Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การทดสอบและแก้ไขจุดบกพร่องวงจรอิเล็กทรอนิกส์

การทดสอบและแก้ไขจุดบกพร่องวงจรอิเล็กทรอนิกส์

Published by e27asy, 2017-09-12 11:29:27

Description: หน่วยที่ 16 เรื่องการทดสอบและแก้ไขจุดบกพร่องวงจรอิเล็กทรอนิกส์

Search

Read the Text Version

ชุดการสอน ชุดท่ี 11 การประยุกต์ใชง้ านอุปกรณ์ อิเล็กทรอนกิ ส์ วชิ า อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร รหสั 2104-2102หนว่ ยที่ 16 เร่อื งการทดสอบและแกไ้ ขจดุ บกพร่องวงจร อิเลก็ ทรอนิกส์ นายสมพร บญุ ริน สาขาวชิ าช่างไฟฟา้ กาลงั วทิ ยาลยั เทคนคิ ชลบุรี สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร

1ใบความรู้ท่ี 16ชือ่ วิชา อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร รหัสวชิ า 2104-2102 สอนครง้ั ที่ 17หนว่ ยที่ 16 ชื่อหนว่ ย การทดสอบและแก้ไขจุดบกพร่องวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ รวม 4 ชัว่ โมงชอ่ื เรอ่ื ง การทดสอบและแกไ้ ขจุดบกพรอ่ งวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ จานวน 1 ช่วั โมงสาระสาคญั การทดสอบและแก้ไขจุดบกพร่องวงจรอิเล็กทรอนกิ ส์ จาเป็นตอ้ งอาศัยความรู้ในการตรวจสอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ พื้นฐานการทางานของวงจรต่าง ๆ การบัดกรีและการถอนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ปัญหาของวงจรจ่ายไฟตรงแบบปรับค่าได้โดยส่วนใหญ่แล้วพบว่าเป็นปัญหาจากการลัดวงจรของเอาท์พุต เป็นผลให้ทรานซิสเตอร์ลัดวงจร การวิเคราะห์หลักการทางานของวงจร จึงเป็นสิ่งจาเปน็ อย่างย่งิ ในการแกไ้ ขจุดบกพร่องวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ดังนั้นผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับ หลักการตรวจสอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ การตรวจสอบวงจรจา่ ยไฟตรงแบบปรับคา่ ได้ เครอ่ื งมือการถอนอุปกรณจ์ ากแผน่ วงจรพมิ พ์ เทคนิคการการการถอนอปุ กรณ์จากแผ่นวงจรพิมพ์สาระการเรยี นรู้ 1. การตรวจสอบวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 2. การตรวจสอบวงจรจา่ ยไฟฟ้ากระแสตรงแบบปรับค่าได้ 3. เครื่องมือการถอนอปุ กรณ์จากแผน่ วงจรพมิ พ์ 4. การถอนอปุ กรณจ์ ากแผน่ วงจรพมิ พ์จุดประสงค์การเรียนรู้ เมอ่ื ผเู้ รียน ศึกษาหน่วยการเรียนนี้แลว้ มีความสามารถดงั ต่อไปน้ี 1. บอกหลกั การตรวจสอบวงจรอเิ ล็กทรอนิกส์ได้ 2. อธิบายการตรวจสอบวงจรจ่ายไฟฟา้ กระแสตรงแบบปรับคา่ ได้ 3. บอกเครื่องมือการถอนอุปกรณ์จากแผ่นวงจรพิมพ์ได้ 4. อธบิ ายการถอนอปุ กรณ์จากแผน่ วงจรพมิ พ์ได้

2 การทดสอบและแก้ไขจุดบกพรอ่ งวงจรอิเล็กทรอนิกส์1. การตรวจสอบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ในการตรวจหาจุดเสียท่ีเกิดข้ึนกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์ไม่ควรท่ีจะตรวจโดยแบบไร้หลักการเพราะนอกจากจะเสียเวลาแล้ว อาจจะหาจุดเสียไม่เจอเลยก็ได้ดังน้ัน เมื่อมีความเข้าใจต่อการทางานของวงจรส่วนต่าง ๆ จากบล็อกไดอะแกรมหรือวงจร แล้วก็ให้สันนิษฐานจากอาการท่ีเกิดข้ึนนั้น เป็นท่ีส่วนหรือภาคใดของวงจร จากน้ันทาการตรวจเช็คเป็นภาค ๆ ไป โดยไลจ่ ากจุดใหญ่ไปหาจุดเล็ก โดยใช้เคร่ืองมือวัดตรวจสอบต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ มัลติเตอร์ ออสซิลโลสโคป เป็นต้น แต่เครื่องมือท่ีนิยมใช้มากท่สี ดุ ก็คอื มลั ตมิ เิ ตอร์ การตรวจสอบวงจรในขั้นแรกก็ต้องใช้ประสาทสัมผัสท้ังหมดในการตรวจสอบ เช่นตรวจสอบด้วยสายตา ตรวจสอบลักษณะภายนอกของอุปกรณ์ว่ามีอุปกรณ์ตัวไดที่มีสภาพภายนอกท่ีมองเห็นได้แตกต่างไปจากเดิมหรือไม่ เช่น มีรอยไหม้ แตก ลายวงจรขาด เป็นต้น ฟังเสียงการทางานของอุปกรณ์ตรวจสอบความร้อนของอุปกรณ์เช่นทรานซิสเตอร์ ไอซี มีความร้อนผิดปกติหรือไม่ ดังแสดงในรูปท่ี16.1 รปู ที่ 16.1(ก) ลักษณะของตวั ต่านทานทช่ี ารุด

3 รูปท่ี 16.1(ข) ลกั ษณะของลายวงจรที่ชารดุ รูปที่ 16.1(ค) ลกั ษณะของไอซที ี่ชารดุ รปู ท่ี 16.1 ลกั ษณะของอุปกรณท์ ช่ี ารดุ วงจรอิเล็กทรอนิกส์จะประกอบด้วยวงจรย่อยหลายส่วน ทางานร่วมกันเป็นระบบ การแยกองค์ประกอบบออกมาช่วยให้วิเคราะห์ปัญหาได้ง่ายและเร็วข้ึน ตัวอย่างเช่น แผงวงจรพดลมประกอบด้วย Power supply Main controller สวิตช์ปุ่มกด วงจรจ่ายไฟให้กับขดลวดมอเตอร์ ดังแสดงในรูปที่ 16.2

4AC 220V Power supply HIGH MID Main controller LO COM รูปที่ 16.2 วงจรยอ่ ยของแผงวงจรพดั ลม2. การตรวจสอบวงจรจา่ ยไฟฟ้ากระแสตรงแบบปรบั คา่ ได้ การตรวจสอบวงจรจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงแบบปรับค่าได้ 0 – 30 V จ่ายกระแสได้ 2 Amp ในขั้นตอนแรกควรมาทาความเข้าใจหลักการทางานของวงจรในภาพรวมก่อนว่ามีหลกั การทางานที่สาคัญอะไรบ้างและสามารถแยกออกเป็นวงจรวงจรย่อยหลายส่วน ทางานร่วมกันเป็นระบบ การแยกองคป์ ระกอบบออกมาชว่ ยใหว้ เิ คราะห์ปัญหาได้งา่ ยและเร็วขึ้น ดงั แสดงในรปู ที่ 16.3 และรปู ท่ี 16.4~ D1 1N5402 x 4 R1 0.33 Q1 BD140 Q3 2N3055 VOUT D2 R2 47 R3 C2 1.8K 100uF24VAC Q2 C1 BD140 R8 R4 100K~ D3 D4 2,200uF R9 100K 3.3K 10 12 11 4 C3 R5 10K LM723 13 470pF 97 5 6 GND R6 100K R7 10K VR 5K รปู ท่ี 16.3 วงจรจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงแบบปรบั คา่ ได้ 0 – 30 V

5AC 24V Regulater LM732 0-30V GND 2N3055 BD140 ,R0.33 รปู ท่ี 16.4 วงจรยอ่ ยของวงจรจ่ายไฟฟา้ กระแสตรงแบบปรับค่าได้ 0 – 30 V จากวงจรในรูปที่ 16.3 วงจรจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงแบบปรับค่าได้ 0 – 30 V เม่ือนามาแยกวงจรย่อยเพ่ือใช้ในการวิเคราะห์หาอาการเสียและตรวจซ่อมวงจรได้ตามรูปที่ 16.5 โดยแยกออกเป็น 4วงจรย่อยคือ วงจรป้องกันกระแสเกิน ควบคุมการจ่ายไฟ วงจรเรียงกระแสและฟิ ลเตอร์ วงจรปรับแรงดนั วงจรปอ้ งกัน ควบคุมการจา่ ยไฟ กระแสเกนิ~ D1 1N5402 x 4 R1 0.33 Q1 BD140 Q3 2N3055 VOUT D2 R2 47 R3 C224VAC Q2 1.8K 100uF C1 BD140 R4 100K~ D3 D4 2,200uF R9 R8 100K 3.3K 10 12 11 4 C3 R5 10K วงจรเรยี งกระแส LM723 และฟิ ลเตอร์ 13 470pF 97 5 6 GND R6 100K R7 10K VR 5K วงจรปรบั แรงดัน Regulater รูปที่ 16.5 วงจรยอ่ ยของวงจรจา่ ยไฟฟ้ากระแสตรงแบบปรับค่าได้ 0 – 30 V

6 การตรวจสอบวงจรเบ้ืองตน้ ในกรณีที่ไม่มีไฟออกท่ี output หรือวัดแรงดันไฟฟ้าได้ 0 V ไม่ว่าจะปรับ VR5 แล้วก็ตามให้ตรวจสอบตั้งแต่ แรงดันไฟฟ้า AC 24 V ที่จ่ายออกมาจากหม้อแปลงไฟฟ้า วงจรเรียงกระแสและฟลิ เตอร์ วงจรปอ้ งกันกระแสเกนิ ควบคมุ การจา่ ยไฟ วงจรปรบั แรงดนั ดังรปู ที่ 16.6 ในกรณีที่มีไฟออกท่ี output 30 V แต่ไม่สามารถปรับแรงดันไฟฟ้าได้ ให้ตรวจสอบเฉพาะวงจรป้องกันกระแสเกิน คือตรวจสอบทรานซิสเตอร์ BD140 ควบคุมการจ่ายไฟ ตรวจสอบทรานซิสเตอร์ 2N3055 อาจจะเกิดการวัดวงจรของขา C-E วงจรปรับแรงดัน ไอซี LM723 โดยการทดลองเปลย่ี น ไอซี เริ่มตน้ตรวจสอบแรงดันไฟฟ้า AC ไม่ปกติ 0V ตรวจสอบหม้อ 24 V ปกติ 24V ไม่ปกติ 0V แปลงสายไฟปลั๊กวงจรเรยี งกระแสและ ฟิวส์ ฟิลเตอร์ ตรวจสอบD1-D4 ปกติ 30V C1วงจรป้องกันกระแสเกนิ ไม่ปกติ ตรวจสอบ Q1-Q2 R1 ปกติ ไม่ปกติ ตรวจสอบ Q3 ควบคมุ การจ่ายไฟ (2N3055) ปกติ ไม่ปกติ ตรวจสอบ LM723 VR5 วงจรปรบั แรงดนั ปกติทดลองปรับแรงดนั ไฟฟา้ VR5 สน้ิ สดุรูปที่ 16.6 ผงั การตรวจสอบวงจรจ่ายไฟฟา้ กระแสตรงแบบปรบั ค่าได้ 0 – 30 V

73. เครือ่ งมือการถอนอุปกรณ์จากแผ่นวงจรพมิ พ์ 1) กระบอกดูดตะกว่ั เมอ่ื ต้องการถอดอปุ กรณ์ออกจากแผน่ วงจรพมิ พ์จาเป็นต้องใชก้ ระบอกดดู ตะกว่ั และหวั แร้งชว่ ยในการดูดตะกวั่ ทเี่ ช่ือมตดิ กับขาอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์กบั ลายทองแดงบนแผ่นวงจรพิมพ์เพ่อื จะได้ถอดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ออกจากแผ่นวงจรพิมพ์ รปู ท่ี 16.7 กระบอกดดู ตะก่วั ที่มา : http://chay4.myreadyweb.com ภายในกระบอกดูดตะกัว่ จะมีลูกสูบ ซึ่งมีก้านตอ่ จากลกู สบู ออกมาทางด้านท้ายของกระบอก ดงัแสดงในรูปที่16.8 ปกติลูกสูบจะอยู่ที่ตาแหน่งท้าย ๆ ของกระบอกโดยถูกสปริงรั้งไว้ เวลาใช้งานก็เพียงดันลูกสูบไปตาแหน่งด้านหน้าของกระบอกโดยกดที่ดันลูกสูบด้านท้าย เมื่อลูกสูบถูกดันไปข้างหน้าจนสุดก็จะมีสลักล็อคให้ลูกสูบอยู่ท่ีตาแหน่งด้านหน้า เพ่ือเตรียมพร้อมท่ีจะดูดตะกั่ว ทันทีที่ปลดล็อค เมื่อตอ้ งการดดู ตะกัว่ กเ็ พียงแค่กดปลดล็อคลูกสบู ก็จะดูดตะกั่วมาท่กี ระบอกดดู ตะกั่ว ปุ่มปลดลอ็ ค กา้ นสบู ทด่ี ันลกู สบู กระบอกดดู ตะกั่ว แทง่ ดนั เศษตะกว่ั ลกู สูบปลายดูด รปู ท่ี 16.8 โครงสรา้ งกระบอกดูดตะก่ัวท่มี า : http://electronics.se-ed.com/contents/016h064/016h064_p02.gif

8 2) หัวแร้งบดั กรี หัวแร้งบดั กรจี ะใชร้ ่วมกับอุปกรณ์อนื่ เช่นกระบอกดูดตะกั่ว ลวดซับตะกั่วบัดกรี หัวแร้งบดั กรีใช้สาหรับละลายตะถั่วเพ่ือถอนอุปกรณ์ ถ้าเป็นจุดบัดกรีขนาดใหญ่ก็จาเป็นท่ีต้องใช้หัวแร้งบัดกรีที่มีอัตรากาลังไฟฟ้าสูงๆด้วย สาหรับการบัดกรีช้ินงานทางด้านอิเล็กทรอนิกส์น้ัน นิยมใช้หัวแร้งบัดกรีที่มีอัตรากาลังไฟฟา้ สูงกวา่ 25 ถงึ 130 W รปู ท่ี 16.9 หัวแร้งบดั กรแี บบเลอื กอตั รากาลงั ไฟฟา้ 30/130 W 3) ลวดซับตะกั่ว ลวดซับตะกั่ว มีรูปร่างลักษณะดังรูปท่ี16.10 คือ จะใช้ลวดทองแดงเส้นเล็ก ๆ ถักเป็นผืนยาวความกว้างท่ีมีจาหน่ายมีตั้งแต่1.5 ถึง 3.5 มิลลิเมตร แล้วแต่จะนาไปใช้งาน ชนิดท่ีมีหน้าผืนทองแดงแคบ ๆ จะเหมาะกับจุดบัดกรีเล็ก ๆ และชนิดที่มีหน้าผืนทองแดงกว้างมาก ๆ จะใช้กับจุดบัดกรีท่ีมีขนาดคอ่ นขา้ งใหญ่ รปู ท่ี 16.10 ลวดซบั ตะกว่ั

9 4) เครื่องมอื จับอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ ปากคบี เครื่องมือจบั อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้สาหรับจบั อุปกรณ์ในกรณีที่ต้องการบัดกรีหรือถอนอุปกรณ์ เนื่องจากขณะทาการบัดกรีหรือถอนอุปกรณ์จะเกิดความร้อนท่ีอุปกรณ์ถ้าใช้มือจับโดยตรงจะเกิดอันตรายจากความร้อน หรือใช้ในกรณีท่ีต้องการหยิบจับอุปกรณ์ขนาดเล็กจะจับด้วยมือไม่สะดวกเคร่อื งมือจบั อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์มใี หเ้ ลือกใชห้ ลายแบบดังแสดงในรปู ท่ี 16.11 รปู ท่ี 16.11 เครอื่ งมอื จบั อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ที่มา : http://www.watchtool.co.uk/images/Vetus%20Tweezer%20Set.jpg รูปที่ 16.12 การใช้เคร่ืองมือจบั อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์

104. การถอนอุปกรณ์จากแผน่ วงจรพิมพ์ การถอนบัดกรีจะกระทากันในกรณีท่ีต้องการเปล่ียนอุปกรณ์ตัว ใหม่แทนตัวเก่าท่ีชารุดเสียหายการใส่อุปกรณ์ผิดตาแหน่งหรือจะถอดอุปกรณ์ออกมา การถอนบัดกรีจะต้องละลายตะกั่วบริเวณจุดท่ีต้องการถอนบัดกรีด้วยปลายความร้อนของหัวแร้ง แล้วจึงกาจัดตะก่ัวบริเวณดังกล่าวออกไป การกาจัดตะกวั่ น้แี หละจาเป็นที่จะต้องใชท้ ักษะและเทคนิคบางประการ เทคนคิ ต่าง ๆ ทีจ่ ะได้อ่านต่อไปน้ี จงึ เป็นประโยชน์ในยามทีต่ ้องถอนบัดกรี 1) ใช้กระบอกดดู ตะก่ัว เวลาใช้งานกเ็ พียงดันก้านลูกสูบไปตาแหน่งด้านหน้าของกระบอก โดยกดด้านท้าย เมื่อลูกสูบถูกดันไปข้างหน้าจนสุดก็จะมีสลักล็อคให้ลูกสูบอยู่ที่ตาแหน่งด้านหน้า เพ่ือเตรียมพร้อมที่จะดูดตะกั่วทันทีที่ปลดล็อค หลังจากท่ีนาปลายความร้อนของหัวแร้งมาจ้ีท่ีจุดต้องการถอนบัดกรี เพื่อให้ตะก่ัวละลาย พอตะก่ัวละลายแล้วจึงกดปุ่มปลดล็อค ลูกสูบจะถูกสปริงดึงกลับไปตาแหน่งท้ายอย่างรวดเร็ว พร้อมกับดดู เศษตะกั่วท่ีหลอมละลายแลว้ เขา้ ไปภายในกระบอกดว้ ย รปู ท่ี 16.13 แสดงการใช้กระบอกดูดตะกว่ั 2) ใช้แปรงสีฟนั หาแปรงสฟี นั เกา่ ๆ วธิ ีใช้งานก็เพียงแต่หลังจากใช้ปลายความร้อนของหัวแร้งเพ่ือละลายตะกั่วให้อ่อนตัวแลว้ ก็ใช้แปรงสีฟันน่ีแหละปัดเศษตะกั่วท่ีจุดบดั กรีออก แต่ต้องระวังอย่าให้เศษตะกว่ั ทป่ี ดั ออกนนั้ กระเด็นไปถูกร่างกาย และกระเด็นไปติดในวงจร อาจเกดิ การลดั วงจรขึน้ ได้

11 รูปท่ี 16.14 แสดงการใช้แปรงสฟี ันปัดตะกว่ั ออก วิธแี ก้ปัญหานีก้ เ็ พยี งหาแผ่นกระดาษ ที่มขี นาดใหญ่กวา่ แผ่นวงจรพิมพ์มาเจาะเปน็ ชอ่ งนาไปปิดทับแผ่นวงจรพิมพ์เสียก่อนเพื่อป้องกันส่วนอ่ืน ๆ ไม่ให้เศษตะก่ัวไปเกาะ ใช้น้ิวกดแผ่นกระดาษให้แนบกับแผน่ วงจรพิมพ์มากที่สุด โดยใหป้ ลายขาอปุ กรณ์บริเวณรอบ ๆ ช่องทเ่ี จาะนนั้ ทะลุกระดาษขึน้ มาเพื่อช่วยจับยึดกระดาษให้แนบแน่นยิ่งข้ึน จากน้ันจึงเร่ิมปัดได้ หลังจากที่ปัดเศษตะกั่วออกไปจากจุดบัดกรีหมดแล้ว ก็จะสามารถถอดอุปกรณ์ได้อย่างง่ายดายตรวจสอบจุดบัดกรีรอบ ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าไม่มีเศษตะก่วั เกาะอยู่ ไปลดั วงจรส่วนอน่ื ๆ รปู ที่ 16.15 แสดงการใช้แปรงสีฟนั และการะดาษเจาะรู 3) ใช้ลวดซับตะกั่ว วิธีใช้งานก็ง่ายมากเพียงนาปลายของลวดทองแดงถักทาบลงบนจุดที่ต้องการถอนบัดกรี แล้วใช้ปลายความร้อนของหัวแร้งจี้ท่ีลวดทองแดง เม่ือตะกั่วบริเวณจุดบัดกรีได้รับความร้อนก็จะละลายตัวไปเกาะท่ีลวดทองแดง เม่ือเห็นว่าที่ปลายทองแดงน้ันมีตะก่ัวเกาะอยู่มาก ก็ตัดทองแดงท่ีมีตะก่ัวเกาะน้ันออกเสียบ้าง แล้วทาซ้าอีกจนกว่าตะกั่วที่จุดบัดกรีจะหมดไป ข้อดีของลวดทองแดงซับตะกั่วนี้ก็คือ สามารถนาพกติดตัวไปได้ทุกหนแห่ง อีกทั้งราคาเพียงไม่กี่สิบบาท และใช้งานได้ดีพอสมควร ส่วนข้อเสียก็คือ เนื่องจากการถอนบัดกรีแบบนี้ต้องใช้ความร้อนมาก อาจทาให้เกิดความเสียหายแกอ่ ุปกรณ์ และแผ่นวงจรพมิ พ์ได้ ในกรณีทแี่ ชป่ ลายหัวแร้งทีจ่ ดุ บัดกรีนานๆ

12รปู ที่ 16.16 แสดงการใช้ลวดซับตะก่วั

13 สรุป1. การตรวจสอบวงจรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ในการตรวจหาจุดเสียท่ีเกิดข้ึนกับวงจรอิเล็กทรอนิกส์การตรวจสอบวงจรในข้ันแรกก็ต้องใช้ประสาทสัมผัสทั้งหมดในการตรวจสอบ เช่นตรวจสอบด้วยสายตา ตรวจสอบลักษณะภายนอกของอุปกรณ์ว่ามีอุปกรณ์ตัวไดท่ีมีสภาพภายนอกที่มองเห็นได้แตกต่างไปจากเดิมหรือไม่ และต้องมีความเขา้ ใจตอ่ การทางานของวงจรสว่ นตา่ ง ๆ จากบลอ็ กไดอะแกรมหรือวงจร2. การตรวจสอบวงจรจ่ายไฟฟา้ กระแสตรงแบบปรบั ค่าได้ ในกรณีที่ไม่มีไฟออกที่ output หรือวัดแรงดันไฟฟ้าได้ 0 V ไม่ว่าจะปรับ VR5 แล้วก็ตามให้ตรวจสอบตั้งแต่ แรงดันไฟฟ้า AC 24 V ท่ีจ่ายออกมาจากหม้อแปลงไฟฟ้า วงจรเรียงกระแสและฟลิ เตอร์ วงจรป้องกันกระแสเกนิ ควบคมุ การจ่ายไฟ วงจรปรับแรงดนั ในกรณีท่ีมีไฟออกท่ี output 30 V แต่ไม่สามารถปรับแรงดันไฟฟ้าได้ ให้ตรวจสอบเฉพาะวงจรป้องกันกระแสเกิน คือตรวจสอบทรานซิสเตอร์ BD140 ควบคุมการจ่ายไฟ ตรวจสอบทรานซิสเตอร์ 2N3055 อาจจะเกิดการวัดวงจรของขา C-E วงจรปรับแรงดัน ไอซี LM723 โดยการทดลองเปลย่ี น ไอซี3. เครอ่ื งมือการถอนอปุ กรณ์จากแผ่นวงจรพมิ พ์ การถอนอุปกรณจ์ ากแผน่ วงจรพมิ พ์จะใชเ้ คร่ืองมือหลักคือหวั แร้งบัดกรีจะใช้ร่วมกบั อปุ กรณ์อื่นเชน่ กระบอกดดู ตะกัว่ ลวดซับตะกวั่ บัดกรี หัวแร้งบัดกรีใชส้ าหรบั ละลายตะถ่วั เพื่อถอนอุปกรณ์4. การถอนอุปกรณ์จากแผน่ วงจรพมิ พ์ การถอดอปุ กรณ์ออกจากแผน่ วงจรคือ การถอดอุปกรณ์ไฟฟา้ หรอื อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ออกมาเพื่อการทดสอบ หรือเปลี่ยนใหม่โดยใช้เครื่องมือชว่ ยมหี ลายวิธีทีท่ ีน่ ยิ มใชก้ นั คือ ใชก้ ระบอกดดูตะก่ัว และใช้ลวดซบั ตะกัว่

14 บรรณานุกรมฉตั รธิวฒั น์ ธรรมานยุ ุต 2558. วงจรอิเล็กทรอนิกส์. กรงุ เทพมหานคร: ซเี อ็ดยูเคชน่ั .ชิงชยั ศรีสุรตั น์ และวีรศกั ดิ์ สวุ รรณเพชร 2556. วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร. กรงุ เทพมหานคร: ศูนยห์ นังสอื เมืองไทย.ไวพจน์ ศรธี ัญ 2558. อปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกสแ์ ละวงจร. กรงุ เทพมหานคร: วังอกั ษร จากัด.บญุ สบื โพธศิ์ รี และคนอ่นื ๆ 2550. งานไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์เบอ้ื งตน้ . กรุงเทพมหานคร :ศนู ย์ ส่งเสรมิ อาชีวะ.ปยิ ตลุ า อาภรณ์ “การสร้างโครงงาน”, [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://electronics.se-ed.com/contents/020h060/020h060_p02.asp , [สบื คน้ เมือ่ 8มีนาคม 2560]ปยิ ตลุ า อาภรณ์ “เทคนิคการถอนบัดกรี”, [ออนไลน์]. เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://electronics.se-ed.com/contents/016h064/016h064_p03.asp , [สืบคน้ เมอ่ื 8มนี าคม 2560]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook