Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

hin

Published by wichudabuy, 2019-11-25 23:38:02

Description: hin

Search

Read the Text Version

หิน คือมวลของแข็งทปี่ ระกอบไปด้วยแร่ชนิด เดยี วกนั หรือหลายชนิดรวมตวั กนั อยู่ตามธรรมชาติ เนื่องจากองค์ประกอบ ของเปลือกโลกส่วนใหญ่ เป็ น สารประกอบ ซิลกิ อนไดออกไซต์(Sio2)ดงั น้ันเปลือกโลกส่วน ใหญ่มกั เป็ นแร่ตระกูลซิลเกต

นอกจากน้ันยงั มแี ร่ตระกลู คาร์บอเนต เน่ืองจากบรรยากาศ โลกในอดตี ส่วนใหญ่มกั เป็ นคาร์บอนไดออกไซต์ นา้ ฝนได้ ละลายคาร์บอนไดออกไซต์บนบรรยากาศลงมาสะสมบน พืน้ ดนิ และมหาสมุทร ส่ิงมชี ีวติ อาศัยคาร์บอนสร้างธาตุ อาหารและร่างกาย แพลงตอนบางชนิดอาศัย ซิลกิ าสร้าง เปลือก เม่ือตายลงทับถมกนั เป็ นตะกอน หินส่วนใหญ่บน เปลือกโลกจึงประกอบด้วยแร่ต่างๆ

ลาดบั ช้ันหิน คือ การเรียงตวั ทับถมกนั ของตะกอนที่ ตกทบั ถม ณ ทแี่ ห่งหนึ่งในช่วงเวลาทแี่ ตกต่างกนั ซ่ึงมกั พบว่าชนิดของตะกอนจะแตกต่างกนั ไปตาม กาลเวลา ขนึ้ กบั สภาพแวดล้อมในอดตี ช่วงน้ัน เช่น ยุคแคมเบรียนจะสะสมตวั หินทราย หินทรายแป้ง และค่อยๆ เปลย่ี นเป็ นหินดนิ ดาน หินปูนในยุค ออร์ โดวเิ ชียน เป็ นต้น

อายขุ องหินคือช่วงเวลาทต่ี ะกอนหรือลาวาตกสะสม ตวั หรือกาลงั แขง็ ตวั หรือจบั ตวั เช่น ดนิ สะสมตวั ใน ทะเลสาบเมื่อประมาณ 260 ล้านปี เมื่อจับตวั เป็ นหินและ คงอยู่ถึงปัจจุบนั เรากบ็ อกว่าหินนีม้ อี ายุ 260 ล้านปี ที่ผ่าน มาสาหรับวธิ ีศึกษาหาอายกุ ใ็ ช้ท้งั ค่าอตั ราส่วนการ สลายตวั ของธาตุกมั มนั ตรังสีหรือซากดกึ ดาบรรพ์ ในช่วงน้ันทีเ่ ผอญิ ตายพร้อมๆ กบั การตกของตะกอน

อายขุ องหินบนเทือกเขากลางมหาสมุทร เน่ืองจาก หินตรงนีเ้ ป็ นหินอคั นีประเภทบะซอลต์เป็ นส่วนใหญ่ ดงั น้ันต้องหาอายุโดยใช้การสลายตวั ของธาตุ กมั มนั ตรังสีเท่าน้ัน อายุได้ต้งั แต่ 160 ล้านปี ถึง ปัจจุบนั

ขนาดของอนุภาคตะกอน ขนาดอนุภาค ชื่อเรียก ประเภทของ ชนิดของหิน (มลิ ลเิ มตร) >256 ตะกอน ตะกอน <256 <64 ก้อนหินใหญ่ หินกรวดมน <2 ก้อนหินเลก็ กรวด หินกรวดเหลย่ี ม กรวดมน <0.02 อนุภาคทราย ทราย หินทราย <0.002 อนุภาคทราย แป้ง โคลน หินดนิ ดาน อนุภาคดนิ หินโคลน เหนียว

1.หินอคั นี (Igneous Rock) หินหนืดทแ่ี ขง็ ตวั ใน เปลือกโลกเรียกว่า หินอคั นีแทรกซอนเช่นหินแกรนิต และ จากลาวาทป่ี ะทุออกมาภายนอกผวิ โลกเช่นภูเขาไฟ เรียกว่า หินอคั นีพุ เช่น หินพมั มชิ หนิ สคอเรีย

กระบวนการเกดิ : (Igneous) - หินอคั นีเกิดจากการเยน็ ตวั ของหินหนืดหรือลาวา ซ่ึงจะเยน็ ตวั ลงแลว้ ตกผลกึ หินหนืดทแ่ี ขง็ ตัวให้เปลือกโลกในระดบั ทส่ี ึก จะเป็ นหินพลูโทนิค (Plutonic Rock) หรือเรียกว่าหิน อคั นีระดบั ลกึ จะมเี มด็ แร่ขนาดใหญ่ - ลาวาหรือหินหนืดบางส่วนทเี่ กดิ จากการประทุของภูเขาไฟ เมื่อเยน็ ตวั ลงบนพืน้ โลกกจ็ ะเกดิ

- เป็ นหินภูเขาไฟ (Volcanic Rock) จะมเี มด็ แร่ขนาดเลก็ ละเอยี ดในกรณที ่หี ินหนืดมี การแทรกซอนเข้าใกล้ผวิ โลกแล้วเยน็ ตวั ลงจะทา ให้เกดิ หินอคั นีทม่ี เี มด็ แร่ขนาดใหญ่ปะปนกบั เมด็ แร่ขนาดเลก็

หินอคั นี (Igneous Rock) แบง่ เป็น 2 ชนิดคือ 1.1 หินอคั นีแทรกซ้อน (Intrusive Igneous Rock) เกดิ จากการเยน็ ตวั ลงอย่างช้า ๆ ของหินหนืดใต้เปลือกโลก มี ผลกึ แร่ขนาดใหญ่ (>1 มลิ ลเิ มตร) เช่นหินแกรนิต (Granite) หินไดออไรต์ (Diorite) หินแกบโบร (Gabbro)

1.2 หินอคั นีพุ (Extruisive Igneous Rock) หรือหินภูเขา ไฟ (Volcanic Rock) เกดิ จากการเยน็ ตวั ลงอย่างรวดเร็ว ของหินหนืดทดี่ นั ตัวพุออกมานอกผวิ โลกเป็ นลาวา (Lava) ผลกึ แร่มขี นาดเลก็ หรือไม่เกดิ ผลกึ เลยเช่น หินบะซอลต์ (Basalt) หินแอนดไี ซต์ (Andesite) หินไรโอไลต์ (Rhyolite)

1.หินอคั นีบาดาล(Plutonic rock) หินอคั นีบาดาล(Plutonic rock) หมายถงึ หินอคั นีเนื้อ หยาบที่เกดิ จากการเยน็ ตวั อย่างช้า ๆ ตกผลกึ และแขง็ ตวั จากการหลอมละลาย ณ ระดบั หน่ึงใต้ผวิ โลก (โดยทว่ั ไป ลกึ มากกว่า 2 กโิ ลเมตร) ตวั อย่างเช่น

- หินแกรนิต(Granite) เป็นหินอคั นีบาดาลสีขาวเทา อาจมีจุดประสีดาๆ ประกอบดว้ ย แร่เข้ียวหนุมาน (Quartz; สีขาวใส) แร่ฟันมา้ (feldspar; สีขาวข่นุ ) และแร่ดาๆ เช่น แร่ไบโอไทท์ (biotite) เป็นส่วนใหญ่ หินแกรนิตเป็นหินสาคญั บนเปลือกโลกส่วนทวปี (Continental crust) ในเมืองไทยมกั เกิดตามแนว เทือกเขาใหญข่ องประเทศ อาทิเช่น เทือกเขาตะนาวศรีทาง ตะวนั ตก-ใต้ (จงั หวดั ภูเกต็ พงั งา ระนอง) และเทือกเขาผปี ัน น้าทางภาคเหนือ (จงั หวดั ลาปาง และเชียงใหม่)

- หินไดโอไรท์(Diorite) เป็ นหินอคั นีบาดาลสีคลา้ เข้ม กว่าหินแกรนิตออกไปทางสีเทา,เขยี ว เนื่องจากมปี ริมาณแร่ เขยี้ วหนุมานลดลงมากปริมาณแร่ฟันม้าและแร่ดาๆ เช่น ไบ โอไต์และฮอน เบลนด์ (hornblende;สีดาเสี้ยนยาว) เพมิ่ มากขนึ้ จึงเห็นเป็ นสีขาวประดาเป็ นส่วนใหญ่ ใน เมืองไทยพบไม่มากนัก และโดยมากพบในบริเวณเดยี วกบั ที่ ทพ่ี บหินแกรนิต เช่น ทจ่ี ังหวดั เลย แพร่ น่าน อุตรดติ ถ์ เพชรบูรณ์ และเชียงราย

- หินแกบโบร(Gabbro) เป็นหินอคั นีบาดาลสีเขม้ ถึง ดา และประกอบดว้ ยแร่ไพรอกซีน (Pyroxene;สีดา เส้ียนส้นั ) แร่ฟันมา้ ชนิดแพลจิโอเคลส(Plagioclase) เป็นส่วนใหญ่และอาจมีแร่โอลิ-วนี (Olivine;สีเขียวใส) อยบู่ า้ ง พบไม่มากนกั บนเปลือกโลกส่วนทวปี แต่จะพบอยู่ มากในส่วนล่างของเปลือกสมุทร(Oceanic crust) เมืองไทยพบอยนู่ อ้ ยมากเป็นแนวเทือกเขาเต้ีย ๆ แถบจงั หวดั เลย แพร่ น่าน อุตรดิตถ์ ปราจีนบุรี และศรีสะเกษ

2.หินภเู ขาไฟ(Voleanic rock) หินภูเขาไฟ(Volcanic rock) หมายถึงหินอคั นีเน้ือ ละเอียดหรือละเอียดมาก(คลา้ ยแกว้ ) จนมองดว้ ยตาเปลา่ ไม่เห็นซ่ึง เกิดจากการเยน็ ตวั อยา่ งรวดเร็วจากหินละลาย(Lava) ที่ไหล ข้ึนมาสู่ผวิ โลก เช่น หินไรโอโลท(์ Rhyolite) เป็นหินภูขาไฟท่ี มีสีขาวเทาเน้ือละเอียดและมีส่วนประกอบทางแร่คลา้ ยกบั หินแกรนิต

มกั ประกอบดว้ ยผลึกดอก(Phenocryst) ซ่ึงมอง ดว้ ยตาเปล่าไดช้ ดั เจนกระจดั กระจายอยใู่ นเน้ือหินผลึก ดอกส่วนใหญไ่ ดแ้ ก่ แร่เข้ียวหนุมาน และแร่ไบโอไทท์ (biotite;แร่ดาเป็นแผน่ ๆ) หินไรโอไลทม์ กั เกิดเป็น ภูเขาหรือเนินกลม ๆ บางที่กเ็ รียงรายเป็นเทือกเขา เมืองไทยพบอยไู่ ม่มากนกั เช่น จงั หวดั สระบุรี ลพบุรี และแพร่

- หินแอนดไี ซท์(Andesite) เป็ นหินภูเขาไฟทม่ี สี ี เขยี วหรือเขยี วเทาเนื้อละเอยี ด มสี ่วนประกอบทางแร่คล้าย หินไดโอไรท์ ผลกึ ดอกมกั เป็ นแร่ฟันม้า แร่ไพรอกซีนและ แร่แอมฟิ โบล มกั เกดิ เป็ นแนวเทือกเขาเป็ นแนวยาวเช่นที่ แถบจงั หวดั สระบุรี ลพบุรี และแพร่

- หินบะซอลต์(Basalt) เป็ นหินภูเขาไฟสีเข้มถึงดา เนื้อละเอยี ดมสี ่วนประกอบทางแร่คล้ายหินแกบโบร ผลกึ ดอกมกั เป็ นแร่โอลวิ นี หรือไพรอกซีน หินมกั พบแร่กระจาย เป็ นบริเวณกว้าง เมืองไทยพบมากแถบจงั หวดั ศรีสะเกษ กาญจนบุรี และจันทบุรี ซ่ึงบางแห่งกเ็ ป็ นต้นกาเนิดของ พลอย

2. หินตะกอน (Sedimentary Rock) หินตะกอน คือหินที่เกิดจากการแขง็ ตวั และอดั ตวั ของตะกอนเศษ หินหรือสารละลายท่ีถูกตวั กลางเช่นลมและน้าพดั พามาและสะสม ตวั บนท่ีต่า ๆ ของผวิ โลกหินตะกอนแบ่งเป็น 3 ชนิดตามลกั ษณะ ของเน้ือหิน คือ 2.1 หินตะกอนเนื้อประสม หินตะกอนแตกหลุด หรือตะกอนเมด็ (Clastic sedimentary rock) หมายถึงหินตะกอนท่ีประกอบ ดว้ ยอนุภาคที่แตกหลุดและพดั พามาจากที่อื่น ๆ เช่น

2.2 หนิ ดนิ ดาน(Shale) เป็ นหินตะกอนแตกหลุดเนื้อ ละเอยี ด ประกอบด้วยอนุภาคตะกอนขนาดเลก็ กว่า 1/256 mm. มกั แสดงลกั ษณะเป็ นช้ันๆ ขนานกนั (bed) ประกอบด้วย แร่เขยี้ วหนุมาน แร่ไมก้า(mica) และแร่ดนิ (clay mineral) เป็ นส่วนใหญ่ขนาดของตะกอนเลก็ เกนิ กว่าทจี่ ะมองเห็นด้วยตาเปล่าได้ ในเมืองไทยพบอยู่ทว่ั ไป เช่นแถบจังหวดั ชลบุรี นครศรีธรรมราช ยะลา และ กาญจนบุรี และส่วนใหญ่ของภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

2.3 หินทราย(Sandstone) เป็ นหินตะกอนแตก หลุดทปี่ ระกอบด้วยอนุภาคตะกอนขนาดต้งั แต่ 1/16 - 2 มม (คือเท่าเมด็ ทราย) เมด็ ทรายมกั มลี กั ษณะกลมแสดงถึง การกดั กร่อนและการพดั พา แร่เขยี้ วหนุ-มานเป็ นแร่ท่ีพบบ่อย ในหินแต่อาจมแี ร่ฟันม้า แร่โกเมน (garnet) และแร่ไมก้า ปะปนอยู่ด้วย บางคร้ังแสดงลกั ษณะเป็ นช้ัน ๆ ชัดเจน สีแดง ๆของหินแสดงว่าหินมตี ัวเชื่อมประสาน(Cement) เป็ น พวกเหลก็ ในเมืองไทยพบแทบทุกจังหวดั ของภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ เช่น จังหวดั นครราชสีมา ชัยภูมิ นครพนม และสกลนคร

2.3 หินกรวด (Conglomerate) เป็ นหิน ตะกอนแตกหลุดทป่ี ระกอบด้วยอนุภาคตะกอนขนาดใหญ่กว่า 2 มม (คือใหญ่เท่าเมด็ ทราย)ทย่ี ดึ เกาะกนั แน่นอยู่ภายใน เนื้อ หินท่ปี ระกอบด้วยตะกอนทรายและทรายแป้ง (silt) เมด็ ตะกอนมกั มลี กั ษณะกลมมนและมคี วามคงทนสูง เช่นแร่เขยี้ ว หนุมาน และหินควอทไซท์ แต่อาจจะประกอบด้วยหินปูนและ หินแกรนิตได้ เมืองไทยพบไม่มากนักอาจมบี ้างเช่นท่ีจังหวดั กาญจนบุรี ระยอง และลพบุรี

2. หินตะกอนเคมี หินตะกอนเคม(ี Chemical หรือ Nonclastic sedimentary rock) หมายถึง หินตะกอนทเ่ี กดิ จากการตกผลกึ จากสารละลายทพ่ี ดั พามาโดยนา้ ณ อุณหภูมติ า่ เช่น - หินปูน (Limestone) เป็ นหินตะกอนเคมีทปี่ ระกอบด้วยผลกึ แร่คลั ไซท์(calcite) เป็ นส่วนใหญ่ บางคร้ังอาจมีซากบรรพชีวิน (fossils) อยู่ด้วย โดยมากแสดงลกั ษณะภูมิประเทศเป็ นยอดเขาสูงผนัง ช้ันหลาย ๆ ยอดซ้อนกนั เน่ืองจากได้รับอทิ ธิพลของการกดั เซาะและการ ละลายโดยน้า เมืองไทยพบมากแถบจงั หวัดสระบุรี กาญจนบุรี ประจวบครี ีขนั ธ์ พงั งา และชุมพร

- หินเกลือ(Rock Salt) เป็ นหินตะกอนเคมที ่ี ประกอบด้วยผลกึ แร่เกลือหิน(halite) โดยปกตมิ กั มี เนื้อเนียน มสี ีขาวใส หรือไม่มสี ี แต่อาจมสี ีต่าง ๆ ได้ เช่น สี ส้ม เหลือง แดง เน่ืองจากมมี ลทนิ ของสารจาพวกเหลก็ ปน อยู่เมืองไทยพบมากในจงั หวดั ต่าง ๆ ของภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือเช่น จงั หวดั ชัยภูมิ นครราชสีมา และ ขอนแก่น

- ถ่านหิน(Coal) เป็นหินตะกอนอินทรีย์ สีดา มนั วาว ทึบ แสงและไม่เป็นผลึก ประกอบดว้ ยส่วนต่าง ๆ ของตน้ ไมท้ ี่อดั กนั แน่นจนกลายเป็นสภาพหิน เมืองไทยท่ีพบมากเป็นถ่านหินข้นั ต่า เช่น บริเวณแถบจงั หวดั ลาปาง กระบ่ี แพร่ สงขลา และเลย

3)หนิ แปร (Metamorphic Rock) การแปรสภาพสมั ผสั

เป็ นการแปรสภาพของหินซ่ึงเกดิ เป็ นบริเวณกว้างใหญ่ไพศาล เนื่องจากอุณหภูมแิ ละความกดดนั โดยปกติการเเปรสภาพ แบบนีจ้ ะไม่มคี วามเกย่ี วพนั กบั มวลหินอคั นี และมกั จะมี “ริ้ว ขนาน” (Foliation) จนแลดูเป็ นแถบลายสลบั สี บดิ ย้วยแบบลูกคลื่น ซ่ึงพบในหินชีสต์ หินไนส์ ท้งั นีเ้ ป็ นผลมา จากการการตกผลกึ ใหม่ของแร่ในหิน ท้งั นีร้ ิ้วขนานอาจจะ แยกออกได้เป็ นแผ่นๆ และมผี วิ หน้าเรียบเนียน เช่น หนิ ชนวน

การแปรสภาพบริเวณไพศาล

3)หนิ แปร (Metamorphic Rock) หินแปร คือหินทเ่ี ปลยี่ นแปลงมาจากหินอคั นีหรือหิน ตะกอนโดยขบวนการทางกายภาพและทางเคมี ในสภาพ ของแขง็ ณ ทอี่ ุณหภูมแิ ละความดนั สูง ในระดบั ทลี่ กึ และ ไม่ผ่านการหลอมละลายโดยทวั่ ไปหินแปรจดั แบ่งย่อย ออกเป็ น 2 ชนิด ตามลกั ษณะเนื้อหินคือ

1. หินแปรริ้วลาย หินแปรริ้วลาย(Foliated metamorphic rock) หมายถึงหินแปรที่แสดงลกั ษณะการเรียงตวั ของแร่ ไปในแนวหน่ึงแนวใดโดยเฉพาะ มองเห็นไดช้ ดั เจน เช่น - หินไนส์(Gneiss) เป็ นหินแปรริ้วขนานผลกึ ใหญ่ท่ีเนื้อหินมี การแทรกสลบั กนั ระหว่างแถบสีขาวและดา แถบสีขาวประกอบด้วยแร่ เขีย้ วหนุมานและแร่ฟันม้าเป็ นส่วนใหญ่ ส่วนแถบสีดาประกอบด้วย แร่ไบโอไทท์หรือฮอนเบลน เมืองไทยพบมากแถบบริเวณจงั หวดั ตาก เชียงใหม่ อุทยั ธานีกาญจนบุรี และประจวบครี ีขนั ธ์ หินแกรนติ

- หินชีส(Schist) เป็นหินแปรริ้วขนานเน้ือ ค่อนขา้ งหยาบที่แสดงลกั ษณะการเรียงตวั ของแร่อยา่ ง ชดั เจน โดยเฉพาะแร่แผน่ (mica) เช่น แร่ไปโอไทท(์ ดา) มสั โคไวท(์ ขาว) และ คลอไรท(์ เขียว) เมืองไทยพบบริเวณ จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ กาญจนบุรี อุทยั ธานี เชียงใหม่ และตาก ถา้ หินมนั วาวอยา่ งเดียวแต่ไม่เห็นแร่ชดั เจนเรียก หินฟิ ลไลต(์ Phyllite)

2.หินแปรไรร้ ิ้วลาย(Nonfoliated metamorphic rock) - หินแปรไร้ริ้วลาย(Nonfoliated metamorphic rock) หมายถงึ หินแปรที่ไม่ แสดงลกั ษณะการเรียงตวั ของแร่ไปในแนวหนึ่งแนวใด ส่วนใหญ่ประกอบด้วยผลกึ แร่ทตี่ กผลกึ ใหม่ เกาะสานยดึ เกย่ี วกนั อาทเิ ช่น

- หินอ่อน(Marble) เป็ นหินแปรไร้ริ้วขนานท่ี ประกอบด้วยผลกึ แร่คลั ไซท์เป็ นส่วนใหญ่ มสี ีขาวหรือสี ขาวเทา แปรสภาพมาจากหินปูน เมืองไทยพบมาแถบ จงั หวดั สระบุรี นครราชสีมา ประจวบครี ีขนั ธ์ กาญจนบุรี และยะลา หินไนส์

- หินชนวนหรือหินกาบ(Slate) เป็ นหินแปร ริ้วขนานเนื้อละเอยี ดทแ่ี ตกเป็ นแผ่น ๆ หน้าเรียบ (คล้าย กระดาษ ดงั น้ันเม่ือก่อนจงึ นามาทากระดานชนวน) ตาม ระนาบการเรียงตวั ของแร่แผ่น เมืองไทยพบมากบริเวณ จงั หวดั กาญจนบุรี ชลบุรี ระยอง นครศรีธรรมราช และ นราธิวาส หินชีส

- หินควอทไซท์(Quartzite) เป็นหินแปรไร้ริ้ว ขนานที่ประกอบดว้ ยผลึกแร่เข้ียวหนุมานเป็นส่วน ใหญ่ มีหลายสีต้งั แต่สีเหลือง สม้ เทา เขียวเทา จนถึง ขาว แปรสภาพมาจากหินทราย เมืองไทยพบมากแถบ ภาคตะวนั ตกของประเทศ เช่นจงั หวดั กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อุทยั ธานี ราชบุรี และตาก หินทราย ควอร์ตไซต์ (Quartzite)

- หินฮอนเฟลส์(Hornfels) เป็ นหินแปรไร้ริ้วขนาน เนื้อละเอยี ดสีดาหรือเข้ม มคี วามแขง็ และมขี อบคม แปรสภาพ มาจากหินอะไรกไ็ ด้ท่ีมเี นื้อละเอยี ด (เช่นหินดนิ ดานหรือหิน โคลน) ทส่ี ัมผสั อยู่กบั หินอคั นีบาดาล เมืองไทยพบอยู่ตาม เทือกเขาใหญ่ทมี่ หี ินแกรนิตอยู่ เช่นจงั หวดั ภูเกต็ พงั งา ตาก ลพบุรี เลย และประจวบครี ีขนั ธ์

การกลบั คืนเป็นหิน (Lithification) เม่ือเศษตะกอนทบั ถมกนั จะเกิดโพรงข้ึนประมาณ 20 – 40% ของเน้ือ ตะกอน น้าพาสารละลายเขา้ มาแทนที่อากาศในโพรง เม่ือเกิด การทบั ถมกนั จนมีน้าหนกั มากข้ึน เน้ือตะกอนจะถกู ทาให้ เรียงชิดติดกนั ทาใหโ้ พรงจะมีขนาดเลก็ ลง จนน้าทเี่ คยมีอยถู่ ูก ขบั ไล่ออกไป สารท่ีตกคา้ งอยทู่ าหนา้ ที่เป็นซีเมนตเ์ ช่ือม ตะกอนเขา้ ดว้ ยกนั กลบั เป็นหินอีกคร้ัง

2.หินช้ันหรือหินตะกอน เกดิ จากการสะสมหรือทับทม ของเศษหิน ดนิ ทราย นานเข้าถูกกดทบั อดั มตี วั เช่ีอม ประสานปฏกิ ริ ิยาเคมจี นกลายเป็ นหินในทส่ี ุดเช่นหิน กรวดมน หินทราย หินดนิ ดาน หินปูน หินดนิ ดาน

หินช้ันหรือหินตะกอน (Sedimentary Rock) เกดิ จากการทบั ถม และสะสมตวั ของตะกอนต่างๆ ได้แก่ เศษหิน แร่ กรวด ทราย ดนิ ทผ่ี ุพงั หรือสึกกร่อนถูกชะละลาย มาจากหินเดมิ โดยตวั การธรรมชาติ คือ ธารนา้ ลม ธารนา้ แขง็ หรือคล่ืนในทะเล พดั พาไปทบั ถมและแขง็ ตวั เป็ นหินในแอ่ง สะสมตวั หินชนิดนีแ้ บ่งตามลกั ษณะเนื้อหินได้ 2 ชนิดใหญ่ ๆ คือ หินทรายแสดงช้ันเฉียงระดบั

หินกรวดมน ช้ันหินทรายสลบั ช้ันหินดนิ ดาน

หินกรวดมน 1.หินช้ันเนื้อประสม (Clastic Sedimentary Rock) เป็ นหินช้ัน ท่ีเนื้อเดมิ ของตะกอน พวก กรวด ทราย เศษหินและดนิ ยงั คงสภาพอยู่ให้พสิ ูจน์ได้ เช่น หินทราย (Sandstone) หินดนิ ดาน (Shale) หินกรวด มน (Conglomerate) เป็ นต้น

2. หินเนื้อประสาน (Nonclastic ช้ันหินเชิร์ต Sedimentary Rock) เป็ นหินท่ี เกดิ จากการตกผลกึ ทางเคมี หรือ จากส่ิงมชี ีวติ มเี นื้อประสานกนั แน่นไม่สามารถพสิ ูจน์สภาพเดมิ ได้ เช่น หินปูน (Limestone) หิน เชิร์ต (Chert) เกลือหิน (Rock Salte) ถ่านหิน (Coal) เป็ นต้น

3. หินแปร เป็นหินที่เกิดจากการแปรสภาพ อนั เน่ืองมาจากความร้อนและความกดดนั ของโลกเช่น หินไนซแ์ ปรสภาพมาจากหินแกรนิต หินควอร์ตไซต์ แปรสภาพมาจากหินทราย หินชนวนแปรสภาพมาจาก หินดินดาน หินอ่อนแปรสภาพมาจากหินปูน



3. หนิ แปร (Metamorphic Rock) แบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ

3.1การแปรสภาพบริเวณไพศาล (Regional metamorphism)  เกดิ เป็ นบริเวณกว้างโดยมคี วามร้อนและความดนั ทาให้เกดิ แร่ ใหม่หรือผลกึ ใหม่เกดิ ขนึ้ มกี ารจดั เรียงตวั ของแร่ใหม่ และแสดงริ้ว ขนาน (Foliation) อนั เนื่องมาจากแร่เดมิ ถูกบบี อดั จนเรียงตวั เป็ น แนวหรือแถบขนานกนั เช่น หินไนส์ (Gneiss) หินชีสต์ (Schist) และหินชนวน (Slate) เป็ นต้น หินชนวน หินไนส์ (Slate) (Gneiss)

3.2 การแปรสภาพสัมผสั (Contact metamorphism)  เกดิ จากการแปรสภาพโดยความร้อนและปฏิกริ ิยาทางเคมี ของสารละลายทขี่ นึ้ มากบั หินหนืดมาสัมผสั กบั หินท้องที่ ไม่มี อทิ ธิพลของความดนั มากนัก ปฏิกริ ิยาทางเคมอี าจทาให้ได้แร่ ใหม่บางส่วนหรือเกดิ แร่ใหม่แทนทแ่ี ร่ในหินเดมิ หินแปรที่ เกดิ ขนึ้ จะมกี ารจดั เรียงตัวของแร่ใหม่ ไม่แสดงริว้ ขนาน (Nonfoliation) เช่น หินอ่อน (Marble) หินควอตไซต์ (Quartzite)

หินควอตไซต์ (Quartzite) หินอ่อน (Marble)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook