คู่มือครูเอกสารประกอบการทางาน โรงเรียนใบบุญลาพูน พ.ศ. 2560
คาปรารภ เอกสารประกอบการทางานโรงเรียนใบบุญลาพูนฉบบั น้ีได้มีการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนตามรูปแบบการบริหารสถานศึกษาเอกชน จดั ทาข้ึนเพอ่ื เป็นคู่มือในการปฏิบตั ิงานในหนา้ ท่ีของครู บุคลากรในสังกดั โรงเรียนใบบุญลาพูน ซ่ึงประกอบดว้ ย 1) กาหนดบทบาทหนา้ ที่ ลกั ษณะงานของฝ่ ายวชิ าการ ฝ่ ายกิจการนกั เรียน ฝ่ ายธุรการ-การเงิน และฝ่ ายบริหารงานทวั่ ไป ไวใ้ หถ้ ือเป็ นหลกั ปฏิบตั ิ จะไดท้ ราบวา่ งานในหนา้ ที่ใดมีขอบข่ายความรับผิดชอบในการปฏิบตั ิงานเพียงใด ฝ่ ายน้นั ๆ มีความสัมพนั ธ์เกี่ยวขอ้ งกบัฝ่ ายใด ผมู้ ีหนา้ ท่ีรับผิดชอบงานจะไดป้ ฏิบตั ิไดถ้ ูกตอ้ งครบถว้ น เป็ นการกระจายอานาจในการปฏิบตั ิงาน และความรับผิดชอบไดท้ ว่ั ถึง ครู บุคลากรทุกคนไดม้ ีบทบาทร่วมกนั บริหารงาน และร่วมกนั แกป้ ัญหางานโรงเรียนตามกาลงั ความคิด ความสามารถของตนอยา่ งเตม็ ที่และมีความเป็ นอิสระในดา้ นการหาวธิ ีดาเนินงานในหนา้ ท่ีของตนให้มีความเจริญกา้ วหนา้ ตามท่ีเห็นสมควร โดยไม่ตอ้ งรอรับคาส่ังอยทู่ ุกๆโอกาส ทาใหเ้ กิดความสะดวกและมีความคล่องตวั ข้ึน นอกจากน้ียงั ไดม้ ี 2) ขอ้ กาหนดเรื่องระเบียบวินยั บุคคลากรทุกคนในโรงเรียน ว่าดว้ ยการทางาน เพ่ือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงาน และเรื่องสุดทา้ ย 3) สวสั ดิการครู บุคลากร เพ่ือเป็ นขวญั กาลงั ใจในการทางาน และคุม้ ครองสิทธิประโยชน์ของครู บุคลากรโรงเรียนใบบุญลาพูน อีกท้งั ยงั ก่อใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดแก่การเรียนการสอนของนกั เรียนอีกดว้ ย ฉะน้นั จึงมีความเช่ือวา่ เอกสารฉบบั น้ี จะอานวยประโยชน์ใหก้ ารบริหารงานของโรงเรียนใบบุญลาพูนเกิดผลดียง่ิ ข้ึน และหวงั วา่ ครู บุคลากรอื่นๆ ทุกคน จะไดร้ ับความเขา้ ใจ ปฎิบตั ิงานดว้ ยความมนั่ ใจและมองเห็นงานเป็ นระบบชัดเจนย่ิงข้ึน ซ่ึงจะทาให้ครู บุคลากรปฏิบตั ิหน้าที่ของตนอย่างเต็มกาลงั ความสามารถ เพื่อคุณประโยชน์ของโรงเรียนและสงั คมส่วนรวม คือ ชาติบา้ นเมืองของเรา ................................................................... ( นางสาววนั วสิ าข์ วภิ ูสัตยา ) ผอู้ านวยการโรงเรียนใบบุญลาพนู
สารบญั หน้าแผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนใบบุญลาพูน 4บทบาทและหนา้ ที่ของผอู้ านวยการโรงเรียน 5บทบาทและหนา้ ที่ของผจู้ ดั การโรงเรียน 6ฝ่ ายวชิ าการ 7 แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานฝ่ ายวชิ การ 8 บทบาทและหนา้ ที่ของฝ่ ายวชิ าการ ขอบขา่ ยและภารกิจ 9 9 1. งานจดั การเรียนการสอน 10 2. งานบริหารกลุ่มสาระการเรียนรู้ 11 3. งานพฒั นากระบวนการเรียนรู้ 11 4. งานผลิตส่ือนวตั กรรมการเรียนการสอน 11 5. งานพฒั นาหลกั สูตร 12 6. งานวจิ ยั เพื่อพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน 12 7. งานนิเทศการศึกษา 13 8. งานวดั ประเมินผล 13 9. งานหอ้ งสมุด 10. งานสารสนเทศของฝ่ าย 14ฝ่ ายกิจการนกั เรียน 15 แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานฝ่ ายกิจการนกั เรียน บทบาทและหนา้ ท่ีของฝ่ ายกิจการนกั เรียน 16 ขอบขา่ ยและภารกิจ 16 1. งานรักษาระเบียบวินยั นกั เรียน 17 2. งานป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด 17 3. งานดูแลช่วยเหลือนกั เรียน 4. งานทุนการศึกษา 1
5. งานอนามยั และโภชนาการนกั เรียน 18 6. งานกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 19 7. งานส่งเสริมประชาธิปไตย 19 8. งานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะท่ีพึงประโยชน์ 20 9. งานสารสนเทศของฝ่ าย 20ฝ่ ายธุรการ-การเงิน แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานฝ่ ายธุรการ-การเงิน 21 บทบาทและหนา้ ที่ของฝ่ ายธุรการ-การเงิน 22 ขอบขา่ ยและภารกิจ 1. งานเอกสาร-สารบรรณ 23 2. งานประสานระหวา่ งหน่วยงาน 23 3. งานบริการขอ้ มูลขา่ วสารของโรงเรียน 24 4. งานการเงิน 24 5. งานบญั ชี 24 6. งานตรวจสอบงบประมาณโครงงาน 25 7. งานสามะโนผเู้ รียน 25 8. งานทะเบียนและการเทียบโอน 25 9. งานผลิตเอกสารการเรียน 26 10. งานสารสนเทศของฝ่ าย 26ฝ่ ายบริหารงานทว่ั ไป แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานฝ่ ายบริหารทวั่ ไป 27 บทบาทและหนา้ ท่ีของฝ่ ายบริหารทวั่ ไป 28 ขอบข่ายและภารกิจ 1. งานส่งเสริมวชิ าชีพและช่วยเหลือครู 29 2. งานรักษาระเบียบวนิ ยั ครู บุคลากร 29 3. งานวางแผนอตั รากาลงั 30 4. งานสามะโนครู 30 5. งานปฎิคม 30 6. งานโสตทศั นูปกรณ์ 31 2
7. งานประชาสมั พนั ธ์และประสานความรู้กบั ชุมชน 31 8. งานดูแลระบบสารสนเทศของโรงเรียน 32 9. งานดูแลอาคาร-สถานท่ีและสินทรัพย์ 32 10. งานพสั ดุ 34 11. งานดูแลรักษาความปลอดภยั 35 12. งานจราจรและยานพาหนะ 35ระเบียบการปฏิบตั ิงานในโรงเรียน 36 1. หมวดที่ 01 เรื่องทวั่ ไป 38 2. หมวดท่ี 02 ขอ้ กาหนดเวลาทางานของครู บุคลากร 40 3. หมวดท่ี 03 การลา 43 4. หมวดท่ี 04 เงินเดือน คา่ สอน ค่าล่วงเวลาและคา่ ทางานในวนั หยดุ 45 5. หมวดที่ 05 การลงโทษ การเลิกสญั ญาเป็นครูและค่าชดเชย 52 6. หมวดท่ี 06 เบ็ดเตล็ด 54สวสั ดิการ 54 1. สวสั ดิการ สมทบกองทุนสงเคราะห์ครู และประกนั สงั คม 55 2. สวสั ดิการ ประกนั อุบตั ิเหตุและเสียชีวติ เพ่ิมเติม 55 3. สวสั ดิการ ชุดทางาน 55 4. สวสั ดิการ ครอบครัว 5. สวสั ดิการ ขวญั และกาลงั ใจ3
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนใบบุญลาพนู 4
บทบาทและหน้าทข่ี องผ้อู านวยการโรงเรียนมหี น้าทร่ี ับผดิ ชอบในขอบข่ายต่อไปนี้ 1. วางแผนการปฏิบตั ิงาน กาหนดระบบงาน บทบาทวธิ ีดาเนินงาน ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จของการ ปฏิบตั ิงานของบุคลากรฝ่ ายวชิ าการ และ ฝ่ ายกิจการนกั เรียน ตลอดจนใหก้ ารสนบั สนุน ส่งเสริมให้ ทุกฝ่ ายในโรงเรียนสามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุดแก่ทาง โรงเรียน นกั เรียน และผรู้ ับบริการ 2. ควบคุม ดูแล ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานฝ่ ายวชิ าการ 3. ควบคุม ดูแล ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานฝ่ ายกิจการนกั เรียน 4. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมกบั ความรู้ความสามารถของบุคลากร ติดตามใหค้ าปรึกษา และให้ การนิเทศ 5. บงั คบั บญั ชาครู เจา้ หนา้ ที่อื่นๆ ของฝ่ ายวชิ าการ ฝ่ ายกิจการนกั เรียน และนกั เรียนให้ สามารถปฏิบตั ิหนา้ ที่ของตนเองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและครบถว้ น ตามระเบียบของโรงเรียน 6. ดูแลสวสั ดิภาพและความเป็นอยขู่ องนกั เรียน 7. สร้างขวญั กาลงั ใจและบรรยากาศท่ีดีใหเ้ กิดข้ึนในโรงเรียน 8. สร้างเสริมความสมั พนั ธ์กบั ผปู้ กครองนกั เรียน และชุมชนในทอ้ งถ่ิน 9. ประสานงานกบั ผจู้ ดั การโรงเรียน เพื่อส่งเสริมการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม และใชข้ อ้ มูลเป็นฐาน 10. นานวตั กรรม เทคนิค วิธีการใหม่ๆ ทางการศึกษามาใช้ และเผยแพร่เพ่ือพฒั นาการบริหาร วชิ าการ และกิจการนกั เรียนของโรงเรียน 11. พฒั นาสถานศึกษาไปสู่ความเป็นเลิศ เป็นสถานศึกษาที่น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน เป็นท่ีนิยมของ ประชาชน ชุมชน และทอ้ งถ่ิน 12. เป็นผนู้ าทางความคิด มีวสิ ัยทศั นใ์ นการบริหารจดั การ สอดคลอ้ งกบั นโยบายการบริหารงาน ของฝ่ าย 5
บทบาทและหน้าท่ีของผู้จดั การโรงเรียนมหี น้าทรี่ ับผดิ ชอบในขอบข่ายต่อไปนี้ 1. วางแผนการปฏิบตั ิงาน กาหนดระบบงาน บทบาทวธิ ีดาเนินงาน ตวั ช้ีวดั ความสาเร็จของการปฏิบตั ิงาน ของบุคลากรฝ่ ายธุรการ-การเงิน และ ฝ่ ายบริหารงานทวั่ ไป ตลอดจนใหก้ ารสนบั สนุน ส่งเสริมใหท้ ุก ฝ่ ายในโรงเรียนสามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลสูงสุดแก่ทางโรงเรียน นกั เรียน และผรู้ ับบริการ 2. ควบคุม ดูแล ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานฝ่ ายธุรการ-การเงิน 3. ควบคุม ดูแล ติดตามตรวจสอบ และประเมินผลการดาเนินงานฝ่ ายบริหารงานทวั่ ไป 4. มอบหมายงานใหเ้ หมาะสมกบั ความรู้ความสามารถของบุคลากร ติดตามใหค้ าปรึกษา และใหก้ ารนิเทศ 5. บงั คบั บญั ชาบุคลากร นกั การภารโรง ลูกจา้ งประจา ลูกจา้ งช่วั คราว เจา้ หน้าท่ีอื่นๆ ของฝ่ ายธุรการ- การเงิน และ ฝ่ ายบริหารงานทว่ั ไป ให้สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ของตนเองไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและครบถ้วน ตามระเบียบของโรงเรียน 6. ดูแลสวสั ดิภาพและความเป็นอยขู่ องบุคลากรทุกคนในโรงเรียน 7. สร้างขวญั กาลงั ใจและบรรยากาศที่ดีใหเ้ กิดข้ึนในโรงเรียน 8. สร้างเสริมความสัมพนั ธ์กบั ผปู้ กครองนกั เรียน และชุมชนในทอ้ งถ่ิน 9. ประสานงานกบั ผอู้ านวยการโรงเรียน เพือ่ ส่งเสริมการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม และใชข้ อ้ มูลเป็นฐาน 10. นานวตั กรรม เทคนิค วิธีการใหม่ๆ เพ่ือพฒั นาการบริหารงานธุรการและการเงิน และงานบริหารงาน ทว่ั ไป 11. พฒั นาสถานศึกษาไปสู่ความเป็ นเลิศ เป็ นสถานศึกษาท่ีน่าดู น่าอยู่ น่าเรียน เป็ นท่ีนิยมของประชาชน ชุมชน และทอ้ งถิ่น 12. เป็นผนู้ าทางความคิด มีวสิ ัยทศั น์ในการบริหารจดั การ สอดคลอ้ งกบั นโยบายการบริหารงานของฝ่ าย 13. ควบคุมดูแลระบบขอ้ มูลสารสนเทศโรงเรียน ใหส้ ามารถนามาใชป้ ระโยชน์ในดา้ นการบริหารจดั การ เพอ่ื พฒั นาการศึกษาของโรงเรียน และเผยแพร่ผลงานของโรงเรียนสู่ชุมชนอยา่ งต่อเน่ือง 14. จดั สวสั ดิการต่างๆ อานวยความสะดวกแก่ครู นกั การภารโรง ลูกจา้ งประจา ลูกจา้ งชว่ั คราวและบุคลากร ทางการศึกษาอ่ืนๆ 6
แผนภูมโิ ครงสร้างการบริหารงานฝ่ ายวชิ าการ 7
บทบาทและหน้าทีข่ องฝ่ ายวชิ าการรองผู้อานวยการฝ่ ายวชิ าการมีหนา้ ที่รับผดิ ชอบในขอบข่ายต่อไปน้ีควบคุม ดูแล คดิ ตามตรวจสอบ และประเมินผลงานวชิ าการ งานวชิ าการเป็ นภารกิจหลกั ของโรงเรียน และตามประกาศ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติฉบบั แกไ้ ขเพ่ิมเติม ( ฉบบั 2 ) พ.ศ.2545 มุง่ ใหก้ ระจายอานาจในการบริหารจดั การไปใหส้ ถานศึกษาใหม้ ากท่ีสุดดว้ ยเจตนารมณ์ท่ีจะใหส้ ถานศึกษาดาเนินการไดโ้ ดยอิสระ คล่องตวั รวดเร็ว สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผเู้ รียนสถานศึกษา ชุมชน ทอ้ งถ่ิน และ การมีส่วนร่วมจากผทู้ ่ีมีส่วนไดเ้ สียทุกฝ่ าย ซ่ึงจะเป็นปัจจยั สาคญั ทาให้สถานศึกษามีความเขม้ แขง็ ในการบริหารจดั การสามารถพฒั นาหลกั สูตร และกระบวนการเรียนรู้ตลอดจนการวดั ผล ประเมินผล รวมท้งั วดั ปัจจยั เก้ือหนุนการพฒั นาคุณภาพนกั เรียน ชุมชน ทอ้ งถิ่นไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพและ มีประสิทธิภาพวตั ถุประสงค์1. เพ่ือใหบ้ ริหารงานดา้ นวชิ าการไดโ้ ดยอิสระ คล่องตวั รวดเร็ว และ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของนกั เรียนสถานศึกษา ชุมชน ทอ้ งถิ่น2. เพือ่ ใหก้ ารบริหาร และ การจดั การศึกษาของโรงเรียนไดม้ าตรฐาน และ มีคุณภาพสอดคลอ้ งกบั ระบบประกนัคุณภาพการศึกษา และ ประเมินคุณภาพภายในเพ่ือพฒั นาตนเอง และ จากการประเมินหน่วยงานภายนอก3. เพ่อื ใหโ้ รงเรียนพฒั นาหลกั สูตร และ กระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนปัจจยั หนุนการเรียนรู้ที่สนองต่อความตอ้ งการของผูเ้ รียน ชุมชน และ ทอ้ งถ่ิน โดยยดึ ผเู้ รียนเป็ นสาคญั ไดอ้ ยา่ งมีคุณภาพ และ ประสิทธิภาพงานทุกส่วนตอ้ งมีกระบวนการปฎิบตั ิงานดงั น้ี • กาหนดเป้าหมายใหไ้ ดต้ รงตามมาตรฐานที่ทางสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษากาหนด หรือเป้าหมายที่ช่วยส่งเสริมพฒั นางานโรงเรียน • กาหนดรูปแบบการทางานที่สามารถวดั ผลได้ มีกรอบเวลาที่ชดั เจน และเจา้ หนา้ ท่ีที่เก่ียวขอ้ ง ในการทางาน • ติดตามผลและตรวจสอบปัญหา ถา้ เกิดปัญหาตอ้ งมีการจดั ทา เอกสาร “ รายงานปัญหา และ การแกป้ ัญหาท้งั ระยะส้ัน และระยะยาว” ( COUNTER MEASURE REPORT ) • จดั ทาสรุปผลงานโครงการ และกระบวนการตอ่ ยอด ติดตาม ผลงานในระยะยาว 8
ขอบข่ายและภารกจิ1. งานจดั การเรียนการสอน2. งานบริหารกลุ่มสาระการเรียนรู้3. งานพฒั นากระบวนการเรียนรู้4. งานผลิตส่ือนวตั กรรมการเรียนการสอน5. งานพฒั นาหลกั สูตร6. งานวจิ ยั เพื่อพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน7. งานนิเทศการศึกษา8. งานวดั ประเมินผล9. งานหอ้ งสมุด10. งานสารสนเทศของฝ่ าย งานจัดการเรียนการสอนมีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. ดาเนินการเก่ียวกบั การจดั ตารางสอน ตารางการใชห้ อ้ ง ตารางสอนประจาช้นั ใหม้ ีความเหมาะสม2. ติดตาม ตรวจสอบ แกไ้ ขการจดั ตารางการเรียนการสอน ใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียน อยา่ งสม่าเสมอ3. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อ่ืนๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานบริหารกล่มุ สาระการเรียนรู้มีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบข่ายตอ่ ไปน้ี1. กาหนดแนวทางปฏิบตั ิ และประสานหวั หนา้ สาระการเรียนรู้ต่างๆ ในการจดั ทาแผนการเรียนรู้ในแตล่ ะสาระความรู้ ใหเ้ หมาะสมกบั ผเู้ รียน2. ใหค้ วามช่วยเหลือ จดั ประชุมกลุ่มสาระการเรียนรู้ งาน เพื่อวเิ คราะห์ปัญหาและความตอ้ งการจาเป็นภายในกลุ่มสาระการเรียนรู้3. ดาเนินการใหท้ ุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ มีส่ือการสอน วสั ดุฝึกท่ีไดม้ าตรฐาน และจดั บรรยากาศทางวชิ าการ4. ควบคุมและติดตามการเรียนการสอนในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ใหด้ าเนินไปตามหลกั สูตร5. วเิ คราะห์หลกั สูตร แผนการจดั การเรียนรู้ และมาตรฐานการเรียนรู้ที่คาดหวงั ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ติดตามดูแลกิจกรรมการจดั การเรียนรู้ เพอื่ พฒั นาการเรียนการสอนใหส้ นองหลกั การและจุดมุง่ หมายของหลกั สูตร 9
6. ประสานงานใหค้ รูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกคนจดั ทาแผนการเรียนรู้ การสอน ในรายวชิ าท่ีรับผดิ ชอบ 1 แผน/1 ภาคเรียน หรือ 1 ปี7. ควบคุมดูแลการจดั กิจกรรมส่งเสริมการจดั การเรียนรู้ เช่น การจดั นิทรรศการ กิจกรรมวชิ าการการประกวดแข่งขนั จดั สอนเสริม จดั การเรียนการสอนใหน้ กั เรียนไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองเป็นการส่งเสริมใหน้ กั เรียนรู้จกั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชน์8. จดั ครูเขา้ สอนแทนเมื่อครู กลุ่มสาระการเรียนรู้ไม่มาปฏิบตั ิการสอน9. ติดตามและประเมินผลการบริหารกลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อนาไปพฒั นาปรับปรุงต่อไป10. ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอื่นๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย งานพฒั นากระบวนการเรียนรู้มีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. ส่งเสริมใหค้ รูจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ ตามสาระและหน่วยการเรียนรู้โดยเนน้ ผเู้ รียนเป็ นสาคญั2. ส่งเสริมใหค้ รูจดั กระบวนการเรียนรู้ โดยดาเนินการดงั น้ี 2.1 จดั หาเน้ือหาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจความถนดั ของผเู้ รียน ฝึกทกั ษะ กระบวนการคิด การจดั การ การเผชิญสถานการณ์ การประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้เพ่ือป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง และการปฏิบตั ิจริง 2.2 ส่งเสริมใหร้ ักการอา่ น และใฝ่ รู้อยา่ งต่อเน่ือง การผสมผสานความรู้ตา่ งๆใหส้ มดุลกนั ปลูกฝัง คุณธรรม ค่านิยมท่ีดีงาม และคุณลกั ษณะท่ี พึงประสงคท์ ่ีสอดคลอ้ งกบั เน้ือหาสาระ กิจกรรม 2.3 จดั บรรยากาศและสิ่งแวดลอ้ มและแหล่งเรียนรู้ใหเ้ อ้ือต่อการจดั กระบวนการเรียนรู้ และการนา ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินหรือเครือข่าย ผปู้ กครอง ชุมชน ทอ้ งถิ่นมามีส่วนร่วมในการจดั การเรียนการสอน ตามความเหมาะสม3. ใหค้ าแนะนา ปรึกษาการนิเทศการเรียนการสอนแก่ครูในกลุ่มสาระต่างๆ โดยเนน้ การนิเทศท่ีร่วมมือช่วยเหลือกนั แบบกลั ยาณมิตร เพอื่ พฒั นาการเรียนการสอนร่วมกนั หรือแบบอื่นๆ ตามความเหมาะสม4. ส่งเสริมใหม้ ีการพฒั นาครู เพือ่ พฒั นากระบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสม5. กากบั ติดตามการสอนของครูใหม้ ีประสิทธิภาพ และใหค้ าปรึกษาแนะนาเมื่อมีปัญหาดา้ นการเรียนการสอน6. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อ่ืนๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย 10
งานผลติ ส่ือนวตั กรรมการเรียนการสอนมีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบข่ายตอ่ ไปน้ี1. ศึกษา วเิ คราะห์ ความจาเป็นในการใชส้ ื่อและเทคโนโลยเี พอ่ื การจดั การเรียนการสอน และการบริหารงานวชิ าการ2. ส่งเสริมใหค้ รูผลิตสื่อ และนวตั กรรมการเรียนการสอน3. พฒั นาสื่อและเทคโนโลยเี พ่ือใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน และการพฒั นางานดา้ นวชิ าการ4. ประสานความร่วมมือในการผลิต จดั หา พฒั นาและการใชส้ ื่อ นวตั กรรม และเทคโนโลยเี พือ่ การจดั การเรียนการสอน และการพฒั นางานวชิ าการกบั สถานศึกษา บุคคล ครอบครัว องคก์ ร หน่วยงานและสถาบนั อ่ืนๆ5. การประเมินผลการพฒั นาการใชส้ ่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา งานพฒั นาหลกั สูตรมีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี1. ประสานงานจดั ใหม้ ีการศึกษาวเิ คราะห์หลกั สูตร เพื่อให้มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั หลกั สูตร หลกั สูตรนาไปสู่การจดั กิจกรรมการเรียนรู้2. ติดตามและประเมินผลการใชห้ ลกั สูตร สรุปปัญหาและหาแนวทางแกไ้ ขปัญหา เพื่อปรับปรุงหลกั สูตรให้เหมาะสมกบั สภาพของโรงเรียน3. ใหค้ าแนะนาและช่วยเหลือในการผลิตส่ือการเรียนการสอน การจดั หรือปรับปรุงแผนการจดั การเรียนรู้ให้เหมาะสมกบั โรงเรียน และนโยบายของสถานศึกษา4. ควบคุมการใชห้ นงั สือประกอบการจดั การเรียนรู้ ส่ือ วสั ดุ อุปกรณ์ต่างๆ ในโรงเรียน5. ศึกษา วเิ คราะห์แผนการเรียน การจดั รายวชิ าต่างๆ ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความสนใจ ความถนดั ของนกั เรียน และบุคลากรในกลุ่มสาระฯ6. วางแผน และดาเนินการใหม้ ีการจดั สอนเสริมใหก้ บั นกั เรียนตามโอกาส7. อานวยความสะดวกดา้ นการจดั การเรียนรู้ จดั บรรยากาศทางวชิ าการใหเ้ อ้ือตอ่ การจดั การเรียนรู้8. จดั กิจกรรมพฒั นาครู เพอื่ เพม่ิ ศกั ยภาพใหก้ บั ครูอยา่ งต่อเนื่อง9. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อื่นๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานวจิ ัยพ่ือพฒั นาคุณภาพผ้เู รียนมีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. ศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ยั เพอื่ พฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ในแตล่ ะกลุ่มสาระการเรียนรู้ 11
2. ส่งเสริมใหค้ รูศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ยั เพ่อื พฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้3. ประสานความร่วมมือในการศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ยั ตลอดจนการเผยแพร่ผลงานวจิ ยั หรือ พฒั นาคุณภาพการเรียนการสอน และงานวชิ าการกบั สถานศึกษา บุคคล ครอบครัว องคก์ ร หน่วยงานและสถาบนั อื่น งานนิเทศการศึกษามีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี1. สารวจและรวบรวมปัญหาการเรียนการสอนจากครูผสู้ อนเพ่ือพจิ ารณาหาทางแกไ้ ข2. ร่วมกบั คณะกรรมการวชิ าการวางแผนจดั กิจกรรมการนิเทศในรูปแบบต่างๆ เช่น ประชุม ปรึกษาหารืออบรมสัมมนา ประชุมปฏิบตั ิการ ประชุมอภิปราย จดั ทาเอกสารเผยแพร่ความรู้ ฯลฯ3. ใหค้ าแนะนาและปรึกษา เพ่ือปรับปรุงการเรียนการสอน4. ส่งเสริมและแนะนาใหก้ ารจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ และบนั ทึกการสอน การจดั ทาผลงานทางวชิ าการ เพื่อความกา้ วหนา้ ของครู นิเทศการเรียนการสอนใหเ้ ป็นไปตามแผนการเรียนรู้และบนั ทึกการสอน5. นิเทศและส่งเสริมใหค้ รู ผลิตสื่อการเรียนการสอนและจดั ทาผลงานทางวชิ าการ7. จดั ใหม้ ีการนิเทศการเรียนการสอนแก่ครูในกลุ่มสาระต่างๆ โดยเนน้ การ นิเทศจาก 3 ฝ่ ายคือนิเทศดว้ ยตนเอง นิเทศโดยเพื่อนครูวชิ าน้นั ๆ นิเทศโดยหวั หนา้8. ปฏิบตั ิงานอ่ืนๆ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานวดั และประเมินผลมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี1. ควบคุมดูแลวดั ผลและประเมินผลการเรียนใหเ้ ป็ นไปตามระเบียบโรงเรียนดว้ ยการประเมินผลการเรียนตามหลกั สูตร2. ใหค้ าแนะนาบุคลากรในโรงเรียนเกี่ยวกบั การวดั ผลและประเมินผลตลอดจนทา เอกสารเผยแพร่ความรู้เก่ียวกบั การประเมินผลการเรียน3. ประสานงานกบั หวั หนา้ สาระต่างๆในการพฒั นาปรับปรุงการประเมินผลการเรียนให้เป็นไปตามระเบียบการประเมินผลการเรียน4. รวบรวม ติดตามและตรวจสอบผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ตา่ งๆ5. ประสานงานกบั ฝ่ ายธุรการ-การเงิน ในการประกาศนกั เรียนท่ีมีสิทธ์ิสอบ6. กาหนดตารางสอบ เวลาสอบแกต้ วั จดั ทาตาราเรียนเสริม และประกาศผลการสอบ สอบแกต้ วั 12
7. ประสานกบั กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ ในการจดั ทาขอ้ สอบ กาหนดตารางสอบ กรรมการคุมสอบ และดาเนินการสอบ8. ประสานกบั ครูท่ีปรึกษาและผปู้ กครองนกั เรียน ในกรณีที่ตรวจพบวา่ นกั เรียนมีปัญหาเรื่องผลการเรียน การจบหลกั สูตร และการลงทะเบียนวชิ าเรียน งานห้องสมุดมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. จดั การบริหารทรัพยากรภายในหอ้ งสมุด งานบารุงรักษา จดั หาสิ่งพมิ พต์ า่ งๆ พร้อมท้งั พฒั นาอยา่ งต่อเน่ืองให้ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงในโลกปัจจุบนั2. จดั กิจกรรม รณรงคใ์ ห้ผเู้ รียน เขา้ มาคน้ ควา้ หาความรู้ในหอ้ งสมุด หรือการสืบคน้ ขอ้ มูล อยา่ งสม่าเสมอ3. จดั ทาสถิติขอ้ มูลการเขา้ ใช้ ขา่ วสาร ฯลฯ4. ปฏิบตั ิงานอื่นๆ ที่ไดร้ ับมอบหมาย งานสารสนเทศของฝ่ ายมีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี1. กาหนดข้นั ตอน กระบวนการทางานในการจดั เกบ็ ขอ้ มูลสารสนเทศของฝ่ าย2. จดั ส่งขอ้ มูลสารสนเทศของฝ่ าย ให้ ฝ่ ายบริหารงานทวั่ ไป เพ่อื นาขอ้ มูลไปรวบรวมเป็นงานสารสนเทศของโรงเรียนจดั เกบ็ เป็นปัจจุบนั3. นาขอ้ มูลสารสนเทศ มาปรับปรุง พฒั นางานของฝ่ ายอยา่ งตอ่ เนื่อง 13
แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานฝ่ ายกจิ การนักเรียน 14
บทบาทและหน้าที่ของฝ่ ายกจิ การนักเรียนรองผู้อานวยการฝ่ ายกจิ การนักเรียนมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบข่ายต่อไปน้ีควบคุม ดูแล คดิ ตามตรวจสอบ และประเมนิ ผลกจิ การนักเรียน งานกิจการนกั เรียนเป็นงานเก่ียวกบั นกั เรียนและกิจกรรมนกั เรียนท้งั มวล ยกเวน้ กิจกรรมที่เก่ียวกบั การเรียนการสอนในหอ้ งเรียน โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ช่วยส่งเสริมการเรียนการสอนในหลกั สูตรใหบ้ รรลุผลวตั ถุประสงค์1. ส่งเสริมใหน้ กั เรียน เรียนรู้การอยรู่ ่วมกนั ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ไดเ้ รียนรู้ซ่ึงกนั และกนั ไม่ใช่เฉพาะการเรียนรู้ในหอ้ งเรียนเทา่ น้นั2. ใหก้ ารสนบั สนุนทางดา้ นความคิด และพลงั กายท่ีนกั เรียนมีอยใู่ หส้ ามารถใชไ้ ปในทิศทางท่ีถูกตอ้ ง3. ส่งเสริมใหน้ กั เรียนเจริญเติบโต เป็นคนท่ีสมบูรณ์ท้งั ทางกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์4. ส่งเสริมใหน้ กั เรียนมีความคิดสร้างสรรค์ มีความเป็ นเจา้ ของ และมีส่วนร่วมในการบริหารโรงเรียน5. ส่งเสริมใหน้ กั เรียน ไดเ้ กิดประสบการณ์ เพอื่ นาไปสู่งานอาชีพที่นอกเหนือจากการเรียนในหอ้ งเรียน6. ส่งเสริมและกระตุน้ ใหน้ กั เรียน ไดบ้ ูรณาการ การเรียนรู้จากประสบการณ์ท่ีไดร้ ับ7. ส่งเสริมความถนดั ความสนใจ และความสามารถของนกั เรียนแตล่ ะคน8. ช่วยสร้างความสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ งครูกบั นกั เรียน9. ใหค้ าปรึกษาและช่วยเหลือนกั เรียนท่ีมีปัญหาท้งั เร่ืองการเรียน และเรื่องพฤติกรรม9. ฝึกประสบการณ์ในการปกครองแบบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นพระประมุข มุ่งใหน้ กั เรียนเป็ นคนดีของสังคม10. ส่งเสริมจรรยามารยาทอนั ดีงามในสังคม และเทิดทูนวฒั นธรรมอนั ดีงามของชาติงานทุกส่วนตอ้ งมีกระบวนการปฎิบตั ิงานดงั น้ี • กาหนดเป้าหมายใหไ้ ดต้ รงตามมาตรฐานที่ทางสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษากาหนด หรือเป้าหมายท่ีช่วยส่งเสริมพฒั นางานโรงเรียน • กาหนดรูปแบบการทางานที่สามารถวดั ผลได้ มีกรอบเวลาท่ีชดั เจน และเจา้ หนา้ ที่ที่เก่ียวขอ้ ง ในการทางาน • ติดตามผลและตรวจสอบปัญหา ถา้ เกิดปัญหาตอ้ งมีการจดั ทา เอกสาร “ รายงานปัญหา และ การแกป้ ัญหาท้งั ระยะส้ัน และระยะยาว” ( COUNTER MEASURE REPORT ) 15
• จดั ทาสรุปผลงานโครงการ และกระบวนการตอ่ ยอด ติดตาม ผลงานในระยะยาวขอบข่ายและภารกจิ1. งานรักษาระเบียบวนิ ยั นกั เรียน2. งานป้องกนั และแกไ้ ขปัญหายาเสพติด3. งานดูแลช่วยเหลือนกั เรียน4. งานทุนการศึกษา5. งานอนามยั และโภชนาการนกั เรียน6. งานกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน7. งานส่งเสริมประชาธิปไตย8. งานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะที่พงึ ประโยชน์9. งานสารสนเทศของฝ่ าย งานรักษาระเบียบวนิ ัยนักเรียนมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบข่ายตอ่ ไปน้ี1. วางแผนแกป้ ัญหานกั เรียนในดา้ นตา่ งๆ และกาหนดระเบียบวนิ ยั ของนกั เรียน จดั ทาเป็น “คู่มือนกั เรียน”เพ่อื ใหค้ รูที่ปฎิบตั ิงาน รวมถึงนกั เรียน ผปู้ กครองรับทราบถึงระเบียบและข้นั ตอนการปฏิบตั ิตวั2. วางแผนควบคุมดูแลการปฏิบตั ิงานของครูท่ีรับผิดชอบในดา้ นการปกครองนกั เรียนใหม้ ีประสิทธิภาพ3. ประสานงานกบั ครูประจาช้นั ครูเวร หรือครูท่ีเก่ียวขอ้ งในการติดตาม ตรวจสอบ วนิ ยั นกั เรียนรวมถึงความปลอดภยั ของนกั เรียนภายในโรงเรียน4. กากบั ดูแล ติดตามและตรวจสอบ5. บนั ทึกขอ้ มูล สถิติ การรักษาวนิ ยั และการทาผดิ วนิ ยั ของนกั เรียน6. ประสานงานกบั “งานช่วยเหลือนกั เรียน” สาหรับนกั เรียนท่ีมีพฤติกรรมไมเ่ หมาะสม หรือผดิ วนิ ยั บอ่ ย เพื่อนามาช่วยเหลือนกั เรียนใหด้ ีข้ึน งานป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติดมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบข่ายตอ่ ไปน้ี1. วางแผนการดาเนินการป้องกนั เพื่อสร้างความรู้ความเขา้ ใจใหก้ บั นกั เรียนตระหนกั ถึงอนั ตรายของยาเสพติด 16
2. กาหนดมาตรการในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา ตลอดจนการควบคุมดูแลใหเ้ กิดผลดีต่อนกั เรียน2. ประสานความร่วมมือกบั ผปู้ กครองนกั เรียนตามโอกาสเพ่อื ร่วมกนั แกป้ ัญหา หรือป้องกนั ตามท่ีเห็นสมควร3. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อ่ืนๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานดูแลช่วยเหลือนักเรียนมีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. ครูแนะแนว วางแผนและจดั ทาโครงการกระบวนการแนะแนวใหค้ รบ 5 บริการ 1.1 บริการสารวจขอ้ มูล 1.2 บริการสนเทศ 1.3 บริการใหค้ าปรึกษา 1.4 บริการจดั วางตวั บุคคล 1.5 บริการติดตามและประเมินผลและครอบคลุมขอบขา่ ยแนะแนวท้งั 3 ดา้ น (ดา้ นการศึกษา ดา้ นอาชีพ ดา้ นส่วนตวั และสงั คม)2. รับผดิ ชอบประสานการดาเนินงานและติดตามประเมินผล การจดั บริการแนะแนว ตามแผนงานและโครงการที่กาหนด3. จดั ทากรอบการจดั กิจกรรมแนะแนวตามหลกั สูตรสถานศึกษา และพฒั นาครูประจาช้นั /ครูผจู้ ดั กิจกรรมให้สามารถจดั กิจกรรมไดบ้ รรลุเป้าหมาย4. ใหค้ าปรึกษาแก่ครู ผปู้ กครอง เพื่อดูแลช่วยเหลือผเู้ รียนที่มีปัญหารับการส่งต่อจากครูประจาช้นั และนามาวเิ คราะห์ปัญหาเพือ่ นามาช่วยเหลือนกั เรียนต่อไป5. จดั ใหม้ ีการพฒั นาครูและผเู้ กี่ยวขอ้ งในเร่ืองท่ีเก่ียวกบั แนะแนว6. บนั ทึกขอ้ มูล สถิติ ประเมินผล เพอ่ื นามาพฒั นางานช่วยเหลือนกั เรียนอยา่ งต่อเน่ือง งานทนุ การศึกษานักเรียนมีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี1. ศึกษา วเิ คราะห์ จดั ทาหลกั เกณฑก์ ารขอรับทุนศึกษา และกระบวนการติดตามผล2. สารวจขอ้ มูลนกั เรียนที่มีความตอ้ งการไดร้ ับการสนบั สนุนทุนการศึกษาตามเกณฑก์ ารรับทุน3. ต้งั กรรมการพจิ ารณาคดั เลือกนกั เรียนไดร้ ับทุนการศึกษา โดยตรวจสอบขอ้ มูลเชิงลึก4. จดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศใหเ้ ป็นปัจจุบนั 17
งานอนามัยและโภชนาการนักเรียน งานอนามยั ครูพยาบาล ---- การปฐมพยาบาล ---- ตรวจสุขภาพและติดตามผล ---- ป้องกนั โรคและเสริมสร้างภูมิคุม้ กนั ---- ส่งเสริมสุขอนามยัมีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. กาหนดนโยบาย วางแผนงานโครงการ การดาเนินงานของงานอนามยั โรงเรียนใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายและวตั ถุประสงคข์ องโรงเรียน2. ควบคุม ดูแล หอ้ งพยาบาลใหส้ ะอาด ถูกสุขลกั ษณะ3. จดั เครื่องมือ เครื่องใช้ และอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาล รักษาพยาบาลใหพ้ ร้อมและใชก้ ารไดท้ นั ที4. จดั หายาและเวชภณั ฑ์ เพ่ือใชใ้ นการรักษาพยาบาลเบ้ืองตน้5. จดั ปฐมพยาบาลนกั เรียน ครู – อาจารย์ และคนงานภารโรงในกรณีเจบ็ ป่ วย และนาส่งโรงพยาบาลตามความจาเป็ น6. จดั บริการ ประสานหน่วยงานภายนอก สาหรับการตรวจสุขภาพนกั เรียน ครู ภายในโรงเรียน7. จดั ทาบตั รสุขภาพนกั เรียน ทาสถิติ บนั ทึกสุขภาพ สถิติน้าหนกั และส่วนสูงนกั เรียน8. ติดต่อประสานงานกบั ผปู้ กครองนกั เรียนในกรณีนกั เรียนเจบ็ ป่ วย9. ใหค้ าแนะนาปรึกษาดา้ นสุขภาพนกั เรียน ความรู้เก่ียวกบั โรคภยั การป้องกนั โรค และการรักษาสุขภาพ10. จดั ทาสถิติ ขอ้ มูลทางดา้ นสุขภาพอนามยั และจดั ทารายงานประจาภาคเรียน ประจาปี ของงานอนามยั งานโภชนาการมีหนา้ ที่รับผดิ ชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี1. กาหนดนโยบาย วางแผนงานโครงการ การดาเนินงานของงานส่งเสริมโภชนาการใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายและวตั ถุประสงคข์ องโรงเรียน2. ประสานงานกบั กลุ่มสาระฯ ครูประจาช้นั ในการใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจ ดา้ นโภชนาการใหก้ บั นกั เรียน 18
3. ประสานงานกบั ฝ่ ายอาคารสถานท่ี ในการตรวจสอบ สถานท่ีรับประทานอาหารของนกั เรียน ครู และบุคคลากรต่างๆในโรงเรียน4. ดูแล ควบคุมการทางาน ความสะอาด ความเป็นระเบียบเรียบร้อยของหอ้ งครัวและบริเวณโดยรอบใหม้ ีความสะอาดและถูกสุขอนามยั อยา่ งสม่าเสมอ5. ดูแล ตรวจสอบ ตูน้ ้าด่ืม ใหส้ ะอาดอยา่ งสม่าเสมอ6. ดูแล ตรวจสอบคุณภาพและประเภทของอาหาร และปริมาณอาหารให้เพยี งพอแก่นกั เรียนและบุคคลากรในโรงเรียน7. เก็บรวบรวมขอ้ มูล สถิติต่างๆ เกี่ยวกบั งานโภชนาการและจดั ทารายงานประจาปี งานกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนมีหนา้ ที่รับผดิ ชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี1. จดั ทาแผน โครงการ และปฎิทินปฎิบตั ิงานกิจกรรม แบง่ เป็น 1.1 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน เช่น กิจกรรมลูกเสือ-ยวุ กาชาด กิจกรรมเพื่อสาธารณะประโยชน์ 1.2 กิจกรรมพิเศษ เช่น กิจกรรมตามประเพณีวนั สาคญั งานประจาปี โครงการออมทรัพย์ ธนาคารขยะ2. ประสานกบั ฝ่ ายงานประชาสมั พนั ธ์ เพ่ือแจง้ ขา่ วสารใหผ้ ปู้ กครองและนกั เรียนรับทราบ เพื่อกระตุน้ ใหส้ นใจกิจกรรม3. กากบั ดูแล ติดตามผล ใหเ้ ป็นไปตามเป้าหมายท่ีต้งั ไว้4. สร้างหลกั เกณฑแ์ ละดาเนินการประเมินผลการจดั กิจกรรม แจง้ ผลต่อผบู้ ริหารเพือ่ นามาปรับปรุงในคร้ังตอ่ ไป5. รวบรวมขอ้ มูล จดั ทาเป็นสารสนเทศ งานส่ งเสริมประชาธิปไตยมีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. กาหนดแนวทางการจดั กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย ในแผนงานประจาปี 1.1 ใหค้ วามรู้แก่บุคลากรและนกั เรียนในโรงเรียนวา่ ดว้ ยการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มี พระมหากษตั ริยเ์ ป็ นประมุข 1.2 จดั กิจกรรมที่เป็ นการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียนโดยใหท้ ุกคนมีส่วนร่วมตามโอกาสที่เหมาะสม เพ่ือพฒั นานกั เรียน 19
1.3 สนบั สนุนใหน้ กั เรียนไดแ้ สดงออกทางดา้ นความคิดความเป็นผนู้ า โดยการมีส่วนร่วม2. จดั ใหม้ ีการเลือกต้งั หวั หนา้ และรองหวั หนา้ ช้นั ตามที่เห็นสมควร3. จดั ใหม้ ีการเลือกต้งั คณะกรรมการนกั เรียนตามระบอบประชาธิปไตยท่ีเห็นสมควร4. เป็นที่ปรึกษาของคณะกรรมการนกั เรียน พร้อมท้งั กากบั ดูแล เสนอแนะ ใหก้ ารดาเนินงานของคณะกรรมการนกั เรียนเกิดผลดีในการส่งเสริมระบอบประชาธิปไตยในระดบั โรงเรียน เกิดประโยชน์ต่อการพฒั นาโรงเรียนและสังคมตามสมควร5. ติดตามผลและสรุปผลรายงานภาคเรียนละ 1 คร้ัง เสนอผอู้ านวยการโรงเรียน4. ปรับปรุง พฒั นา กระบวนการดาเนินงานประชาธิปไตยในโรงเรียนใหม้ ีความทนั สมยั และทนั ตอ่ เหตุการณ์ปัจจุบนั5. ปฏิบตั ิงานอื่นท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมและคุณลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์มีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี1. เสนอแนะกิจกรรมส่งเสริม เช่น การอบรมนกั เรียนประจาสปั ดาห์ในคาบ หรือจดั กิจกรรม คุณธรรมจริยธรรมตามท่ีเห็นสมควรและเหมาะสม2. จดั กิจกรรมส่งเสริมและพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมนกั เรียนตามโอกาสร่วมกบั กลุ่มสาระสังคมศึกษา3 กากบั ดูแล ผลการจดั กิจกรรม หรือการรณรงคส์ ่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม4. ติดตามผลและสรุปผลรายงานภาคเรียนละ 1 คร้ัง เสนอผอู้ านวยการโรงเรียน5. ปฏิบตั ิงานอ่ืนท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานสารสนเทศของฝ่ ายมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. กาหนดข้นั ตอน กระบวนการทางานในการจดั เก็บขอ้ มูลสารสนเทศของฝ่ าย2. จดั ส่งสรุปขอ้ มูลสารสนเทศของฝ่ าย ให้ “ฝ่ ายบริหารงานทวั่ ไป” เพอ่ื นาขอ้ มูลไปรวบรวมเป็ นงานสารสนเทศของโรงเรียนจดั เก็บเป็นปัจจุบนั3. นาขอ้ มูลสารสนเทศ มาปรับปรุง พฒั นางานของฝ่ ายอยา่ งตอ่ เน่ือง 20
แผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานฝ่ ายธุรการ-การเงนิ 21
บทบาทและหน้าท่ขี องฝ่ ายธุรการ-การเงนิรองผู้อานวยการฝ่ ายธุรการ-การเงินมีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ีควบคุม ดูแล คดิ ตามตรวจสอบ และประเมินผลงานธุรการ-การเงนิ การบริหารงานดา้ นธุรการ-การเงินของโรงเรียน มุง่ เนน้ ความเป็นอิสระในการบริหารจดั การ มีความคล่องตวั โปร่งใส ตรวจสอบได้ ยดึ หลกั การบริหารมุง่ เนน้ ผลสัมฤทธ์ิ และมีการตรวจสอบงบประมาณแบบมุง่ เนน้ ผลงาน รวมท้งั ดูแลงานดา้ นธุรการต่างๆ ในโรงเรียนใหม้ ีประสิทธิภาพต่อครู ผูป้ กครอง เพ่ือประโยชน์ของโรงเรียน ส่งผลใหเ้ กิดคุณภาพที่ดีข้ึนต่อผเู้ รียนวตั ถุประสงค์1. เพื่อสนบั สนุนดา้ นธุรการ-การเงินใหก้ ารปฏิบตั ิงานลุล่วงดว้ ยดี มีความเป็ นอิสระ คล่องตวั โปร่งใส และมีประสิทธิภาพ2. เพือ่ ใหบ้ ริการงานทะเบียนผเู้ รียน3. เพ่ือใหส้ ถานศึกษาสามารถบริหารจดั การทรัพยากรท่ีไดอ้ ยา่ งเพยี งพอและมีประสิทธิภาพงานทุกส่วนตอ้ งมีกระบวนการปฎิบตั ิงานดงั น้ี • กาหนดเป้าหมายใหไ้ ดต้ รงตามมาตรฐานที่ทางสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษากาหนด หรือเป้าหมายท่ีช่วยส่งเสริมพฒั นางานโรงเรียน • กาหนดรูปแบบการทางานท่ีสามารถวดั ผลได้ มีกรอบเวลาท่ีชดั เจน และเจา้ หนา้ ท่ีท่ีเก่ียวขอ้ ง ในการทางาน • ติดตามผลและตรวจสอบปัญหา ถา้ เกิดปัญหาตอ้ งมีการจดั ทา เอกสาร “ รายงานปัญหา และ การแกป้ ัญหาท้งั ระยะส้นั และระยะยาว” ( COUNTER MEASURE REPORT ) • จดั ทาสรุปผลงานโครงการ และกระบวนการต่อยอด ติดตาม ผลงานในระยะยาวขอบข่ายและภารกจิ1. งานเอกสาร-สารบรรณ2. งานประสานระหวา่ งหน่วยงาน 22
3. งานบริการขอ้ มูลข่าวสารของโรงเรียน4. งานการเงิน5. งานบญั ชี6. งานตรวจสอบงบประมาณโครงงาน7. งานสามะโนผเู้ รียน8. งานทะเบียนและการเทียบโอน9. งานผลิตเอกสารการเรียน10. งานสารสนเทศของฝ่ าย งานเอกสาร-สารบรรณมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบข่ายตอ่ ไปน้ี1. ดูแลรับผดิ ชอบบริหารงานเอกสารจากภายนอกและภายในโรงเรียน 1.1 ผลิตหรือจดั ทาเอกสาร 1.2 การส่ง (การตรวจสอบ ลงทะเบียน นาส่ง) 1.3 การรับ (ตรวจ ลงทะเบียน แจกจ่าย) 1.4 การจดั เก็บ รักษา และการยมื 1.5 การทาลาย2. ปฎิบตั ิงานอื่นตามที่ไดม้ อบหมาย งานประสานระหว่างหน่วยงานมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบข่ายตอ่ ไปน้ี1. ดาเนินงานประสานงานระหวา่ งหน่วยงานภายนอกหรือบุคคลภายนอก ตามท่ีไดร้ ับการร้องขอจากฝ่ ายตา่ งๆหรือ บุคคลากรในโรงเรียน2. ช่วยเหลือหรือใหค้ าแนะนาในการจดั ทาเอกสาร ขอ้ มูล ฯลฯ ที่ตอ้ งจดั ส่งใหห้ น่วยงานภายนอกตามความเหมาะสม3. ปฎิบตั ิงานอื่นตามท่ีไดม้ อบหมาย 23
งานบริการข้อมูลข่าวสารของโรงเรียนมีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบในขอบข่ายตอ่ ไปน้ี1. แจง้ ประกาศ หรือขอ้ มูลข่าวสารท่ีไดร้ ับจากหน่วยงานภายนอกใหค้ รู บุคลากรในโรงเรียนท่ีเกี่ยวขอ้ งไดร้ ับทราบ2. ปฎิบตั ิงานอ่ืนตามที่ไดม้ อบหมาย งานการเงินมีหนา้ ที่รับผดิ ชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี1. ใหค้ วามช่วยเหลือ รับการติดต่อจากผปู้ กครองหรือบุคคลภายนอกที่เขา้ มาติดต่อธุระในโรงเรียน2. รับจ่ายเงินค่าเทอม คา่ เรียนพเิ ศษ ฯลฯ และส่งยอดประจาวนั ใหห้ วั หนา้ ธุรการ-การเงินตรวจสอบ3. ตอ้ นรับและบริการใหข้ อ้ มูลแก่ผปู้ กครองหรือแขกผมู้ าติดต่อกบั นกั เรียนและทางโรงเรียน3. ประสานงานเร่ืองเงินกบั หน่วยงานอ่ืนๆ4. ติดตามทวงถามเหรือแจง้ ขอ้ มูลคงคา้ งตา่ งๆ จากผปู้ กครอง หรือ บุคคลท่ีเก่ียวขอ้ ง5. ดูแลงานเงินอุดหนุน เงินช่วยเหลือต่างๆที่ไดร้ ับจากหน่วยงานภายนอก6. ดาเนินการจา่ ยเงินใหน้ กั เรียน/ผปู้ กตรอง (คา่ เครื่องแบบ / ค่าอุปกรณ์ ท่ีไดร้ ับเงินอุดหนุน)5. ปฎิบตั ิงานอื่นตามที่ไดม้ อบหมาย • งานท่ีดาเนินการโดยผจู้ ดั การ หรือ ผชู้ ่วยผจู้ ดั การ ในกรณีต่อไปน้ี 1. จา่ ยเงินเดือน คา่ เช่า ครูและบุค 2. ลากรทุกคนในโรงเรียน 2. ควบคุม ดูแล อนุมตั ิการเบิกเงินสาหรับการจดั ซ้ือ จดั จา้ ง ของทางโรงเรียน 3. จดั ทาบญั ชี รายรับ-รายจา่ ยของโรงเรียน งานบัญชีมีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี1. ดาเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูลค่าใชจ้ า่ ยตา่ งๆ จดั ส่งให้ ผจู้ ดั การโรงเรียน เพ่ือจดั ทาบญั ชีภายในโรงเรียน ทุกคร้ังท่ีมีการเบิกเงินสาหรับการจดั ซ้ือ จดั จา้ งตา่ งๆ2. ปฎิบตั ิงานอ่ืนตามที่ไดม้ อบหมาย 24
งานตรวจสอบงบประมาณของโครงงานมีหนา้ ที่รับผดิ ชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. สารวจงบประมาณโครงงานหรือกิจกรรม ท่ีแตล่ ะฝ่ ายไดก้ าหนดไวใ้ น “แผนปฏิบตั ิงานประจาปี ”2. ดาเนินการตรวจสอบ เก็บขอ้ มูล ที่แต่ละฝ่ ายติดต่อขอเบิกเงิน ส่ิงของ เพ่ือนาไปใชใ้ นแต่ละโครงงานหรือกิจกรรม3. สรุปค่าใชจ้ ่าย เปรียบเทียบกบั งบประมาณที่ต้งั ไวต้ อนตน้ ปี และเสนอ ผจู้ ดั การโรงเรียน ภาคเรียนละ 1 คร้ังอยา่ งนอ้ ย งานสามะโนผ้เู รียนมีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. สารวจขอ้ มูลนกั เรียน2. จดั ทาสามะโนผเู้ รียนที่จะเขา้ บริการทางการศึกษาของโรงเรียน3. จดั ระบบขอ้ มูลสารสนเทศจากการสามะโนผเู้ รียน เพื่อใหส้ ามารถนาขอ้ มูลมาใชไ้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ4. เสนอขอ้ มูลสารสนเทศการสามะโนผเู้ รียนใหเ้ ขตพ้ืนที่การศึกษารับทราบ5. ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอ่ืนๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานทะเบียนและการเทยี บโอนมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี1. เป็นนายทะเบียนของโรงเรียน2. จดั ทาแผนปฏิบตั ิการ โครงการต่างๆ ของงานทะเบียน ปฏิทินปฏิบตั ิการ และประเมินผลการดาเนินงานงานทะเบียน3. ทาทะเบียนนกั เรียน ทะเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ. ๑) กรอกและตรวจทานผลการเรียนใหถ้ ูกตอ้ งและเป็ นปัจจุบนั4. จดั ทาแบบพมิ พต์ า่ งๆ ท่ีใชใ้ นงานทะเบียน5. ใหเ้ ลขประจาตวั นกั เรียน และจดั ทารายช่ือนกั เรียนทุกช้นั เรียน จดั ทาสถิติจานวนนกั เรียน6. รับคาร้องการขอเปลี่ยนชื่อ ช่ือสกุล การแกไ้ ขประวตั ิอ่ืนๆ ของนกั เรียน และดาเนินการเกี่ยวกบั การแกไ้ ขหลกั ฐานในทะเบียนนกั เรียน7. ประสานกบั ครูที่ปรึกษาและผปู้ กครองนกั เรียน ในกรณีท่ีตรวจพบวา่ นกั เรียนมีปัญหาเรื่องผลการเรียน การจบหลกั สูตร และการลงทะเบียนวชิ าเรียน 25
8. รับคาร้องและดาเนินการเก่ียวกบั การขอพกั การเรียน การยา้ ย และการลาออกของนกั เรียน9. รับคาร้องการขอเปล่ียนช่ือ ช่ือสกลุ การแกไ้ ขประวตั ิอ่ืนๆ ของนกั เรียน10. ออกใบรับรองผลการเรียน ใบรับรองเวลาเรียน ใบรับรองอ่ืนๆ ตามท่ีนกั เรียนหรือผปู้ กครองตอ้ งการ11. ตรวจสอบคุณวุฒิของนกั เรียนท่ีมาสมคั รท่ีโรงเรียน12. จดั ทา ปพ. ๑ สาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 613. ออกหลกั ฐานแสดงผลการเรียน และประกาศนียบตั รแก่นกั เรียนท่ีจบหลกั สูตร14. จดั ใหม้ ีการเทียบโอนความรู้ ทกั ษะประสบการณ์ และผลการเรียนจากสถานศึกษาอ่ืน สถานประกอบการและอื่นๆ ตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด15. สารวจนกั เรียนท่ีไมม่ าลงทะเบียนเรียนในแตล่ ะภาคเรียน และขาดการติดต่อกบั ทางโรงเรียนเพอ่ื ดาเนินการจาหน่ายในสมุดทะเบียนประวตั ิ16. ใหบ้ ริการขอ้ มูลในดา้ นการเรียนแก่ครู นกั เรียน และผปู้ กครอง17. จดั เก็บเอกสารหลกั ฐานตา่ งๆ ของงานทะเบียนให้เป็ นระบบสะดวกในการตรวจสอบและการนาไปใช้ งานผลติ เอกสารการเรียนมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. ดาเนินงานช่วยเหลือผลิตสื่อ การสอน ขอ้ สอบ กิจกรรม ที่ไดร้ ับการประสานจากฝ่ ายต่างๆ2. กาหนดแผนงานการทางานผลิตส่ือ กรอบเวลา การส่งมอบเอกสาร ฯลฯ3. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อ่ืนๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานสารสนเทศของฝ่ ายมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี1. กาหนดข้นั ตอน กระบวนการทางานในการจดั เกบ็ ขอ้ มูลสารสนเทศของฝ่ าย2. จดั ส่งขอ้ มูลสารสนเทศของฝ่ าย ให้ ฝ่ ายบริหารงานทวั่ ไป เพอ่ื นาขอ้ มูลไปรวบรวมเป็นงานสารสนเทศของโรงเรียนจดั เกบ็ เป็นปัจจุบนั3. นาขอ้ มูลสารสนเทศ มาปรับปรุง พฒั นางานของฝ่ ายอยา่ งตอ่ เน่ือง 26
แผนภูมโิ ครงสร้างการบริหารงานฝ่ ายบริหารท่วั ไป 27
บทบาทและหน้าที่ของฝ่ ายบริหารงานทัว่ ไปรองผู้อานวยการฝ่ ายบริหารงานทว่ั ไปมีหนา้ ท่ีรับผดิ ชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ีควบคุม ดูแล คิดตามตรวจสอบ และประเมนิ ผลการบริหารทวั่ ไป การบริหารทว่ั ไปเป็ นงานท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การจดั ระบบบริหารองคก์ ร ให้บริหารงานอ่ืนๆ บรรลุผลตามมาตรฐาน คุณภาพและเป้าหมายที่กาหนดไว้ โดยมีบทบาทหลกั ในการประสานส่งเสริมสนับสนุนและการอานวยความสะดวกต่างๆ ในการใหบ้ ริการการศึกษาทุกรูปแบบ มุ่งพฒั นาโรงเรียน ตามหลกั การบริหารงานท่ีมุ่งเนน้ ผลสัมฤทธ์ิของงานเป็ นหลกั โดยเนน้ ความโปร่งใสความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ ตลอดจน การมีส่วนร่วมของบุคคล ชุมชนและองคก์ รที่เก่ียวขอ้ งเพือ่ ใหจ้ ดั การศึกษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลวตั ถุประสงค์ 1. เพอ่ื ใหบ้ ริการ สนบั สนุน ส่งเสริม ประสานงานและอานวยการใหก้ ารปฏิบตั ิงานของแตล่ ะฝ่ ายใน โรงเรียนเป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. เพอ่ื ประชาสัมพนั ธ์เผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารและผลงานของสถานศึกษาต่อสาธารณชนซ่ึงจะ ก่อใหเ้ กิด ความรู้ ความเขา้ ใจ เจตคติที่ดี เลื่อมใส ศรัทธาและใหก้ ารสนบั สนุนการจดั การศึกษาขอบข่ายและภารกจิ 1) งานส่งเสริมวชิ าชีพและช่วยเหลือครู 2) งานรักษาระเบียบวนิ ยั ครู บุคลากร 3) งานวางแผนอตั รากาลงั 4) งานสามะโนครู 5) งานปฎิคม 6) งานโสตทศั นูปกรณ์ 7) งานประชาสมั พนั ธ์และประสานความรู้กบั ชุมชน 8) งานดูแลระบบสารสนเทศของโรงเรียน 9) งานดูแลอาคาร-สถานท่ีและสินทรัพย์ 28
10) งานพสั ดุ 11) งานดูแลรักษาความปลอดภยั 12) งานจราจรและยานพาหนะ 13) ปฏิบตั ิงานอื่นๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมายงานทุกส่วนตอ้ งมีกระบวนการปฎิบตั ิงานดงั น้ี • กาหนดเป้าหมายใหไ้ ดต้ รงตามมาตรฐานที่ทางสานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษากาหนด และเป้าหมายของโรงเรียนควบคู่กนั ไป เพอื่ ช่วยส่งเสริมพฒั นาการ ทางานใหม้ ีประสิทธิภาพ • กาหนดรูปแบบการทางานที่สามารถวดั ผลได้ มีกรอบเวลาท่ีชดั เจน • ติดตามผลและตรวจสอบปัญหา ถา้ เกิดปัญหาตอ้ งมีการจดั ทา เอกสาร “ รายงานปัญหา และ การแกป้ ัญหาท้งั ระยะส้ัน และระยะยาว” ( COUNTER MEASURE REPORT ) • จดั ทาสรุปผลงานโครงการ และกระบวนการตอ่ ยอด ติดตาม ท้งั ผลงานระยะส้นั และระยะยาว งานส่งเสริมวชิ าชีพและช่วยเหลือครูมีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. ใหค้ าปรึกษา แนะแนว แนวทางการทางานในการประกอบอาชีพครู2. พทิ กั ษส์ ิทธ์ิของครูภายในขอบเขตท่ีกฎหมายกาหนด3. จดั หา อบรมความรู้ใหมๆ่ สม่าเสมอ เพ่ือเป็ นประโยชน์ในการพฒั นาความรู้ ความสามารถ ในการทางานและพฒั นาผเู้ รียน4. ส่งเสริมใหค้ รูไดร้ ับสวสั ดิการต่างๆ ตามสมควร5. ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอ่ืนๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย งานรักษาระเบียบวนิ ัย ครู บุคลากรมีหนา้ ที่รับผดิ ชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี1. ดูแลเร่ืองวนิ ยั และการรักษาวนิ ยั ของครู บุคลากร และลูกจา้ ง ตามระเบียบของโรงเรียน2. ตรวจสอบ และสรุปวนิ ยั พฤติกรรมของครู และบุคลากรในโรงเรียน ส่งใหผ้ จู้ ดั การประเมินผล 29
3. ดาเนินการใหค้ วามรู้ ฝึกอบรม การสร้างขวญั และกาลงั ใจ การจูงใจ ฯลฯ ในอนั ท่ีจะเสริมสร้างการป้องกนัการกระทาผดิ ทางวนิ ยั4. ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอื่นๆ ที่ไดร้ ับมอบหมาย งานวางแผนอตั รากาลงัมีหนา้ ที่รับผดิ ชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี1.ใหค้ วามช่วยเหลือฝ่ ายตา่ งๆ ในการรับสมคั รครู บุคลากร2.ประสาน ร่วมมือกบั ฝ่ ายต่างๆ ในการวางแผนอตั รากาลงั คนของทุกฝ่ ายงานที่ตอ้ งทาร่วมกบั ผจู้ ดั การ • งานกาหนดตาแหน่งครู บุคลากร • ดูแลการออกจากงาน (รายละเอียดเพมิ่ เติมสามารถดูไดท้ ี่ หวั ขอ้ “ระเบียบการปฏิบตั ิงานในโรงเรียน” ) งานสามะโนครูมีหนา้ ที่รับผดิ ชอบในขอบข่ายตอ่ ไปน้ี1. จดั ทาสามะโนครู บุคลากรทุกคนในโรงเรียน2. จดั ระบบขอ้ มูลสารสนเทศจากการสามะโนบุคคลากร เพอื่ ใหส้ ามารถนาขอ้ มูลมาใชไ้ ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ3. เสนอขอ้ มูลสารสนเทศการสามะโนบุคคลากรใหเ้ ขตพ้นื ท่ีการศึกษารับทราบ4. ปฎิบตั ิหนา้ ท่ีอื่นๆ ตามท่ีไดร้ บมอบหมาย งานปฎคิ มมีหนา้ ที่รับผดิ ชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี1. ตอ้ นรับและบริการผมู้ าเยย่ี มชมหรือดูงานโรงเรียน2. ตอ้ นรับและบริการผปู้ กครองหรือแขกผมู้ าติดต่อกบั นกั เรียนและทางโรงเรียน3. วางแผนและประสานงานกบั ฝ่ ายต่างๆ ในการจดั เตรียมสถานท่ี จดั เตรียมการตอ้ นรับผทู้ ่ีเขา้ มาติดตอ่ ประชุมอบรม สัมมนาและศึกษาดูงานภายในโรงเรียน3. จดั เตรียมอาหาร เครื่องดื่ม อาหารวา่ ง ภาชนะและอุปกรณ์ต่างๆ เพื่อใชใ้ นการตอ้ นรับ4. ปฎิบตั ิหนา้ ที่อื่นๆ ตามท่ีไดร้ บมอบหมาย 30
งานโสตทศั นูปกรณ์มีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี1. ประสานและร่วมงานกบั ฝ่ ายต่าง ๆ ของโรงเรียนในการดาเนินงานโสตฯ3. ดูแลอุปกรณ์ ประสานงานกบั ฝ่ ายธุรการและการเงิน ในการจดั ซ้ือ จดั หาโสตทศั นูปกรณ์ใหเ้ พียงพอกบั ความตอ้ งการ4. จดั ระบบและจดั สถานท่ีในการเกบ็ รักษาใหเ้ หมาะสม สะดวก ปลอดภยั5. จดั ทาระเบียบวสั ดุ ครุภณั ฑเ์ ก่ียวกบั โสตทศั นูปกรณ์โดยเฉพาะ6. จดั ใหม้ ีการบารุงรักษา ซ่อมแซมโสตทศั นูปกรณ์อยตู่ ลอดเวลา7. จดั และดาเนินการเกี่ยวกบั ระบบเสียงภายในโรงเรียน8. บริการบนั ทึกภาพกิจกรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรียน9. จดั ระบบรวบรวมภาพกิจกรรมใหเ้ ป็ นปัจจุบนั และง่ายต่อการนาออกไปเผยแพร่10. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อื่น ๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานประชาสัมพนั ธ์และประสานความรู้กบั ชุมชน งานประชาสัมพนั ธ์ แผนผงั การบริหารงานประชาสัมพนั ธ์ หวั หนา้ งานประชาสัมพนั ธ์ ---- งานพิธีการ - พิธีกร ---- งานจดั สื่อเผยแพร่ - วารสาร เวบไซด์ ป้ายประกาศมีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี1. กาหนดนโยบาย วางแผน งานโครงการ การดาเนินการประชาสมั พนั ธ์ใหส้ อดคลอ้ งกบั นโยบายและจุดประสงคข์ องโรงเรียน2. ประสานงาน ร่วมมือกบั ทุกฝ่ ายของโรงเรียนในการดาเนินงานดา้ นประชาสมั พนั ธ์3. ประกาศขา่ วสารของทุกฝ่ าย หรือขา่ วท่ีเป็นประโยชน์ต่างๆใหบ้ ุคลากรในโรงเรียนทราบ4. ประสานงานดา้ นประชาสมั พนั ธ์ท้งั ในและนอกโรงเรียน5. เป็นหน่วยงานหลกั ในการจดั พธิ ีการหรือพธิ ีกรในงานพธิ ีการต่าง ๆ ของโรงเรียน6. ประสานงานกบั ฝ่ ายสารสนเทศ ในการนาเสนอและเผยแพร่ขอ้ มูลสารสนเทศเพ่ือการบริหาร การบริการและการประชาสมั พนั ธ์ 31
7. เผยแพร่กิจกรรมต่าง ๆ และช่ือเสียงของโรงเรียนทางส่ือมวลชน ส่ือส่ิงพมิ พ์ สื่อออนไลน์8. จดั ทาเอกสาร – วารสารประชาสมั พนั ธ์เพ่อื เผยแพร่ขา่ วสาร รายงานผลการปฏิบตั ิงานและความเคลื่อนไหวของโรงเรียนใหน้ กั เรียนและบุคลากรทวั่ ไปทราบ9. รวบรวม สรุปผลและสถิติต่าง ๆ เกี่ยวกบั งานประชาสัมพนั ธ์และจดั ทารายงานประจาปี ของงานประชาสัมพนั ธ์10. ประสานความรู้ ร่วมมือ ช่วยเหลือชุมชน ในเรื่องตา่ งๆ ตามความเหมาะสมและศกั ยภาพของโรงเรียน11. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อ่ืน ๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานดูแลระบบสารสนเทศของโรงเรียนมีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบขา่ ยตอ่ ไปน้ี1. สารวจระบบเครือขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศของทุกฝ่ ายในโรงเรียน2. จดั ทาทะเบียนเครือข่าย และกากบั ดูแลขอ้ มูลสารสนเทศของแต่ละฝ่ ายในโรงเรียน3. จดั ระบบฐานขอ้ มูลของสถานศึกษา เพื่อใชใ้ นการบริหารจดั การภายในโรงเรียนให้สอดคลอ้ งกบั ระบบฐานขอ้ มูลของเขตพ้นื ท่ีการศึกษา4. พฒั นาบุคลากรผรู้ ับผดิ ชอบระบบเครือขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศใหม้ ีความรู้ ความสามารถ และทกั ษะในการปฏิบตั ิภารกิจ5. จดั ระบบเครือขา่ ยขอ้ มูลสารสนเทศเชื่อมโยงกบั สถานศึกษาอ่ืน เขตพ้ืนที่การศึกษา7. ประเมินและประสานงานระบบเครือข่ายขอ้ มูลสารสนเทศ และปรับปรุงพฒั นาเป็นระยะ8. ปฏิบตั ิงานอื่น ๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย งานดูแลอาคาร-สถานที่และสินทรัพย์มีหนา้ ที่รับผิดชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี1. บริหารจดั การอาคาร สถานท่ี และสินทรัพย์แนวทางปฎิบตั ิ - ต้งั บุคคลากรข้ึนสารวจสินทรัพยต์ ามอาคารต่างๆภายในโรงเรียน เพื่อทราบจานวนและสภาพการใช้ งาน - จดั ทาบญั ชีสินทรัพย์ ภายในภายนอกอาคารท้งั หมด - จาหน่าย บริจาค หรือขายทอดตลาดใหเ้ ป็ นไปตามระเบียบในกรณีท่ีหมดสภาพหรือไม่ไดใ้ ช้ ประโยชน์ - กาหนดแนวทางวางแผนการบริหารจดั การอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา 32
- บารุงดูแลและพฒั นาอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษาใหอ้ ยใู่ นสภาพท่ีมน่ั คง ปลอดภยั เหมาะสมพร้อมท่ีจะใชป้ ระโยชน์ - ติดตามและตรวจสอบการใชอ้ าคารสถานที่ และสภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา เพือ่ ใหเ้ กิดความคุม้ คา่ และเอ้ือประโยชน์ตอ่ การเรียนรู้ - สรุป ประเมินผล และรายงานการใชอ้ าคารสถานที่ และสภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษา2. ซ่อมบารุงอาคารสถานที่ท่ีมีอยเู่ ดิมให้อยใู่ นสภาพใชง้ านไดอ้ ยา่ งปลอดภยั สภาพสวยงาม น่าอยู่ น่าดู น่า ใช้3. ปรับปรุงพฒั นาอาคารสถานท่ีและสภาพแวดลอ้ ม ทาแผนพฒั นาระยะยาว ระยะกลาง ระยะส้ัน4. งานฉุกเฉิน เป็ นงานเร่งด่วนไมม่ ีแผนงานล่วงหนา้ เช่น ซ่อมไฟฟ้า ประปา5. งานเฉพาะกิจ เป็นงานที่ทาร่วมกบั กิจกรรมตา่ งๆ ของโรงเรียน มีคาสัง่ ใหท้ าเป็นงานๆ เช่น การจดั สถานท่ีในงานกิจกรรมตา่ งๆ ของทางโรงเรียน งานประสานความร่วมมือกบั ฝ่ ายอ่ืนๆในเรื่องการใช้ อาคาสถานที่6. งานตามโครงการ เป็นงานที่ทางอาคารสถานท่ีกาหนดไวใ้ นแผนดาเนินงานประจาปี7. การดูแลความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบริเวณโรงเรียน 7.1 การบริหารงานนกั การภารโรง กาหนดนกั การภารโรง ใหช้ ่วย ดูแล รับผิดชอบอาคารสถานท่ีประจา อาคาร 7.2 กาหนดครู หรือ บุคลากรใหช้ ่วยตรวจสอบ อาคารตา่ งๆ และใหน้ กั เรียนในแต่ละหอ้ งเรียน ดูแล รับผดิ ชอบหอ้ งเรียนของตนเอง โดยมีคุณครูท่ีปรึกษาควบคุมดูแล8. ดูแลตกแต่งบารุงรักษาอาคารสถานท่ีรวมท้งั พสั ดุครุภณั ฑป์ ระกอบอาคารสถานที่9. การใหบ้ ริการดา้ นสาธารณูปโภค10. การใหบ้ ริการในการติดต่อของใชอ้ าคารสถานที่11. การปรับปรุงสภาพแวดลอ้ มในโรงเรียนและการจดั บรรยากาศในโรงเรียน16. การซ่อมแซม บารุง สินทรัพยแ์ ละอาคารสถานท่ี12. ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอื่นๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย 33
งานพสั ดุมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบข่ายต่อไปน้ี1. บริหารจดั การพสั ดุ ท้งั หมดในโรงเรียนแนวทางปฎิบตั ิ - จดั ทาทะเบียนคุมพสั ดุท้งั หมดในโรงเรียน ใหเ้ ป็ นปัจจุบนั เพ่ือทาเป็ นระบบฐานขอ้ มูล (ทางานร่วมกบั ฝ่ ายอาคาร – สถานท่ี) - จดั ทาขอ้ กาหนด ข้นั ตอน การเบิก จ่าย พสั ดุ รวมถึงเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง และแจง้ ครู บุคลากรตา่ งๆ ใน โรงเรียนใหไ้ ดร้ ับทราบ - จดั ทาตารางการตรวจสอบสถานะวสั ดุ ครุภณั ฑป์ ระจาปี และมีมาตรการกาหนดป้องกนั การสูญหาย2. การจดั หา / จดั ซ้ือแนวทางปฎิบตั ิ - จดั หา วเิ คราะห์แผนงาน/โครงการ ประสานฝ่ ายอื่นๆ ในการจดั หา - จดั ซ้ือ วเิ คราะห์แผนงาน/โครงการโดยตรวจสอบงบประมาณ รายละเอียด คุณลกั ษณะและ ประสาน “ฝ่ ายธรุการ-การเงิน” ในการจดั ซ้ือ3. จาหน่ายอุปกรณ์การเรียนใหก้ บั ผปู้ กครอง4. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อื่นๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย 34
งานดูแลรักษาความปลอดภยัมีหนา้ ที่รับผดิ ชอบในขอบขา่ ยต่อไปน้ี1. ดูแลเร่ืองการรักษาเวรยามกลางวนั ของครูและบุคลากรทางการศึกษาและลูกจา้ ง2. ดูแลเรื่องการรักษาเวรยามกลางคืนของครู ลูกจา้ งหรือนกั การ3. ดูแลและดาเนินการในเรื่องเก่ียวกบั ครูเวรประจาวนั ในวนั ทาการ และการปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของครูเวรประจาวนั4. จดั ใหม้ ีผตู้ รวจสอบการปฏิบตั ิหนา้ ที่เวรยามเพื่อควบคุมดูแลการอยเู่ วรยามอยา่ งตอ่ เน่ือง5. ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอ่ืนๆ ตามที่ไดร้ ับมอบหมาย งานจราจรและยานพาหนะมีหนา้ ท่ีรับผิดชอบในขอบข่ายตอ่ ไปน้ี1. ดูแลงานจราจร ท้งั ภายในและ ประสานเจา้ หนา้ ท่ีตารวจจราจรในการช่วยดูแลงานจราจรภายนอกโรงเรียน2. ปฏิบตั ิหนา้ ที่อื่นๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมาย 35
ระเบยี บการปฏิบัตงิ านในโรงเรียน ดว้ ยทางโรงเรียนเห็นสมควรในการจดั ทาระเบียบการปฏิบตั ิงานในโรงเรียนน้ีข้ึน เพ่ือหวงั วา่ จะเป็นประโยชนต์ ่อครู บุคคลากรต่างๆในโรงเรียน ท่ีจะไดน้ ามาใชเ้ ป็นแนวทางในการบริหารงานและการปฏิบตั ิงานไดถ้ ูกตอ้ งตามระเบียบ และยงั ช่วยลดความผดิ พลาดใหก้ ารทางานตา่ งๆ โดยระเบียบฉบบั น้ีไดจ้ ดั ทาให้สอดคลอ้ งกบั ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยการคุม้ ครองการทางานของครูใหญ่และครูโรงเรียนเอกชนฉบบั พ.ศ. 2542” หมวดท่ี 1 เรื่องทวั่ ไปคาอธิบายขอ้ 1 ระเบียบน้ีเรียกวา่ “ระเบียบการปฏิบตั ิงานโรงเรียนใบบุญลาพนู พ.ศ.2560”ขอ้ 2 ระเบียบน้ีมีผลบงั คบั ใชต้ ้งั แตว่ นั ที่ประกาศใช้ เป็นตน้ ไปขอ้ 3 ในระเบียบน้ี “โรงเรียน” หมายความวา่ โรงเรียนใบบุญลาพนู อาเภอเมือง จงั หวดั ลาพูน “ผอู้ านวยการ” หมายความวา่ ผอู้ านวยการโรงเรียนใบบุญลาพูน “ผจู้ ดั การ” หมายความวา่ ผจู้ ดั การโรงเรียนใบบุญลาพูน “ครู” หมายความวา่ ครูที่ปฎิบตั ิหนา้ ท่ีในโรงเรียนใบบุญลาพูน “บุคลากร” หมายความวา่ บุคคลที่ไดร้ ับมอบหมายใหป้ ฏิบตั ิงานในโรงเรียนใบบุญลาพูน “นกั เรียน” หมายความวา่ นกั เรียนที่กาลงั ศึกษาอยใู่ นโรงเรียนใบบุญลาพูน “ปี การศึกษา” หมายความวา่ ปี การศึกษาใหเ้ ร่ิมนบั ต้งั แต่วนั ที่ 1 พฤษภาคม จนถึง วนั ที่ 30 มีนาคม ของปี ถดั ไป “วนั ทางาน” หมายความวา่ วนั ที่กาหนดใหค้ รู บุคลากรทางานตามปกติ “วนั หยดุ ” หมายความวา่ วนั ท่ีกาหนดใหค้ รู บุคลากรหยดุ ประจาสปั ดาห์ วนั หยดุ ตามประเพณี วนั ท่ีโรงเรียนส่งั ใหห้ ยดุ หรือวนั ท่ีราชการกาหนดใหห้ ยุด 36
“วนั ลา” หมายความวา่ วนั ที่ครู บุคลากรลาป่ วย ลากิจ ลาเพื่อทาหมนั ลาคลอดบุตร ลา อุปสมบท ลาเพ่อื ประกอบพิธีฮจั ย์ หรือลาเพอ่ื ระดมพลทางทหาร“เงินเดือน” หมายความวา่ เงินที่ผูจ้ ดั การจา่ ยเป็นค่าตอบแทนครู บุคลากรประจาเป็ นรายเดือน“ค่าสอน” หมายความวา่ เงินที่ผรู้ ับใบอนุญาตจา่ ยเป็นคา่ ตอบแทนการสอนของครูท่ีสอนเป็ นราย ชว่ั โมงตามสัญญาการเป็นครู หรือค่าตอบแทนการสอนของครูในชว่ั โมงที่มากกวา่ ชว่ั โมงสอนที่กาหนดไวใ้ นระเบียบน้ี“การทางานล่วงเวลา” หมายความวา่ การทางานนอกหรือเกินเวลาทางานปกติหรือเกินชวั่ โมงทางาน ในแตล่ ะวนั ตามท่ีไดร้ ับอนุญาตจากผอู้ นุญาตในวนั ทางานหรือวนั หยดุ แลว้ แต่กรณี“ค่าล่วงเวลา” หมายความวา่ เงินที่ผจู้ ดั การจ่ายใหแ้ ก่ครู บุคลากร เป็ นค่าตอบแทน การทางานล่วงเวลาวนั ทางาน“คา่ ทางานในวนั หยดุ ” หมายความวา่ เงินท่ีผจุ้ ดั การจ่ายใหแ้ ก่ครู บุคลากรเป็นค่าตอบแทน การทางานในวนั หยดุ“คา่ ทางานล่วงเวลาในวนั หยดุ ” หมายความวา่ เงินที่ผจู้ ดั การจ่ายใหแ้ ก่ครู บุคลากรเป็นค่าตอบแทน การทางานล่วงเวลาในวนั หยดุ“คา่ ชดเชย” หมายความวา่ เงินที่ผูจ้ ดั การจ่ายใหแ้ ก่ครู บุคลากรเมื่อเลิกสญั ญาการ เป็นครูนอกเหนือจากเงิน ประเภทอ่ืน ซ่ึงผจู้ ดั การตกลงจา่ ยใหแ้ ก่ครู“ค่าชดเชยพเิ ศษ” หมายความวา่ เงินที่ผูจ้ ดั การจ่ายใหแ้ ก่ครู บุคลากรเมื่อสญั ญาการเป็ น ครูสิ้นสุดลงเพราะมีเหตุกรณีพิเศษที่กาหนดไวใ้ นระเบียบน้ีคุณสมบตั ิทว่ั ไปของผู้ทจ่ี ะมาทางานเป็ นครูหรือบุคลากรในโรงเรียน1. มีอายไุ มต่ ่ากวา่ สิบแปดปี บริบูรณ์และจบการศึกษาต้งั แต่ระดบั ปริญญาตรีข้ึนไปหรือมีวฒุ ิในการทางานที่โรงเรียนพิจารณาแลว้ วา่ เหมาะสม2. เป็นผเู้ ลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็ นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย3. ไมเ่ ป็นคนไร้ความสามารถหรือจิตฟ่ันเฟื อนไม่สมประกอบหรือเป็ นโรคติดต่อร้ายแรง4. ไม่เป็นผทู้ ี่ถูกเพกิ ถอนใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพจากองคก์ รวชิ าชีพ และหากเป็ นครูผสู้ อนจะตอ้ งมีใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพครูตามท่ีกฎหมายกาหนด5. ไม่เป็นผบู้ กพร่องในศีลธรรมอนั ดีสาหรับการเป็นผปู้ ระกอบวชิ าชีพครูและบุคลากรทางการศึกษา6. ไมเ่ ป็นบุคคลลม้ ละลาย 37
7. ไมเ่ ป็นผเู้ คยตอ้ งโทษจาคุกโดยคาพพิ ากษาถึงที่สุดใหจ้ าคุก เวน้ แตเ่ ป็นโทษสาหรับความผดิ ท่ีไดก้ ระทาโดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ8. ไม่เป็นผเู้ คยถูกลงโทษใหอ้ อก ปลดออก หรือไล่ออกท้งั จากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน9. ไม่เป็นผเู้ คยกระทาการทุจริตในการสอบเขา้ รับราชการหรือเขา้ ปฏิบตั ิงานท้งั ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชน10. มีคุณภาพในการทางาน ตามที่มอบหมาย11. ไมก่ ่อเร่ืองทะเลาะววิ าท12. ไม่เสพสารเสพติดร้ายแรง หรือ เป็นผคู้ า้ ยาเสพติด หมวดท่ี 2 ข้อกาหนดเวลาทางานของครู บุคลากร1. เวลาทางานทโ่ี รงเรียนเปิ ดภาคเรียน ทางานวนั จันทร์ จนถึง วนั ศุกร์ เวลา 8.00 – 17.00 น.• ภาคเรียนท่ี 1 เร่ิมนบั เดือนพฤษภาคม – เดือนตุลาคม• ภาคเรียนที่ 2 เร่ิมนบั เดือนพฤศจิกายน – เดือนมีนาคมของปี ถดั ไป1.1 เวลาทางานของครู บุคลากรระดบั เตรียมอนุบาล และระดบั อนุบาล1.1.1 เวลาทางานครูเวรอาหารเชา้ ฯ เขา้ งาน 07.00 น. เขา้ งานเกิน 07.15 น. ถือวา่ มาสาย1.1.2 เวลาทางาน ครูเวรประจาวนั เขา้ งาน 07.10 น. เขา้ งานเกิน 07.20 น. ถือวา่ มาสาย / เลิกงาน 17.45 น. หรือจนกวา่ นกั เรียนจะกลบั หมด1.1.3 เวลาทางาน ครู บุคลากร เขา้ งาน 07.20 น. เขา้ งานเกิน 07.40 น. ถือวา่ มาสาย / เลิกงาน 17.15 น. **หมายเหตุ: หากครู บุคลากรมาสายหรือกลบั ก่อนเวลาครบ 5 คร้ัง นบั เป็นลากิจ1.2 เวลาทางานของครู บุคลากรระดบั ประถมศึกษา1.2.1 เวลาทางานครูเวรประจาวนั เขา้ งาน 07.10 น. เขา้ งานเกิน 07.20 น. ถือวา่ มาสาย / เลิกงาน 17.45 น. หรือจนกวา่ นกั เรียนจะกลบั หมด1.2.2 เวลาทางาน ครู บุคลากร เขา้ งาน 07.20 น. เขา้ งานเกิน 07.40 น. ถือวา่ มาสาย / เลิกงาน 17.15 น. **หมายเหตุ: หากครู บุคลากรมาสายหรือกลบั ก่อนเวลาครบ 5 คร้ัง นบั เป็นลากิจ 38
ไม่อนุญาตใหค้ รู ทุกระดบั รับนกั เรียนโรงเรียนใบบุญ ไปสอนพิเศษส่วนตวั ในวนั ทางาน หากพบจะถือเป็นความผดิ ใน “หมวดท่ี 5 ขอ้ 2”2. เวลาทางานทโ่ี รงเรียนปิ ดภาคเรียน (เปิ ดสอนพเิ ศษ) ทางานวนั จันทร์ จนถึง วันศุกร์ เวลา 8.00 – 16.00 น. • ภาคเรียนพิเศษ เริ่มนบั ช่วงเดือนมีนาคม เดือนเมษายน เดือนพฤษภาคม เดือนตุลาคม2.1 เวลาทางานสาหรับครู บุคลากรระดบั เตรียมอนุบาลฯ - ประถมศึกษา2.1.1 เวลาทางานครูเวรประจาวนั เขา้ งาน 07.10 น. เขา้ งานเกิน 07.20 น. ถือวา่ มาสาย / เลิกงาน 17.30 น. หรือจนกวา่ นกั เรียนจะกลบั หมด2.2.2 เวลาทางาน ครู บุคลากร เขา้ งาน 08.00 น. เขา้ งานเกิน 08.00 น. ถือวา่ มาสาย / เลิกงาน 16.00 น. **หมายเหตุ: หากครูมาสายหรือกลบั ก่อนเวลาครบ 5 คร้ัง นบั เป็ นลากิจ ไม่อนุญาตใหค้ รูทุกระดบั เปิ ดสอนพิเศษส่วนตวั หากพบจะถือเป็ นความผดิ ใน “หมวดท่ี 5 ขอ้ 2”3. เวลาทโี่ รงเรียนกาหนดให้ครูมาปฏบิ ัตงิ านของโรงเรียนแม้ในระหว่างวนั หยุดตามข้อ 43.1 ครูเวรวนั เสาร์/วนั อาทิตย/์ วนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ เขา้ งาน 8.00 เขา้ งานเกิน 8.30 น. ถือวา่ สาย / เลิก 16.00 น.3.2 ครูท่ีทางโรงเรียนมอบหมายใหเ้ ขา้ มาทางานในวนั หยุด เวลาเขา้ งาน / เลิกงาน ตามประกาศท่ีแจง้ อีกคร้ัง3.3 วนั ท่ีโรงเรียนกาหนดใหเ้ ป็นวนั ทางานในวนั หยดุ 1 วนั 3.3.1 วนั งานประจาปี 1 วนั 3.3.2 วนั ปฐมนิเทศนกั เรียนใหม่ 1 วนั 3.3.3 วนั ครูพบผปู้ กครอง 1 วนั 3.3.4 วนั แจกผลการเรียน กลางภาคเทอม 1 1 วนั 3.3.5 วนั แจกผลการเรียน กลางภาคเทอม 2 1 วนั 3.1.6 พธิ ีมอบใบประกาศและแจกผลการเรียน3.4 นอกเหนือจากวนั ในขอ้ 3.3 แลว้ หากมีความจาเป็ นท่ีโรงเรียนตอ้ งขอใหค้ รู บุคลากร มาทางานในวนั หยดุทางโรงเรียนจะจดั ใหค้ รูมาทางานตามโอกาสในวนั หยดุ รวมไมเ่ กิน 4 วนั / ปี การศึกษา 39
4. ในปี การศึกษาหนึ่ง โรงเรียนกาหนดให้ครูมีวนั หยุดดงั นี้4.1 วนั หยดุ ประจาสปั ดาห์ตามท่ีไดร้ ับอนุญาต4.2 วนั หยดุ ภาคเรียน4.3 วนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์4.4 วนั หยดุ ตามประกาศหรือคาส่งั ของทางราชการ4.5 วนั ท่ีโรงเรียนส่ังใหห้ ยดุ5. ช่ัวโมงการสอน โรงเรียนจดั ใหค้ รูมีชวั่ โมงสอนในสัปดาห์หน่ึงตามระดบั ดงั น้ี5.1 ระดบั ก่อนประถมศึกษา จดั การเตรียมความพร้อมนกั เรียนไม่เกิน 25 ชวั่ โมง5.2 ระดบั ประถมศึกษา สอนไม่เกิน 25 ชวั่ โมง ท้งั น้ี ไม่รวมถึงการปฏิบตั ิงานในหนา้ ที่ครูเพ่ือการเตรียมการสอน การตรวจงาน การดูแลนกั เรียนการประเมินผลและงานที่เก่ียวกบั การเรียนการสอน หรือหนา้ ที่ท่ีครูตอ้ งปฏิบตั ิตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ดว้ ยจรรยา มรรยาท วนิ ยั และหนา้ ที่ของครู และตามระเบียบประเพณีของครูตามที่คุรุสภาพกาหนดอีกดว้ ยโรงเรียนจะจดั ใหค้ รูมีเวลาพกั ระหวา่ งการทางานวนั หน่ึงไม่นอ้ ยกวา่ 1 ชวั่ โมง โดยจดั เป็นพกั ใหญแ่ ละพกั นอ้ ยใหส้ อดคลอ้ งกบั หลกั สูตรท่ีทาการสอนและไมใ่ หเ้ วลาพกั เป็นเวลาทางาน ในกรณีท่ีมีการทางานล่วงเวลาต่อจากเวลาทางานตามปกติไม่นอ้ ยกวา่ 2 ชวั่ โมง จดั ใหค้ รูมีเวลาพกั ไมน่ อ้ ยกวา่ 20 นที ก่อนท่ีครูเริ่มทางานล่วงเวลา หมวดที่ 3 การลา1. ชนิดของการลา ในรอบปี การศึกษาโรงเรียนอนุญาตใหค้ รู บุคคลากร สามารถลาไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี1.1 ลากิจ สามารถลาได้ 4 วนั / ภาคเรียน แตไ่ มเ่ กิน 8 วนั / ปี การศึกษา**หมายเหตุเพ่อื ไมใ่ หม้ ีผลกระทบต่อคุณภาพการใหบ้ ริการดา้ นการศึกษาของโรงเรียน มีขอ้ กาหนดเพ่มิ เติมดงั น้ี - อนุญาตใหล้ าไดใ้ นกรณีท่ีครู บุคลากร ผา่ นช่วง 3 เดือนแรกของการทดลองงานแลว้ เทา่ น้นั - อนุญาตใหล้ าต่อเนื่องท้งั ก่อน-หลงั วนั หยดุ เสาร์ อาทิตย์ แตส่ ามารถขอลาไดไ้ มเ่ กิน 2 วนั /ปี 40
และไมเ่ กิน 3 คน / คร้ัง - ไม่อนุญาตใหล้ าต่อเนื่องท้งั ก่อน-หลงั วนั หยดุ นกั ขตั ฤกษ์ วนั หยดุ ท่ีโรงเรียนกาหนด - ไม่อนุญาตใหล้ าไดใ้ นวนั ตาม “หมวดท่ี 2 ขอ้ 3.3” - ไม่อนุญาตใหล้ ากิจในวนั ท่ีมีการจดั การสอบของนกั เรียน และ ในวนั ที่ทาการตรวจขอ้ สอบ หรือทา คะแนน ช่วงปิ ดภาคเรียน * หากครู บุคคลากรที่มีหนา้ ท่ีอยเู่ วรตาม “หมวดท่ี 2 ขอ้ 3.1” หากติดธุระ สามารถมอบหมายใหบ้ ุคลากรอื่น มาแทนได้ * หากครู บุคลากรลาในวนั เวลาที่กล่าวมาขา้ งตน้ หรือลาเกินกวา่ กาหนดใหถ้ ือเป็นความผดิ ใน “หมวดท่ี 5 ขอ้ 2” และจะมีการปรับตาม “หมวดที่ 3 ขอ้ 3.3” แตห่ ากมีเหตุอนั ควร สามารถติดต่อช้ีแจง “งานบุคคล ฝ่ ายบริหารงานทว่ั ไป” เพอ่ื พจิ ารณาไดอ้ ีกคร้ัง1.2 ลาป่ วย ใหล้ าไดด้ งั น้ี 1.2.1 กรณีเจบ็ ป่ วยธรรมดา 1.2.2 กรณีการเจบ็ ป่ วยท่ีตอ้ งรักษาตวั ในโรงพยาบาล ใหล้ าไดไ้ มเ่ กิน 60 วนั ทางาน / ปี การศึกษา1.3 ลาเพ่อื ไปดูแลพอ่ แม่หรือลูกที่เจบ็ ป่ วยไมเ่ กิน 4 วนั / คร้ัง และไม่เกิน 2 คร้ัง / ปี การศึกษา1.4 ลาคลอดบุตร ใหล้ าได้ หากคลอดปกติ ลาได้ 30 วนั / ในกรณีผา่ คลอดลาได้ 45 วนั1.5 ลาอุปสมบทหรือลาไปประกอบพธิ ีฮจั ย์ ใหล้ าไดไ้ ม่เกิน 120 วนั ในกรณีท่ีครูไม่เคยอุปสมบทหรือไม่เคยไปประกอบพิธีฮจั ย์ และไดท้ าการสอนในโรงเรียนน้นั มาแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ 3 ปี2. การแจ้งลา เม่ือมีเหตุจาเป็นใหค้ รูหรือบุคลากรตอ้ งขอลาหยดุ งาน ครูหรือบุคลากรตอ้ งแจง้ หวั หนา้ งานทราบล่วงหนา้ เพื่อใหพ้ ิจารณาเซ็นรับรอง และจึงจะยนื่ ใบลาให้ “งานบุคคล ฝ่ ายบริหารงานทว่ั ไป” ใหท้ ราบ แตถ่ า้ มีเหตุที่ไมส่ ามารถแจง้ ใหท้ ราบล่วงหนา้ ครูหรือบุคลากรตอ้ งโทรแจง้ “งานบุคคล ฝ่ ายบริหารงานทวั่ ไป”โดยเร็วท่ีสุด และส่งใบลาเม่ือกลบั มาทางานวนั แรกทนั ที 41
ระยะเวลาการยนื่ ใบลามีดงั น้ี2.1 ลากิจ ใหย้ นื่ ใบลาล่วงหนา้ อยา่ งนอ้ ย 1 วนั2.2 การลาป่ วย ใหแ้ จง้ การป่ วยใหโ้ รงเรียนทราบในโอกาสแรกท่ีลาป่ วย เวน้ แต่เหตุสุดวสิ ยั ใหส้ ่งใบลาในวนัแรกที่มาทางาน และใบรับรองของแพทยแ์ ผนปัจจุบนั ช้นั หน่ึงหรือของสถานพยาบาลของทางราชการ ในกรณีท่ีครู บุคลากรไม่อาจแสดงใบรับรองของแพทยไ์ ดใ้ หช้ ้ีแจงต่อ “งานบุคคลฝ่ ายบริหารงานทวั่ ไป” พิจารณาอีกคร้ัง2.3 ลาเพอื่ ไปดูแลพอ่ แม่หรือลูกท่ีเจบ็ ป่ วย ใหย้ นื่ ใบลาล่วงหนา้ อยา่ งนอ้ ย 1 วนั2.4 ลาคลอดบุตร กรณีลาก่อนคลอด ใหส้ ่งใบลาล่วงหนา้ หรือส่งในวนั คลอด กรณีไมไ่ ดล้ าก่อนคลอด ใหแ้ จง้ การลาภายใน 3 วนั2.5 ลาอุปสมบทหรือลาเพ่ือไปประกอบพิธีฮจั ย์ ใหย้ นื่ ใบลาล่วงหนา้ ไม่นอ้ ยกวา่ 3 เดือน แตถ่ า้ โรงเรียนยงั หาครูแทนไมไ่ ด้ โรงเรียนอาจยบั ย้งั การลาน้นั ไวก้ ่อน เพ่อื ใหล้ าในปี ต่อไปก็ได้3. การนับวนั ลา / การปรับ3.1 ครูหรือบุคลากรที่มาทางานสายหรือกลบั ก่อนเวลารวม 5 คร้ัง ใหถ้ ือวา่ เป็นลากิจ 1 วนั หากวนั ลากิจเกิน4 วนั / ภาคเรียน วนั ท่ีเกินให้ปรับเป็นเงินดงั น้ี - ครูพ่ีเล้ียง 300 บาท / วนั - ครู บุคลากร 500 บาท / วนั และจะถูกนามาพจิ ารณาในการปรับข้ึนเงินเดือนประจาปี3.2 หากครู บุคลากรไมส่ ่งใบลาหลงั จากที่กลบั มาทางานภายใน 2 วนั ทางโรงเรียนจะปรับเงิน 300 บาท / คร้ัง3.3 วนั ที่ทางโรงเรียนไม่อนุญาตใหค้ รูหรือบุคลากรลาหยดุ ตาม “ หมวดที่ 2 ขอ้ 3.3 ” หรือ วนั ท่ีไม่อนุญาตให้ลากิจไดต้ าม “หมวดที่ 1 ขอ้ 1.1” หากลาหยดุ จะถูกปรับ - ครูพ่เี ล้ียง 300 บาท / วนั - ครู บุคลากร 800 บาท / วนั 42
และใหถ้ ือเป็นความผดิ ใน “หมวดท่ี 5 ขอ้ 2” แต่หากมีเหตุอนั ควร สามารถติดต่อช้ีแจง “งานบุคคล ฝ่ ายบริหารงานทว่ั ไป” เพอ่ื พจิ ารณาไดอ้ ีกคร้ัง หมวดท่ี 4 เงนิ เดือน ค่าสอน ค่าล่วงเวลา และค่าทางานในวนั หยดุ1. การจ่ายเงนิ1.1 โรงเรียนจ่ายเงินเดือนใหค้ รู บุคลากรทุกวนั สุดทา้ ยของเดือน หากเป็นวนั หยดุ ทางโรงเรียนจะจา่ ยใหล้ ่วงหนา้ ก่อนวนั หยดุ 1 วนั1.2 โรงเรียนจะจ่ายเงินสอนพเิ ศษใหใ้ นกรณีที่ไดร้ ับเงินค่าเรียนจากนกั เรียนครบทุกคนภายในเดือนน้นั ๆแลว้เทา่ น้นั* หมายเหตุ: หากครู บุคลากร ลา หรือ ไมไ่ ดป้ ฎิบตั ิหนา้ ที่ตอนบ่าย ครู บุคลากรท่านน้นั จะไมไ่ ดร้ ับเงินพิเศษในวนั น้นั ๆ2. ค่าสอน ค่าล่วงเวลา และค่าทางานในวนั หยดุ2.1 ในกรณีที่ครูมีชวั่ โมงการสอนเกินกวา่ ที่กาหนดใน “หมวดที่ 2 ขอ้ 5” โรงเรียนจะจ่ายคา่ สอนดงั น้ี - ระดบั ก่อนประถมศึกษาหรือระดบั ประถมศึกษา ชว่ั โมงละ 60 บาท - สาหรับครูที่โรงเรียนบรรจุเขา้ ทาการสอนเป็ นรายชวั่ โมง จะจ่ายค่าสอนไม่นอ้ ยกวา่ สองเท่าของคา่ สอนตามท่ีกาหนด2.2 ในกรณีที่โรงเรียนจดั ใหค้ รู บุคลากรทางานเกินเวลาทาการปกติไวใ้ น “หมวดที่ 2 ขอ้ 1 และ 2 ” โรงเรียนจะจ่ายคา่ ทางานล่วงเวลาเป็นเงิน 200 บาท / คร้ัง (17.30-21.00 น.)*หมายเหตุ ท้งั น้ีไม่รวมถึงการประชุมหรืออบรมเพอ่ื ประโยชนใ์ นการพฒั นา ส่งเสริมคุณภาพการสอนของครูนกั เรียน2.3 ในกรณีท่ีโรงเรียนจดั ให้ครู บุคลากรทางานในวนั หยุดเกินจานวนวนั ที่กาหนดไวใ้ น “ หมวดที่ 2 ขอ้ 3.4 ”โรงเรียนจะจา่ ยค่าทางานในวนั หยดุ เป็นเงินดงั น้ี 43
- ครู บุคลากร 850 บาท / วนั - ครูพเี่ ล้ียง 500 บาท / วนั2.4 ในกรณีที่โรงเรียนจดั ใหค้ รู บุคลากรทางานในวนั หยดุ ที่กาหนดไวใ้ น “ หมวดที่ 2 ขอ้ 3.4 ” เกินจากเวลาปกติ โรงเรียนจะจ่ายคา่ ทางานล่วงเวลาในวนั หยดุ เป็นเงินดงั น้ี - ครู บุคลากร 280 บาท / ชวั่ โมงที่เกินจากเวลาปกติ - ครูพเ่ี ล้ียง 180 บาท / ชวั่ โมงที่เกินจากเวลาปกติ2.5 ในกรณีท่ีโรงเรียนกาหนดใหค้ รู บุคลากรเดินทางไปทางานในสถานท่ีอื่นนอกบริเวณโรงเรียน จะออกคา่ปฏิบตั ิงานนอกสถานที่ ดงั น้ี 2.5.1 ในกรณีท่ีเดินทางออกนอกสถานท่ี ในวนั และ เวลาทางานของโรงเรียน - ค่ารถ หากนารถยนตส์ ่วนตวั ไป โรงเรียนจะจา่ ยคา่ น้ามนั สาหรับเดินทางไป-กลบั โดยจะคิด 3 บาท /กม. 2.5.2 ในกรณีที่เดินทางออกนอกสถานท่ีในวนั ทางาน แตเ่ ลยเวลาทางานของโรงเรียน - ค่ารถ หากนารถยนตส์ ่วนตวั ไป โรงเรียนจะจ่ายค่าน้ามนั สาหรับเดินทางไป-กลบั โดยจะคิด 3 บาท /กม. - คา่ ทางานล่วงเวลา 200 บาท / วนั - หากตอ้ งนอนคา้ ง ทางโรงเรียนจะจดั หาที่พกั ให้ 2.5.3 ในกรณีท่ีเดินทางออกนอกสถานที่ในวนั หยดุ เกินจานวนวนั ท่ีกาหนดไวใ้ น “ หมวดท่ี 2 ขอ้ 3.4 ” แต่ เป็ นเวลาทางานของโรงเรี ยน - ค่ารถ หากนารถยนตส์ ่วนตวั ไป โรงเรียนจะจ่ายค่าน้ามนั สาหรับเดินทาง โดยจะคิด 3 บาท /กม. - ค่าทางานในวนั หยดุ ตามขอ้ 2.3 - หากตอ้ งนอนคา้ ง ทางโรงเรียนจะจดั หาท่ีพกั ให้ 2.5.4 ในกรณีที่เดินทางออกนอกสถานที่ในวนั หยดุ เกินจานวนวนั ที่กาหนดไวใ้ น “ หมวดที่ 2 ขอ้ 3.4 ” และ ทางานเกินเวลาทางานของโรงเรียน - คา่ รถ หากนารถยนตส์ ่วนตวั ไป โรงเรียนจะจ่ายค่าน้ามนั สาหรับเดินทาง โดยจะคิด 3 บาท /กม. - คา่ ทางานในวนั หยดุ ตามขอ้ 2.3 44
- คา่ ทางานล่วงเวลาในวนั หยดุ ตามขอ้ 2.4 - หากตอ้ งนอนคา้ ง ทางโรงเรียนจะจดั หาท่ีพกั ให้*หมายเหตุ คา่ รถ คิดระยะทางจากโรงเรียนจนถึงสถานท่ีปฎิบตั ิงานภายนอก ข้นั ต่า 200 บาท หมวดที่ 5 การลงโทษ การเลกิ สัญญาเป็ นครูและค่าชดเชย1. การพจิ ารณาการรลงโทษคณะครูท่ีผอู้ านวยการ หรือผจู้ ดั การโรงเรียนแตง่ ต้งั ใหพ้ จิ ารณา 1.1. ครูและบุคลากรตอ้ งปฏิบตั ิตามคาส่ังท่ีชอบดว้ ยกฎหมาย ระเบียบ กฎขอ้ บงั คบั ของโรงเรียน และคาส่ังของหวั หนา้ งาน 1.2 ใหม้ ีคาสง่ั ใหค้ รูที่มีหนา้ ท่ีส่งเสริมและดูแลบุคลากรที่อยใู่ ตบ้ งั คบั บญั ชาของตนใหป้ ฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ กฎ ขอ้ บงั คบั ของโรงเรียน และมติของคณะกรรมการบริหารโรงเรียนรวมท้งั คณะกรรมการท่ีปรึกษาผอู้ านวยการหากผบู้ งั คบั บญั ชาทราบวา่ บุคลากรที่อยใู่ ตบ้ งั คบั บญั ชาคนใดกระทาความผดิ ใหร้ ีบดาเนินการลงโทษตามข้นั ตอนทนั ที 1.3 โรงเรียนสามารถลงโทษแก่บุคลากรที่ฝ่ าฝืนขอ้ บงั คบั น้ีขอ้ ใดขอ้ หน่ึงโดย ไมจ่ าเป็ นตอ้ งเรียงลาดบัก่อนหลงั ข้ึนอยกู่ บั ความร้ายแรงของความผดิ ท่ีไดก้ ระทาโทษดงั กล่าวมีดงั ต่อไปน้ี 1.3.1 ตกั เตือนเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษร 1.3.2 ภาคทณั ฑ์ 1.3.3 ตดั เงินเดือนหน่ึงเดือน หรือร้อยละสิบหา้ ของอตั ราเงินเดือนเป็นระยะเวลาไม่เกินสามเดือน 1.3.4 ลดเงินเดือนคร่ึงหน่ึงหรือร้อยละสิบหา้ 1.3.5 เลิกจา้ ง อน่ึง หากเป็ นความผดิ ที่เก่ียวกบั ทรัพยส์ ินของโรงเรียน ความผดิ เกี่ยวกบั การประพฤติตนหรือความผดิเกี่ยวกบั การทางาน นอกจากโทษตามขอ้ 1.3.1 – 1.3.5 แลว้ หากพจิ ารณาแลว้ เห็นสมควร โรงเรียนสามารลงโทษเพม่ิ เติมจาก 1.3.1 – 1.3.5 ได้ โดยรูปแบบของการลงโทษน้นั ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะและผลกระทบของความผดิ แต่ละประเภท2. การกระทาความผดิ ดงั ต่อไปนี้ ถือว่าเป็ นความผดิ ไม่ร้ายแรง 2.1 การแตง่ กายไม่ถูกตอ้ งตามแบบที่กาหนด 45
2.2 การมาปฏิบตั ิงานสายหรือขาดงาน2.3 การไมส่ ่งงานท่ีไดร้ ับมอบหมายภายในกาหนด2.4 การไมใ่ หค้ วามร่วมมือในการทากิจกรรมต่างๆของโรงเรียน2.5 การไมป่ ฏิบตั ิหนา้ ท่ีอยา่ งเตม็ ความสามารถหรือปฏิบตั ิเรื่องอื่นท่ีไม่เก่ียวกบั หนา้ ท่ีของตนในเวลาทางาน2.6 การปฏิบตั ิตนท่ีไม่เหมาะสมในหอ้ งประชุม หอ้ งทางานหรือหอ้ งเรียน2.7 การไม่เขา้ สอนหรือละทิง้ หนา้ ที่ของตนโดยไม่มีการแจง้ ใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาทราบล่วงหนา้2.8 การออกนอกบริเวณโรงเรียนในเวลาทางาน โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต2.9 การพูดจาหรือแสดงอาการท่ีไม่สมควรกบั ผอู้ ื่น2.10 การนาขอ้ มูลส่วนตวั ของผอู้ ่ืนหรือเหตุการณ์ที่เกิดข้ึนในโรงเรียนมาบอกกล่าวต่อบุคคลท่ีสาม โดย มีเจตนาใหผ้ อู้ ื่นหรือโรงเรียนน้นั ไดร้ ับความเสียหาย2.11 การทาลาย ขีดเขียน เปลี่ยนขอ้ ความ หรือประกาศของทางโรงเรียนโดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต2.12 การไมเ่ ช่ือฟังหรือไม่ปฏิบตั ิตามคาสั่งโดยชอบของผบู้ งั คบั บญั ชา2.13 การวพิ ากษว์ จิ ารณ์นโยบาย คาสั่ง การบริหาร หรือวธิ ีการดาเนินงานในลกั ษณะที่อาจเกิดความเส่ือมเสีย ตอ่ ภาพพจน์ของโรงเรียน2.14 การขอรับบริจาคเงิน สิ่งของหรือผลประโยชนอ์ ื่นใดจากนกั เรียนหรือบุคคลอื่น เวน้ แตไ่ ดร้ ับอนุญาต จากโรงเรียนหรือเป็ นการทาบุญตามศรัทธา2.15 การเขา้ ชม โพสตข์ อ้ ความ หรือดาวน์โหลดขอ้ มูล จากเวบ็ ไซตท์ ี่ ไมเ่ หมาะสมแก่สถานภาพของตน หรือทาใหโ้ รงเรียนตอ้ งเสื่อมเสียช่ือเสียง2.16 การใชน้ กั เรียนทาธุระส่วนตวั ท่ีไมเ่ ก่ียวกบั การเรียนการสอนใหแ้ ก่ตนเองท้งั ในและนอกเวลาเรียน2.17 กลน่ั แกลง้ กดขี่หรือข่มเหง นกั เรียนหรือผรู้ ่วมงานใหไ้ ดร้ ับความเสียหาย2.18 การบกพร่องตอ่ หนา้ ที่ของตนหรือประมาทเลินเล่อในการทางาน2.19 การไมร่ ับรู้หรือไม่แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ ในการจดั การเรียนรู้หรือการปฏิบตั ิหนา้ ที่2.20 การสอนพเิ ศษ การเป็ นที่ปรึกษาหรือคณะทางานแก่หน่วยงานต่างๆอนั เป็นการแสวงหาผลประโยชน์ ใหแ้ ก่ตนเองโดยไม่ไดร้ ับอนุญาตจากทางโรงเรียน2.21 กระทาการหรือยอมใหผ้ อู้ ื่นกระทาการหาประโยชน์อนั อาจทาใหเ้ สื่อมเสียความเที่ยงธรรมหรือเส่ือม เสียเกียรติศกั ด์ิในตาแหน่งหนา้ ที่ของตน2.22 การทะเลาะววิ าทในเรื่องส่วนตวั บริเวณโรงเรียนท้งั ในและนอกเวลางาน2.23 การปกปิ ดความผดิ ของนกั เรียนหรือบุคลากรอ่ืนอนั อาจทาให้โรงเรียนไดร้ ับความเสียหายหรือเสื่อมเสีย ช่ือเสียง 46
2.24 มีความประพฤติเส่ือมเสียทางดา้ นการเงิน เช่น การไม่ชาระหน้ีแก่ผอู้ ื่น หรือการอาศยั อานาจหนา้ ที่ ความเป็นบุคลากรของโรงเรียนกยู้ มื เงินจากผปู้ กครองรวมท้งั นกั เรียน เป็นตน้ 2.25 การรายงานเทจ็ หรือปกปิ ดขอ้ เทจ็ จริงที่ตอ้ งแจง้ ต่อ อนั เป็ นเหตุใหเ้ กิดความเสียหายแก่โรงเรียน2.26 การประกอบอาชีพอื่น ในระหวา่ งเวลาทางานภายในบริเวณโรงเรียน2.27 การไมป่ ฏิบตั ิตามขอ้ บงั คบั ประกาศ คาสัง่ หรือแนวปฏิบตั ิต่างๆของทางโรงเรียน3. การกระทาความผดิ ดงั ต่อไปนี้ ถือว่าเป็ นความผดิ ร้ายแรง 3.1 การกระทาซ้าในความผดิ ตามขอ้ 2 3.2 การไมส่ ่งงานท่ีไดร้ ับมอบหมายภายในกาหนดเป็นเหตุใหเ้ กิดความเสียหายแก่โรงเรียนอยา่ งร้ายแรง 3.3 รายงานเทจ็ หรือปกปิ ดขอ้ เทจ็ จริงท่ีควรแจง้ อนั เป็นเหตุใหเ้ กิดความเสียหายแก่โรงเรียนอยา่ งร้ายแรง 3.4 ละทิ้งหนา้ ที่ของตนเป็ นเหตุใหเ้ สียหายแก่โรงเรียนอยา่ งร้ายแรง 3.5 การบกพร่องต่อหนา้ ท่ีของตนหรือประมาทเลินเล่อในการทางาน เป็ นเหตุใหเ้ กิดความเสียหายอยา่ ง ร้ายแรง ความเสียหายน้ีใหห้ มายความรวมถึง กิจการ ทรัพยส์ ิน หรือชื่อเสียง ของโรงเรียน 3.6 การประทุษร้ายหรือกล่าวอาฆาตมาดร้ายผบู้ งั คบั บญั ชา 3.7 การอาศยั หรือยอมใหผ้ ูอ้ ื่นอาศยั อานาจหนา้ ที่ของตนไม่วา่ โดยตรงหรือโดยออ้ มหาประโยชนใ์ หแ้ ก่ตนเอง หรือผอู้ ่ืน 3.8 การปฏิบตั ิหรือละเวน้ การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีโดยมิชอบเพื่อใหต้ นเองหรือผอู้ ่ืนไดร้ ับผลประโยชน์อนั มิควรได้ และใหร้ วมถึงเพ่ือหลีกเลี่ยงการลงโทษตามระเบียบ ขอ้ บงั คบั ประกาศ แนวปฏิบตั ิ หรือคาสัง่ ของโรงเรียน 3.9 การจงใจหรือเล็งเห็นไดว้ า่ จงใจทาใหเ้ กิดความเสียหายแก่โรงเรียน ซ่ึงความเสียหายน้ี ใหห้ มายความ รวมถึงกิจการ ทรัพยส์ ิน หรือช่ือเสียง ของโรงเรียน 3.10 การมีพฤติกรรมบ่อนทาลายความสงบเรียบร้อยหรือการสร้างกลุ่มอิทธิพลภายในโรงเรียน ไมว่ า่ จะโดย เจตนาหรือเลง็ เห็นไดว้ า่ มีเจตนา โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พอื่ ยยุ งส่งเสริมใหเ้ กิดความแตกแยกวนุ่ วายก่อใหเ้ กิด ความเกลียดชงั โรงเรียน หรือขดั ขวางนโยบายรวมท้งั การดาเนินงานตา่ งๆของโรงเรียนท่ีไดม้ ีการปฏิบตั ิ ตามข้นั ตอนอยา่ งถูกตอ้ งแลว้ 3.11 การต้งั กระทู้ การเขียนขอ้ ความหรือเผยแพร่ขอ้ มูลในลกั ษณะที่อาจก่อใหเ้ กิดความเกลียดชงั หรือความ แตกแยกในโรงเรียนหรือสร้างความเสียหายแก่โรงเรียน รวมท้งั ในลกั ษณะที่เป็นการดูหมิ่น เหยยี ดหยาม ต่อโรงเรียน ผบู้ ริหาร หรือผทู้ ี่ตอ้ งปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของตนตามท่ีไดร้ ับมอบหมายจากทางโรงเรียน 3.12 การกลนั่ แกลง้ กดข่ีหรือข่มเหง นกั เรียนหรือผรู้ ่วมงานใหไ้ ดร้ ับความเสียหายร้ายแรง 3.13 การบกพร่องตอ่ หนา้ ท่ีของตนหรือประมาทเลินเล่อเป็นเหตุใหเ้ กิดความเสียหายแก่โรงเรียนอยา่ งร้ายแรง 3.14 การคดั ลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวชิ าการของผอู้ ื่นโดยมิชอบหรือนาเอาผลงานทางวชิ าการของผอู้ ื่น 47
หรือ จา้ ง วาน ใชผ้ อู้ ื่นทาผลงานทางวชิ าการเพื่อไปใชใ้ นการเสนอขอปรับปรุงการกาหนดตาแหน่ง การ เล่ือนตาแหน่ง การไดร้ ับรางวลั หรือการใหไ้ ดร้ ับเงินเดือนในระดบั ที่สูงข้ึน3.15 การลงโทษนกั เรียนดว้ ยวธิ ีไมเ่ หมาะสม เช่น ทาใหเ้ กิดอนั ตรายตอ่ ร่างกาย ทาใหเ้ กิดการ กระทบกระเทือนต่อสภาพจิตใจ หรือทาให้เสียทรัพย์ เป็นตน้3.16 การครองตน ประพฤติตนอนั ไม่เหมาะสมแก่วชิ าชีพหรือเป็นแบบอยา่ งท่ีไม่ดีแก่นกั เรียน เช่น ประพฤติ ตนเป็ นคนเสเพล ประพฤติฉนั ชูส้ าว เสพยาเสพติด เล่นการพนนั ประกอบอาชีพที่ไมเ่ หมาะสมกบั สถานภาพของตน กระทาการล่วงละเมิดทางเพศต่อนกั เรียน ไมว่ า่ จะอยใู่ นความดูแลรับผดิ ชอบของตน หรือไม่ เป็นตน้3.17 การเปิ ดเผยขอ้ มูลหรือความลบั ของโรงเรียนต่อบุคคลภายนอกหรือผทู้ ่ีไม่มีหนา้ ที่เกี่ยวขอ้ งอนั อาจทาให้ โรงเรียนเสียหายหรือเสื่อมเสียช่ือเสียง3.18 การนาทรัพยส์ ินของโรงเรียนไปเป็นทรัพยส์ ินของตนเองหรือของผูอ้ ่ืนโดยไม่ไดร้ ับอนุญาตจากทาง โรงเรียน3.19 มีคุณสมบตั ิ หรือความสามารถไม่ตรง หรือ ไม่เหมาะสมกบั ท่ีไดแ้ จง้ ไวใ้ นตอนแรก แสดงหลกั ฐาน หรือ รับรองไว้ หรือแสดงหลกั ฐานอนั เป็นเทจ็ หรือปกปิ ดขอ้ เท็จจริง3.20 การปลอมแปลงเอกสารของโรงเรียนหรือของทางราชการ รวมท้งั การปลอมแปลงลายมือช่ือของผอู้ ื่น เพื่อนาไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์แก่ตนเอง3.21 การละทิง้ หนา้ ท่ีเป็นเวลา 7 วนั ติดต่อกนั โดยไม่มีเหตุอนั สมควร3.22 การช่วยเหลือนกั เรียนดว้ ยวธิ ีการที่ไม่เหมาะสม เช่น บอกขอ้ สอบท้งั ทางตรงและทางออ้ ม แกค้ ะแนน สอบ ปกปิ ดความผดิ ร้ายแรงของนกั เรียนหรือใชว้ ธิ ีการสอบซ่อมที่ไม่เป็นไปตามเกณฑท์ ี่ทางโรงเรียน กาหนด เป็ นตน้3.23 ศาลมีคาพพิ ากษาถึงทส่ี ุดใหก้ กั ขงั หรือจาคุก เวน้ แตเ่ ป็นความผดิ ที่ทาโดยประมาทหรือความผดิ ลหุโทษ หรือกระทาการอ่ืนใดอนั ไดช้ ื่อวา่ เป็ นผปู้ ระพฤติชวั่ อยา่ งร้ายแรง3.24 การถูกศาลสั่งใหเ้ ป็นบุคคลลม้ ละลาย3.25 การกระทาใด ๆ ที่ฝ่ าฝื นระเบียบวา่ ดว้ ยจรรยา มรรยาทและวนิ ยั ตามระเบียบประเพณี ของบุคลากร ตามที่คุรุสภากาหนด3.26 การกระทาใดๆ ท่ีฝ่ าฝื นระเบียบวา่ ดว้ ยจรรยา มรรยาท วนิ ยั และหนา้ ท่ีของผรู้ ับใบอนุญาต ผจู้ ดั การ ครู อานวยการ หรือครูโรงเรียนเอกชน3.27 กระทาการขดั ต่อระเบียบ ขอ้ บงั คบั ประกาศหรือคาสง่ั ของโรงเรียนหรือผบู้ งั คบั บญั ชาจนเป็นเหตุใหเ้ กิด ความเสียหายแก่โรงเรียนอยา่ งร้ายแรง 48
Search