Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวชี้วัดที่ 5 ความสำเร็จของผลการสรุปผลปฏิบัตืงาน

ตัวชี้วัดที่ 5 ความสำเร็จของผลการสรุปผลปฏิบัตืงาน

Published by พุทธราช แสนวังทอง, 2021-09-08 02:49:02

Description: ตัวชี้วัดที่ 5 ความสำเร็จของผลการสรุปผลปฏิบัตืงาน

Search

Read the Text Version

ตวั ชีว้ ดั ที่ 5 ความสำเรจ็ ของการสรปุ ผลการปฏิบัติงานและเสนอแนวทางการปรบั ปรุงและพัฒนา ผลการปฏบิ ัติงานทดี่ ี (Best Practice) 1. ช่ือโครงการ ห้องสมุดพนื้ ท่กี ารเรียนร้แู ละส่งเสริมการอา่ น 2. สอดคลอ้ งกบั นโยบายสำคญั 3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ข้อ 3.2 พัฒนาแหล่ง เรยี นรูใ้ หม้ บี รรยากาศและสภาพแวดล้อมท่ีเอ้อื ตอ่ การเรียนรู้ มีความพรอ้ ม ในการให้บรกิ ารกจิ กรรมการศึกษา และการเรยี นรู้ เปน็ แหลง่ สารสนเทศสาธารณะท่ีง่ายต่อการเข้าถึง มบี รรยากาศท่ีเอ้อื ต่อการเรียนรู้ เป็นพ้ืนท่ี การเรยี นร้สู ำหรับคนทกุ ชว่ งวัย มีส่งิ อำนวยความสะดวก มบี รรยากาศสวยงามมีชวี ติ ทีด่ งึ ดูดความสนใจ และมี ความปลอดภยั สำหรับผใู้ ช้บริการ 4. ยุทธศาสตรต์ น้ การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม ขอ้ 4.1 จัดตงั้ ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ สำหรับทุกช่วงวัย ที่เป็นศูนย์การเรียนรู้ตลอดชีวิตที่สามารถให้บริการ ประชาชนได้ทุกคน ทุกช่วงวัย ที่มี กิจกรรมทีห่ ลากหลาย ตอบสนองความต้องการในการเรียนรูแ้ ต่ละวัยและเป็นศูนย์บรกิ ารความรู้ ศูนย์การจัด กิจกรรมที่ครอบคลุมทุกช่วงวัย เพื่อให้มีพัฒนาการเรียนรู้ทีเ่ หมาะสม และมีความสุขกับการเรียนรู้ตามความ สนใจ 3. หลักการและเหตุผล ห้องสมดุ ประชาชนเป็นห้องสมดุ ที่ให้บรกิ ารทรัพยากรสารสนเทศแกป่ ระชาชนในท้องถ่ินโดยไม่จำกัด วัย ระดบั ความรู้ เชื้อชาติและศาสนา เพอ่ื ให้สอดคล้องกับความตอ้ งการของชุมชนแต่ละแหง่ เป็นการส่งเสริม การศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองตลอดชวี ิตของประชาชนในชุมชน โดยห้องสมุดประชาชนมวี ัตถุประสงค์ให้บริการ สารสนเทศอย่างกว้างขวางทั้งภายใน และ ภายนอกห้องสมุดประชาชน โดย 1)การจัดสื่อความรู้และบริการ สำหรับเด็กเล็ก และ เด็กในวัยเรียน เพื่อกระตุ้นให้เกิดจินตนาการ และ พัฒนาความอยากรู้อยากเห็นและ ปลูกฝังนิสัยรักการอ่านของเด็ก 2)จัดหาสื่อความรู้และบริการสำหรับเยาวชน ที่จะส่งเสริมช่วยเหลือให้เกิด พฒั นาการทางดา้ นสงั คม สตปิ ญั ญา ความคิดสรา้ งสรรค์ ความเปน็ ผ้กู ลา้ แสดงออกและสามารถปรบั ตวั เข้าสู่วัย ผู้ใหญ่ได้อย่างเหมาะสม 3)จัดหาสื่อความรู้และบริการสำหรับผู้ใหญ่ที่จะช่วยในการพัฒนาอาชีพให้เกิด ประสิทธภิ าพ และกา้ วหน้าทนั ความเจรญิ ก้าวหน้าของโลก4)จัดหาสื่อความรูแ้ ละให้บริการความรู้ทีเหมาะสม แก่ประชากรวยั สูงอายุ และผู้อยใู่ นสถานสงเคราะห์ต่างๆ 5)จดั กจิ กรรมเกย่ี วกับการใชห้ นงั สือส่งเสริมการอ่าน ทจ่ี ะปลกู ฝงั นสิ ยั รักการอ่านไปจนตลอดชวี ติ และการร้จู ักใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชน์ ใหเ้ กิดแก่ประชาชนอย่าง ต่อเนื่องและกว้างขวาง 6)ร่วมมือกับภาคีเครือข่าย และ องค์กรอื่นๆ ในการจัดสื่อการเรียนการสอนเพ่ือ เผยแพร่การศกึ ษา และ เป็นแหลง่ คน้ คว้าเฉพาะกจิ กรรมตามความตอ้ งการขององค์กรนั้น และให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือประสานงานกับชุมชน หรือหน่วยงานอื่นๆ ที่จะส่งเสริมเผยแพร่ให้เกิดกิจกรรมทางด้านบริการ ความร้ขู ้อมูลขา่ วสารแก่ชมุ ชน ห้องสมุดประชาชนจึงจำเป็นต้องเตรียมความพรอ้ มด้านการบริการทรัพยากรสารสนเทศและส่ือการ เรียนรู้ ปรับปรงุ ภมู ทิ ัศน์ของห้องสมุดให้สวยงามและพรอ้ มต่อการให้บรกิ ารแก่ประชาชนในชุมชน ทั้งน้ีพร้อม ตอบสนองความตอ้ งการของผู้ใช้บริการ หอ้ งสมดุ ประชาชนนอกจากจะให้บรกิ ารสารสนเทศแล้ว ยังเป็นพ้ืนท่ี การเรียนรู้ชองชุมชน (Co-Learning Space) เน้นผู้ใช้บริการเป็นศูนย์กลาง โดยห้องสมุดประชาชนจะจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เชิงรุกทั้งภายในและภายนอกของห้องสมุ ดประชาชน กิจกรรม อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน บ้านหนังสือชุมชน และห้องสมุดเคลื่อนที่ ทั้งนี้เพือ่ ส่งเสริมให้ประชาชนสามารถ

พัฒนาศกั ยภาพ ความรู้ และความคิดสร้างสรรค์ โดยจัดเน้อื หาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัดของบุคคล การฝึกทักษะ กระบวกการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์และการประยุกต์ ความรู้มาใช้แกป้ ญั ญาจากประสบการณ์ รวมทั้งครู กศน.ตำบล ครู ศศช. ถือว่ามีส่วนสำคญั ในการสง่ เสริมให้ คนในสังคมมพี ฤติกรรมรักการอา่ น เนื่องจากเป็นบุคคลที่ใกล้ชิดกับคนในชุมชน ดังนั้นในการจัดกจิ กรรมต้อง จัดกิจกรรมบูรณาการองค์ความรู้ตา่ งๆ ที่เกื้อกูลส่งเสรมิ การเรียน โดยใช้กระบวกการอา่ นในการจัดกิจกรรม การเรยี นรู้ เพือ่ ส่งเสรมิ การอ่านกบั ครู กศน.ตำบล ครู ศศช. รวมไปถึงรปู แบบกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านรูปแบบ ตา่ งๆ ทีจ่ ะนำไปจดั ใหก้ ับคนในชมุ ชนซง่ึ มีความแตกตา่ งกนั ดังนั้นห้องสมุดประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติจังหวัดน่าน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการ ส่งเสริมการอ่าน เพราะการอ่านเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการเรียนและควบคู่กับการเสริมสร้างลักษณะนิสัยรัก การอ่านเป็นเครื่องมือสำคัญในการแสวงหาความรูแ้ ละส่งเสรมิ ให้เกดิ ความคดิ ริเร่ิมสร้างสรรค์ การสร้างเสริม ประสบการณ์สำหรับการเก็บเกี่ยวและนำไปปรับใช้ในการดำเนินชีวิต มีความสามารถในการพัฒนาและ ยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ อย่างยั่งยนื จึงจดั โครงการโครงการหอ้ งสมุดพืน้ ทก่ี ารเรียนรแู้ ละส่งเสรมิ การอา่ นขนึ้ 4. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพอื่ พัฒนาให้หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติ เปน็ แหลง่ การเรยี นรู้ของชุมชน 2. เพื่อพัฒนาการจัดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดจนพัฒนาการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการ เรียนรู้ ให้มีความเคลื่อนไหว มีชีวิตชีวา สอดคล้องกับความต้องการและ สามารถเข้าถงึ ผรู้ ับบริการทุกกลุ่มเปา้ หมาย 3. เพื่อส่งเสริมให้นักเรียน นักศึกษา และประชาชนมีนิสัยรักการอ่านและ การเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเน่อื งตลอดชีวติ 4. เพื่อพัฒนาผู้เรียนเป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ มีนิสัยรักการอ่าน รักการค้นคว้า เกิดการใฝ่รู้และ นำไปสู่การปฏิบตั ิในชีวติ ประจำวนั 5.เพอ่ื ส่งเสริมให้นักเรยี นใชเ้ วลาว่างให้เป็นประโยชน์ 6.เพื่อกระตุ้นให้นักเรียน มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและเรียนรู้ พัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เนือ่ ง 7.เพือ่ สนับสนนุ ให้นักเรียนมีกระบวนการอ่าน สร้างองคค์ วามรแู้ ละความคดิ ไปใชใ้ นการตัดสินใจ แก้ปัญหาและสรา้ ง วสิ ยั ทัศนใ์ นการดำเนินชีวิต 8.เพ่ือกระตนุ้ ใหน้ ักเรยี น มที กั ษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองและเรยี นรู้ พัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เนือ่ ง 5. เป้าหมาย เชงิ ปริมาณ 1.นักเรยี น นักศึกษา กศน. บุคลากร ครู กศน. และประชาชนทั่วไป จำนวน 2,200 คนท่ี เขา้ ใช้บริการ หอ้ งสมดุ 2.ประชาชนมีสว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน 400 คน 3.ประชาชนเขา้ รว่ มกจิ กรรมห้องสมดุ เคล่ือนที่ 200 คน 4.อาสาสมัครส่งเสริมการอา่ น 100 คน

เชงิ คุณภาพ 1.นักเรียน นักศกึ ษา กศน. บุคลากร ครู กศน. และประชาชนท่ัวไป เหน็ ความสำคัญของการ อา่ น การศกึ ษาค้นคว้า หาข้อมูลดว้ ยตนเอง และการใชบ้ ริการของห้องสมุด และ การดำเนนิ งานของห้องสมุด ได้รับการปรบั ปรุงให้มีความพรอ้ มในทกุ ๆดา้ น 2.ผู้ใช้บริการการอ่านในบ้านหนงั สือชุมชน มีโอกาสเข้าถึงหนังสือและสื่อการอา่ นที่ดีอย่าง ทั่วถึง เสริมสร้างนิสัยรักการอ่าน การแสวงหาความรู้ และสร้างโอกาสในการเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้และ เสรมิ สรา้ ง การเรยี นรู้ตลอดชีวติ 3.ห้องสมุดเคลื่อนท่ีกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ และปลูกฝัง นิสยั รักการอ่าน/การเรยี นรู้ อยา่ งกวา้ งขวาง ทั่วถึง และมคี ุณภาพ 4.อาสาสมัครสง่ เสริมการส่งเสริมประชาชนมนี สิ ยั รักการอา่ นเพ่ิมข้นึ 6. วธิ ีดำเนินการ กิจกรรมหลัก วตั ถุประสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พื้นท่ี ระยะเวลา งบประมา จำนวน 26 ดำเนนิ การ ณ คน 1. ประชุม เพื่อให้บุคลากรใน บรรณรกั ษ์ กศน.อำเภอ พฤษภาคม จำนวน 26 ปรกึ ษาหารือ หน่วยงานได้ร่วมวาง บุคลากร กศน. คน เฉลิมพระเกียรติ 2564 บคุ ลากรที่ แผนการจดั กจิ กรรม อำเภอเฉลมิ เกยี่ วขอ้ งใน พระเกียรติ หน่วยงาน 2.ประสาน 1.เพื่อบูรณาการการ บรรณรักษ์ กศน.อำเภอ พฤษภาคม เฉลมิ พระเกยี รติ 2564 เครอื ขา่ ย/ จัดกจิ กรรมร่วมกัน บคุ ลากร กศน. บคุ ลากร/ 2.เพื่อประสานจัดหา อำเภอเฉลิม หน่วยงานสว่ น วัสดุอุปกรณ์ในการจัด พระเกียรติ ราชการท่ี กจิ กรรม เกยี่ วขอ้ ง 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ 3. การ การดำเนินโครงการ ดำเนินงานตาม แผน/โครงการ/ 1.ปรบั ภมู ิทศั น์ ภายในหอ้ งสมุด ให้เปน็ co- Learning space 2.กจิ กรรม นทิ รรศการ ออนไลน์ 3.กจิ กรรมเล่าสู่ กนั ฟัง

กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พืน้ ท่ี ระยะเวลา งบประมา ดำเนินการ ณ 4.กจิ กรรม My Diary 5.กิจกรรมตอบ คำถามออนไลน์ 6.กจิ กรรมชดุ รี 1.เพื่อให้นักเร ียน เด็ก เยาวชน จำนวน หอ้ งสมุด พฤษภาคม 8,000 2,200 คน ประชาชน 2564 – ไซเคิล ต ร ะ ห น ั ก ถ ึ ง ค ว า ม นักศกึ ษา อำเภอเฉลิม กนั ยายน 7.กิจกรรม Read สำคัญของการอ่าน กศน. พระเกียรติ 2564 and shear และพัฒนาด้านการ ประชาชน 8.กิจกรรม อ่าน ทัว่ ไป และคร/ู ระบายสีของฉนั 2.ส่งเสริมให้นักเรียน บคุ ลากร กศน. 9.กิจกรรมตอ่ คำ รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็น ต่อเอ่ย ประโยชน์ด้วยการอ่าน 10.กิจกรรมตาม หนงั สือ หาคำที่ใช่ คมที่ 3 . เ พ ื ่ อ ป ล ู ก ฝ ั ง ใ ห้ โดน นักเรียนมีนิสัยรักการ 11.กิจกรรม อ่าน กระซบิ บอกว่า 4.เพื่อพัฒนาห้องสมุด อะไร (สุภาษิต) ให้มีบรรยากาศน่าเข้า 12.กจิ กรรม ใช้บริการ เอื้อต่อการ หนงั สือทำมือ เรียนรู้ 13.กจิ กรรม 5.เพื่อให้ผู้ใช้บริการ crossword เ ข ้ า ถ ึ ง ท ร ั พ ย า ก ร Game สารสนเทศและได้รับ 14.กจิ กรรม ประโยชน์จาการศึกษา นิทานเรอื่ งนไ้ี มม่ ี หาความรเู้ พิ่มมากขึ้น ตอนจบ 6.เพื่ออำนวยความ 15.กิจกรรม สะดวก ในการบริการ บรจิ าคหนังสือ ทรัพยากรสารสนเทศ 16.กิจกรรม แ ก ่ ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ book face ชมุ ชน challenge 7.เพ ื่อส่ง เสร ิมให้ 17.กิจกรรม ประชาชนเข้าใช้แหล่ง Bingo เรียนรู้และเรียนรู้ที่จะ 18.กิจกรรม พัฒนาศักยภาพของ โปสเตอร์ ตนเองด้วยการอ่าน

กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พืน้ ที่ ระยะเวลา งบประมา ดำเนินการ ณ จำนวน 100 พฤษภาคม ประชาสัมพันธ์ 8. . เพ่ือส่งเสรมิ พฒั นา คน อำเภอเฉลมิ 2564 – พระเกยี รติ กันยายน ออนไลน์ ห้องสมุดให้มีลักษณะ จำนวน 400 2564 คน บ้านหนงั สือ 19.กิจกรรม ไทย เ ป ็ น ห ้ อ ง ส ม ุ ด Co- ชุมชน10 แหง่ พฤษภาคม 2564 – คำ องั กฤษคำ Learning Space 20.กจิ กรรม 9.เพื่อสนับสนุนให้ Fun English นักเรียนมีกระบวนการ ชวนซิสมารู้ อ่าน สร้างองค์ความรู้ และความคิดไปใช้ใน การตัดสินใจแก้ปัญหา และสร้างวิสัยทัศน์ใน การดำเนินชีวติ 1 0 . เ พ ื ่ อ ก ร ะ ต ุ ้ น ใ ห้ ประชาชน มีทักษะใน ก า ร แ ส ว ง ห า ค ว า ม รู้ ด้วยตนเองและเรียนรู้ พัฒนาตนเองอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง 3.5 ห้องสมุด 1 . เ พ ื ่ อ ส ่ ง เ ส ริ ม ส นั บ เคลอ่ื นที่สู่ชมุ ชน สนับสนนุ การอ่าน/ การเรียนรู้ และปลูกฝัง ประชาชน 3.6 โครงการ นิสัยรักการอ่านให้กับ ทั่วไป บ้านหนงั สือ กลุ่มเป้าหมายอย่าง กว้างขวาง ทั่วถึงทุก พ้ืนท่ี 2. เพื่อเพิ่มช่องทางและ โอกาสการอ่าน/การ เรยี นรูใ้ หก้ ลุ่มเปา้ หมาย 3. เพื่อส่งเสริมความ ร่วมมือและประชา สัมพันธ์กิจกรรมการ ศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั อัธยาศัย 1. เพื่อส่งเสริมให้ ประชาชน ผู้ ใ ช ้ บ ร ิ ก า ร แ ล ะ ผู้รับบริการ ผู้นำชุมชน

กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลมุ่ เปา้ หมาย เปา้ หมาย พ้ืนท่ี ระยะเวลา งบประมา ดำเนินการ ณ ชมุ ชนกิจกรรม อาสาสมัครรักการอ่าน ของอำเภอเฉลมิ กันยายน. (ป๋ันใจการอ่าน) คนในชุมชนมีส่วนใน พระเกียรติ 2564 การจดั กิจกรรมส่งเสริม การอา่ น 2. เพื่อพัฒนา เด็ก นักเรียน นักศึกษา ประชาชนทั่วไปและ ผู้สูงอายุ ให้มีนิสัยรัก การอา่ น 3. เพื่อเป็นแหล่งการ อ่านท่ใี กล้ตัวในชมุ ชน 4. สำรวจความ 1 . เพ ื่อทร าบคว าม บรรณารกั ษ์ จำนวน 1 คน ห้องสมดุ กนั ยายน - พงึ พอใจและ ก้าวหน้าพร้อมปรับปรุง ประชาชน 64 สรุปผลการ พัฒนาผลการดำเนนิ งาน อำเภอเฉลมิ ดำเนนิ งาน 2.เพื่อสรุปผลการและ พระเกยี รติ ประเมินผลการดำเนิน โครงการ 7. วงเงนิ งบประมาณท้ังโครงการ ใช้งบประมาณในการดำเนินงาน จากงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2562 ไปพลางไป ก่อน แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและสร้างเสรมิ ศักยภาพคน ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตาม อัธยาศัย กิจกรรมจัดการศึกษาตามอัธยาศัย งบดำเนินงาน ค่าบริหารจัดการ สำหรับห้องสมุด รหัส งบประมาณ 2000239005000000 เป็นเงินจำนวน 8,000.- บาท (แปดพันบาทถ้วน) รายละเอียด ดงั นี้ 1.คา่ รางวลั สำหรบั กิจกรรม (แก้วน้ำ,แฟม้ ,กล่องข้าว,กระเปา๋ ผา้ ) 1,000 บาท 2.ค่าวัสดุ (กระดาษเทา-ขาว, กาวลาเทก็ ซ,์ โฟม ๒ น้ิว, กระดาษการ์ดสี, เข็มหมุด, กระเป๋า ผา้ ส่งเสริมการอ่าน, กระดาษ A 4, ทีค่ ัน่ หนงั สอื เหล็ก, กรรไกร,ตะกร้าหนังสอื , แผน่ ใสเคลือบ,) 7,000 บาท หมายเหตุ. ทุกรายการขอถวั จา่ ยตามความเปน็ จริง

8. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค. – ธ.ค. (ม.ค. – มี.ค. (เม.ย. – มิ.ย. 63) (ก.ค. – ก.ย. 1. ประชุมปรึกษาหารือ บุคลากรท่ี เก่ียวขอ้ งในหน่วยงาน 62) 63) - 63) 2. ประสานเครอื ขา่ ย/บุคลากร/ - - หน่วยงานส่วนราชการท่ีเกยี่ วข้อง - - - 3. การดำเนนิ งานตามแผน/โครงการ/ 3,000 1. ปรบั ภมู ิทัศนภ์ ายในห้องสมุด ให้ - -- เปน็ co-Learning space - 3,000 1.000 2. กจิ กรรมนทิ รรศการออนไลน์ - - 3. กจิ กรรมเลา่ สู่กันฟัง -- 4. กิจกรรม My Diary - 1,000 5. กิจกรรมตอบคำถามออนไลน์ -- 6. กิจกรรมชดุ รไี ซเคลิ 7. กิจกรรม Read and shear 8. กิจกรรมระบายสีของฉัน 9. กจิ กรรมตอ่ คำตอ่ เอย่ 10. กิจกรรมตามหาคำที่ใช่ คมท่โี ดน 11. กจิ กรรมกระซิบบอกว่าอะไร 12. กิจกรรมหนังสือทำมอื 13. กิจกรรม crossword Game 14. กิจกรรมนทิ านเร่อื งนไ้ี ม่มีตอนจบ 15. กจิ กรรมบริจาคหนงั สอื 16. กจิ กรรม book face challenge 17. กจิ กรรม Bingo 18. กิจกรรมโปสเตอร์ ประชาสัมพนั ธ์ 19. กิจกรรม ไทยคำ อังกฤษคำ 4. กจิ กรรมหอ้ งสมดุ เคลือ่ นที่สู่ชุมชน 5. กจิ กรรมป๋นั ใจการอา่ น 6. สำรวจความพงึ พอใจและสรปุ ผล การดำเนินงาน 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ นายธนกฤต แสนวงั ทอง บรรณารักษ์ห้องสมุดประชาชนอำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ

10. เครือขา่ ย 1. องค์การบริการสว่ นตำบลหว้ ยโก๋น 2. องค์การบริการสว่ นตำบลขุนน่าน 3. ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กบ้านห้วยโก๋น 4. ศูนยพ์ ัฒนาเดก็ เลก็ บ้านน้ำรพี ัฒนา 5. ที่ทำการปกครองอำเภอเฉลิมพระเกียรติ 6. กำนัน ผูใ้ หญ่บ้าน และผู้นำชุมชน 11. โครงการทเี่ ก่ยี วขอ้ ง 1.โครงการ ส่งเสรมิ การอา่ นและพฒั นาหอ้ งสมุดประชาชน ให้เปน็ แหล่งการเรยี นรูท้ มี่ ชี วี ิต 2.โครงการบา้ นหนงั สอื ชุมชนแห่งการเรยี นร้ชู ุมชนตน้ แบบรักการอา่ น 3.โครงการ สง่ เสรมิ การอา่ นเคลอื่ นท่ี (รถโมบายเคลอ่ื นที่สชู่ ุมชน) 4.โครงการ อาสาสมัครส่งเสรมิ การอา่ น 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) 1.ห้องสมุดประชาชนเป็นศูนย์การการเรียนรู้ตลอดชีวิตของคนในชุมชน ที่ให้บริการด้วยคุณภาพ กลุ่มเป้าหมาย เขา้ รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ฝึกวธิ กี ารแสวงหาความรู้ ได้ดว้ ยตนเอง เพื่อสร้างนิสัยรัก การอ่าน และนำความรู้ไปพฒั นาตนเอง พัฒนาอาชีพ ปรับตัวให้เข้ากับสภาพของสังคมยคุ ปัจจุบนั ห้องสมุด ประชาชน กศน. ตำบล และชุมชน มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการอ่านให้กับเด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา กศน. และประชาชน ร้อยละ 80 สง่ ผลให้มีนิสัยรกั การอา่ นในอนาคต 13. ดัชนีชว้ี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ ดัชนชี ้วี ดั ผลผลิต (Output) 1. จำนวนผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปา้ หมาย 2) ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมมีความรู้ ความเข้าใจตามวตั ถุประสงค์ ระดับดีขึ้นไปร้อยละ 70 3) ผ้เู ข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจ ระดบั ดขี ้นึ ไปร้อยละ 80 13.2) ตัวชีว้ ดั ผลลัพธ์ (Outcome) 1) หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกยี รติเป็นแหลง่ การเรยี นรขู้ องชมุ ชน 2) ห้องสมุดสภาพแวดล้อมและบรรยากาศให้เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดจนพัฒนาการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการ เรียนรู้ ให้มีความเคลื่อนไหว มีชีวิตชีวา สอดคล้องกับความต้องการและ สามารถเข้าถึงผ้รู ับบริการทุกกลมุ่ เปา้ หมาย 3) นักเรียน นักศึกษา และประชาชนมีนิสัยรักการอ่านและ การเรียนรู้ ใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ 14) การตดิ ตามและประเมนิ ผลโครงการ ๑. แบบประเมินความพงึ พอใจ ๒. สรุปผลรายงานการประเมนิ ๓. รายงานผลโครงการใหห้ น่วยงานต้นสังกัด

ลงชอ่ื .........................................ผู้เสนอโครงการ ลงช่ือ....................................ผู้เหน็ ชอบโครงการ (นายธนกฤต แสนวังทอง) (นางสาวปราณี สมรส) บรรณารักษ์ ครูผู้ชว่ ยทำหน้าที่หวั หน้าการศกึ ษาตามอัธยาศัย ลงชื่อ ....................................ผเู้ หน็ ชอบโครงการ (นางสาวปราณี สมรส) ลงชอ่ื .............................................ผ้เู ห็นชอบโครงการ (นายนภดล แสนอินตะ๊ ) ครอู าสาสมคั รทำหน้าทแ่ี ผนงาน/งบประมาณ ครู ลงช่ือ.........................................ผูอ้ นมุ ตั โิ ครงการ (นายนมิ ิตร หงสนนั ทน์) ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอเฉลิมพระเกียรติ

ผลการประเมินโครงการหอ้ งสมุดพ้นื ท่ีการเรยี นรแู้ ละสง่ เสรมิ การอ่าน การนำเสนอผลการประเมินโครงการ ผู้ประเมินได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมตาม โครงการห้องสมุดพ้นื ทกี่ ารเรียนรแู้ ละสง่ เสรมิ การอา่ นของห้องสมุดประชาชนอำเภอเฉลมิ พระเกียรติ โดยวิธีใช้ แบบสอบถาม จำนวน 100 ชุด (จากการสุม่ ตวั อย่าง) มีผสู้ ่งแบบสอบถามกลับคืนจำนวน 100 ชุด คิดเป็น รอ้ ยละ 100 ทั้งน้ใี นการนำเสนอผลการประเมินโครงการ แบ่งเปน็ 3 สว่ น ดังน้ี ตอนที่ 1 ข้อมลู ทว่ั ไป คน 1. เพศ คน ชาย 33 หญิง 67 2. อายุ (ผู้ปกครอง) อายุ 16 - 20 ปี 3 คน อายุ 21-25 ปี 9 คน อายุ 26 - 30 ปี 21 คน อายุ 31 - 40 ปี 19 คน อายุ 41-50 ปี 39 คน อายุ 51 - 60 ปี 9 คน 3. ระดับการศกึ ษา 2 คน ประถมศึกษา 16 คน 31 คน มธั ยมศึกษาตอนตน้ 22 คน 29 คน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย อนุปริญญา ปรญิ ญาตรี 4. อาชีพ 24 คน ข้าราชการ 22 คน เกษตรกรรม 25 คน ค้าขาย 9 คน 19 คน อน่ื ๆ 1 คน รบั จ้าง/ลูกจา้ ง นกั เรียน/นกั ศกึ ษา ตอนท่ี 2 ระดบั การประเมนิ โครงการ รายละเอยี ดการประเมิน 5 ระดบั 2 1 24 43 - - 1. การดำเนินกิจกรรมเปน็ ระบบและมีขนั้ ตอนท่ชี ดั เจน 63 76 - - - 2. ความสะดวกเหมาะสมของสถานท่ีจดั กิจกรรม 22 66 1 - - 3. ระยะเวลาการดำเนนิ กจิ กรรมมคี วามเหมาะสม 24 77 1 - - 4. รปู แบบการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม 27 74 2 - - 5. ความเหมาะสมของสื่อ/อปุ กรณ/์ เนื้อหาในการจัดกจิ กรรม 26 66 7 - - 6. การประชาสัมพันธโ์ ครงการ 26 76 2 - - 7. ทา่ นได้รับประโยชนจ์ ากการเขา้ ร่วมกจิ กรรม 72 2

8. ท่านนำความรูจ้ ากการเข้าร่วมกิจกรรมไปใชใ้ น 25 72 3 - - ชีวิตประจำวนั มากน้อยเพียงใด 9. เจ้าหน้าที่อธั ยาศยั ดี กนั เอง ดำเนนิ กจิ กรรมด้วยความ 39 61 - - - สุภาพ 10. ในภาพรวมของโครงการฯ ท่านมีความพึงพอใจมากนอ้ ย 44 56 - - - เพยี งใด หมายเหตุ.- 5 ดมี าก 4 ดี 3 พอใช้ 2 ควรปรับปรุง 1 ต้องปรบั ปรงุ ตอนที่ 3 ปัญหาและอุปสรรคในการจัดกจิ กรรม สรุปผลการประเมิน ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการ สามารถสรุปได้ดังนี้ ผลการ ประเมินระดบั ความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการห้องสมุดพ้ืนท่ีการเรียนรู้และสง่ เสริมการอ่านของ หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกยี รติ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ระดับความพงึ พอใจตอ่ ผเู้ ข้ารว่ มโครงการฯ 1. การดำเนนิ กิจกรรมเปน็ ระบบและมขี ้นั ตอนท่ชี ดั เจน ระดับดมี าก จำนวน 24 คน คิดเปน็ ร้อยละ 24 ระดับดี จำนวน 76 คน คิดเปน็ ร้อยละ 76 ระดบั พอใช้ จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ระดบั ควรปรบั ปรุง จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ - ระดบั ต้องปรับปรุง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรมเป็นระบบและมีขั้นตอนที่ชัดเจน อยใู่ นระดบั ดมี ากและมาก จำนวน 100 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 แสดงว่า ผ้ใู ช้บริการพึงพอใจต่อการดำเนิน กิจกรรมทีเ่ ป็นระบบและมีขัน้ ตอนทช่ี ดั เจน 2. ความสะดวกเหมาะสมของสถานทจ่ี ดั กิจกรรม ระดบั ดมี าก จำนวน 33 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 33 ระดบั ดี จำนวน 66 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66 ระดับพอใช้ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1 ระดับควรปรับปรงุ จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ - ระดบั ตอ้ งปรับปรงุ จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ - ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมมคี วามพงึ พอใจตอ่ ความสะดวกเหมาะสมของสถานท่จี ัดกิจกรรม อยูใ่ นระดับดีมาก และมาก จำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 99 แสดงว่า ผู้ใช้บริการพึงพอใจต่อความสะดวกเหมาะสมของ สถานท่จี ัดกจิ กรรม

3. ระยะเวลาการดำเนินกิจกรรมมีความเหมาะสม ระดบั ดมี าก จำนวน 22 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 22 ระดับดี จำนวน 77 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 77 ระดบั พอใช้ จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 1 ระดบั ควรปรับปรงุ จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ระดบั ตอ้ งปรับปรงุ จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจต่อระยะเวลาการดำเนนิ กจิ กรรมมีความเหมาะสม อย่ใู นระดับดีมาก และมาก จำนวน 99 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 99 แสดงว่า ผู้ใช้บริการพึงพอใจต่อระยะเวลาการดำเนนิ กจิ กรรมมี ความเหมาะสม 4. รปู แบบการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม ระดับดมี าก จำนวน 24 คน คิดเปน็ ร้อยละ 24 ระดับดี จำนวน 74 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 74 ระดับพอใช้ จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2 ระดับควรปรบั ปรุง จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ระดับตอ้ งปรบั ปรุง จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อรปู แบบการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม อยู่ในระดับดมี ากและ มาก จำนวน 98 คน คิดเป็นร้อยละ 98 แสดงว่า ผู้ใช้บริการพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม 5. ความเหมาะสมของสอ่ื /อปุ กรณ์/เนือ้ หาในการจดั กจิ กรรม ระดบั ดีมาก จำนวน 27 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 27 ระดับดี จำนวน 66 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 66 ระดับพอใช้ จำนวน 7 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7 ระดับควรปรบั ปรงุ จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ระดบั ต้องปรับปรงุ จำนวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ - ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจตอ่ ความเหมาะสมของส่ือ/อุปกรณ/์ เน้อื หาใน การจัดกจิ กรรม อยู่ใน ระดบั ดีมากและมาก จำนวน 93 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 93 แสดงวา่ ผู้ใชบ้ รกิ ารพงึ พอใจตอ่ ความเหมาะสมของ สอื่ /อปุ กรณ/์ เนือ้ หาในการจัดกจิ กรรม 6. การประชาสัมพนั ธโ์ ครงการ ระดับดมี าก จำนวน 26 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 26 ระดับดี จำนวน 67 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 67 ระดบั พอใช้ จำนวน 7 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 7 ระดบั ควรปรบั ปรงุ จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ระดับต้องปรับปรุง จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการประชาสัมพันธ์โครงการ อยู่ในระดับดีมากและมาก จำนวน 93 คน คิดเปน็ ร้อยละ 93 แสดงว่า ผูใ้ ชบ้ ริการพึงพอใจต่อการประชาสมั พนั ธ์โครงการ

7. ท่านได้รบั ประโยชนจ์ ากการเข้ารว่ มกจิ กรรม ระดับดีมาก จำนวน 26 คน คดิ เป็นร้อยละ 26 ระดับดี จำนวน 72 คน คดิ เป็นร้อยละ 72 ระดบั พอใช้ จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2 ระดบั ควรปรับปรงุ จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ - ระดบั ตอ้ งปรบั ปรุง จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อท่านได้รับประโยชนจ์ ากการเข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับดีมาก และมาก จำนวน 98 คน คิดเป็นร้อยละ 98 แสดงว่าผู้ใช้บริการพึงพอใจประโยชน์ที่ได้รับจากการเข้าร่วม กจิ กรรม 8. ทา่ นนำความรจู้ ากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมไปใช้ในชวี ิตประจำวันมากน้อยเพยี งใด ระดบั ดีมาก จำนวน 25 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 25 ระดบั มาก จำนวน 72 คน คดิ เป็นร้อยละ 72 ระดบั พอใช้ จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 3 ระดับควรปรบั ปรุง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ระดบั ตอ้ งปรับปรุง จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อท่านนำความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปใช้ในชีวิตประจำวัน อยู่ในระดับดีมากและมาก จำนวน 97 คน คิดเป็นร้อยละ 97 แสดงว่า ผู้ใช้บริการพึงพอใจต่อการนำความรู้ จากการเข้าร่วมกจิ กรรมไปใช้ในชวี ิตประจำวนั 9. เจา้ หนา้ ท่ีอัธยาศยั ดี กนั เอง ดำเนนิ กจิ กรรมด้วยความสุภาพ ระดับดมี าก จำนวน 39 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 39 ระดับดี จำนวน 61 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 61 ระดับพอใช้ จำนวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ - ระดับควรปรับปรุง จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ระดบั ตอ้ งปรับปรุง จำนวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าที่อัธยาศัยดี กันเอง ดำเนินกิจกรรมด้วยความสุภาพ อยู่ในระดับดีมากและมาก จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100 แสดงว่า ผู้ใช้บริการพึงพอใจต่อกิจกรรม เจ้าหน้าท่อี ัธยาศยั ดี กนั เอง ดำเนนิ กจิ กรรมด้วยความสภุ าพ 10. ในภาพรวมของโครงการฯ ท่านมีความพึงพอใจมากน้อยเพยี งใด ระดบั ดมี าก จำนวน 44 คน คิดเปน็ ร้อยละ 44 ระดบั ดี จำนวน 56 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 56 ระดับพอใช้ จำนวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ - ระดับควรปรับปรุง จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ - ระดบั ตอ้ งปรบั ปรุง จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมมีความพงึ พอใจต่อในภาพรวมของโครงการฯ ทา่ นมคี วามพึงพอใจมากน้อยเพียงใด อยู่ในระดบั ดมี ากและมาก จำนวน 100 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 แสดงวา่ ผใู้ ช้บรกิ ารพึงพอใจต่อภาพรวมของ โครงการฯ จากการสุ่มตัวอย่างจากผู้ใช้บริการ จำนวน 100 คน มีค่าเฉลี่ยจากการประเมินที่ ร้อยละ 94 ถือวา่ บรรลตุ ามวัตถุประสงค์ของโครงการฯ

รปู ภาพกจิ กรรม





1. ชื่อโครงการ การอา่ นเพือ่ พัฒนาอาชพี 2. สอดคลอ้ งกบั นโยบาย 1. ยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี : ยุทธศาสตรท์ ี่ ๓ การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ช่วงวัยและการสร้างสังคม แหง่ การเรียนรู้ ข้อ 2) การยกระดบั การศึกษาและการเรียนรูใ้ ห้มคี ุณภาพเทา่ เทียมและทว่ั ถึง 2. นโยบายและจุดเนน้ ของสำนักงาน กศน. : ภารกิจตอ่ เนือ่ ง 1.4 การศึกษาตามอธั ยาศยั ขอ้ 1) พัฒนาแหล่งการเรยี นรทู้ ม่ี ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มท่เี ออ้ื ตอ่ การอ่านและพัฒนา ศักยภาพการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยให้เกิดขึ้นอย่างกว้างขวางและทั่วถึง เช่น การพัฒนา กศน. ตำบล ห้องสมุดประชาชนทุกแห่ง ให้มีการบริการที่ทันสมยั ส่งเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน การ สร้างเครือข่าย ส่งเสริมการอ่าน จัดหน่วยบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ ห้องสมุดชาวตลาด พร้อมหนังสือและ อุปกรณ์ เพื่อจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้ที่หลากหลายให้บริการกับประชาชนในพื้นที่ต่างๆ อย่างทว่ั ถงึ สม่ำเสมอ รวมท้ังเสริมสร้างความพร้อมในด้านบุคลากร สอื่ อปุ กรณเ์ พือ่ สนับสนุนการอ่าน และการ จัดกิจกรรมเพ่อื สง่ เสริมการอ่านอยา่ งหลากหลายรปู แบบ 3. หลักการและเหตผุ ล กศน.ตำบล ขุนน่าน และ กศน. ตำบลห้วยโก๋น ร่วมกับห้องสมุดประชาชนให้บริการทรัพยากร สารสนเทศแกป่ ระชาชนในทอ้ งถนิ่ โดยไม่จำกัดวยั ระดับความรู้ เช้อื ชาตแิ ละศาสนา เพือ่ ใหส้ อดคลอ้ งกับความ ต้องการของชุมชนแต่ละแห่ง เพื่อการส่งเสริมการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองตลอดชีวติ ของประชาชนในชุมชน โดยมวี ตั ถุประสงค์ใหบ้ ริการสารสนเทศอย่างกวา้ งขวาง ทงั้ น้ีจดั หาสือ่ ความรแู้ ละบริการสำหรับประชาชนท่ีจะ ช่วยในการพัฒนาอาชพี ให้เกดิ ประสิทธภิ าพ และกา้ วหน้าทนั ความเจรญิ ก้าวหน้าของโลกและ ร่วมมือกับภาคี เครือข่าย และ องค์กรอื่นๆ ในการจัดสื่อการเรียนการสอนเพื่อเผยแพร่การศึกษา และ เป็นแหล่งค้นคว้า กจิ กรรมตามความตอ้ งการขององค์กรนัน้ และให้ความร่วมมอื ชว่ ยเหลอื ประสานงานกับชุมชน หรือหน่วยงาน อ่ืนๆ ท่ีจะส่งเสรมิ เผยแพร่ให้เกดิ กจิ กรรมทางด้านบริการความรู้ข้อมลู ขา่ วสารแก่ชุมชน กศน.ตำบล ขุนน่าน และ กศน. ตำบลหว้ ยโกน๋ รวมถึงหอ้ งสมุดจึงเป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีสำคัญอย่างยิ่งท่ี จะชว่ ยพฒั นาผู้เรยี นให้มีนิสัยใฝ่เรยี นใฝร่ ู้ในด้านทักษะการสง่ เสริมอาชีพสู่แหลง่ ชุมชน ดังนั้น กศน. ตำบลขุน น่าน และ กศน.ตำบลห้วยโก๋น รวมถึงห้องสมุดอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จึงได้จัดทำโครงการ “การอ่านเพ่ือ พัฒนาอาชีพ” ขึ้นเพื่อตอบสนองนโยบายกับความต้องการของผู้เรียนและผู้ที่ต้องการศึกษา การจัด กระบวนการเรียนรูน้ ั้นมุ่งพัฒนา “ทักษะชีวิต” ใหเ้ กดิ ประสบการณก์ ารเรียนรเู้ ตม็ ความสามารถ สอดคล้องกับ ความถนัด ความสนใจและความต้องการของผเู้ รียน ดังนั้น กศน. ตำบลขุนน่าน และ กศน. ตำบลห้วยโก๋น รวมถึงห้องสมุดประชาชนอำเภอเฉลิมพระ เกียรติจังหวดั น่าน ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมการอ่าน เพราะการอ่านเป็นทักษะที่จำเป็นตอ่ การเรียนและควบคู่กบั การสง่ เสริมการพฒั นาอาชีพ ซึง่ เปน็ เคร่ืองมือสำคญั ในการแสวงหาความรู้และส่งเสริม ให้เกิดความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ การสรา้ งเสริมประสบการณ์และนำไปปรับใชใ้ นการดำเนินชีวติ มีความสามารถ ในการพัฒนาและยกระดบั คุณภาพชวี ิตอยา่ งย่งั ยนื จงึ จัด “โครงการการอา่ นเพอ่ื พัฒนาอาชีพ” ข้ึน

4. วตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื พัฒนาประชาชนใหม้ ีความรู้ ทกั ษะ และดำเนนิ ชวี ติ ในการประกอบอาชพี 2. เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการสร้างงานและอาชีพให้กับนักเรียนให้มีอาชีพเสรมิ เพิ่มรายได้แกต่ นเอง และครอบครวั ๕. เป้าหมาย 1. เชิงปรมิ าณ : ประชาชนตำบลขนุ นา่ นและตำบลหว้ ยโกน๋ อำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ 80 คน 2. เชงิ คุณภาพ : ประชาชนตำบลขนุ น่านและตำบลห้วยโก๋น อำเภอเฉลิมพระเกยี รติมีความรู้ ทักษะ และดำเนินชีวิตในการประกอบอาชีพ และสามารถสร้างงานและอาชีพเสริม เพิ่มรายได้แก่ตนเองและ ครอบครัว 6. วิธีดำเนินการ กจิ กรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหมาย เป้าหมาย พน้ื ทดี่ ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ จำนวน 26 คน กศน.อำเภอเฉลมิ สงิ หาคม 5,000 1. ประชุม 1.เพื่อให้บ ุคลากร ใ น บรรณรกั ษ์ จำนวน 26 คน 2564 - พระเกียรติ ปรึกษาหารอื ห น่วยง านได้ร ่วมวาง บคุ ลากร กศน. จำนวน กศน.อำเภอเฉลมิ สงิ หาคม 120 คน 2564 บุคลากรที่เกยี่ วข้อง แผนการจัดกิจกรรมการ อำเภอเฉลิมพระ พระเกียรติ จำนวน 1 คน 25 ในหนว่ ยงาน อ่านเพื่อพฒั นาอาชพี เกยี รติ ตำบลขนุ นา่ น สงิ หาคม และตำบลหว้ ยโก๋น 2564 – 2.ประสาน 1.เพื่อบูรณาการการจัด ห้องสมุดประชาชน 30 เครือขา่ ย/บุคลากร/ กจิ กรรมรว่ มกัน บรรณรักษ์ อำเภอเฉลมิ พระ กนั ยายน 2564 หนว่ ยงานสว่ น 2.เพื่อประสานจัดหาวัสดุ บคุ ลากร กศน. เกยี รติ กนั ยายน ราชการทเ่ี กี่ยวข้อง อุปกรณ์ในการจดั กจิ กรรม อำเภอเฉลมิ พระ 2564 3.เพื่อประชาสัมพันธ์การ เกยี รติ ดำเนนิ โครงการ 3. การดำเนินงาน 1.เพื่อสร้างโอกาสให้ ตามแผน/โครงการ/ ประชาชนได้เข้าถึงแหล่ง 3.1 กิจกรรมการ เรียนรู้ และตระหนักถึง ประชาชนตำบล สายคล้องหน้ากาก ความสำคัญของการอ่าน ขนุ น่านและ อนามัย เพื่อสร้างนิสัยรกั การอา่ น ตำบลห้วยโกน๋ 3.2 กิจกรรมสร้อย 2.เพอ่ื ส่งเสรมิ กจิ กรรมการ ข้อมอื อ่านและการเรียนรู้ได้ 3.3 กิจกรรมพวง อย่างเหมาะสมกับบริบท กุญแจ ของแตล่ ะชุมชน เหมาะสม กับเพศ ช่วงวัย และอาชีพ ของประชาชนในชุมชน 4. สำรวจความพึง 1.เพ่ือทราบความก้าวหน้า พอใจและสรุปผล พรอ้ มปรบั ปรุงพัฒนาผลการ บรรณารักษ์ การดำเนินงาน ดำเนนิ งาน 2.เพื่อสรปุ และประเมินผล การดำเนินโครงการ

7. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ งบประมาณประจำปี พ.ศ. 2564 แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรพั ยากรมนษุ ย์ ผลผลติ ที่ 5 ผ้รู ับบรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศัย กจิ กรรมจัดสร้างแหล่งเรยี นรใู้ นระดบั ตำบล รหสั งบประมาณ 200023605000000 ค่าบริหารจัดการเพื่อใช้เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดกิจกรรม จำนวน 5,000 บาท (หา้ พันบาทถ้วน) รายละเอียดดงั น้ี 1. วัสดุสำหรบั จัดกิจกรรมสง่ เสรมิ การอา่ น เป็นเงนิ 5,000 บาท รวมเปน็ เงินท้ังสิ้น 5,000 บาท หมายเหตุ. ทุกรายการขอถวั จา่ ยตามความเปน็ จริง 8. แผนการใช้จา่ ยงบประมาณ กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค. – ธ.ค. (ม.ค. – มี.ค. (เม.ย. – มิ.ย. 64) (ก.ค. – ก.ย. 1. ประชุมปรกึ ษาหารือ บคุ ลากรทเี่ กย่ี วขอ้ ง ในหน่วยงาน 63) 64) - 64) 2. ประสานเครือข่าย/บคุ ลากร/หนว่ ยงาน - - - - ส่วนราชการท่เี กี่ยวขอ้ ง - 3. การดำเนนิ งานตามแผน/โครงการ/ - - - - 3.1.กิจกรรมการสายคล้องหนา้ กากอนามัย 4. สำรวจความพงึ พอใจและสรปุ ผลการ - - 5,000 ดำเนินงาน - - - 9. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นายธนกฤต แสนวงั ทอง บรรณารกั ษ์ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอเฉลมิ พระเกยี รติ นายปารมี มะโนคำ ครู กศน. ตำบลขนุ นา่ น นางสาวรชั ฎาภรณ์ อังเขียว ครู กศน. ตำบลห้วยโก๋น 10. เครอื ขา่ ย 1. กำนัน ผ้ใู หญบ่ า้ น และผู้นำชมุ ชน 2. องค์การบรหิ ารส่วนตำบลหว้ ยโก๋น 3. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลขนุ นา่ น 11. โครงการท่เี กีย่ วขอ้ ง 1. โครงการการอ่านเพอ่ื พฒั นาอาชีพ 2. โครงการอาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอา่ น 12. ผลลพั ธ์ (Outcome) 1. ประชาชนมคี วามรู้ ทักษะในการประกอบอาชีพ 2. ประชาชนสามารถสร้างงาน และสร้างอาชีพให้กับตนเองมีอาชีพเสริม เพิ่มรายได้แก่ตนเองและ ครอบครัว

13. ดัชนีช้ีวัดผลสำเร็จของโครงการ 13.1 ดชั นีชีว้ ดั ผลผลติ (Output) 1) จำนวนผู้เข้าร่วมกจิ กรรมไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 70 ของกลมุ่ เปา้ หมาย 2) ผูเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรมมคี วามรู้ความเขา้ ใจตามวัตถปุ ระสงค์ของหลกั สตู ร ระดบั ดีขน้ึ ไปร้อยละ 70 13.2 ตวั ชี้วดั ผลลัพธ์ (Outcome) 1) ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ แหล่งรวบรวมความรู้และข้อมูลข่าวสารและ ตระหนักถึงความสำคญั ของการอา่ น เพื่อสรา้ งนิสยั รกั การอา่ น นำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ 2) ประชาชนไดร้ ับสง่ เสรมิ กิจกรรมการอ่านและการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมกับบรบิ ทของแต่ ละชุมชน เหมาะสมกับเพศ ช่วงวัย อาชีพของประชาชนในชุมชน และสามารถนำไปต่อยอดอาชีพเพื่อสร้าง รายได้ 14) การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ ๑. แบบประเมินความพงึ พอใจ ๒. สรปุ ผลรายงานการประเมิน ลงชือ่ .........................................ผเู้ สนอโครงการ ลงชอ่ื .....................................ผเู้ หน็ ชอบโครงการ (นายธนกฤต แสนวงั ทอง) (นางสาวปราณี สมรส) บรรณารกั ษ์ ครอู าสาสมคั ร ลงชื่อ ........................................ผู้เหน็ ชอบโครงการ ลงชอื่ ..........................................ผเู้ หน็ ชอบ โครงการ (นายนพดล แสนอนิ ตะ๊ ) (นายวิศกั ด์ิ ธนะปัด) ครู หวั หน้าการศกึ ษาตามอัธยาศัย ลงชอ่ื .............................................ผอู้ นมุ ัตโิ ครงการ (นายนมิ ติ ร หงสนนั ทน์) ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเฉลิมพระเกียรติ

ผลการประเมินโครงการสร้างการอา่ นเพอื่ พัฒนาอาชพี การนำเสนอผลการประเมินโครงการ ผู้ประเมินได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมตาม โครงการฯของห้องสมุดประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติ โดยวิธีใช้แบบสอบถาม จำนวน 100 ชุด (จากการ สุ่มตัวอย่าง) มีผู้ส่งแบบสอบถามกลับคืนจำนวน 100 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100 ทั้งนี้ในการนำเสนอผลการ ประเมินโครงการ แบง่ เป็น 3 ส่วน ดงั น้ี ตอนท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไป 1. เพศ ชาย 45 คน หญิง 55 คน 2. อายุ 60 คน อายุ 16-20 ปี อายุ 21-25 ปี 15 คน อายุ 26-30 ปี 5 คน อายุ 31-40 ปี 6 คน อายุ 41-50 ปี 4 คน อายุ 51 ปีข้ึน - คน 3. ระดบั การศกึ ษา ประถมศึกษา 20 คน มัธยมศึกษาตอนต้น 30 คน มัธยมศึกษาตอนปลาย 42 คน ปรญิ ญาตรี 8 คน ปริญญาโท - คน 4. อาชพี - คน เกษตรกรรม - คน - คน รบั จา้ ง/ลกู จา้ ง 92 คน ค้าขาย นกั เรยี น/นักศึกษา อ่นื ๆ 8 คน

ตอนท่ี 2 ระดับความพงึ พอใจ รายละเอียดการประเมิน 54 ระดับ 2 1 3 - - 1. การดำเนนิ กิจกรรมเปน็ ระบบและมขี น้ั ตอนทช่ี ัดเจน 66 44 - - - 4 - - 2. ความสะดวกเหมาะสมของสถานท่ีจัดกิจกรรม 66 30 4 - - 4 - - 3. ระยะเวลาการดำเนินกจิ กรรมมคี วามเหมาะสม 68 28 10 - - 2 - - 4. รปู แบบการจัดกจิ กรรมมีความเหมาะสม 64 32 - - - - 5. ความเหมาะสมของสือ่ /อุปกรณ/์ เนอ้ื หาในการจัดกิจกรรม 56 34 - - - 6. การประชาสัมพันธ์โครงการ 60 38 - - - 7. ทา่ นไดร้ บั ประโยชน์จากการเข้าร่วมกจิ กรรม 64 36 8. ท่านนำความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปใช้ใน 66 34 ชีวติ ประจำวันมากนอ้ ยเพียงใด 9. เจ้าหน้าที่อัธยาศัยดี กันเอง ดำเนินกิจกรรมด้วยความ 68 32 สภุ าพ 10. ในภาพรวมแล้วโครงการฯ ท่านมีความพึงพอใจในการ 68 32 เขา้ ร่วมกจิ กรรมนเี้ พยี งใด หมายเหตุ 5 ดีมาก 4 ดี 3 พอใช้ 2 ควรปรบั ปรุง 1 ต้องปรบั ปรงุ สรปุ ผลการประเมนิ ผลการวิเคราะห์ข้อมูล เกี่ยวกับระดับความพึงพอใจของผู้ร่วมโครงการฯ สามารถสรุปได้ดังน้ี ผลการประเมนิ ระดบั ความพงึ พอใจของผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมสง่ เสรมิ อา่ นภายในหอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวดั พะเยา ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ระดับความพงึ พอใจตอ่ ผู้เข้าร่วมโครงการฯ 1. การดำเนินกิจกรรมเปน็ ระบบและมีขน้ั ตอนทช่ี ดั เจน ระดบั ดมี าก จำนวน 66 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 66 ระดบั ดี จำนวน 44 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 44 ระดบั พอใช้ จำนวน - คน คิดเปน็ รอ้ ยละ - ระดบั ควรปรับปรุง จำนวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ - ระดับต้องปรบั ปรงุ จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการดำเนินกิจกรรมเป็นระบบและมีขั้นตอนที่ชัดเจน อยู่ในระดับดีมากและมาก จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100 แสดงว่าผู้ใช้บริการพึงพอใจต่อการดำเนิน กจิ กรรมทเี่ ปน็ ระบบและมีขนั้ ตอนทชี่ ัดเจน

2. ความสะดวกเหมาะสมของสถานทจ่ี ดั กจิ กรรม ระดับดมี าก จำนวน 66 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 66 ระดับดี จำนวน 30 คน คิดเปน็ ร้อยละ 30 ระดับพอใช้ จำนวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 4 ระดบั ควรปรับปรุง จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ - ระดบั ต้องปรับปรงุ จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ - ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมมคี วามพึงพอใจต่อความสะดวกเหมาะสมของสถานที่จัดกิจกรรม อยู่ในระดับดีมาก และมาก จำนวน 96 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 96 แสดงว่า ผู้ใชบ้ รกิ ารพงึ พอใจต่อสถานท่จี ัดกจิ กรรม 3. ระยะเวลาการดำเนนิ กจิ กรรมมคี วามเหมาะสม ระดบั ดมี าก จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 68 ระดับดี จำนวน 28 คน คิดเปน็ ร้อยละ 28 ระดบั พอใช้ จำนวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 4 ระดับควรปรบั ปรุง จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ระดบั ต้องปรับปรุง จำนวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ - ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจตอ่ ระยะเวลาการดำเนินกิจกรรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับดีมาก และมาก จำนวน 96 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 96 แสดงว่า ผู้ใช้บริการพึงพอใจต่อระยะเวลาการดำเนนิ กจิ กรรมมี ความเหมาะสม 4. รูปแบบการจดั กจิ กรรมมคี วามเหมาะสม ระดบั ดีมาก จำนวน 64 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 64 ระดบั ดี จำนวน 32 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 32 ระดับพอใช้ จำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 4 ระดับควรปรับปรงุ จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ระดับตอ้ งปรับปรุง จำนวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดกิจกรรมมคี วามเหมาะสม อยู่ในระดับดมี ากและ มาก จำนวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 96 แสดงว่า ผู้ใช้บริการพึงพอใจต่อรูปแบบการจัดกิจกรรมมีความ เหมาะสม 5. ความเหมาะสมของส่ือ/อปุ กรณ์/เน้ือหาในการจัดกิจกรรม ระดบั ดีมาก จำนวน 56 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 56 ระดบั ดี จำนวน 34 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 34 ระดบั พอใช้ จำนวน 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10 ระดบั ควรปรับปรงุ จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ระดับต้องปรบั ปรุง จำนวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ - ผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจตอ่ ความเหมาะสมของส่ือ/อุปกรณ/์ เนื้อหาในการจัดกิจกรรมอยู่ใน ระดบั ดมี ากและมาก จำนวน 90 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 90 แสดงว่า ผใู้ ชบ้ รกิ ารพงึ พอใจตอ่ ความเหมาะสมของ สอ่ื /อุปกรณ์/เนื้อหาในการจดั กิจกรรม

6. การประชาสัมพนั ธ์โครงการ ระดบั ดมี าก จำนวน 60 คน คดิ เป็นร้อยละ 60 ระดับดี จำนวน 38 คน คิดเปน็ ร้อยละ 38 ระดับพอใช้ จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2 ระดบั ควรปรบั ปรุง จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ - ระดบั ตอ้ งปรับปรงุ จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการประชาสัมพันธ์โครงการ อยู่ในระดับดีมากและมาก จำนวน 98 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 98 แสดงว่า ผู้ใช้บริการพงึ พอใจต่อการประชาสัมพันธ์โครงการ 7. ท่านไดร้ ับประโยชน์จากการเขา้ ร่วมกิจกรรม ระดับดีมาก จำนวน 64 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 64 ระดบั ดี จำนวน 36 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 36 ระดับพอใช้ จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ระดบั ควรปรบั ปรงุ จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ - ระดับตอ้ งปรบั ปรงุ จำนวน - คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อท่านได้รับประโยชนจ์ ากการเข้าร่วมกิจกรรม อยู่ในระดับดีมาก และมาก จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100 แสดงว่าผู้ใช้บริการพงึ พอใจต่อท่านไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการเข้า รว่ มกิจกรรม 8. ท่านนำความรจู้ ากการเขา้ รว่ มกิจกรรมไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันมากนอ้ ยเพยี งใด ระดบั ดีมาก จำนวน 66 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 66 ระดับดี จำนวน 34 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 34 ระดับพอใช้ จำนวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ - ระดบั ควรปรบั ปรงุ จำนวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ - ระดบั ตอ้ งปรบั ปรงุ จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ - ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจตอ่ การนำความรู้จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมไปใชใ้ นชวี ิตประจำวันมาก นอ้ ยเพียงใด อย่ใู นระดับดีมากและมาก จำนวน 100 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100 แสดงว่า ผใู้ ช้บริการพึงพอใจต่อ การนำความรจู้ ากการเขา้ ร่วมกิจกรรมไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั 9. เจ้าหนา้ ที่อธั ยาศยั ดี กันเอง ดำเนินกจิ กรรมด้วยความสุภาพ ระดับดมี าก จำนวน 68 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 68 ระดับดี จำนวน 32 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 32 ระดับพอใช้ จำนวน - คน คดิ เปน็ ร้อยละ - ระดับควรปรับปรงุ จำนวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ - ระดับต้องปรับปรุง จำนวน - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีอัธยาศัยดี กันเอง ดำเนินกจิ กรรมดว้ ยความสุภาพอยู่ ในระดับดีมากและมาก จำนวน 100 คน คิดเป็นร้อยละ 100 แสดงว่า ผู้ใช้บริการพึงพอใจต่อกิจกรรม เจ้าหนา้ ที่อธั ยาศัยดี กันเอง ดำเนินกิจกรรมดว้ ยความสภุ าพ

10. ในภาพรวมแลว้ ของโครงการฯ ท่านมคี วามพงึ พอใจในการเข้าร่วมกจิ กรรมน้ีเพยี งใด ระดับดมี าก จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 68 ระดับดี จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 32 ระดับพอใช้ จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ระดบั ควรปรบั ปรุง จำนวน - คน คดิ เป็นร้อยละ - ระดบั ตอ้ งปรับปรุง จำนวน - คน คิดเปน็ ร้อยละ - ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อในภาพรวมแล้วของโครงการฯ มีความพึงพอใจในการเข้าร่วม กิจกรรมนี้เพยี งใดอยู่ในระดับมากและดีมาก จำนวน 100 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100 แสดงว่า ผู้ใช้บริการพึงพอใจ ต่อกิจกรรมในภาพรวมแล้วของโครงการฯ จากการสุ่มตัวอย่างจากผู้ใช้บริการ จำนวน 100 คน มีค่าเฉล่ีย จากการประเมนิ ที่รอ้ ยละ 92 ถือวา่ บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ รูปภาพกจิ กรรม

ตวั ช้ีวัดท่ี 5.2 ผลการปฏบิ ัตงิ านท่ีดี (Best Practice) Best Practice ของหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกยี รติ จังหวัดน่าน การจัดกิจกรรมสง่ เสริมการอ่านและการเรียนรู้ในห้องสมดุ 1.ช่อื กจิ กรรม การสง่ เสรมิ ภาษาอังกฤษออนไลน์ Input (ปจั จัยปอ้ น) Process (กระบวนการ) Output (ผลผลิต) (3) (2) (1) 3.มีอะไรเป็นปัจจัยป้อน ที่ทำให้ 2.ได้ดำเนินการอย่างไรจึงส่งผลให้ 1.จดุ เด่น-ความสำเร็จท่ีปรากฏ คอื สามารถดำเนินการตามข้อ (2) ได้ เรื่องนี้ประสบความสำเร็จ (ทำอะไร/ โปสเตอรก์ ิจกรรมส่งเสริมภาษาองั กฤษ (กำหนดประเดน็ ตาม 4 M ดังนี้ อย่างไร จึงทำให้เกิดผลตาม ข้อ ออนไลน์ “ไทยคำ อังกฤษคำ” (1)ให้ระบวุ ธิ กี ารขั้นตอนโดยละเอียด ผ่าน Page Facebook ของห้องสมุด 1) บุคลากร เพื่อสามารถนำไปปฏิบัติซ้ำได้ มี ประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติ วธิ ีการดำเนินการ ดงั น้ี จงั หวดั น่าน 1.1) ผู้บริหารให้ความสำคัญและ สนับสนุนกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน 1 ) ค ้ น ค ว ้ า ห า ค ว า ม รู้ เ ก ี ่ ย ว กั บ ภาษาองั กฤษออนไลน์ เกร็ดความรู้เกี่ยวกับภาษาอังกฤษที่ 1.2) การมีส่วนร่วมของบุคลากรที่มี น่าสนใจและคำศัพทภ์ าษาอังกฤษตาม ส่วนเกี่ยวข้อง และผู้ใช้บริการได้รับ ตวั อักษร A-Z ความรเู้ กี่ยวกับภาษาองั กฤษ 2)รวบรวมข้อมูลที่ค้นคว้าได้ และ 1.3)การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ี จัดเก็บไฟล์ใน Word แบ่งเป็นคลัง เหมาะสมในการประชาสัมพันธ์ คำศัพท์ภาษาอังกฤษ และเกร็ดความรู้ กิจกรรม ที่น่าสนใจเกีย่ วกบั ภาษาองั กฤษ 1 . 4) ค ว า ม พ ร ้ อ ม ข อ ง อ ุ ป ก ร ณ์ 3)จัดทำโปสเตอร์ “ไทยคำ องั กฤษคำ” เทคโนโลยสี ารสนเทศ ในโปรแกรม canva.com 1.5ผู้ปฏิบัติงานมีความพร้อมและ 4)เผยแพร่ โปสเตอร์ “ไทยคำ อังกฤษ ความตั้งใจที่นำประสบการณการ ค ำ ” ผ ่ า น Page Facebook ข อ ง ทำงานมาพัฒนา ปรับปรุงการทำงาน ห้องสมุดประชาชนอำเภอเฉลิมพระ อย่างตอ่ เน่อื ง เกยี รติ จงั หวัดน่านเปน็ ประจำทกุ วนั 1.6)ผู้เช่ียวชาญท่ีให้ความช่วยเหลือ ช้ีแนะ 2)งบประมาณ จากแหล่งใด งบประมาณประจำปีของห้องสมุด

ประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จงั หวัดนา่ น 3)สอ่ื วตั ถุ อปุ กรณ์ (ความเพยี งพอ/ เหมาะสม ทนุ ทางสงั คม) 3.1)สื่อความร ู้ภ าษาอัง ก ฤษ ท่ี หลากหลายเหมาะกับทกุ ชว่ งอายุ ตรง กับความต้องการและสนใจของ ผู้ใช้บรกิ าร 3.2)ผู้ใช้บริการมีอุปกรณ์การสื่อสาร ทางเทคโนโลยีและสามารถเข้าถึง Page Facebook ข อ ง ห ้ อ ง ส มุ ด ประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จงั หวดั นา่ นได้ 4)การบริหารจัดการ (ที่มาของ กิ จ ก ร ร ม / ค ว า ม ต ้ อ ง ก า ร ข อ ง กลมุ่ เป้าหมาย/บริบทกลุ่มเป้าหมาย/ ภาคเี ครือขา่ ย 4.1)การเรียนรู้ในทศวรรษที่ 21 ทักษะภาษาองั กฤษเป็นทักษะที่จำเป็น การสื่อสารและการเรียนรู้ เพื่อเพ่ิม ทักษะดา้ นความรู้ การสอื่ สาร ห้องสมดุ จึงจัดกิจกรรม “ไทยคำ อังกฤษคำ” เพือ่ ใหผ้ ใู้ ช้บรกิ ารสามารถเข้าถึงได้ง่าย และสะดวกสบาย ทกุ ที่ทุกเวลา 4.2)กลุ่มเป้าหมายคือประชาชนทั่วไป ที่ไม่สามารถเดินทางมายังห้องสมุด โดยบ้านห่างจากห้องสมุดหรือโควิด ระบาด ก็สามารถเข้าถึงสารสนเทศ ผ่าน Page Facebook ของห้องสมุด ประชาชนอำเภอเฉลิมพระเกียรติ จงั หวัดนา่ นได้

4.3)เพื่อเผยแพร่ได้ทั่วถึงประชาชน แล ะเพิ่มช ่อง ทาง ใ นการ เข้าถึง สารสนเทศของประชาชน 4.4)ภาคีเครอื ข่ายมสี ่วนร่วมในการจัด กิจกรรมส่งเสริมการอา่ นภาษาอังกฤษ ออนไลน์ “ไทยคำ อังกฤษคำ” 2. สิง่ ทเ่ี ป็นปัจจยั หลกั หรือเงือ่ นไขความสำเร็จของโครงการ/กจิ กรรมน้ี 2.1 )ผใู้ ชบ้ ริการสามารถช่วยเข้าถึงสารสนเทศทำได้งา่ ยรวดเรว็ ความสะดวก ได้ทกุ ทท่ี ุกเวลา 2.2) สามารถตอบสนองความตอ้ งการของผูใ้ ช้บรกิ าร 2.3) ผใู้ ช้บริการมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมสง่ เสริมภาษาอังกฤษออนไลน์ 2.4) ผใู้ ชบ้ รกิ ารไดค้ วามรเู้ ก่ยี วกบั ภาษาอังกฤษ 3. ปัญหา อปุ สรรค หรอื ขอ้ จำกดั ทเี่ กิดข้ึนในการปฏิบตั ิงาน และแนวทางการแกไ้ ขใหป้ ระสบความสำเร็จ ปญั หา 1) ผู้ใชบ้ ริการวัยสูงอายไุ มค่ วามรู้ ความเขา้ ใจการใช้ Facebook 2) ผู้ใชบ้ ริการไมม่ อี ุปกรณส์ ่อื สารเทคโนโลยีในการเข้าถงึ สอ่ื สารสนเทศ 3) บางพ้นื ท่อี นิ เทอร์เน็ตไม่มี แนวทางการแกไ้ ข 1) การอบรมเร่อื งการใช้ Social media 2) แนะนำผใู้ ชบ้ ริการมาใช้คอมพิวเตอรท์ ่ีให้บริการในห้องสมุด 3)ประชาสัมพันธก์ ารส่งเสรมิ การภาษาอังกฤษออนไลน์ในรูปแบบ แผน่ พบั การสง่ เสริมการอา่ น “ไทยคำ อังกฤษคำ” 4. ข้อเสนอแนะวธิ กี ารปฏิบตั งิ านท่จี ะทำใหด้ ียิง่ ข้ึน 4.1) เพม่ิ ชอ่ งทางในการเผยแพรก่ ิจกรรม เช่น Line Instagram 4.2) จัดทำเว็บไซต์ของหอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอเฉลมิ พระเกียรติ จังหวัดน่าน

5. ภาพประกอบ Page Facebook หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอเฉลมิ พระเกียรติ

โปสเตอรก์ จิ กรรมส่งเสริมภาษาองั กฤษออนไลน์ “ไทยคำ องั กฤษคำ”