมื่อนักเรียนได้เรียนในส่ิงท่ีง่ายก่อน ก็จะมีความ เขา้ ใจและเรียนในสงิ่ ทีย่ ากต่อไปได้ ด้วยเหตุน้ีผู้วิจัยได้สร้างแบบฝึกทักษะการการเรียนรู้ด้านการเขียนและการพูดที่ประกอบไปด้วย Present Simple Tense อยา่ งง่ายข้ึนเพื่อช่วยแกโ้ ขปัญหาทน่ี กั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ซงึ่ ไม่สามารถเขียน และพูดประโยคภาษาอังกฤษอย่างง่ายได้ ทาให้นักเรียนสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการเรียนวิชา ภาษาอังกฤษในโอกาสตอ่ ไป วัตถุประสงค์ของการวิจัย

-2- 1. เพ่ือพัฒนาความสามารถในการใช้โครงสร้างภาษาเรื่อง Present Simple tense สาหรับ นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 2. เพ่ือศึกษาผลสัมฤทธิ์ เรื่อง Present Simple Tense ก่อนเรียนและหลังเรียน ด้วยแบบฝึก พัฒนาการเรยี นรูเ้ รอื่ ง Present Simple tense 3. เพ่ือสร้างแบบฝึกทักษะทางการเขียนและการอ่านเร่ือง Present Simple Tense สาหรับ นกั เรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 สมมตฐิ านการวจิ ยั นกั เรียนท่ไี ด้รับการสอนเก่ยี วกับทักษะทางไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะทางการเรียนรู้ เร่อื ง Present Simple Tense จะมีผลสมั ฤทธ์ิหลงั เรียนสูงกว่ากอ่ นเรียน ขอบเขตของการวจิ ยั 1. ประชากร/กล่มุ ตัวอย่าง 1.1 ประชากรในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ภาค เรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 จานวน 45 คน 1.2 กลุ่มตัวอยา่ งท่ีใชใ้ นการวิจยั ครั้งนี้ ได้แก่ นักเรยี นมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 โรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์ ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 จานวน 45 คน คน ไดม้ าโดยการสุ่มแบบเจาะจง 2. ตัวแปรที่จะศึกษา ตวั แปรอิสระ (Independent Variable) คอื ชดุ การเรียนการเรียนรแู้ ละแบบฝกึ ทกั ษะ ตวั แปรตาม (Dependent Variable) คือ เพือ่ สง่ เสรมิ ทางการเรยี นรู้ไวยากรณ์ภาษาอังกฤษ 3. ระยะเวลา - สถานที่ ระยะเวลาที่ใช้ในการวจิ ัย 1 สงิ หาคม 2563 ถึง 6 พฤศจิกายน 2563 สถานท่ี โรงเรียนมัธยมวดั สิงห์ 4. เนื้อหาที่จะใช้ในการวจิ ัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่เร่ือง Present Simple Tense ท่ีนามาจากใบความรู้ ใบงาน แบบฝึกทักษะ ท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้นเอง และจากหนังสือเรียนไวยากรณ์ (Grammar) ต่างๆ และจาก การศึกษาค้นคว้าจากอินเตอร์เน็ต โดยพิจารณาถึงความยากง่ายของคาศัพท์และรูปประโยคท่ี เหมาะสมกับนักเรียนระกับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ตามหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2551 โดยผา่ นการตรวจสอบจากผเู้ ช่ียวชาญและได้รบั การปรบั ปรุงแกไ้ ขแลว้

-3- นิยามศัพท์ทใ่ี ช้ในการวจิ ยั 1. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ ซ่ึงกาลังเรียนรายวิชา ภาษาองั กฤษพนื้ ฐาน รหสั วชิ า อ 21101 จานวน 45 คน 2. ชุดการเรียนการสอน หมายถึง ชุดท่ีใช้ประกอบการการจัดการเรียนการสอนไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเรื่อง Present Simple Tense ของครู สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เพ่ือให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ เน้ือหา และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่ม สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาองั กฤษ) ซึ่งประกอบดว้ ยแบบฝึกหดั และแบบทดสอบ 3. แบบฝึกทักษะในการเรียนภาษาอังกฤษ ผลการเรียนในรูปของคะแนนนักเรียนที่ประกอบไปด้วย Present Simple Tense ซ่ึงวัดได้จากคะแนนการทาแบบฝึกหัด และทาแบบทดสอบก่อนเรียน (Pre - Test) และแบบทดสอบหลังเรยี น (Post - Test) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (ผลท่ไี ด้จากการวิจัยตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัยนี้) 1. ได้แบบฝึกพัฒนาทักษะการเรียนเร่ือง Present Simple Tense สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ปที ่ี 1/7 2. ได้แนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนเกี่ยวกับโครงสร้างของ Tense และใช้กับนักเรียน ในระดับอื่นๆ ด้วย 3. ไดช้ ดุ การเรียนการสอนเรื่อง Present Simple Tense ทมี่ คี ณุ ภาพ 4. นักเรียนท่ีได้เรียนกับชุดการเรียนการสอนเร่ือง Present Simple Tense มีความพึงพอใจและ ตระหนกั ถงึ กิจกรรมการจดั การเรียนรูม้ ากขึ้น 5. ครูสามารถนาชุดการเรียนการสอนไปเป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ สอดคลอ้ งกบั ความสามารถของผูเ้ รียนและส่งเสริมให้ผ้เู รยี นพฒั นาตนเองในทางทด่ี ีขน้ึ 6. ครูผู้สอนตระหนักถึงความสาคัญของการวิจัยในชั้นเรียน นาความรู้ที่ได้จากการวิจัยไปใช้ แกป้ ญั หาและพฒั นาการเรยี นการสอนให้เกดิ ประโยชน์แกน่ ักเรยี นตอ่ ไป

-4- บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวขอ้ ง การศึกษาวิจัยเร่ืองการพัฒนาทักษะทางไวยากรณ์ภาษาอังกฤษโดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนมี วัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาการพัฒนาความรู้ทางไวยากรณ์โดยใช้แบบฝึกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษและเพ่ือ ศึกษาผลสมั ฤทธิ์ในการเรียน ก่อนและหลงั ใช้แบบฝกึ ทักษะการเขียนภาษาองั กฤษซง่ึ ผูว้ ิจยั ไดศ้ ึกษาทฤษฎี หลักการและงานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วข้องในประเด็นหวั ข้อดังต่อไปน้ี 1. ทกั ษะการเขยี น 1.1 ความหมายและความสาคัญของการเขียนการเขียน เป็นการแสดงความคิด ความรู้สึก และความรู้ของผู้เขียนออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อให้อ่านเข้าใจความคิดของผู้เขียน สุจริต เพียรชอบ และสายใจ อินทรัมพรรย์ (2523 : 134) ได้กล่าวถึงความหมายของการเขียนไว้ว่าการเขียนคือการเรียบ เรียงความรู้ ความคิด ประสบการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนความรู้สึกนึกคิด และจินตนาการออกมาเป็นลายลักษณ์ อักษร จะเป็นข้อความส้ันๆ ทานองคาขวัญร้อยแก้วส้ัน ๆ หรือบทกวีนิพนธ์ก็ได้ ข้อเขียนต่าง ๆ เหล่าน้ีจะมี เอกภาพ มีความเป็นตัวของมันเองทั้งในด้านความคิดและการใช้ภาษาเรียบเรียงศรีวิไล ดอกจันทร์ (2523 : 202-203) กล่าวถึงทักษะในการเขียนว่าต้องรจู้ ักแสดงความคิด ออกมา เป็นตัวหนังสือให้ผ้อู ่านเข้าใจได้ตามท่ี ตนประสงคใ์ ห้สามารถเขยี นตวั สะกดได้ถกู ต้องตามอกั ขรวธิ ี เขยี นให้อ่านง่าย ชัดเจน เรยี บรอ้ ยและรวดเรว็ รูจ้ ัก เลือกใช้ถ้อยสานวนให้เหมาะสมกับเน้ือเร่ืองรู้จักลาดับความคิดและแสดงความคิดออกมาเป็นตัวหนังสือให้ ผู้อ่านเข้าใจได้แจ่มแจ้งการเขียนเป็นระบบการสื่อสารและบันทึกถ่ายทอดภาษาเพ่ือแสดงความรู้ความคิดและ ความรู้สึก โดยใช้ตัวหนังสือเป็นสญั ลกั ษณ์ ประสิทธิภาพของการเขียนจงึ อยู่ท่ีความสามารถทางความคิด และ การใช้ภาษาของผู้เขียนเอง เมื่อพิจารณาฝึกทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้าน คือ การฟัง การพูด การอ่าน และการ เขียนแล้ว จะเห็นว่าทักษะการเขียนเป็นทักษะหลังสุดท่ีผู้เรียนจะได้รับการฝึกอย่างจริงจัง ท้ังน้ีเน่ืองจากการ เขียนเป็นทักษะที่ยากและซับซ้อนท่ีสุดในทักษะท้ังหมด ผ้ทู จ่ี ะมีความสามารถทางการเขียนได้จงึ ต้องมีพื้นฐาน ในทักษะการฟัง การพูดและการอ่านมาก่อนดังที่โรเบิร์ต ลาโด (Robert Lado 1977 : 145) ได้กล่าวถึง ความหมายของการเขียนไว้ว่าการเขียน คือการส่ือความหมายระหว่างผู้เขียนและผู้อ่านโดยใชต้ ัวอักษร ซึ่งถือ ว่าการเขียนเป็นรูปแบบหน่ึงของการสื่อความหมาย หากการเขียนนั้นเขียนโดยไม่ทราบความหมาย ไม่นับว่า เป็นการเขียน แต่เป็นเพียงการจารึกอักษรเท่านน้ั การเขียนจึงต้องเป็นการใช้ตัวอักษรอย่างมีความหมาย จาก ความหมายของการเขียน ดังกล่าวจึงพอสรุปได้ว่า การเขียนคือการส่ือความหมายโดยการเรียบเรียงความรู้ ความคิด และความรู้สึก ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ ของผู้เขียน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือส่ือสารระหว่างผู้เขียนกับ

-5- ผู้อ่านให้เข้าใจตรงกัน5การเขียนเป็นยังทักษะท่ีสาคัญทักษะหน่ึงในการใช้ภาษาภาษาเขียนใช้ในการสื่อ ความหมาย ที่ได้ความและปรากฏหลักฐานมั่นคง เพราะไม่ลบเลือนเร็วเหมือนคาพูดภาษาเขียนจึงใช้ในการ ติดต่อ ส่ือสารได้ดีแม้ในระยะทางไกลแต่การท่ีจะส่ือสารได้ดีน้ันผู้เขียนต้องมีความสามารถในการเขียน คือใช้ ภาษาได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และสามารถทาให้ผู้อ่านเข้าใจความหมายในส่ิงท่ีตนเขียนได้ การเขียนจึงต้องมี การฝึกฝนบ่อย ๆ เพื่อให้เกิดความชานาญและต้องอาศัยการอ่านมาก ๆ เพื่อน าข้อมูลจากการอ่านมาเป็น แนวทางในการเขียน นอกจากนี้ ในการเขียนจะตอ้ งให้ผอู้ ่านติดใจ ซ่ึงถ้าดูเผิน ๆ แล้วจะเห็นว่าการเขียนไม่นา่ จะมีลักษณะพิเศษอย่างไร นึกอย่างไรก็เขียนไปอย่างนั้น แต่ที่จริงแล้วการเขียนหนังสือจะต้องรู้ลักษณะของ ภาษาวา่ เขยี นอยา่ งไรจึงจะทาใหผ้ ู้อ่านเข้าใจและติดใจ ซ่ึงข้นึ อย่กู ับคุณภาพของงานเขียนนัน้ ในบรรดาทักษะ ท้ังสี่ของการเรียนภาษา การเขียนนับเป็นทักษะท่ียุ่งยากซับซ้อนท่ีสุดในการฟังและการอ่าน นักเรียนจะได้รับ ฟงั หรือเหน็ ข้อความจากผเู้ ขียน จึงมบี ทบาทเพียงแตต่ ีความหรือวิเคราะหว์ ่าตนเองกาลังไดย้ นิ หรืออ่านอะไรใน การพดู นกั เรียนสามารถแสดงความคดิ ความรู้สึกของตนเองและมโี อกาสให้คาอธิบายแทรกในบทสนทนาได้ แต่ ในการเขียนนั้นต้องมีความสามารถอย่างแท้จริงจึงจะเขียนข้อความได้ชัดเจนจนผู้อ่านเข้าใจได้การเขียนเป็น วิธีการถ่ายถอดความรู้ ความคิด ตลอดจนประสบการณ์ต่าง ๆ โดยใช้ภาษาเป็นเคร่ืองมือในการสื่อสารเพ่ือ ความเข้าใจระหว่างผู้อ่านและผู้เขียน รวมท้ังชักนาความรู้ ความคิด ประสบการณ์ อารมณ์ ความรู้สึกจากผู้ หน่ึงไปสู่อีกผู้หน่ึงหรือคนจานวนมากได้อีกด้วย ทั้งน้ีขึ้น อยู่กับการท่ีผู้เขียนจะมีเจตนารมณ์เช่นใด และมี ความสามารถในการเลือกสรรถ้อยคาเพ่ือใช้ในการเขียนได้ดีเพียงใดอีกด้วยนอกจากน้ีการเขียนยังถือเป็น ทักษะทางภาษาอันดับส่ี ซึ่งหมายถึงว่าบุคคลจะต้องมีความสามารถในทางภาษาด้านการพูด การฟัง และการ อ่านมาก่อน จึงนับได้ว่าการเขียนมีบทบาทสาคัญมากในชีวิตประจาวันของคนเราในฐานะของการสื่อสารที่มี ความชัดเจนและเป็นหลักฐานที่แน่นอนกว่าทักษะทางภาษาทั้งสามด้าน การอ่านถ่ายทอดวิทยาการต่างๆใน ปัจจบุ ัน ผู้ศึกษาก็สามารถเพม่ิ พูนความร้จู ากงานเขียนต่าง ๆ ไดส้ ะดวกกว่าวิธกี าร อ่นื ๆวัลภา เทพหัสดิน ณ อยุธยา (2526 : 11 – 13) กล่าวถงึ ความสาคัญของการเขยี นพอสรปุ ไดด้ งั นี้ 1. การเขียนเป็นวัฒนธรรมที่สาคัญของชาติ เพราะภาษาเป็นส่ิงที่แสดงถึงเอกลักษณ์และวิถีชีวิตของ คนในชาติ 2. การเขียนทาให้เกิดวรรณคดี ถือเป็นหลักฐานที่แสดงถึงความงอกงามทางสติปัญญา จินตนาการ และความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรคข์ องคนในชาติ 3. การเขยี นเปน็ ส่ือในการสร้างความมนั่ คงของประเทศ เชน่ การเขียนเพ่ือก่อใหเ้ กิดความสามัคคี การ เขียนข่าวสาร เปน็ ตน้ 4. การเขียนมีความสาคัญต่อการศึกษา เช่น การเขียนส่ือสารกับผู้สอนในการตอบข้อสอบหรือเขียน รายงาน หรือครูอาจารย์ผู้เช่ียวชาญเขียนตารา เอกสาร งานวิจัย การเขียนที่มีคุณภาพย่อมสามารถสื่อสารให้

-6- บุคคลสองฝ่ายเข้าใจกันได้ดี6ภาษาเขียนถือเป็นภาษาท่ีมีประโยชน์ต่อบุคคลในสังคมอย่างมาก ฉะนั้นจึงควร สนับสนุนให้มีการศึกษาและฝึกการใช้ภาษาเขียนอย่างถูกต้อง เพ่ือให้บุคคลให้ภาษาเขียนได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ 1.2 แนวการสอนเพ่ือการสื่อสารด้านทักษะการเขยี นแนวการสอนเพื่อการสื่อสารดา้ นทักษะการเขียน (อ้างในดารณีมีสมมนต์ :16-17)ดารีได้อ้างว่าวิดโดสัน (Widdowson.1987 : 34-44) ได้กล่าวถึงทักษะการ เขียนว่าเป็นกิจกรรมการส่ือสารชนิดหนึ่งซึ่งเกิดข้ึนระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน โดยใช้ภาษาเป็นเครื่องมือในการ ถ่ายโอนฮอยและเกรก (Hoy; & Gregg. 1994 : 346) กล่าวว่าเป็นการแสดงออกถึงความคิดและความรู้สึกใน รูปของตัวอักษรผู้เขียนต้องถ่ายทอดความคิดออกมาเป็นสัญลักษณ์ ที่จะให้ผู้อ่านเข้าใจได้ ดังน้ันการเขียนจึง เป็นการถ่ายโอนความคิดไปยังผู้อ่านด้วยบิลาช (Bilash. 1998) กล่าวถึงทักษะการเขียนว่า เป็นกุญแจดอก สาคัญท่ีจะทาให้ผู้เรียนประสบผลสาเร็จในการเรียนภาษาท่ีสองการเรียนรู้การเขียนไ ม่ใช่เกิดโดยธรรมชาติ บิลาชได้ออกแบบเทคนิคการสอนเขียนว่า รูปแบบของการเขียน (Form) ควรเน้นกิจกรรมจากง่ายไปยากเพื่อ ลดเง่อื นไขทางด้านจติ ใจ ได้แก่ ความวิตกกงั วลและสร้างแรงจงู ใจ โดยเรียงลาดบั ดงั น้ี 1. ศัพทน์ ้อยและกฎน้อย เช่น ใบสมคั รข้อความบตั รอวยพร 2. ศพั ท์มากกฎน้อย เช่น การเขยี นสมดุ บันทึกจดหมายส่วนตัว แบบสอบถาม 3. กฎมากศัพทน์ ้อย เช่น ชวี ประวัติ ปกหนงั สอื บัตรเชญิ 4. คาศพั ทม์ ากกฎเกณฑม์ าก ซ่งึ เปน็ การเขียนทีย่ ากขน้ึ เชน่ นยิ ายผจญภยั กตกิ าการเล่นเกม การอธิบาย เปน็ ตน้ สเวลสแ์ ละฟีค (Swales; & Feak. 1997 : 34) กลา่ วถงึ ทกั ษะการเขยี นวา่ เป็นกระบวนการท่ีซบั ซ้อน ซึ่งต้อง อาศยั ทักษะภาษาอน่ื ๆ มาเรียบเรียงจงึ จะบรรลุจดุ ประสงค์ท่ผี ู้เขียนต้องการส่อื ความหมาย สุมติ รา องั วฒั นกลุ (2535: 185 – 195) กลา่ วว่าการเขียนเพือ่ การสอื่ สารเป็นการเขียนในระดบั สงู กวา่ การเขียนประโยค เปน็ การ เขียนถอ้ ยคาสานวนและเรยี บเรียงประโยคให้เหมาะสม และสามารถส่ือความหมายได้ ในการพฒั นาการเขียน โดยเน้นเน้ือหานั้น ผู้สอนควรเน้นการเขียนเชิงวิชาการเช่นการเขียนสรปุ และเขียนเชิงวเิ คราะห์โดยใหผ้ ้เู รยี น ฝึกเรียบเรยี งเนื้อหาอย่างมรี ะบบ และเขียนข้อความในระดับยอ่ หนา้ (Paragraph) ได้ การฝกึ ทักษะการเขียน นั้นผสู้ อนตอ้ งประสานข้อมลู ทีไ่ ดจ้ ากการพดู อ่านและฟัง ผเู้ รยี นจะเรมิ่ ต้นฝึกทักษะการเขียนดว้ ยการวิเคราะห์ สังเคราะห์และประเมนิ เนื้อหากอ่ นทจ่ี ะเขียน ท้งั นี้ผ้สู อนควรใหผ้ ู้เรียนร่างตรวจแกไ้ ขงานเขยี นของตน และของ เพอื่ นรว่ มช้นั ดว้ ย กระบวนการเขียนทน่ี ักเรยี นควรทราบ 4 ประการ 1. พยญั ชนะและสระในภาษาอังกฤษ 2. วธิ ีการสะกดคาศพั ท์7

-7- 3. โครงสรา้ งประโยคในภาษาอังกฤษ 4. การเลอื กคา วลีเพอื่ ใช้ในการถ่ายทอดความคดิ และความรู้สึกของผ้เู รยี นให้สละสลวย 1.3 แนวทางการฝกึ ทักษะการเขยี น แนวทางการฝกึ ทักษะการเขียนมี 3 แนวทาง (บทความออนไลน์ สุที: 2549) 2.3.1 การเขียนแบบควบคมุ (Controlled Writing) เปน็ แบบฝกึ การเขียนที่มงุ่ เนน้ ในเรอ่ื งความถกู ตอ้ งของรปู แบบ เชน่ การเปล่ียนรูปทางไวยากรณ์ คาศัพท์ ใน ประโยค โดยครจู ะเป็นผู้กาหนดส่วนที่เปล่ียนแปลงให้ผ้เู รียน ผเู้ รียนจะถกู จากัดในด้านความคิด อิสระ สร้างสรรค์ ข้อดีของการเขยี นแบบควบคมุ นี้ คอื การป้องกันมิใหผ้ ้เู รียนเขยี นผดิ ตัง้ แตเ่ ริม่ ต้น กิจกรรมท่ีนามาใช้ ในการฝึกเขยี น เชน่ Copying, เปน็ การฝกึ เขียนโดยการคัดลอกคา ประโยคหรอื ข้อความทก่ี าหนดให้ ในขณะท่ี เขยี นคดั ลอก ผ้เู รยี นจะเกิดการเรยี นรูก้ ารสะกดคา การประกอบคาเขา้ เป็นรูปประโยค และอาจเป็นการฝึกอา่ น ในใจไปพร้อมกนั Gap Filing เป็นการฝกึ เขยี นโดยเลือกคาทก่ี าหนดให้ มาเขยี นเติมลงในชอ่ งว่าง ของ ประโยค ผู้เรยี นจะได้ฝึกการใช้คาชนิดต่าง ๆ (Part of Speech) ทัง้ ด้านความหมาย และด้านไวยากรณ์ Re-ordering Words, เปน็ การฝึกเขยี น โดยเรยี บเรียงคาที่กาหนดให้เปน็ ประโยค ผเู้ รียนได้ฝึกการใช้คาใน ประโยคอย่างถกู ตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ และเรยี นรู้ความหมายของประโยคไปพรอ้ มกนั Changing forms of certain words เป็นการฝึกเขยี นโดยเปล่ยี นแปลงคาที่กาหนดใหใ้ นประโยค ให้เปน็ รปู พจน์ หรอื รปู กาลต่าง ๆ หรือรปู ประโยคคาถาม ประโยคปฏิเสธ ฯลฯ ผู้เรยี นได้ฝึกการเปลีย่ นรูปแบบของคาได้อยา่ งสอดคล้องกบั ชนดิ และหนา้ ทขี่ องคาในประโยค SubstitutionTables เป็นการฝกึ เขียนโดยเลอื กคาที่กาหนดให้ในตาราง มาเขยี น เป็นประโยคตามโครงสร้างทก่ี าหนด ผู้เรยี นได้ฝึกการเลอื กใช้คาทีห่ ลากหลาย ในโครงสร้างประโยคเดยี วกัน และได้ฝึกทาความเขา้ ใจในความหมายของคา หรือประโยคดว้ ย 1.3.2 การเขียนแบบกึง่ ควบคุม (Less – Controlled Writing) เป็นแบบฝึกเขียนที่มีการควบคุมน้อยลง และผู้เรียนมีอิสระในการเขียนมากข้ึน การฝึกการเขียนในลักษณะนี้ ครูจะกาหนดเค้าโครงหรือรูปแบบ แล้วให้ผู้เรียนเขียนต่อเติมส่วนท่ีขาดหายไปให้สมบูรณ์ วิธีการน้ีช่วยให้ ผู้เรียนพัฒนาทักษะความสามารถในการเขียนได้มากขึ้น อันจะนาไปสู่การเขียนอย่างอิสระได้ ในโอกาสต่อไป กิจกรรมฝึกการเขยี นแบบกงึ่ อิสระ เช่น Sentence Combining เป็นการฝกึ เขียนโดยเชื่อมประโยค 2 ประโยค เข้าด้วยกันด้วยคาขยาย หรือคาเชื่อมประโยค ผู้เรียนได้ฝึกการเขียนเรียบเรียงประโยคโดยใช้คาขยาย หรือ คาเชอ่ื มประโยค ในตาแหนง่ ทีถ่ ูกตอ้ ง Describing People เป็นการฝกึ การเขียนบรรยาย คน สตั ว์ ส่งิ ของและ สถานที่ โดยใช้คาคุณศัพท์แสดงคุณลักษณะของสิ่งท่ีกาหนดให้ ผู้เรียนได้ฝึกการใช้คาคุณศัพท์ขยายคานาม ได้อย่างสอดคล้อง และตรงตามตาแหน่งท่ีควรจะเป็น Questions and Answers Composition เป็นการฝึก การเขียนเรื่องราว ภายหลังจากการฝึกถามตอบปากเปล่าแล้ว โดยอาจให้จับคู่แล้วสลับกันถามตอบปากเปล่า

-8- เก่ียวกับเรื่องราวที่กาหนดให้ แต่ละคนจดบันทึกคาตอบของตนเองไว้ หลังจากน้ันจึงให้เขียนเรียบเรียงเป็น เรื่องราว 1 ย่อหน้า ผู้เรียนได้ฝึกการเขียนเรื่องราวต่อเนื่องกัน โดยมีคาถามเป็นส่ือนาความคิด หรือเป็นสื่อใน การคน้ หาคาตอบ ผเู้ รยี นจะได้มีขอ้ มูลเป็นรายข้อทสี่ ามารถนามาเรยี บเรียงต่อเนื่องกันไปได้อยา่ งน้อย 1 เร่อื ง Parallel Writing เป็นการฝกึ การเขียนเรื่องราวเทยี บเคียงกับเร่ืองที่อ่าน โดยเขยี นจากข้อมูล หรือประเด็น สาคัญท่ีกาหนดให้ ซ่ึงมีลักษณะเทียบเคียงกับความหมายและโครงสร้างประโยค ของเรื่องท่ีอ่าน เมื่อผู้เรียนได้ อ่านเร่ือง และศึกษารูปแบบการเขียนเรียบเรียงเร่ืองนั้นแล้ว ผู้เรียนสามารถนาข้อมูลหรือประเด็นท่ีกาหนดให้ มาเขียนเลียนแบบ หรือเทียบเคียงกับเรื่องที่อ่านได้ Dictation เป็นการฝึกเขียนตามคาบอก ซ่ึงเป็นกิจกรรม ที่วัดความรู้ ความสามารถของผู้เรียนในหลาย ๆ ด้าน เช่น การสะกดคา ความเข้าใจด้านโครงสร้างประโยค ไวยากรณ์ รวมถงึ ความหมายของคา ประโยค หรอื ขอ้ ความท่ีเขียน 1.3.3 การเขยี นแบบอสิ ระ ( Free Writing) เป็นแบบฝึกเขียนที่ไม่มีการควบคุมแต่อย่างใด ผู้เรียนมีอิสรเสรีในการเขียน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดง ความคิด จินตนาการอย่างกว้างขวาง การเขียนในลักษณะนี้ ครูจะกาหนดเพียงหัวข้อเร่ือง หรือสถานการณ์ แล้วให้ผู้เรียนเขียนเรื่องราวตามความคิดของตนเอง วิธีการนี้ ช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะความสามารถในการ เขียนได้เต็มที่ ข้อจากัดของการเขียนลักษณะน้ี คือ ผู้เรียนมีข้อมูลที่เป็นคลังคา โครงสร้างประโยค ส่วน ไวยากรณเ์ ปน็ องค์ความร้อู ยคู่ อ่ นข้างน้อย ส่งผลให้การเขียนอยา่ งอสิ ระนี้ ไม่ประสบผลสาเรจ็ เท่าที่ควร 2. นวัตกรรม 2.1 นวัตกรรมการเรยี นการสอน ในการพฒั นาการเรียนการสอนให้มปี ระสิทธิภาพ และเพือ่ ใหเ้ กิดประสิทธิผลในบ้ันปลายนั้น จาเป็นอยา่ งยิ่งท่ี ครูอาจารย์ จะต้องพยายามค้นคว้าวิธีการใหม่ ๆ ที่ครู อาจารย์คิดค้นขึ้นในรูปแบบต่าง ๆ น้ัน คือนวัตกรรม ทางการศึกษาน้ันเอง ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา คาจากัดความของคาว่า “นวัตกรรมทาง การศึกษา” จึงหมายถึงส่ิงประดิษฐ์ หรือวิธีการใหม่ๆ หรือปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมโดยมีการทดลองหรือ พัฒนาจนเป็นที่น่าเช่ือถือได้ว่าจะมีผลดีในทางปฏิบัติ สามารถนาไปใช้ในระบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ ถา้ สง่ ผลงานในลักษณะนี้ต้องมเี อกสาร ประกอบดว้ ย 9 ความสาคัญ ความสาคญั ของนวตั กรรมทางการศึกษา กค็ ือสามารถนามาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ในวงการศึกษา สรปุ ได้ดังน้ี 1. เพือ่ นานวัตกรรมมาใช้แกป้ ัญหาในเรอื่ งการเรียนการสอนเช่น 1.1 ปัญหาเร่ืองวิธีการสอนปัญหาท่ีมักพบอยู่เสมอ คือ ครูส่วนใหญ่ยังคงยึดรูปแบบการสอนแบบบรรยายโดย มีครูเป็นศูนย์กลางมากกว่าการสอนในรูปแบบอ่ืน การสอนด้วยวิธีการแบบนี้เป็นการสอนท่ีขาดประสิทธิภาพ และประสิทธิผลในบั้นปลาย เพราะนอกจากจะทาให้นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย ขาดความสนใจแล้วยัง เปน็ การปิดกั้นความคิดและสตปิ ญั ญาของผเู้ รียนให้อยู่ในขอบเขตจากดั อีกด้วย

-9- 1.2 ปัญหาดา้ นเนอื้ หาวิชา บางวชิ าเนอ้ื หามาก และบางวิชามเี นือ้ หาเปน็ นามธรรม ยากแก่การเข้าใจจึงจาเป็นจะต้องนาเทคนิคการสอนและส่ือมาช่วย ปัญหาเร่ืองอุปกรณ์การสอน บางเนื้อหา มสี อ่ื การสอนเปน็ จานวนน้อยไม่เพยี งพอต่อการนาไปใช้ เพื่อทาใหน้ กั เรยี นเกิดความรู้ความเขา้ ใจในเน้ือหาวิชา ได้ง่ายขึ้น จึงจาเป็นต้องมีการพัฒนาคิดค้นหาเทคนิควิธีการสอน และผลิตส่ือการสอนใหม่ๆเพื่อนามาใช้ทา ให้การเรียนการสอนบรรลเุ ป้าหมายได้ 2. เพ่ือนานวัตกรรมไปใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน ให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึนและเป็นประโยชน์ต่อ การศึกษา โดยการนาส่งิ ประดิษฐ์หรือแนวความคิดใหม่ๆ ในการเรียนการสอนน้ันเผยแพร่ไปสคู่ รูอาจารย์ทา่ น อื่นๆ หรือเพื่อเป็นตัวอย่างอีกรูปแบบหนึ่งให้กับครู อาจารย์ท่ีสอนในวิชาเดียวกัน ได้นาแนวความคิดไป ปรับปรงุ ใช้ หรอื ผลติ ส่อื การสอนใหม่ๆ เพื่อนามาใชใ้ นการพฒั นาการเรยี นการสอนต่อไป 2.2 ขั้นตอนการสร้างนวตั กรรม 2.2.1 ขน้ั เตรยี มการและวางแผนในการจดั ทาผลงาน จะต้องมีการกาหนดรูปแบบของผลงานกาหนดเปา้ หมาย และขอบข่ายของเนือ้ หาวิชา 2.2.2 ขนั้ ตอนการจัดทาผลงาน 2.2.2.1 นาหลักสตู ร เน้อื หา และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ในวชิ านัน้ เปน็ หลกั ในการจดั 2.2.2.2 กาหนดโครงสร้างของผลงาน (ใชใ้ นภาคเรยี นใดและแต่ละเรื่องจะจัดทาส่ือเป็นจานวนเท่าใดบ้าง) 2.2.3 ขั้นทดลองนาผลงานไปใชเ้ ช่น 2.2.3.1 ทดลองกบั กลุ่มตวั อย่าง 2.2.3.2 ควรมีการวิจัยสื่อท่ีจะนาไปทดลองใช้เพ่ือวัดประสิทธิภาพของส่ือที่ผลิตข้ึน ว่าสามารถนาไปใช้ให้เกิด ประโยชน์ต่อผู้เรียนในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติต่อการเรียนการสอนเพียงใด เคร่ืองมือที่ใช้ใน การวิจัยน้ันควรจดั ทาใหส้ ามารถวัดผลไดอ้ ย่างชัดเจน 2.2.4 ข้นั นาผลงานไปใชค้ วรอธบิ ายกรรมวธิ ีในการนาไปใช้ไดอ้ ยา่ งละเอียดและเป็นขั้นตอน 2.2.5 ผลของการนาไปใช้อธิบายใหเ้ หน็ ว่าสง่ิ ประดิษฐ์น้ัน สามารถนาไปใชแ้ ก้ปญั หา หรอื นาไปเพ่ือพัฒนาการ เรียนการสอนได้อย่างไรบา้ ง 2.2.6 ขน้ั การเผยแพรแ่ ละสร้างการยอมรบั เพือ่ เปน็ หลักฐานยนื ยันวา่ สื่อนวัตกรรมทปี่ ระดิษฐข์ ึ้นนั้นมปี ระโยชน์อย่างแทจ้ ริงต่อการเรยี นการสอนจงึ จาเป็น อย่างยง่ิ ทีจ่ ะต้องมีการเผยแพร่ เพื่อให้เกดิ การยอมรับในวงการศึกษา ขนั้ ตอนนี้ควรอธิบายโดยละเอียดว่าได้มี การเผยแพร่ทีใ่ ด หรอื ในลกั ษณะใดบ้าง โดยอาจแบง่ ประเภทให้เหน็ ชัดเจน วา่ การเผยแพรใ่ นโรงเรยี นการ เผยแพร่แก่สาธารณะ ในวงการศึกษารูปแบบนวัตกรรมนวัตกรรม สามารถจัดทาได้หลายรูปแบบ เช่น

- 10 - แผนการสอน, ชุดการสอน, คู่มือครู บทเรียนสาเร็จรปู , สไลด์, ใบความรู้, ทกุ รปู แบบต้องมีคูม่ อื ในการ ใช้ ส่อื ดว้ ยแบบฝึกหดั , สง่ิ ประดษิ ฐ์ตา่ งๆ, เกม ฯลฯ 2.3 ทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวิทยาที่เก่ียวข้องกับการสร้างแบบฝึกทักษะ การสร้างแบบฝึกต้องอาศัยทฤษฏี จติ วิทยาการเรียนรู้ ทฤษฏจี ติ วทิ ยาท่ีเก่ยี วขอ้ งมี 1. ทฤษฏีการลองผิดลองถูกของธอร์นไดด์ .สรุปเกณฑ์การเรยี นรู้ คือ กฎความพร้อม หมายถึง การเรียนร้จู ะ เกิดข้ึนเม่ือบุคคลพร้อมท่ีจะทากฎผลทไ่ี ด้รับ หมายถึง. การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเพราะบุคคลกระทาซ้า และย่ิงทา มากความชานาญ จะเกิดขึ้นได้งา่ ย 2. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเบอร์ พอสรุปได้ว่า บุคคลเรียนรู้ได้ด้วยการกระทาโดยมีการเสริมแรง เป็น ตัวการ เม่ือบุคคลตอบสนองการเร้าของสิ่งเร้าควบคู่กันในช่วงเวลาที่เหมาะสม ส่ิงเร้าน้ันจะรักษาระดับหรือ เพิม่ การตอบสนองไดเ้ ข้มข้ึน 3. วธิ กี ารสอนของกาเย่ ซ่งึ มีความเหน็ วา่ การเรียนร้มู ีลาดับข้ันและผ้เู รียนจะตอ้ งเรียนรเู้ น้ือหาที่งา่ ยไปหายาก 4. แนวคิดของบลูม ซ่ึงกล่าวถึงธรรมชาติผูเ้ รียนแต่ละคนว่า มีความแตกต่างกัน ผู้เรียนจะสามารถเรียนเนอื้ หา ในหน่วยย่อยต่าง ๆ ได้ โดยใชเ้ วลาเรียนท่ีแตกต่างกัน(ประยุกต์จิตวทิ ยาเพื่อการเรียนรู้) สุจริต เพียรชอบ และ สายใจ อินทรัมพรรย์ (2523 : 52 -56) กล่าวว่าในการสร้างแบบฝึก ต้องยึดหลักตามทฤษฎีการเรยี นร้ทู าง จิต วิยา ดังนี้ 1. กฎการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ เกย่ี วกับกฎแห่งการฝึกหัด ซ่ึงกล่าววา่ ส่งิ ใดก็ตามที่มีการฝึกหัดหรือกระทาบ่อย ๆ ย่อมจะทาใหผ้ ู้ฝึกมคี วามคลอ่ งและสามารถกระทาไดด้ ี ในทางตรงกันข้ามสิ่งใดก็ ตามที่ไม่ได้รับการฝึกหัดหรือทิ้งไปนานแล้ว ย่อมจะทาให้ทาได้ไม่ดี ภาษาอังกฤษเป็นวิชาทักษะ ผู้เรียนจะมี 11ลักษณะทางภาษาทีด่ กี ต็ ่อเม่ือมีการฝกึ ฝนหรือกระทาซ้าบ่อย ๆ จากกฎแห่งการฝกึ หัดนจี้ ะช่วยทาให้การฝึก ความคดิ สรา้ งสรรคส์ มั ฤทธิ์ผล 2. ความแตกต่างระหว่างบุคคล ควรคานึงถึงว่านักเรียนแต่ละคนมีความรู้ความถนัดความสามารถ และความ สนใจต่างกัน ฉะน้ันในการสร้างแบบฝึกหัดควรพิจารณาถึงความเหมาะสม คือไม่ง่ายและไม่ยากจนเกินไปและ ควรจะมีแบบฝึกหลาย ๆ แบบ 3. การจูงใจผู้เรียน โดยการจัดทาแบบฝึกหัดจากง่ายไปหายาก เพื่อเป็นการดึงดูดความสนใจของนักเรียน ซ่ึง จะทาให้เกดิ ผลสาเร็จในการฝึกและช่วยจงู ใจให้ตดิ ตามต่อไป 4. ใช้แบบฝึกส้ันๆเพื่อไม่ให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อ สรุปได้ว่า หลักการสร้างแบบฝึกทักษะมีอยู่หลายแบบ เป็น หน้าที่ของผู้สอน ท่ีจะเลือกมาใช้ให้สอดคล้อง และเหมาะสมกับเนื้อหาที่ต้องการฝึก พร้อมกับสอดคล้องกับ หลักทฤษฎีการเรียนรู้ทางจิตวิทยา เพ่ือสร้างแบบฝึกทักษะให้มีประสิทธิภาพ และสามารถดึงดูดความสนใจ ของผูเ้ รียน ซึ่งจะสง่ ผลดีตอ่ ผฝู้ ึกอีกด้วย

- 11 - 3. แบบฝกึ ทักษะการเขยี น 3.1 ความหมายและความสาคัญของแบบฝกึ ความหมายจากการศึกษาเอกสารต่างๆไดก้ ลา่ วว่า แบบฝึกจัดเปน็ นวัตกรรมทางการศึกษาอย่างหนึ่ง แบบฝึกมีความจาเป็นต่อการเรียนการสอนวิชาทักษะ การใช้แบบ พัฒนาการเรียนการสอนจะช่วยให้ครูและนักเรียนพบข้อบกพร่องทางการเรียนการสอนและแก้ไขข้อบกพร่อง นัน้ มีผกู้ ลา่ วถึงความหมายของแบบฝกึ ไว้ ดงั นี้ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2525 ได้ให้ความหมายของแบบฝึกไว้ว่า “แบบฝึกหมายถึง แบบตัวอย่าง ปญั หา หรอื คาส่งั ทตี่ ง้ั ข้ึนเพือ่ ให้นักเรยี นฝึกตอบ” สว่ น ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ กล่าวถึงความหมายของแบบฝึกสรุป ได้ว่า แบบฝึกหมายถึง ส่ิงที่นักเรียนตอ้ งใช้ควบคู่กับการเรียน มีลักษณะเป็นแบบฝึกหัดท่ีครอบคลมุ กิจกรรมที่ นักเรียนพึงกระทาจะแยกกันเป็นหน่วยหรือจะรวมเล่มก็ได้ อัจฉรา ชีวพันธ์ และคณะ กล่าวถึงแบบฝึกทาง ภาษาสรุปได้วา่ แบบฝกึ ทางภาษาหมายถึง สง่ิ ทีส่ ร้างขึ้นเสริมสร้างความเข้าใจทางภาษาตามแนวหลักสูตรของ กระทรวงศึกษาธิการ และเสริมเพิ่มเติมเน้ือหาบางส่วนท่ีช่วยให้นักเรียนนาความรู้ไปใช้ได้อย่างถูกต้อง และ อ้อมนอ้ ม เจริญธรรม (2533:45) ใหค้ วามหมายแบบฝึกวา่ เปน็ แบบฝกึ ท่ชี ว่ ยให้การสอนของครู และการเรียน ของนักเรียนประสบผลสาเร็จ เม่ือผู้เรียนได้มีโอกาสฝึกหัดจนเกิดความเข้าใจและเกิดความชานาญ แบบฝึกซึ่ง มีชื่อเรียกว่า แบบฝึกบ้าง แบบฝึกเสริมทักษะบ้าง แบบฝึก หมายถึง สื่อการเรียนการสอนท่ีจัดทาขึ้นเพื่อให้ ผูเ้ รยี นไดศ้ กึ ษาได้ฝึกทักษะจนเกดิ ความรู้ ความเขา้ ใจ ความสามารถตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ของบทเรียนนั้น จากความหมายของแบบฝึกดงั กล่าว สรปุ ได้ว่า แบบฝึก หมายถึงสอื่ ท่ใี ช้ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียน การสอนหรือสิ่งท่ีสร้างข้ึน เพ่ือเสริมสร้างทักษะให้แก่นักเรียน และช่วยให้นักเรียนได้ฝึกทักษะเพ่ิมจนเกิด ความชานาญ และสง่ ผลให้นกั เรียนประสบความสาเรจ็ ในการเรียน โดยมีลกั ษณะเป็นแบบฝกึ หดั ให้นกั เรยี นได้ กระทากิจกรรมโดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาความสามารถของนักเรียนให้ดีข้ึน ความสาคัญและประโยชน์ ของแบบฝึก เชาวนี เกิดเพทางค์ (2524:23) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝกึ ไว้ว่า “แบบฝึกเป็นเคร่ืองมือท่ี ช่วยให้เกดิ การเรียนรู้ทาใหน้ กั เรยี นเกิดความสนใจ และช่วยให้ครทู ราบผลการเรียนของนกั เรียนอย่างใกล้ชิด” ส่วน วีระ ไทยพานิช (2528 : 11) ได้กล่าวถึงความสาคัญของแบบฝกึ สรปุ ไดว้ ่า แบบฝึกเป็นเครือ่ งมือท่ีช่วยให้ เกิดการเรียนรู้ที่เกิดจากการกระทาจริง เป็นประสบการณ์ตรงท่ีผู้เรียนมีจุดมุ่งหมายท่ีแน่นอน ทาให้นักเรียน เห็นคุณค่าของส่ิงท่ีเรียน สามารถเรียนรู้ และจดจาส่ิงที่เรียนได้ดี และนาไปใช้ในสถานการณ์เช่นเดียวกันได้ และ Petty (อ้างถึงใน เพียงจิต. 2529: 18 – 20) ได้กล่าวว่า แบบฝึกเป็นส่วนเพ่ิมหรือเสริมจากหนังสือเรียน ในการเรียนทักษะ แบบฝึกเป็นสิ่งที่ทาข้ึนอย่างเป็นระเบียบ ระบบ ช่วยให้นักเรียนฝึกทักษะการใช้ภาษาดีข้ึน และชว่ ยเสรมิ ทกั ษะทางภาษาใหค้ งทน แบบฝึก เปน็ ส่อื ทสี่ ามารถพฒั นาการเรียนของนกั เรียนได้ เป็นประโยชนต์ ่อการจัดการเรยี นการสอน คือ เปน็ เคร่อื งมือ ทีช่ ่วยใหเ้ กดิ การเรียนร้เู ป็นเคร่ืองมือวัดผลและประเมินผลการเรยี นในแต่ละครั้ง ชว่ ยให้ครูทราบความก้าวหน้า

- 12 - หรือข้อบกพร่องของนักเรียน และช่วยให้นักเรียนประสบผลสาเร็จในการเรียนประโยชน์ของแบบฝึก Green และ Petty (1971: 80) กลา่ วถึงประโยชน์ของแบบฝกึ ไว้ ดังน้ี 1. ใช้เสริมหนงั สือแบบเรียนในการเรียนทกั ษะ 2. เปน็ สอื่ การสอนทช่ี ่วยแบง่ เบาภาระของครู 3. เปน็ เครือ่ งมือที่ช่วยฝึกฝน และส่งเสรมิ ทกั ษะการใช้ภาษาให้ดีข้ึน แต่จะตอ้ งได้รับการดูแลและเอาใจใส่จาก ครูดว้ ย 4. แบบฝึกทีส่ รา้ งขนึ้ โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล จะเปน็ การช่วยให้เด็กประสบความสาเรจ็ ตาม ระดับความสามารถของเดก็ 5. จะชว่ ยเสรมิ ทกั ษะใหค้ งอยู่ได้นาน 6. เปน็ เคร่ืองมือวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนหลังจบบทเรียนแต่ละครั้ง 7. แบบฝกึ ทีจ่ ดั ทาเป็นรูปเล่มจะอานวยความสะดวกแก่นกั เรยี นในการเก็บรักษาไว้เพื่อทบทวนดว้ ยตนเองได้ 8. ช่วยให้ครูมองเห็นปัญหาและข้อบกพร่องในการสอน ตลอดจนทราบปัญหาและข้อบกพร่อง และจุดอ่อน ของนกั เรียน ชว่ ยใหค้ รสู ามารถแกป้ ญั หาไดท้ ันทว่ งที 9. ช่วยใหเ้ ด็กมโี อกาสฝกึ ทักษะได้อยา่ งเต็มที่ 10. แบบฝกึ ทักษะท่ีจัดพิมพ์ไว้เรยี บร้อยแล้ว จะชว่ ยครูประหยดั เวลา และแรงงานในการสอนการเตรียมการ สอน การสร้างแบบฝึกทักษะ และช่วยให้นักเรียนประหยัดเวลาในการลอกโจทย์แบบฝึกหัด จากความสาคัญ ของแบบฝึกดังกล่าว สรุปได้ว่า แบบฝึกน้ันช่วยให้นักเรียนได้ทบทวนและฝึกฝนตนเองอยู่เสมอ และยังช่วยให้ ครูทราบถึงสภาพปัญหา และข้อบกพร่องในการสอน และตัวนักเรียน ทาให้ครูสามารถแก้ไขได้ทันท่วงที และ ยังช่วยประหยัดแรงงาน และเวลาในการเตรยี มการสอนของครอู ีกดว้ ย 3.2 ลกั ษณะของแบบฝึกทักษะที่ดี การสรา้ งแบบฝกึ ทักษะใหไ้ ด้คุณภาพนัน้ ต้องอาศัยการศกึ ษาค้นคว้าลักษณะของแบบฝึกท่ดี ีที่มีนกั การศึกษาได้ สรา้ งไว้ เพ่ือนามาเปน็ ขอ้ มูลในการสร้างแบบฝึกทักษะ สมชยั ไชยกุล (2526:14–15) สรปุ ถึงลักษณะแบบฝึก ทักษะท่ีดีจะต้องสร้างขึ้น เพ่ือฝึกสิ่งที่จะสอนไม่ใช่ทดสอบว่านักเรียนเรียนรู้อะไรบ้าง ควรเกี่ยวข้องกับ โครงสร้างเฉพาะของสิง่ ที่สอนเรื่องเดียว เป็นสิ่งที่นักเรยี นพบเห็นอยู่แลว้ ข้อความท่ีนามาฝึกควรส้ัน กระตุ้น ใหเ้ กดิ การตอบสนองท่ีพึงปรารถนาและในแบบฝึกท่ีเกี่ยวกบั โครงสรา้ งของหลักภาษา ไมค่ วรใช้คาศัพท์มากนัก หรืออาจระบลุ ักษณะของแบบฝึกทักษะท่ีดเี ป็นข้อๆดงั นี้ 1. ควรมีความชัดเจนท้ังคาสั่งและวิธีทาคาสั่ง หรือตัวอย่างแสดงวิธีทาท่ีใช้ไม่ควรยาวเกินไป เพราะจะทาให้ เขา้ ใจยาก 2. ตรงตามจดุ มงุ่ หมายของการฝึก

- 13 - 3. ภาษาและภาพควรเหมาะสมกับวัย และพน้ื ฐานความรู้ของผ้เู รียน 4. ควรฝึกเป็นเรือ่ ง ๆ แตล่ ะเร่อื งไมค่ วรยาวเกนิ ไป มกี จิ กรรมหลายรปู แบบ เพ่ือเร้าความสนใจ 5. แบบฝกึ ต้องมีความถูกต้อง อย่าใหม้ ีข้อผดิ พลาด 6. การฝกึ แต่ละคร้ังต้องใหเ้ หมาะสมกับเวลา และเร้าความสนใจของผู้เรียน 7. การสร้างแบบฝึกควรมีหลาย ๆ แบบเพื่อเร้าให้ผู้เรียนเกิดความสนใจได้กว้างขวาง และ ส่งเสริมให้เกิด ความคดิ 8. ควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาได้ด้วยตนเอง ให้รู้จักค้นคว้า รวบรวมส่ิงท่ีพบเห็นบ่อย ๆ หรือส่ิงที่ตัวเอง เคยใช้ จะทาใหผ้ ู้เรียนเขา้ ใจเรอ่ื งน้ัน ๆ มากย่งิ ขน้ึ และสามารถนาความร้ไู ปใช้ 9. ควรจะเป็นแบบฝึกสาหรับเด็กเก่ง และในขณะเดียวกัน ก็เป็นแบบซ่อมเสริมสาหรับเด็กอ่อน สรุปได้ว่า แบบฝึกทักษะท่ีดีนั้นมีลักษณะใกล้เคียงกัน ซึ่งครูต้องศึกษาและนามาใช้ในการสร้าง เพ่ือให้ได้แบบฝึกทักษะ ที่ดเี มอ่ื นาไปใช้กบั ผเู้ รยี นแล้วจะก่อให้เกิดผลสาเรจ็ ได้เป็นอย่างดี 3.3 หลกั การสร้างและขั้นตอนการสร้างแบบฝึก หลักการสร้างแบบฝึก 1. ใช้หลกั จติ วิทยาการเรยี นรู้ของเดก็ แตล่ ะวยั เชน่ แบบฝกึ สาหรบั เดก็ เลก็ หรือระดบั อนุบาล และชน้ั ประถม ศกึ ษาปีที่ 1–2 เน้นภาพมากกวา่ คา เด็กวยั 9–11 ขวบ จะสนใจเรอื่ งราวเนอ้ื หาสาระประเภทสารคดเี ร่ืองราว จากตารา ตานาน คาบอกเล่ามากกวา่ นิทาน วัย 11 – 16 ปี ชอบอา่ นเรือ่ งยาว ๆ ตอ้ งเน้อื หาสาระมากกว่า รูปภาพ เปน็ ต้น 2. ใช้สานวนภาษางา่ ย ๆ โดยเฉพาะคาสง่ั ต้องกระชบั และชดั เจน ไม่ใชศ้ พั ท์ยากเกนิ ไป 3. ให้ความหมายต่อชวี ิต หมายถึง แบบฝึกน้ันมวี ตั ถปุ ระสงค์ที่ชัดเจนว่าต้องการใหผ้ ู้เรียนฝึกเพ่ืออะไรให้ข้อคิด คติธรรมอะไรแฝงอยู่ 4. ฝึกให้คิดได้เร็ว และสนุก ปกติหนังสือเรียนมักจะสร้างความจาเจ ทาให้ผู้เรียนเบื่อหน่ายได้ง่าย ดังนั้นแบบ ฝึกจะต้องแตกต่างไปจากหนงั สือเรยี น หรือแบบฝึกหัดในหนังสือเรยี น โดยเน้นให้ผเู้ รียนได้คิดให้เร็ว และสนุก โดยมเี กม หรือมกี ิจกรรมหลากหลาย 5. ปลุกความสนใจ ดว้ ยรูปภาพ และรูปแบบที่แปลก และแตกตา่ งจากทผ่ี ้เู รียนเคยเห็น 6. เหมาะสมกับวยั และความสามารถของนักเรียน แบบฝึกทดี่ ีไม่ควรมากเกนิ ไป ทาใหผ้ ู้เรียนเบื่อ และไม่สนใจ และไม่ควรมีกิจกรรมซา้ ๆ 7. อาจศกึ ษาดว้ ยตนเอง ตามลาพัง ข้ันตอนการสร้างแบบฝึก 1. วเิ คราะห์ปญั หา และสาเหตุการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน โดยอาศัยข้อมลู จาก

- 14 - 1.1 ปญั หาท่เี กดิ ขึ้นขณะทาการสอน 1.2 ปัญหาการผ่านจดุ ประสงค/์ ผลการเรยี นรทู้ ่ีคาดหวังของผู้เรียน 1.3 ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น 1.4 ผลจากการสงั เกตพฤติกรรมทไ่ี ม่พงึ ประสงค์ 2. ศกึ ษารายละเอยี ดของหลักสตู ร เพอ่ื วเิ คราะหเ์ นอ้ื หา จุดประสงค์ และกิจกรรม 3. พจิ ารณาแนวทางการแก้ปญั หาที่เกดิ ขึน้ จากข้อ 1 โดยการสร้างแบบฝึก และเลือกเนื้อหาในสว่ นทจี่ ะสร้าง แบบฝึกนน้ั วา่ จะทาเร่อื งใดบ้าง กาหนดเปน็ โครงเรอ่ื งไว้ 4. ศึกษารปู แบบของการสร้างแบบฝกึ จากเอกสารตวั อยา่ ง 5. ออกแบบชุดฝกึ แต่ละชุดให้มรี ูปแบบหลากหลาย น่าสนใจ 6. ลงมือสร้างแบบฝึกในแต่ละชุด พร้อมท้ังข้อทดสอบก่อนเรียน และหลังเรียน ให้สอดคล้องกับเน้ือหา และ จุดประสงค์การเรียนรู้ 7. สง่ ให้ผู้เชย่ี วชาญตรวจสอบ 8. นาไปทดลองใช้ แล้วบนั ทึกผลเพือ่ นามาปรับปรุงแก้ไขส่วนทีบ่ กพร่อง 9. ปรบั ปรุงจนมปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑท์ ตี่ ั้งไว้ 10. นาไปใช้จริง และเผยแพร่ตอ่ ไป 3.4 ข้อเสนอแนะในการสรา้ งแบบฝึก 1. ในแตล่ ะแบบฝกึ อาจมีเนอ้ื หาสรุปย่อ หรอื เปน็ หลกั เกณฑ์ไวใ้ หผ้ เู้ รยี นได้ศึกษาทบทวนกอ่ น 2. ต้องใหผ้ เู้ รียนศึกษาเน้ือหากอ่ นใชแ้ บบฝึก 3. ควรสรา้ งแบบฝกึ ใหค้ รอบคลุมเนอ้ื หา และจดุ ประสงค์ท่ีตอ้ งการ และไมย่ ากหรืองา่ ยเกินไป 4. คานึงถึงหลกั จติ วิทยาการเรยี นรขู้ องเด็กให้เหมาะสมกบั วุฒภิ าวะ และความแตกตา่ งของผู้เรยี น 5. ควรศกึ ษาแนวการสรา้ งแบบฝึกใหเ้ ขา้ ใจก่อนปฏบิ ัติการสร้างอาจนาหลักการของผูอ้ นื่ หรอื ทฤษฎีการเรียนรู้ ของนกั การศึกษา หรอื นกั จิตวทิ ยามาประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ หมาะสมกับเนื้อหา และสภาพการณ์ได้ 6. ควรมีคมู่ อื การใชแ้ บบฝกึ เพอื่ ให้ผู้สอนคนอนื่ นาไปใชไ้ ด้อยา่ งกวา้ งขวาง หากไมม่ ีคู่มือตอ้ งมคี าชี้แจงขั้นตอน การใช้ท่ชี ัดเจน แนบไปในแบบฝึกดว้ ย 7. การสรา้ งแบบฝกึ ควรพิจารณารปู แบบให้เหมาะสมกบั ธรรมชาตขิ องแตล่ ะเนื้อหาวชิ า 8. การออกแบบชุดฝึกควรมีความหลากหลาย ไม่ซ้าซาก ไม่ใช้รูปแบบเดียว เพราะจะทาให้ผู้เรียนเกิดความ เบื่อหน่าย ควรมีแบบฝึกหลาย ๆ แบบ เพ่ือฝึกให้ผู้เรียนได้เกิดทักษะอย่างกว้างขวาง และส่งเสริมความคิด สรา้ งสรรคอ์ กี ด้วย 9. การใชภ้ าพประกอบเปน็ ส่ิงสาคญั ทจี่ ะชว่ ยใหแ้ บบฝึกนัน้ น่าสนใจ

- 15 - 10. แบบฝึกตอ้ งมคี วามถูกต้อง อยา่ งใหม้ ีขอ้ ผิดพลาดโดยเด็ดขาด เพราะผู้เรียนจะจาในส่ิงท่ผี ิด ๆ ตลอดไป 3.5 การทดสอบประสิทธภิ าพของแบบฝกึ ทักษะ อรพรรณ พรสมี า (2530: 115-116) กลา่ วถึงข้นั ตอนการทดสอบประสทิ ธภิ าพมีดงั นี้ 1. การทดสอบเดยี่ ว คอื การทดลองใช้แบบฝกึ กบั นักเรยี นที่เปน็ ตัวแทนเรียนจากแบบฝึก 1:1 หมายความว่า ในการทดลองแต่ละคร้งั ประกอบด้วยผทู้ ดสอบ 1 คนและนกั เรียน 1คน 2. การทดสอบแบบกลุ่มเล็ก คือการทดลองใช้แบบฝึกที่ปรับปรุงแล้วจากขั้นที่ 1 กับนักเรียนทเ่ี ปน็ ตัวแทนของ ผู้ที่จะเรียนจากแบบฝึก 1:10 หมายความว่าในการทดลองแต่ละครั้ง ประกอบด้วยผู้ทดสอบ 1 คน และ นกั เรียนประมาณ 10 คน 3. การทดสอบภาคสนาม คือ การทดสอบข้ันสดุ ท้าย ของกระบวนการทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝึกการ ทดสอบในข้ันน้ีมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้สร้างม่ันใจได้ว่า แบบฝึกท่ีสร้างขึ้นมานั้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ท่ีกาหนดไว้ และสามารถนาไปใช้ในการฝึกได้ สรุปได้ว่า การทดสอบประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะมีความ จาเปน็ อยา่ งมากทีต่ ้องมีการนาแบบฝึกทักษะไปตรวจสอบคุณภาพ โดยการนาเอาแบบฝึกไปทดลองใช้กับกลุ่ม ตัวอย่าง แล้วนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ว่าแบบฝึกมีคุณภาพตามวัตถุประสงค์ หรือตรงตามเกณฑ์ท่ีกาหนดไว้ หรือไม่ 4. กระบวนการจัดการเรียนการสอน (Teaching Procedures) ตามแนวการสอนเพื่อการสื่อสารมีข้ันตอนใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนดงั น้ี 1. ขั้นเตรยี มความพร้อมหรือข้นั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น (Warm up) เปน็ กิจกรรมท่ีจัดข้นึ เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ รียนมีความพร้อม ที่จะเรียนเน้ือหาใหม่ อาจจะเป็นการทบทวนเนื้อหาที่เรียนมาแล้ว หรืออาจเป็นการนาเข้าสู่เน้ือหาท่ีกาลังจะ เรียนตอ่ ไป กิจกรรมที่ใชข้ น้ั ตอนน้อี าจเป็นเพลง เกม นิทาน การสนทนา หรือการแสดงตา่ งๆเปน็ ตน้ 2. ขั้นการนาเสนอ (Presentation) เป็นการใหต้ ัวป้อนภาษา (Language Input) แก่ผู้เรียน ท่ีเป็นตัวอย่าง ภาษาท่ใี ชใ้ นชีวติ จรงิ และตัวอย่างทคี่ รูผสู้ อนเลอื กใช้ในหอ้ งเรยี น ครผู ู้สอนแสดงบทบาทเป็นผูใ้ หข้ อ้ มลู (Information) และผเู้ รียนมีหน้าที่ในการฟังและสังเกต 3. ขน้ั ฝกึ (Practice) เปน็ การฝกึ ตัวภาษาในสถานการณเ์ ดียวกนั กับทค่ี รผู ู้สอนนาเสนอท่ขี ้นั นาเสนอ (Presentation) ทั้งน้ี เพอื่ เปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นได้ฝึกการใชภ้ าษาในสถานการณท์ เี่ หมือนจรงิ ครผู สู้ อนแสดง บทบาทเปน็ ผ้คู วบคุม (Conductor) ในการฝกึ ภาษาของผเู้ รียน และผูเ้ รียนมหี น้าท่ใี นการฝึกและมสี ่วนร่วมใน กิจกรรมการเรยี นการสอน 4. ข้นั นาไปใช้ (Production) ต้องออกแบบกิจกรรม เพ่อื ใหน้ กั เรยี นไดใ้ ช้ภาษาในการสื่อสารในสถานการณ์ เหมือนชีวิตจรงิ เปน็ สถานการณ์ใหม่ (New Situation) อาจคลา้ ยคลงึ กับสถานการณ์ทค่ี รูนาเสนอไปแลว้ ทง้ั น้ี เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ใช้ภาษาท่ีเขาได้เรียนรู้มาแล้ว ท้ังในส่วนที่ได้เรียนรู้ในช่ัวโมงก่อนๆและใน ช่ัวโมงที่

- 16 - กาลังเรียนอยู่ ครูผู้สอนแสดงบทบาทเป็นผู้ให้คาแนะนา (Advisor) คอยให้คาแนะนาและช่วยเหลือผู้เรียน ในการนาภาษาไปใช้ ผู้เรียนมีหน้าทใี่ นการผลติ ภาษา (Productive language use) 5. ขนั้ สรปุ (Wrap up) เปน็ กิจกรรมที่จัดข้ึนเพ่ือใหผ้ เู้ รยี นได้สรุปสาระสาคัญของบทเรยี น กิจกรรมท่จี ัดข้ึนใน ขั้นตอนน้ีอาจจะเป็น เพลง เกม การทาแบบฝึกหัดต่าง ๆ หรือการมอบหมายงานเป็นต้น (ภาษาอังกฤษ ภาคปฏบิ ตั ิสาหรบั ครปู ระถมศึกษา: 76) 5. สื่อการเรยี นการสอน การใช้ส่อื การสอนยอ่ มมีเทคนคิ ทีแ่ ตกตา่ งกันไปตามเง่อื นไขต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง เชน่ ลกั ษณะและ คุณสมบตั ขิ องสอ่ื แตล่ ะประเภท กลุ่มผเู้ รยี น ผูส้ อน สถานท่ี ความพร้อมของอปุ กรณแ์ ละเครอ่ื งมอื ประกอบ ตลอดจนสภาพแวดลอ้ มตา่ ง ๆ เปน็ ตน้ แตห่ ลักการสาคญั ทจ่ี ะต้องคานึงถงึ อยเู่ สมอก็คือ \"เง่อื นไขการเรียนร\"ู้ คนิ เดอร์ (James S. Kinder) ได้ใหข้ ้อเสนอแนะในการใชส้ ื่อการเรียนการสอนดงั ต่อไปนี้ 1. ไมม่ ีวิธีการสอนหรือวสั ดปุ ระกอบการสอนชนิดใดที่จะสามารถใช้กบั ผู้เรียนและบทเรียนท่วั ไปได้วธิ สี อนและ วัสดปุ ระกอบการสอนแต่ละประเภทย่อมมจี ุดมุ่งหมายเฉพาะของมันเอง 2. ในบทเรียนหนง่ึ ๆ ไม่ควรใชส้ ่ือการเรยี นการสอนมากเกนิ ไป ควรใชเ้ พยี งแต่เทา่ ท่ี จาเปน็ เท่านน้ั ในบางครั้ง กไ็ ม่ควรใชส้ ื่อเพียงอย่างเดยี วตลอด 3. สื่อการเรียนการสอนทีใ่ ช้ควรจะตอ้ งสอดคล้องกับบทเรียนและกระบวนการเรียนการสอน 4. สื่อการเรียนการสอนผู้สอน ควรทดสอบใช้ก่อน เพ่ือความแน่ใจว่าจะใช้ได้ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ นอกจากนน้ั ยังต้องจดั เตรียมอปุ กรณ์ และเครอื่ งมือประกอบให้พรอ้ มทกุ อย่างหลักเกณฑ์การเลือกสื่อการสอน Carlton W.H. Erickson นกั วิชาการทางดา้ นการใชส้ ื่อกล่าวถงึ เกณฑ์การเลือกสื่อการสอนดังน้ี 1. ส่อื การสอนมปี ระโยชน์ต่อหนว่ ยการสอนและมีกจิ กรรมในการแก้ปัญหาหรือให้ประสบการณ์เฉพาะหรือไม่ 2. เนื้อหาวิชาท่ีจะส่ือความหมายด้วยการใช้ส่ือการสอนนี้ เป็นประโยชน์ และสาคัญแก่นักศึกษาในชุมนุม และสังคมหรือไม่ 3. สือ่ การสอนมีความเหมาะสมกับจุดประสงคข์ องการสอนหรือเปา้ หมายของผ้เู รียนหรือไม่ 4. สื่อการสอนช่วยให้มีการตรวจสอบระดับความแตกต่างของจุดประสงค์ของการสอนในด้านเกี่ยวกับความรู้ ความเขา้ ใจทัศนคตแิ ละทักษะการฝกึ ปฏบิ ตั หิ รอื ไม่ 5. สือ่ การสอนชว่ ยให้นักศึกษาได้คดิ ตอบสนอง อภิปรายและศึกษาคน้ คว้าหรอื ไม่ 6. ส่ือการสอนไดช้ ว่ ยแก้ปญั หาในการเรียนเน้ือหาและชว่ ยเสริมกจิ กรรมนักศึกษาหรือไม่ 7. สอ่ื การสอนช่วยให้การเสนอแนวคิดมีความสมั พนั ธ์กนั หรือไม่ 8. สือ่ การสอนได้ช่วยในการเสนอเน้ือหาความรเู้ กีย่ วกับระดับอุณหภูมนิ ้าหนัก ความลึก ระยะทาง การกระทา กล่นิ เสียงสี ความมีชวี ิตและอารมณ์ไดด้ หี รือไม่

- 17 - 9. สอื่ การสอนมีความแนน่ อนและทนั สมัยหรือไม่ 10. สื่อการสอนสอดคล้องกับจดุ ประสงคข์ องการสอนท่พี งึ ปรารถนาไดห้ รือไม่ 11. สอ่ื การสอนชว่ ยใหแ้ สดงถึงรสนิยมยินดหี รอื ไม่ 12. สอ่ื การสอนสามารถใชใ้ นหอ้ งเรียนธรรมดาไดห้ รือไม่ 13. ความรู้ในเนือ้ หาในส่อื การสอนมีตวั อยา่ งมากพอหรอื ไม่ เทคนคิ ในการจัดทาส่ือการเรียนการสอน 1. ในการผลิตส่อื การสอนควรเนน้ ในเรอ่ื งความประหยดั และใหเ้ กิดประโยชน์ในการพัฒนาการเรยี นการสอน (ทาจรงิ – ใช้จรงิ – มีประโยชนต์ ่อนกั เรียนจรงิ ) 2. ต้องมคี ู่มอื ในการใชส้ ่อื และสง่ิ ประดิษฐท์ ่สี ามารถให้รายละเอียดในเรือ่ งตา่ งๆ - จดุ ประสงคใ์ นการสร้างสอ่ื - วัสดุอปุ กรณ์และค่าใชจ้ ่าย - รูปแบบที่ตน้ แบบ - วิธีการทา / ผลิต / ประดิษฐ์ - การทดลองใช/้ การปรบั ปรุงแกไ้ ข - ประโยชน/์ การนาไปใช้ - คณุ ภาพ / ประสทิ ธภิ าพ - หลกั ฐานการนาไปใช้ 6. งานวิจัยทเี่ กย่ี วข้อง สรุ างค์ สายอดุ ม (2541) ไดศ้ กึ ษาการใชแ้ บบฝกึ ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ สาหรบั นกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ปีท่ี 3 ผลการวิจัยพบว่า นกั เรยี นมคี วามสามารถในการเขียนสูงขึ้นเป็นท่ีน่าพอใจ และมคี วามรคู้ วามเข้าใจ ในโครงสร้างทางไวยากรณ์มากขึ้น ส่งผลให้สัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาอังกฤษหลังใช้แบบฝึกทักษะการเขียน สูงข้ึนกว่าก่อนการทดลองใช้แบบฝึก จินตนา เกิดสายทอง (2536) ได้ศึกษาการใช้ชุดฝึกทักษะการเขียน ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ผลการวิจัยปรากฏว่า นักเรียนมีความรู้ความสามารถใน ด้านการเขียนสูงขึ้นเป็นที่น่าพอใจและเข้าใจในโครงสร้างหลักของภาษาได้ดีย่ิงข้ึน มีคะแนน เฉล่ียะสูงขึ้น และนักเรียนให้ความสนใจในการทาแบบฝกึ ชุดต่อไป ทิพวรรณ นามแก้ว (2535) ได้ศึกษาการใช้แบบฝึกเสรมิ ทักษะการเขียนเพื่อพัฒนาทักษะทางไวยากรณ์สาหรับนักเรียนชาวเผ่ากะเหร่ียง ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 ผลการวิจัยพบว่านักเรียนให้ความสนใจใน แบบฝึกท่ีมีภาพประกอบ มีกิจกรรมการเรียนการสอนท่ี สนกุ สนาน สอดแทรกให้นักเรียนเกดิ ความสนใจและต้ังใจในการทาแบบฝึกหดั และนักเรยี นมีความสามารถใน การเขียนคาและทางไวยากรณ์มากข้ึน สุภาวดี คาฝึกฝน (2550) ได้ศึกษาการพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียน

- 18 - เรียงความของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4/1 จากการทดลองพบว่า นักเรียนท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึก ทักษะการเขยี นเรยี งความมีความสามารถในการเขียนเรียงความสูงกวา่ ก่อนการทดลองเนื่องจากแบบฝกึ ทักษะ การเขียนเรียงความ ท่ีผู้วิจัยสร้างข้ึน อาศัยหลักจิตวิทยาการจูงใจผู้เรียนโดยเนื้อหาเรียงตามลาดับจากง่ายไป หายาก แต่ละแบบฝึกมีความยากง่ายพอเหมาะ ทาใหน้ ักเรยี นมีกาลงั ใจในการทาแบบฝึก ประนอม เพ็ชรดี (2550) ได้ศึกษาการพฒั นาแบบฝกึ ทกั ษะการเขยี นภาษาองั กฤษ สาหรบั นักเรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ผล การศึกษาพบว่า แบบฝึกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 นักเรียนที่เรียนโดยใช้แบบฝึก ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษา ปีท่ี 4 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนก่อนและหลังการใช้แบบฝึก ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 แตกต่างกัน โดยผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนหลังการใช้แบบ ฝึกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 สูงกว่าก่อนการใช้ และนักเรียนท่ีเรียนโดยใช้แบบฝึก ทักษะการเขียนภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีความพึงพอใจแบบฝึกทกั ษะการเขียนภาษาอังกฤษ ช้ัน ประถมศกึ ปี 4 อยู่ในระดับดีมาก การวิจยั ในคร้งั นี้ ได้ศึกษาคน้ ควา้ เอกสาร และงานวิจยั ทีเ่ กย่ี วข้องกบั การพัฒนาความสามารถในการส่ือสาร การส่อื สารด้านการพดู ภาษาองั กฤษ โดยการใช้อกสารและงานวิจยั ทเี่ กย่ี วข้องดงั ต่อไปน้ัน 1. เอกสารเกย่ี วกบั การพดู เพ่ือการส่ือสาร 1.1 ความหมายของการพดู เพ่ือการสื่อสาร 1.2 ความสามารถในการพูดเพ่ือการสื่อสาร 1.3 การวดั และประเมินผลความสามารถในการพดู เพื่อการสือ่ สาร 1.3.1 วธิ กี ารทดสอบความสามารถด้านการพดู 1.3.2 เกณฑ์การประเมนิ ความสามารถดา้ นการพูด 2. งานวจิ ยั ทเี่ กี่ยวกบั การใช้กิจกรรมการพดู เพ่ือการส่อื สาร 2.1แนวคดิ ในการจัดกจิ กรรมการพดู เพอ่ื การสื่อสาร 2.2 หลกั การจดั กิจกรรมการพดู เพ่ือการสื่อสาร 3. งานวิจัยที่เก่ียวข้องกับการใช้กจิ กรรมการพูดเพ่ือการส่ือสารในการสอบทักษะการพูดเพ่อื การสอ่ื สาร 3.1 งานวิจัยในประเทศ 3.2 งานวิจยั ในตา่ งประเทศ 2.1 เอกสารเก่ียวกบั การพดู เพ่อื การส่อื สาร 1. ความหมายของการพูดเพอ่ื การสอ่ื สาร การพดู เป็นทักษะทจ่ี าเป็นอยา่ งยิ่งในการเรียนภาษาเพื่อการส่ือสาร ผู้พดู จะตอ้ งใชค้ วามสามารถทางดา้ นภาษา หลายดา้ นประกอบกัน เพือ่ ใหผ้ ู้ฟงั เข้าใจโดยจะต้องถา่ ยทอดความรู้สกึ นึกคิดของผู้พูด ท่ีจะพดู ให้ผู้ ฟงั สามารถ

- 19 - ฟงั เข้าใจผพู้ ูดทด่ี ีจะต้องพูดให้เหมาะสมกับโอกาสและสถานการณ์ต่างๆ และมีความคล่องแคลว่ ในการพดู โดย การเลือกใช้คาพดู ท่ถี กู ตอ้ ง สมุ ติ รา อังวฒั นกลุ (2540 หน้า 167) กลา่ วว่าการพดู เป็นการถา่ ยทอดความ รสู้ กึ นกึ คดิ ความเขา้ ใจใหผ้ ู้ฟ้งได้รบั รู้และเขา้ ใจจดุ ม่งุ หมายของผู้พดู โดยใช้กลวธิ ใี นการพดู ทท่ี าให้การสือ่ สารมี ประสิทธภิ าพ6 อวยชัย ผกามาศ (2542 หน้า 1-2) กล่าวถึงความหมายของการพูดไว้ว่าการพูดคือการส่ือสารทางความคิด ประสบการณ์และความต้องการของผู้พูดไปสู่ผู้ฟัง เพ่ือส่ือความหมายให้ผู้ฟังเกิดความ เข้าใจโดยใช้น้าเสียง ภาษาและกริยาท่าทาง ได้อย่างถูกต้องตามจรรยามารยาท และประเพณีนิยมของสังคมให้ผู้ฟังรับรู้และได้รับ การตอบสนองสรุปได้ด้วยการพดู หมายถงึ การใช้ความสามารถทางด้านภาษารวมถึงท่าทางความรู้สึกนึกคิดท่ี จะถ่ายทอดให้ผู้ฟังเข้าใจ โดยมจี ดุ มงุ่ หมายท่สี าคัญ คือเพ่ือแลกเปล่ยี นข่าวสารข้อ มลู ระหว่างบุคคลตงั้ แตส่ อง คนขน้ึ ไป การพดู ท่มี ปี ระสทิ ธภิ าพนน้ั ผู้จะต้องเลือกใชถ้ ้อยคา นา้ เสียง รวมถึงอากปั กริยาในการพูด (Non- Verbal Language) เพื่อประกอบการพดู ใหส้ อดคล้องไดอ้ ยา่ งเหมาะสมถูกตอ้ งกับโอกาส และวฒั นธรรม ตลอดจนประเพณนี ิยมของสังคม 2. ความสามารถในการพดู เพือ่ การส่ือสารจดุ มุ่งหมายของการสอนภาษาในการพูดเพ่ือการสอ่ื สารนน้ั คอื ให้ ผเู้ รยี นมคี วามรู้ความสามารถในการใชภ้ าษาเพ่ือการส่ือความหมายได้อยา่ งถกู ต้อง และเหมาะสมกบั กาลเทศะ ดงั เชน่ Bartz (1989: 18-82)กลา่ วถงึ องคป์ ระกอบของความสามารถในการพดู เพ่อื การสอื่ สารคอื 1.ความคลอ่ งแคล่ว(Fluency)และมคี วามเขา้ ใจธรรมชาตใิ นการพูด 2. ความเข้าใจ (Comprehensibility)คือความสามารถที่จะพูดให้ผูอ้ ื่นเข้าใจในส่ิงที่ผู้พดู ส่ือสารออกมาCanale และ Swain (1980: 147)กลา่ ววา่ ความสามารถในการออกเสียง (Pronunciation) คาศัพท์ (Vocabulary) และหลกั ภาษาและไวยากรณ์ (Grammar) เปน็ สง่ิ สาคัญ ทจี่ ะทาให้ผูฟ้ ังสามารถ เข้าใจขอ้ ความทีใ่ ชใ้ นการสอื่ สารได้อย่างมีคุณภาพ (Quality of communication) องคป์ ระกอบเหลา่ นน้ั จะ ทาให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างประโยค ที่เชื่อมโยงกันจะทาให้การสนทนาเป็นไปอย่างต่อเนื่อง จะต้องมี ความสามารถดังต่อไปน้ี 1. ความสามารถด้านไวยากรณ์ (Grammatical Competence) ความสามารถในด้านนั้นมิได้ เพียงแต่ ความสามารถในการเข้าใจ และใช้ไวยากรณ์เท่านั้น จะต้องมีความสามารถในองค์ประกอบทั้งหมดทางด้าน ภาษาคอื เสียงคาศัพท์และไวยากรณเ์ นื่องจากผู้พดู จะสามารถเลือกใชถ้ ้อยคา ในการพูด เพอื่ การสอ่ื สารไดอ้ ย่าง ถูกต้องและตรงกบั ความตอ้ งการ 2. ความสามารถดา้ นภาษาศาสตร์สังคม (Sociolinguistic Competence) ผพู้ ดู สามารถเลือกแบบของภาษา ให้สัมพันธ์กับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม อีกท้ังสามารถพูดสนทนาเพื่อสร้าง ความสัมพันธ์ทางสังคม

- 20 - ตลอดจนจุดประสงค์ในการส่งสาร ผู้มีความสามารถทางด้านน้นั จะสามารถใชภ้ าษาที่แตกตา่ งไปตามประเภท ของการพดู เชน่ การอภปิ รายการเสนอความคิด หรอื การโตวาที เปน็ ต้น 3. ความสามารถในการใช้ความสมั พันธ์ของข้อความหรือการเชื่อมประโยค (Discourse Competence) ตาม หลักภาษา หากผู้พูดมีความสามารถทางด้านนั้นจะทา ให้ผู้พูดสามารถใชภ้ าษาในการสนทนาลา ดับก่อน-หลงั และสานวนที่ผู้พูดใช้ เพื่อแสดงความคิดเห็นมีความเชอ่ื มโยงสัมพันธ์กัน จึงทาให้การสนทนาดาเนินไปได้อยา่ ง ราบรนื่ 4. ความสามารถด้านกลวิธีในการส่ือสาร (Strategic Competence) ในการพูดได้อย่างมีประสิทธิภาพน้ัน ผ้พู ูดจะตอ้ งมีกลวิธีในการสื่อสาร จึงจะทาให้ผู้พดู เพ่มิ ศักยภาพทางการพูดเพ่ือการส่ือสารอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ถึงแม้ว่าผู้พูดมีความรู้ทางด้านไวยากรณ์ไม่ดีพอ หากใช้กลวิธีในการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ก็จะทาให้ผู้พูด สามารถดาเนินการสนทนาสื่อสารกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี Carrall (1982: 135) ได้จัดลา ดับความสามารถของ ทักษะทางการพดู ไว้ 9 ระดบั ดังนีค้ ือ ระดบั ท่ี 1 หมายถึง ระดับท่ีผู้พูด ไม่สามารถเขา้ ใจหรอื พูด ไมไ่ ดเ้ ลย (Non-User) ระดบั ที่ 2 หมายถงึ ระดับท่ีผู้ใช้ภาษาไดเ้ ล็กน้อย (Intermittent User) ระดับท่ี 3 หมายถึง ระดับท่ีผู้ใช้ภาษาได้ในวงจากัด ผู้พูดเกิดความผิดพลาดบ่อยๆ เข้าใจบทสนทนาและรู้ราย ละเอียดบางสว่ น ไมส่ ามารถจบั รายละเอยี ดไดจ้ บั ได้แต่ใจความสาคญั เท่านน้ั (Extremely Limited User) ระดบั ท่ี 4 หมายถงึ ระดบั ท่ผี พู้ ดู ใชภ้ าษาเกือบดี สามารถสนทนาโตต้ อบได้แต่ไม่คล่องแคลว่ ไมส่ ามารถนาการ สนทนา หรือ อภปิ รายได้อย่างรวดเรว็ จงึ ทาให้การสนทนาขาดความตอ่ เนื่อง (Marginal User) ระดบั ที่ 5 หมายถงึ ระดบั ท่ผี ูพ้ ดู ใชภ้ าษาได้ปานกลาง สามารถสื่อความหมายใจความหลัก แตย่ งั มขี อ้ ผดิ พลาด ในการใช้ไวยากรณ์จึงทาให้การส่ือสารไม่ชัดเจน ขาดความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา และท่าทางประกอบ การพดู (Modest User) ระดับท่ี 6 หมายถึง ระดบั ท่ีผ้พู ูดใชภ้ าษาได้สามารถคยุ ในหัวข้อท่ตี ้องการและปะตดิ ปะต่อเรือ่ งราวที่พูดได้หรือ เปล่ียนหัวข้อที่พูดได้มีการหยุดพูด หรือพูดไม่ต่อเนื่องในการสนทนาเป็นบางครั้ง แต่ก็สามารถเริ่มต้นการ สนทนาใหม่ได้ (Competence User) ระดบั ที่ 7 หมายถงึ ระดบั ทผ่ี ูพ้ ูดน้ันใชภ้ าษาสามารถเล่าเร่ืองราวต่างๆ ได้อยา่ งชัดเจน มกี ารเกบ็ รายละเอียด มเี หตผุ ล สามารถสนทนาได้เป็นเร่ืองราวแต่ยังขาดความคล่องแคลว่ มีความสามารถในการติดตามการสนทนา เมอื่ เกิดการเปลี่ยนแปลงอารมณส์ ่วนน้าเสยี งยงั ขาดความม่ันใจ มกี ารพูดซา้ ขอ้ ความแต่สามารถโตต้ อบได้อย่าง มีประสทิ ธิภาพ (Good User) ระดับที่ 8 หมายถึง ผพู้ ดู ใช้ภาษาไดด้ ีมาก สามารถพูดหรอื อภปิ รายอยา่ งมีประสิทธภิ าพสามารถนาการสนทนา และดาเนนิ การสนทนาไดอ้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง ตลอดจนมอี ารมณร์ ว่ มในการโตต้ อบ

- 21 - และใช้กรยิ าท่าทางได้อยา่ งเหมาะสม (Excellent User) ระดับที่ 9 หมายถึงผพู้ ดใชภ้ าษาไดอ้ ย่างเชย่ี วชาญ สามารถพดู ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ สามารถดาเนนิ การ สนทนาไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ขยายความได้ ตลอดจนสามารถพดู ได้ใจความสาคญั (Expert User) สรปุ ว่าความ สามารถในการพดู ประกอบดว้ ยการเลือกใช้คา ในประโยคให้เหมาะสมกบั สถานะทางสังคมของผู้พูดและผู้ฟัง มีความคล่องแคล่ว มีความตั้งใจในการส่ือสาร ตลอดจนมีกลวิธีการเลือกกลวิธีในการส่ือสาร เพ่ือแก้ไขข้อบก พร่องทางการสอื่ สาร ซงึ่ นบั วา่ เป็นส่วนสาคัญในการพูดเพื่อการสอื่ สารทผ่ี ู้พดู สามารถใช้ภาษาในการส่ือสารให้ ผูฟ้ งั เกดิ ความเข้าใจตรงกบั สง่ิ ทีผ่ ูพ้ ดู ตอ้ งการสื่อได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 3. การวัดและประเมินความสามารถในการพดู เพ่ือการสื่อสาร 3.1 วิธกี ารทดสอบความสามารถดา้ นการพดู การทดสอบความสามารถด้านการพูดเพื่อการสื่อสารเน้น Finocehiaro และ Sango (1983: 139-143)ได้เสนอวิธีการทดสอบความสามารถทางด้านการพูด ไว้ดังต่อไปน้ี 1. พูดประโยคสน้ั ๆ ตามผู้สอน หรอื ตามท่ีได้ยนิ จากเครอื่ งบนั ทึกเสยี ง 2. ให้อ่านออกเสยี งประโยคต่างๆ 3. ให้บรรยายถงึ วตั ถุ วัตถทุ ใี่ ช้บรรยายนั้นเพ่อื ใชย้ กระดบั ของผเู้ รียน ผูเ้ รยี นอาจพดู ถงึ ข้อมูลอื่นๆ ของวัตถุแต่ มขี ้อหา้ มไมใ่ หบ้ อกชื่อวตั ถหุ รือส่งิ ทเ่ี ห็น โดยใหผ้ ฟู้ ังเป็นผ้เู ดาว่าสิ่งท่ีผู้พูดกล่าวถึงน้ันคืออะไร และ ยังสามารถ บรรยายภาพบคุ คล สถานท่ีหรือส่ิงของอื่นๆ ได้ 4. ใหบ้ รรยายเหตุการณโ์ ดยใชภ้ าพประกอบ 5. ใหพ้ ูดตามหวั ข้อท่ีกาหนดโดยมีการกาหนดไวห้ ลายหวั ข้อ และใหผ้ ู้เรยี นเลือกหัวข้อได้ตามท่ีต้องการ 6. ใหผ้ เู้ รียนแสดงเป็นผสู้ ัมภาษณ์ โดยให้หาขอ้ มลู ใหไ้ ด้มากที่สดุ จากผถู้ ูกสมั ภาษณ์ แลว้ ทาการจดบนั ทึกไว้ การทดสอบความสามารถด้านการพูดเพื่อการส่ือสารน้ัน สามารถทาได้หลายวิธีเช่นการสัมภาษณ์การบรรยาย การเล่าเรื่องการโต้วาทีหรือการแสดงบทบาทจากสถานการณ์ต่างๆ ท่ีกาหนดให้จากวิธีการต่างๆ เหล่านั้น ผู้สอนจะต้องเป็นผู้เลือกการทดสอบ ท่ีเหมาะสมกับระดับความสามารถของผู้เรียน เพื่อให้สอดคล้องกับ แนวทางการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนของผ้สู อน สาหรับการวิจยั ในครั้งน้ี ผวู้ ิจยั เลอื กทดสอบความสามารถในการพูด เพอื่ การสื่อสารจากแบบฝึกการสนทนา ภาษาอังกฤษ 3.2 เกณฑ์การประเมินความสามารถด้านการพูด การประเมินความสามารถในการพดู ภาษาอังกฤษ เพ่อื การสอื่ สารตอ้ งคานึงถงึ องค์ประกอบความสามารถด้าน การพูดเพื่อวัดความรู้ความสามารถของผู้เรียนในหลายๆ ด้าน เช่น การพูด การออกเสียง ไวยากรณ์คาศัพท์ ความเขา้ ใจ และความคล่องแคล่วในการใช้ภาษา ซ่ึงสามารถทาไดห้ ลายวิธี โดยสามารถดาเนินการได้ตงั้ แต่ขั้น

- 22 - ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน โดยให้สอดคล้องกับเน้ือหาสาระท่ีผู้เรียนได้เรียนมาแล้ว ดังนั้น ผู้เชี่ยวชาญหลายท่าน ได้ใช้องค์ประกอบดังกล่าวข้างต้น มาใช้เป็นเกณฑ์การประเมินวัดความสามารถ โดย แบ่งเป็นระดับดังเช่น Clark (1972) กล่าวถึง ระบบการให้คะแนนวัดความสามารถโดยแบ่งออกเป็น 4 ระดับ เรมิ่ จากระดบั ท่ี 1 จนถงึ ระดบั ที่ 4 โดยแบง่ เปน็ หัวขอ้ ดงั ตอ่ ไปนี้ การออกเสยี ง (Pronunciation) ระดับที่ 1 ยงั พูดและโต้ตอบการสนทนาไม่ได้ ระดับท่ี 2 ออกเสียงผิดบอ่ ยมากและฟงั ไม่เข้าใจ ระดับที่ 3 ออกเสียงผดิ เปน็ บางครง้ั ระดบั ท่ี 4 ออกเสยี งถูกต้องพูดได้ คาศัพท์ (Vocabulary) ระดบั ที่ 1 ใชค้ าศัพทผ์ ิดและโต้ตอบการสนทนาไม่ได้ ระดบั ที่ 2 ใช้คาศัพท์ผิดบอ่ ยมากแต่ใชถ้ กู ต้องในสถานการณ์ตา่ งๆ ได้ ระดบั ที่ 3 สอื่ ความหมายได้เป็นส่วนใหญเ่ ลือกใช้คาศพั ทไ์ ด้อยา่ งเหมาะสม ระดบั ท่ี 4 สือ่ ความหมายได้และใชค้ าศัพท์ไดอ้ ย่างเหมาะสมกบั สถานการณ์ ไวยากรณ์ (Grammar) ระดับที่ 1 ใช้โครงสรา้ งไวยากรณผ์ ิดไม่สามารถส่ือสารได้ ระดับท่ี 2 ใช้ไวยากรณ์เบ้ืองต้นผดิ วลีถูกต้องบ้าง ระดับท่ี 3 ใชโ้ ครงสร้างทางไวยากรณ์ได้อยา่ งถูกตอ้ ง มีข้อผิดพลาดเล็กน้อย ระดับที 4 ไมม่ ีข้อผดิ พลาดทั้งในการเลอื กใชค้ าศัพท์และโครงสร้างทางภาษา ความคลอ่ งแคล่ว (Fluency) ระดบั ท่ี 1 พูดแล้วหยุดคดิ นาน พูดไม่ตอ่ เนื่อง โต้ตอบการสนทนาไม่ได้ ระดบั ท่ี 2 โต้ตอบสนทนาไม่ไดแ้ ต่พยายามพูดต่อโดยการเริ่มตน้ ใหม่ ระดับที่ 3 พูดตอ่ เน่อื ง ราบรน่ื เป็นธรรมชาติแตก่ ม็ ีสะดดุ เป็นบางครง้ั ระดับท่ี 4 พูดต่อเน่ืองราบร่ืนเป็นธรรมชาติ มีความคล่องแคล่วต่อเนื่องในการสนทนาหยุด ได้ถูกจังหวะ เช่นเดียวกบั เจ้าของภาษา Harris (1990:84) กล่าวถงึ เกณฑ์การประเมนิ ผลความสามารถในการพูดโดยแบง่ เกณฑ์การใหค้ ะแนน 5 อยา่ ง คือการออกเสียง ไวยากรณ์คาศพั ทค์ วามคล่องแคล่วในการใช้ภาษา และความเขา้ ใจโดยแตล่ ะเกณฑ์มีหลักการ ประเมินผล 5 ระดบั ดังนี้ 1. การออกเสยี ง (Pronunciation)

- 23 - ระดับที่ 1 มปี ัญหาทางการออกเสียงมาก จงึ ทาให้ไมส่ ามารถเขา้ ใจในสิ่งทพี่ ูดไดเ้ ลย ระดบั ท่ี 2 มีปัญหาในการออกเสียงมากยากแก่การทาความเขา้ ใจในคาพูดไดผ้ ้ฟู ังจะต้องถามซา้ ระดับที่ 3 มีปัญหาในการออกเสียงน้อย ผู้ฟังจะต้องต้ังใจฟัง จึงจะสามารถเข้าใจได้ มีการออกเสียงผิดทา ให้ผู้ฟงั สบั สนในบางครัง้ ระดับท่ี 4 ผู้พูดออกเสียงได้ดังแต่ก็มีปัญหาในการออกเสียงอยู่บ้าง แต่ผู้ฟังสามารถฟังเข้าใจในส่ิงที่ผู้พูด ตอ้ งการส่ือสาร ระดบั ท่ี 5 ผพู้ ูดสามารถออกเสียงไดเ้ ทยี บเทา่ กับเจ้าของภาษา 2. ไวยากรณ์ (Grammar) ระดบั ที่ 1 ผพู้ ดู ไม่สามารถสอ่ื ความหมายให้เขา้ ใจไดเ้ นื่องจากใชไ้ วยากรณผ์ ดิ และเรียงลาดับคาไมถ่ กู ตอ้ ง ระดบั ท่ี 2 ผู้พดู ใช้ไวยากรณ์ง่ายๆ ไดแ้ ต่มักจะใช้ไวยากรณ์และการเรยี งลาดับคาผดิ บ่อยๆ ทาให้ฟงั เข้าใจยาก ระดับท่ี 3 ผพู้ ูดใช้ไวยากรณผ์ ิดบอ่ ยครง้ั จนทาให้เข้าใจความหมายของประโยคที่พดู ผดิ ไป ระดับที่ 4 ผพู้ ดู ใชไ้ วยากรณ์ผดิ อยบู่ า้ งแต่สอื่ ความหมายได้ถูกต้อง ระดับท่ี 5 ผู้พูดใช้ไวยากรณ์ตลอดจนเรียงลาดับคาโดยมีข้อผิดพลาดน้อยมาก และสามารถแก้ไขข้อบกพร่อง ใหม่ได้อยา่ งถกู ตอ้ ง 3. คาศัพท์ (Vocabulary) ระดบั ที่ 1 ผู้พดู ไมส่ ามารถสื่อความหมายไดเ้ พราะไม่มีความร้ดู า้ นคาศัพท์ ระดับที่ 2 ผู้พูดใช้คาศัพท์ผิดเนื่องจากมีความรู้ด้านคาศัพท์อย่างจากัดทาให้ยากแก่การทาความเข้าใจความ หมายของประโยคทพี่ ดู ระยะท่ี 3 ผพู้ ดู ใชค้ าศพั ทผ์ ดิ ในประโยคที่ใช้ในการสนทนา เนือ่ งจากผู้พดู มีปัญหาในการคิดหาคาศัพท์มาใช้ใน การสอ่ื สาร ระยะที่ 4 ผพู้ ูดใช้คา ศพั ทไ์ ม่ถูกต้องและไมเ่ หมาะสมกบั สถานการณ์เป็นบางครัง้ ระยะท่ี 5 ผู้พูดมีความสามารถในการใช้คาศัพท์วลแี ละสานวนไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่วเทียบเท่าเจา้ ของภาษา 4. ความคลอ่ งแคลว่ ในการใช้ภาษา (Fluency) ระดบั ท่ี 1 ผพู้ ดู มกี ารหยุดเว้นช่องในการสนทนาเป็นเวลานานมาก จึงทาให้การสนทนาไม่รเู้ รอื่ ง ระดับที่ 2 ผู้พูดมีการหยดุ เวน้ ช่องในการสนทนา บ่อยครั้งเพราะมีความรูจ้ ากัดในการใช้ภาษา ระดับท่ี 3 ผู้พูดมคี วามคล่องแคล่วในการพูดไม่มากนัก เนือ่ งจากตดิ ขัดเร่ืองการใช้ภาษา ระดับที่ 4 ผู้พูดมคี วามเรว็ และความคล่องแคลว่ ในการพดู แต่มกี ารสะดดุ เป็นบางคร้ัง ระดบั ท่ี 5 ผพู้ ดู มีความสามารถในการพูดอยา่ งคล่องแคล่วเทียบเท่าเจา้ ของภาษา 5. ความเข้าใจ (Comprehension)

- 24 - ระดับท่ี 1 ผู้ฟังไม่สามารถเข้าใจในส่ิงท่ีผู้พูดส่ือสาร ผู้พูดไม่สามารถพูดภาษาอังกฤษ เพ่ือสื่อความหมายให้ เข้าใจได้ ระดับท่ี 2 ผพู้ ูดตดิ ขัดในการพดู มักจะพูดซ้าๆ เน่ืองจากใช้เวลาในการหาคาพูด ระดับท่ี 3 ผพู้ ูดเขา้ ใจในส่ิงที่ตนพูดและพูดสนทนาไดเ้ ปน็ สว่ นมากแต่คอ่ นขา้ งช้า ระดบั ท่ี 4 ผูพ้ ูดสามารถพูดให้ผ้ฟู งั เขา้ ใจไดค้ รบถ้วน แตม่ ีการพดู ข้อความซ้าเปน็ บางคร้ัง ระดบั ที่ 5 ผู้พดู สามารถสื่อสารใหผ้ ฟู้ งั เขา้ ใจได้ทง้ั หมดโดยไมม่ ีปัญหา สรุปได้ว่า จากข้อมูลดังกล่าวส่ิงที่ใช้ในการประเมินระดับภาษาท่ีใช้ทักษะการพูดเพื่อการสื่อสาร สามารถ ประเมินได้จากการออกเสียงได้อย่างเหมาะสม การเลือกใช้คาศัพท์ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์การใช้ ไวยากรณไ์ ด้อยา่ งถูกต้อง มคี วามคลอ่ งแคล่วในการพดู และเกดิ ความเข้าใจในการส่ือสาร ระหว่างผู้พดู และผู้ฟัง ในการวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยได้ศึกษาเกณฑ์การประเมินผลความสามารถในการพูดของ Harris มาปรับใช้เพื่อให้ เหมาะสมกับการพัฒนาความสามารถในการพดู ภาษาองั กฤษโดยการใชแ้ บบฝึกบทสนทนาภาษาอังกฤษ

- 25 - บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การวิจยั ในการวิจัยเร่ือง การใช้ชุดการเรียนรู้และชุดแบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ไวยากรณ์ ภาษาองั กฤษ สาหรบั นักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1/7 ผ้วู จิ ัยไดด้ าเนินการตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง 2. เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 3. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 4. การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 5. สถติ ิท่ใี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล 3.1 ประชากร/กลุม่ ตวั อย่าง 3.1 ประชากร/กลมุ่ ตัวอย่าง 3.1.1 ประชากรในการวิจัยคร้ังน้ี ได้แก่ นักเรยี นโรงเรยี นมธั ยมวัดสงิ ห์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 45 คน 3.1.2 กลมุ่ ตวั อย่างทใี่ ช้ในการวิจัยครง้ั น้ี ไดแ้ ก่ นกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1/7 โรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 จานวน 45 คน ได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย โดยมีการเลือกสุ่ม ตัวอยา่ งดังนี้ 1) เปน็ หอ้ งเรยี นท่ผี ู้วจิ ยั ได้รับความรว่ มมือในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเปน็ อย่างดี 2) เปน็ ห้องเรยี นทเ่ี หมาะสมสาหรับการวจิ ยั 3.2 เคร่อื งมือทใ่ี ชใ้ นการวิจัย 3.2.1 เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการวิจยั ประกอบดว้ ย 1. แบบทดสอบกอ่ น - หลังเรยี น 2. ใบความร้เู รอ่ื ง Present simple tense 3. ชดุ แบบฝกึ ทักษะเรอ่ื ง Present Simple tense

- 26 - 4. การฝึกพูดและเขียนประโยค Present Simple Tense คนละ 1 ประโยค กอ่ นเข้าสู่บทเรียน หรอื หลงั จากจบบทเรยี นในชว่ั โมงนัน้ ๆ 3.2.2 การสร้างและหาคณุ ภาพเครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการวจิ ัย 1. ศกึ ษาเอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง ไดแ้ ก่ หลกั สูตร เอกสารการสร้างแบบทดสอบ 2. ศกึ ษาคมู่ อื ครู และเนื้อหาท่ีจัดการเรียนการสอนในวชิ าภาษาองั กฤษพ้ืนฐาน ระดับช้ันม. 1 3. ศึกษาแนวทางการสรา้ งแผนการจดั การเรยี นรู้ 4. เขยี นแผนการจัดการเรยี นรู้ 5.สร้างชุดการเรยี นรู้ ชุดแบบฝกึ ทักษะเรื่อง Present Simple Tense 3.3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 1. ทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น (Pre-Test) โดยใชแ้ บบทดสอบ 4 ตัวเลอื ก จานวน 20 ข้อ 2. ดาเนินการสอนเพ่มิ เตมิ ตามแผนการเรยี นรู้ 3. ให้นักเรยี นฝกึ พูดหรือเขียนประโยค Present Simple Tense ในชวั่ เรียนทกุ คาบ 4. ทาขอ้ สอบหลังเรยี น Post test 3.4 การวเิ คราะห์ข้อมลู 1. วเิ คราะห์คะแนนการทดสอบก่อนและหลังฝกึ 2. วิเคราะหค์ ะแนนการทาแบบฝึกหัด สถติ ิท่ีใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู 1. คา่ เฉล่ยี 2. รอ้ ยละ

- 27 - บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู การวิจยั ครงั้ น้ีเปน็ การวจิ ัยโดยการสอนการใช้หลักไวยากรณท์ ่ีถูกต้องโดยใชช้ ดุ การเรียนรแู้ ละชุดแบบ ฝึกทักษะที่ประกอบไปด้วยประโยค Present Simple Tense สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 มี จุดมุ่งหมายเพื่อ 1)สร้างแบบฝึกทักษะการเรียนและการเขียนข้อความที่ประกอบไปด้วยประโยค Present Simple Tense 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 3) เพ่ือหาประสิทธิภาพของการเขียนข้อความท่ีประกอบไปด้วยประโยค Present Simple Tense ซ่ึงผู้วิจัย นาเสนอผลการวิจยั ดงั นี้ ตอนท่ี 1 วิเคราะห์คะแนนการทดสอบก่อนและหลังฝกึ ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 ค่าเฉล่ยี ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ร้อยละ และคะแนนการพัฒนา จากการทาแบบทดสอบก่อน และหลังฝึกเร่อื ง Present Simple Tense วชิ าภาษาองั กฤษของนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1/7 โรงเรียนมัธยม วัดสงิ ห์ ที่ คะแนนทดสอบ การพัฒนา กอ่ นฝกึ (20) หลงั ฝึก (20) 1 7 14 + 7 2 12 18 + 6 3 10 14 + 4 4 9 15 + 6 5 11 16 + 5 6 11 16 + 5 7 9 15 + 6 8 8 14 + 6 9 10 16 + 6 10 6 14 + 8 11 14 18 + 4 12 12 16 + 4

- 28 - 13 7 14 + 7 14 11 15 + 6 15 12 16 + 4 16 9 15 + 4 17 11 17 + 6 18 13 19 + 6 19 8 13 + 5 20 11 15 + 4 21 10 16 + 6 22 9 17 + 8 23 5 10 + 5 24 7 14 + 7 25 11 17 + 6 26 10 15 + 5 27 11 16 + 5 28 13 20 + 7 29 10 15 + 5 30 10 17 +7 31 9 14 + 5 32 5 12 + 7 33 11 16 + 5 34 12 17 +5 35 9 16 +7 36 10 18 +8 37 11 17 +6 38 11 19 +8 39 12 20 +8 40 6 16 +10

- 29 - 41 7 15 +8 42 9 15 +6 43 10 20 +10 44 10 17 +7 45 9 14 +5 รวม 438 713 275 X 9.73 15.84 6.11 รอ้ ยละ 48.8 77.1 28.35 จากตาราง 1 พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนการทาแบบทดสอบก่อนทาแบบฝึกเท่ากับ 9.73 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 48.8 ค่าเฉล่ียของคะแนนการทาแบบทดสอบหลังทาแบบฝึก และการสร้างประโยค เร่ือง Present Simple Tense ในชั้นเรยี น เทา่ กบั 15.84 คะแนน คิดเป็นรอ้ ยละ 77.1 นักเรยี นทกุ คนมีคะแนน พัฒนาการ สูงขง้ึ

- 30 - ตอนท่ี 2 วเิ คราะห์คะแนนการทาแบบฝึกทักษะเร่ือง Present Simple Tense ดังตาราง 2 ตาราง 2 คา่ เฉลีย่ และรอ้ ยละ ของคะแนนการทาแบบฝึกทกั ษะเรื่อง Present Simple Tense วิชา ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1/7 นักเรยี นโรงเรยี นมธั ยมวดั สิงห์ จานวน 45 คน คะแนนการทาแบบฝกึ รวม คนท่ี ชุดท่ี ชุดที่ ชดุ ที่ ชุดที่ ชุดที่ ชดุ ชุด ชดุ ร้อยละ 1 2 3 4 5 ท6ี่ ท7ี่ ท8่ี (120) (15) (15) (15) (15) (15) (15) (15) (15) 1 14 13 13 12 13 14 14 12 105 13.13 87.5 2 15 15 13 14 14 14 15 14 114 14.25 95 3 14 13 12 11 13 13 14 13 103 12.86 86 4 13 13 12 11 12 13 14 13 101 12.63 84 5 15 14 14 13 13 14 14 12 109 13.63 90.83 6 14 13 13 13 12 13 15 13 106 13.25 88 7 15 14 14 12 13 11 13 12 104 13 87 8 12 11 9 10 8 10 12 12 84 10.5 70 9 13 13 12 10 12 11 13 11 95 11.88 79 10 13 12 11 10 12 10 14 11 93 11.23 75.5

- 31 - คะแนนการทาแบบฝึก คนท่ี ชดุ ท่ี ชุดท่ี ชุดท่ี ชุดท่ี ชุดท5ี่ ชดุ ชดุ ชุด รวม ร้อยละ (ต่อ) 1 2 3 4 (15) ท6่ี ท7ี่ ท8่ี (120) (15) (15) (15) (15) (15) (15) (15) 11 15 15 14 15 15 14 15 13 116 14.5 97 12 15 15 13 12 13 12 14 13 107 13.38 89 13 12 11 10 11 8 10 13 9 84 10.5 70 14 13 12 11 13 13 12 14 13 101 12.63 84.17 15 14 13 12 11 12 12 14 13 101 12.63 84 16 13 12 11 11 13 12 13 12 97 12.13 81 17 14 13 12 11 13 13 14 12 102 12.75 85 18 15 15 15 14 15 15 15 14 118 14.75 98 19 13 12 13 10 13 12 13 10 96 12 80 20 13 12 11 10 11 13 14 12 96 12 80 21 13 13 12 13 12 13 13 12 101 12.63 84 22 14 13 12 13 13 12 14 13 104 13 87 23 10 10 9 8 10 11 10 8 76 9.4 63 24 14 13 12 13 10 13 14 13 102 12.75 85 25 13 13 12 13 12 11 13 13 100 12.5 83 26 13 12 12 13 12 11 12 12 97 12.13 81

- 32 - คะแนนการทาแบบฝกึ คนที่ ชดุ ที่ ชดุ ที่ ชุดท่ี ชุดท่ี ชุดท5ี่ ชุด ชดุ ชดุ รวม ร้อยละ (ต่อ) 1 2 3 4 (15) ท6ี่ ท7่ี ท8ี่ (120) (15) (15) (15) (15) (15) (15) (15) 27 15 14 12 13 12 12 14 13 105 13.13 87.5 28 15 15 15 15 14 14 15 15 118 14.75 98 29 14 13 13 12 12 12 14 13 103 12.88 86 30 14 13 12 11 13 13 12 13 101 16.63 84 31 12 12 11 10 11 12 13 10 91 11.38 76 32 10 9 8 8 7 8 10 9 69 8.63 57.5 33 15 13 12 12 13 13 14 12 104 13 87 34 12 13 13 12 10 12 13 13 98 12.25 81.66 35 13 15 12 11 11 14 12 11 99 12.37 82.5 36 15 14 13 12 13 13 12 12 104 13 86.66 37 12 13 14 11 12 10 10 13 95 11.87 79.16 38 11 13 11 11 12 10 13 13 94 11.75 78.33 39 13 15 11 14 14 11 14 15 107 13.37 89.16 40 15 13 13 12 10 14 12 13 102 12.75 85 41 13 15 11 14 14 13 11 14 105 13.12 87.5 42 13 14 12 12 12 12 11 13 99 12.37 82.5

- 33 - คะแนนการทาแบบฝึก คนที่ ชดุ ที่ ชุดท่ี ชุดท่ี ชดุ ที่ ชุดท5ี่ ชุด ชดุ ชดุ รวม รอ้ ยละ (ต่อ) 1 2 3 4 (15) ท6่ี ท7่ี ท8่ี (120) (15) (15) (15) (15) (15) (15) (15) 43 14 14 14 11 13 13 14 15 108 13.5 90 44 14 15 12 13 11 14 10 13 102 12.75 85 45 13 14 12 13 12 12 13 11 100 12.5 83.33 รวม 605 592 545 534 543 551 590 556 4516 568.04 3760.8 x 13.44 13.15 12.11 11.86 12.06 12.24 13.11 12.35 100.35 12.62 83.57 ร้อยละ 89.62 87.70 80.74 79.11 80.44 81.62 87.40 82.37 83.62 80.54 83.57 จากตาราง 2 พบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนการทาแบบฝึกเร่ือง Present Simple Tense วิชา ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1/7 โรงเรียนมัธยมวัดสิงห์ โดยรวมเท่ากับ 100.35 คิดเป็น ร้อยละ 83.57 เมื่อพิจารณาเป็นรายชุดฝึก เรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ชุดฝึกท่ี 8 มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 12.35 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 82.73 ชุดฝึกท่ี 7 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 13.11 คิดเป็นร้อยละ 87.40 ชุดฝึกท่ี 6 มคี า่ เฉล่ยี เท่ากบั 12.24 คิดเป็นรอ้ ยละ 81.62 ชดุ ฝกึ ท่ี 5 มคี ่าเฉลี่ยเทา่ กับ 12.06 คิดเปน็ รอ้ ยละ 80.44 ชดุ ฝกึ ที่ 4 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 11.86 คิดเป็นรอ้ ยละ 79.11 ชุดฝกึ ที่ 3 มีค่าเฉล่ยี เท่ากับ 12.11 คิดเป็นร้อยละ 80.74 ชุดฝึกที่ 2 มีค่าเฉล่ียเท่ากับ 13.15 คิดเป็นร้อยละ 87.70 และชุดฝึกที่ 1 มีค่าเฉล่ีย เทา่ กับ 13.44 คดิ เป็นร้อยละ 89.62

- 34 - บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ จากการสร้างชุดการเรียนการสอนไวยากรณ์ เร่อื ง Present Simple Tense สาหรับนักเรียน ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1/7 ผู้วจิ ัยไดส้ รปุ ผลการวิจยั อภิปรายผลการวจิ ยั และข้อเสนอแนะไวด้ งั น้ี 1. สรุปผลการวิจยั ในการวิจัยคร้ังน้ีผู้วิจัยได้ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ทดลองสอน และทาแบบฝึก และนาผลไป วเิ คราะห์และสามารถสรปุ ผลได้ดังน้ีสามารถสรุปผลไดด้ ังน้ี 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1/7 ที่ได้รับการฝึกมีความสามารถในการเรียนเรื่อง Present Simple Tense หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีค่าเฉล่ียของคะแนนการทาแบบทดสอบก่อนฝึกเท่ากับ 9.73 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 48.8 ค่าเฉล่ียของคะแนนการทาแบบทดสอบหลังฝึก เท่ากับ 15.84 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 77.1 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1/7 ที่ได้รับการฝึกมีคะแนนเฉล่ียโดยรวมของการทาแบบฝึกทักษะ Present Simple Tense เท่ากบั 100.35 คะแนน คิดเปน็ รอ้ ยละ 83.62 สงู กว่าเกณฑ์ท่ตี งั้ ไว้ 2. อภปิ รายผล การวิจัยคร้ังนี้เป็นการวิจัยเพื่อศึกษาผลการสอนเร่ือง Present Simple Tense โดยการใช้ชุด การเรยี นรู้และชุดแบบฝกึ และการฝึกพูดและเขียนประโยค ในชั้นเรยี นซ่ึงผลการศึกษาสามารถอภิปราย ได้ ดังนี้ 1. ผลการศึกษาความสามารถนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/7 ที่ได้เรียนซ่อมเสริม และฝึกพูดและ เขียนโครงสร้างประโยคเรื่อง Present Simple Tense ในชั้นเรียนน้ัน ผู้วิจัยพบว่า นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนเร่ือง Present Simple Tense หลังเรยี นสงู กว่าก่อนเรียนสงู 2. จากการที่นักเรียนได้ฝึกพูดและเขียนประโยค และนาชุดแบบฝึกเร่ือง Present Simple Tense ที่ หลากหลายมาใช้ในการจัดกิจกรรมการสอนน้ัน ผู้วิจัยพบว่า นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการเรียนมากขึ้น โดยสังเกตได้จากการเตรียมโครงสร้างประโยค Present Simple Tense ที่อยู่ในชีวิตประจาวนั มานาเสนอให้ ผู้วิจัยได้ดูก่อนถึงคาบเรียน โดยผู้วิจัยน้ันจะสุ่มให้นักเรียนน้ันออกมาพูดประโยคหรือเขียนประโยค Present Simple Tense ก่อนเร่มิ เรยี นทกุ ชั่วโมง ทาให้นกั เรียนสามารถส่อื สารในชวี ติ ประจาวนั ไดจ้ ากการฝกึ ฝนทกุ วัน

- 35 - 3. การให้นักเรียนไดพ้ ูดประโยคภาษาอังกฤษในชวี ิตประจาทุกวนั นัน้ นกั เรียนสามารถใช้ภาษาเพ่ือการ ส่ือสารได้จริงๆ โดยผ่านสถานการณ์การณ์ต่างของแต่ละประโยค การพูดหรือเขียนประโยคท่ีนักเรียนได้สร้าง ข้นึ เองน้ันนักเรยี นจะได้เรยี นรู้และเขา้ ใจความหมายของคาศัพท์และสามารถนาไปใช้ได้ถูกต้องตามเวลาเมื่ออยู่ ในสถานการณ์จริง 3. ขอ้ เสนอแนะ จากการศึกษาวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะซ่ึงอาจเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนหรือ การศกึ ษาวจิ ัยคร้ังต่อไปดงั น้ี 1. ขอ้ เสนอแนะทวั่ ไป 1.1 การสร้างชุดการเรียนการสอนไวยากรณ์เร่ือง Present Simple Tense ควรคานึงถึง เน้ือหากับระดับชั้นของผู้เรียน ความรู้พื้นฐานของนักเรียน ความเหมาะสมกับเวลาในการทากิจกรรม และความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ตลอดจนควรจัดหา สื่อการเรียนรู้ท่ีเหมาะสม เพ่ือให้นักเรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเองได้ง่ายและรวดเร็วข้ึน และมคี วามสนใจท่จี ะเรียน 1.2 ในกระบวนการสอนควรออกแบบการประเมินท่ีหลากหลายเน้นการประเมินตามสภาพ จริงให้สอดคล้องกับการเรียนรู้ โดยประเมินความรู้ท้ัง ความจา ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การ ประเมนิ คา่ และการนาไปประยกุ ตเ์ พ่ือให้เกิดความจาท่คี งทน 2. ขอ้ เสนอแนะในการวิจยั คร้งั ต่อไป 2.1 ควรมีการสร้างชุดการเรียนการสอนสาหรับนักเรียนระดับช้ันอื่นๆ เพื่อให้มีการพัฒนา อย่างต่อเนื่อง 2.2 ควรมีการวิจัยเปรียบเทียบผลการสอนโดยใช้ชุดการสอนกับผลการสอนโดยใช้วิธีอ่ืนๆ เพอื่ พัฒนารูปแบบกระบวนการเรียนรใู้ ห้เหมาะสมกับนักเรียนยงิ่ ขน้ึ 2.3 ควรมกี ารจัดหารปู แบบการจดั การเรียนการสอนทักษะการอ่านและการฟังใหเ้ หมาะสอน กับนกั เรียนตอ่ ไป

- 36 - กรมวชิ าการ. (2544). คู่มือการจัดการเรียนการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: โรง พมิ พอ์ งคก์ ารรับส่งสินคา้ และพสั ดุภณั ฑ.์ กรองกาญน์ อรุณรัตน์. (2536). ชุดการเรียนการสอน. เชียงใหม่ : ภาควชิ าเทคโนโลยที างการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม.่ ทศั นาภรณ์ กุณฑลลกั ษมี. (2546) วธิ ีสอนสาหรับครูมืออาชีพ. พมิ พค์ ร้ังท่ี 4 กรุงเทพ : โรงพิมพจ์ ุฬา ภรณ์มหาวทิ ยาลยั . วารียา สุรียนั ยงค.์ (2543). การพฒั นาชุดการสอน สาหรับเพ่ือนช่วยสอนในการสอนเสริม ภาษาองั กฤษเพ่ือการสื่อสาร สาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ( ออน-ไลน์) ณฐั กานต์ ตน้ ทิพย.์ (2546). การพฒั นาชุดกจิ กรรมฝึ กทกั ษะภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสารระดบั ช้ัน ประถมศึกษาปี ท่ี 6. ปริญญานิพนธ์ ค.ม. (หลกั สูตรและการสอน). อุตรดิตถ์ : บณั ฑิต วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั อุตรดิตถ์. อดั สาเนา. พชั รี ไชยสิทธ์ิ. (2546). การสร้างชุดกจิ กรรมการสอนภาษาองั กฤษท่เี น้นการพฒั นาทกั ษะการ สื่อสารสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 2 ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (หลกั สูตรและการสอน). ชลบุรี : บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั บูรพา. อดั สาเนา.

- 37 - ภาคผนวก ชุดการเรียนรู้และแบบฝึ กทักษะ

เอกสารประกอบการเรียนรู้ เร่ือง Present Simple Tense สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี 1 โดย นางสาวพรรัตน์ หาญศรี ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนมัธยมวดั สิงห์

ใบความรู้ที่ 1 ความหมายและเหตุการณ์ท่ีใชก้ บั Present Simple Tense Present Simple Tense คอื อะไร ครับ Present Simple Tense หมายถึง ประโยคที่มีรูปกริยาแสดงการ กระทาท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบนั หรือเกิดข้ึนเป็นประจาสม่าเสมอ หรือ เกิดข้ึนตามความจริง Present Simple Tense ใชก้ บั เหตุการณ์ ยงั ไงบา้ งครับ 1. ใช้กบั เหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขนึ้ เป็ นปัจจุบัน เช่น Suksan listens to the radio. (สุขสันตฟ์ ังวทิ ย)ุ Prangthip and I go to school. (ปรางทิพยแ์ ละฉนั ไปโรงเรียน) 2. ใช้กบั เหตุการณ์ทเี่ กดิ ขนึ้ เป็ นกจิ วตั รประจา สมา่ เสมอ เช่น He always gets up early. (เขาต่ืนนอนเชา้ ตรู่เป็นประจา) I am very diligent. (ฉนั ขยนั มาก) 3. ใช้กบั เหตุการณ์ทเี่ ป็ นข้อเทจ็ จริงตลอดกาลและเป็ นจริงตามธรรมชาติ เช่น The sun rises in the east. (ดวงอาทิตยข์ ้ึนทางทิศตะวนั ออก) The earth moves around the sun. (โลกหมุดรอบดวงอาทิตย)์

Present Simple Tense มีโครงสร้าง โครงสร้างของประโยค Present Simple Tense Subject Verb (ประธาน) (กริยา) โครงสร้างท่ี1 ประธานเป็นเอกพจน์ (Singular) กริยาตอ้ งเติม s Subject(ประธาน) Verb(กริยา) Object (กรรม)/ ส่วนขยาย He drinks water. She goes to the beach. It flies very fast. Winai watches television. A dog barks under the tree. โครงสร้างท่ี 2 ประธาน I, You และพหูพจน์ (Plural) กริยาช่องท่ี 1 รูปเดิม Subject(ประธาน) Verb(กริยา) Object (กรรม)/ ส่วนขยาย drink water. I go to the beach. You run very fast. We watch television. They walk on the stress. The people watch our hands. Jack and I fly in the sky. Birds

การเติม s ที่ทา้ ยคากริยา มีหลกั การดงั น้ีค่ะ ☺ เติม s ทา้ ยคากริยาไดท้ นั ที เช่น walk = walks (เดิน) work = works (ทางาน) come = comes (มา) see = sees (เห็น) ☺ เติม es ทา้ ยคากริยาท่ีลงทา้ ยดว้ ย s, ss, ch, sh, o, x, และ z เช่น watch = watches (ซกั ลา้ ง) teach = teaches (สอน) go = goes (ไป) mix = mixes (ผสม) ☺ ถา้ กริยาลงทา้ ยดว้ ย y และหนา้ y เป็นพยญั ชนะ เปลี่ยน y เป็น i ก่อนแลว้ เติม es เช่น cry = cries (ร้องไห)้ study = studies (เรียน) fly = flies (บิน) dry = dries (แหง้ ) ☺ ยกเวน้ ถา้ หนา้ y เป็นสระ (a, e, i, o, u) ใหเ้ ติม s ไดเ้ ลย เช่น buy = buys (ซ้ือ) play = plays (เลน่ ) lay = lays (วาง) say = says (พดู ) เพ่ือนๆ คงเข้าใจดแี ล้วน่ะครับ ถ้าง้นั เรามา เริ่มทาแบบฝึ กหัดเลยน่ะ

Exercise 1 Directions : Underline the correct verbs. (ขดี เส้นใต้คาท่ถี ูกต้อง) 1. He (go, goes) to work by bus. 2. The men (walk, walks) to the train station. 3. My mother (cook, cooks) in the kitchen. 4. Janet ( eat, eats) oranges after her dinner. 5. The boys ( play, plays) their toy cars. 6. The children (drink, drinks) glasses of milk. 7. Joy and Anna (drive, drives) a car to work. 8. Elephants (like, likes) to eat bananas. 9. Ken’s father (drink, drinks) a cap of coffee. 10. The fruit seller (sell, sells) many fruits. 11. A dog (sleep, sleeps) under that tree. 12. The women (sit, sits) on the bench. 13. The teachers (write, writes) on the blackboard. 14. Mana (open, opens) the room. 15. His brothers (run, runs) to the bus stop.

Exercise 2 Directions : Write the correct verbs in the blank. (เขยี นรูปกริยาทถ่ี ูกต้องลงช่องว่าง) 1. Sumon ……………………. her socks. (wash) 2. The students ……………………. to school every day. (go) 3. My father ……………………. to drink tea. ( like) 4. The boy ……………………. Football. (play) 5. Those birds ……………………. (fly) 6. Mrs. Wipa ……………………. me some money. (give) 7. The woman ……………………. a letter. (write) 8. My sister ……………………. television. (watch) 9. I ……………………. some fruit. (buy) 10.The woman ……………………. on the floor. (sit) 11. Mr. Flame ……………………. in his office. (work) 12.My mother and I ……………………. to the beach. (go) 13.The students ……………………. English. (study) 14.A bird ……………………. in the sky (fly) 15.She ……………………. The television. (touch)

ใบความรู้ท่ี 2 รูปปฏิเสธ (Negative Form) ใน Present Simple Tense การทาประโยคบอกเล่าเปน็ ประโยคปฏเิ สธ ใน Present Simple Tense ทำยังยังหรอค่ะ 1. เติม not (ไม)่ ขา้ งหลงั V. to be (is, am ,are) , to have (have, has), can (สามารถ) เพ่ือทาเป็นรูปประโยค ปฏิเสธ ดูตวั อยา่ งตารางตอ่ ไปน้ีเลยน่ะคะ่ บอกเล่า (Affirmative) ปฏิเสธ (Negative) She is in the kitchen. She isn’t in the kitchen. We are nurses. We aren’t nurses. I am a student. I am not a student. I have a blue pen. I haven’t a blue pen. Anna has a white puppy. Anna hasn’t a white puppy. Peter can drive a car. Peter can’t drive a car.

2. ในประโยคที่ไม่มีกริยาช่วย แต่มีกริยาแท้ (Main Verb) ให้ เลือกใช้ Verb to do (do, does) มาช่วยแลว้ เติม not หลงั do, does และคากริยาจะผนั กลบั ใชร้ ูปเดิม ดูตารางอีกคร้ังน่ะค่ะ บอกเล่า (Affirmative) ปฏเิ สธ (Negative) My father walks to work. My father doesn’t walk to work. A dog sleeps under the chair. A dog doesn’t sleep under the chair. Mike and I write bicycles. Mike and I don’t write bicycles. We play the guitar. We don’t play the guitar. ขอ้ สงั เกตในการใชร้ ูปยอ่ V. to have ไม่มี V. to be ไม่อยู่ is not ใช้ isn’t ใหใ้ ช้ V. to do เขา้ มาช่วย are not ใช้ aren’t have not ใช้ haven’t does ใชก้ บั ประธาน He, She , It และประธาน has not ใช้ hasn’t เอกพจน์ (จานวนหน่ึง) cannot ใช้ can’t do ใชก้ บั ประธาน I, You, We, They และประธาน พหูพจน์ (จานวนมาก)

Exercise 3 Directions : Change these sentence into Negative Form. (เปลยี่ นประโยคเหล่านนี้ให้เป็ นรูปปฏิเสธ) 1. She gets up early in the morning Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 2. We are beautiful. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 3. They watch television every night. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 4. I sometimes work hard. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 5. Phongsiri has a new car. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 6. The sun sets in the east. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 7. He comes back this afternoon. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 8. My parents leave tomorrow. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 9. Prasit likes bananas. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 10. You like Thai food. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 11. We go to Hua Hin this summer. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 12. Jack visits his parents. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 13. My friend is a teacher. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 14. The student reads newspapers every day. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 15. They can play football. Ans. ……………………………………………………………………………………………………………..

Exercise 4 Directions : Change these sentence into Affirmative Form. (เปลี่ยนประโยคเหล่านนีใ้ ห้เป็ นรูป ประโยคบอกเล่า) 1. My little sister doesn’t like to play with a doll. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 2. We don’t always go to bed late on Friday nights. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. ง 3. I don’t eat boiled eggs for breakfast. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 4. Her parents don’t live in this town. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 5. We can’t play the guitar. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 6. I haven’t a cat. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 7. You don’t know how to speak to a little boy. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 8. Their gardener doesn’t work on Saturdays. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 9. She doesn’t watch her favorite program. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 10. This machine doesn’t make a lot of noise. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 11. He doesn’t fix his bicycle every day. 12. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 13. That girl doesn’t play the piano at the hotel. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 14. We don’t always travel by train. Ans. …………………………………………………………………………………………………………….. 15. We aren’t nurse. Ans. ……………………………………………………………………………………………………………..


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook