Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วงจรรวมตั้งเวลา

วงจรรวมตั้งเวลา

Published by e27asy, 2017-11-01 12:47:09

Description: หน่วยที่ 12 เรื่องวงจรรวมตั้งเวลา

Search

Read the Text Version

ชดุ การสอน ชุดที่ 8 วงจรรวมตั้งเวลา วชิ า อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร รหสั 2104-2102หน่วยที่ 12 เร่อื งวงจรรวมต้ังเวลา นายสมพร บุญริน สาขาวชิ าช่างไฟฟา้ กาลงั วทิ ยาลยั เทคนคิ ชลบุรี สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศกึ ษาธิการ

1อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์และวงจร 2104-2102 ใบความรู้ท่ี 12 สอนครั้งท่ี 13 รวม 4 ชวั่ โมงช่อื วิชา อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร รหัสวชิ า 2104-2102 จานวน 1 ชัว่ โมงหน่วยที่ 12 ชื่อหน่วย วงจรรวมตัง้ เวลาชือ่ เร่อื ง วงจรรวมตงั้ เวลาสาระสาคญั ไอซีไทเมอร์ 555 หรือวงจรรวมตั้งเวลา 555 น้ันเป็นไอซีที่ใช้ควบคุมสัญญาณเวลาหรือใช้เป็นตวั จับเวลาและสามารถใช้เป็นวงจรสร้างรูปสัญญาณตา่ ง ๆ ได้ เช่น สัญญาณพลั ส์รปู ส่ีเหล่ยี ม สัญญาณรูปไซน์ สัญญาณรูปสามเหลี่ยม เป็นต้น ในการออกแบบวงจร เหล่านี้ ทาได้โดยการต่ออุปกรณ์ภายนอกร่วมกับ IC555 สามารถกาเนิดสัญญาณ อะสเตเบ้ิล (Astable) โมโนสเตเบิล (Monostable)และประยกุ ตใ์ ชง้ านดา้ นอื่น ๆ ท่เี กย่ี วกับการตัง้ เวลาไดด้ ี ดังนน้ั ผเู้ รียนจะตอ้ งมคี วามร้คู วามเข้าใจเก่ยี วกับคุณสมบัตขิ อง IC555 การทางานของ วงจรโมโนสเตเบิลมลั ติไวเบรเตอร์โดยใช้ IC555 รวมถึงการออกแบบวงจรโมโนสเตเบิลมัลตไิ วเบรเตอร์ การทางานและการออกแบบวงจรตง้ั เวลาโดยใช้ IC555สาระการเรียนรู้ 1. วงจรรวมตงั้ เวลา IC555 1.1 คุณสมบัตแิ ต่ละขาของ IC555 1.2 การทางานของ IC555 2. วงจรโมโนสเตเบิลมลั ติไวเบรเตอรโ์ ดยใช้ IC555 2.1 การทางานของวงจรโมโนสเตเบิลมลั ติไวเบรเตอร์โดยใช้ IC555 2.2 การออกแบบวงจรโมโนสเตเบิลมลั ตไิ วเบรเตอร์โดยใช้ IC555 3. วงจรต้งั เวลา 3.1 การทางานของวงจรตัง้ เวลาโดยใช้ IC555 3.2 การออกแบบวงจรต้งั เวลาโดยใช้ IC555จดุ ประสงค์การเรียนรู้ เม่อื ผู้เรียน ศึกษาหนว่ ยการเรียนนี้แลว้ มีความสามารถดังต่อไปนี้ 1. บอกคุณสมบัตแิ ตล่ ะขาของ IC555 ไดถ้ ูกต้อง 2. อธิบายการทางานของของ IC555 ไดถ้ ูกต้อง 3. อธบิ ายการทางานของวงจรโมโนสเตเบิลมลั ตไิ วเบรเตอร์โดยใช้ IC555 ได้ถูกตอ้ ง 4. ออกแบบวงจรโมโนสเตเบลิ มลั ตไิ วเบรเตอร์โดยใช้ IC555 ไดถ้ ูกต้อง 5. อธบิ ายการทางานของวงจรตงั้ เวลาโดยใช้ IC555 ได้ถกู ตอ้ ง 6. ออกแบบของวงจรตัง้ เวลาโดยใช้ IC555 ไดถ้ ูกต้อง

2 อุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102 วงจรรวมตั้งเวลา1. วงจรรวมตั้งเวลา IC555 ไอซี 555 หรือนิยมเรียกว่า IC555 Timer คือ ไอซีที่สร้างขึ้นมาเพ่ือความสะดวกในการสร้างความถ่ีขึ้นมาใช้งาน หรือควบคุมสัญญาณเวลา นิยมใช้งานอย่างมากเน่ืองจากใช้อุปกรณ์ต่อร่วมน้อยและมีความเสถียร สามารถควบคุมความถี่หรือสัญญาณเวลาได้ด้วย R และ C มีขาใช้งานท้ังหมด 8 ขาใช้งาน 7 ขา สามารถทางานปกติได้ที่แรงดัน 4.5V – 18V รูปร่างภายนอกของ IC555 แสดงดังรูปท่ี12.1 รปู ที่ 12.1 IC555 1.1 คุณสมบตั ิแต่ละขาของ IC 555 ภายใน IC555 ประกอบดว้ ย ตวั เปรียบเทียบแรงดนั (voltage comparator) จานวน 2 ตวัอาร์เอส ฟลิบ-ฟลอบ (RS flip-flop) ทรานซสิ เตอร์ และตัวตา้ นทานท่ีต่อเป็นวงจรแบ่งแรงดัน (voltagedivider) ซึ่งต่อเขา้ กบั ตัวเปรียบเทียบแรงดัน ดังรูปที่ 12.2

3 อปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102 Vcc (8) R1 Threshold Reset OutputControl (5) (6) +- (1) (4) Disc(h8a) rge R2 +-(2) RQ (7) SQ R3 GND (1) Trigger (2) GND (1) รูปที่ 12.2 วงจรภายใน IC555 GND 1 8 Vcc TR 2 7 DC 555 Q 3 6 TH R 4 5 CV รูปท่ี 12.3 ลกั ษณะของแต่ละขาบน IC555 ไอซี 555 จะมที ้ังหมด 8 ขาดังรปู ท่ี 12.3 ขาของไอซแี ต่ละขา มีหนา้ ท่ีดงั ต่อไปนี้ - ขาท่ี 1 GND เปน็ ขากราวด์ของ IC555 - ขาที่ 2 TR (Trigger) เป็นขาสาหรบั ป้อนพลั สส์ ้ัน ๆ กระตุ้นทริกเกอรเ์ พ่ือเร่มิ นับเวลา - ขาท่ี 3 Q (Output) เป็นขาเอาต์พุต ชว่ งการนบั เวลา ลอจกิ “1” เอาต์พุตจะอยทู่ ี่ Vcc - ขาท่ี 4 R (Reset) เปน็ ขารเี ซต สามารถกระตุ้นดว้ ยลอจิก “0” เพ่ือหยุดเวลานบั ถ้าหากไม่ใช้ขารเี ซต จะต่อขารีเซตเขา้ กบั Vcc เพอ่ื ไมใ่ ห้ขารีเซตถกู กระตุ้น - ขาท่ี 5 CV (Control) เป็นขาคอนโทรล ใชใ้ นการควบคมุ แรงดันให้กบั ตวั เปรยี บเทยี บท่ีมีแรงดนั เทา่ กับ 2Vcc/3 โดยทั่วไปขานี้จะไม่ถกู ใชง้ าน จึงควรตัวเกบ็ ประจขุ นาด 0.01 µF กับขา Gndเพอ่ื ป้องกนั สัญญาณรบกวน

4 อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102 - ขาที่ 6 TH (Threshold) เป็นขาเทรสโฮล การทางานคลา้ ยกบั ขาทริกเกอร์ เม่ือ ขาน้ีมีระดับแรงดนั ถงึ 2Vcc/3 เอาต์พุตของตัวเปรียบเทียบแรงดันจะเปลยี่ นจาก ลอจิก “0” เป็นลอจิก “1” - ขาที่ 7 DC (Discharge) เป็นขาต่อกบั คาปาซเิ ตอร์ ซ่งึ เวลาคายประจุจะมผี ลต่อชว่ งเวลา - ขาท่ี 8 Vcc เป็นขาไฟเลี้ยงของ IC ซง่ึ อย่ใู นชว่ ง +4.5 ถึง + 18 V 1.2 การทางานของ IC555 จากรูปที่ 12.2 วงจรภายใน IC555 เมื่อตัวเปรียบเทียบแรงดันมีแรงดันท่ีขา + มากกว่าแรงดันท่ขี า – จะทาใหไ้ ด้เอาต์พุตของตวั เปรียบเทียบแรงดนั เปน็ ลอจกิ “1” ในทางกลับกัน เมอ่ื ตัวเปรยี บเทียบแรงดันมีแรงดันที่ขา + น้อยกว่าแรงดันที่ขา – จะทาให้ได้เอาต์พุตของตัวเปรียบเทียบแรงดันเปน็ ลอจิก“0” เม่ือป้อนแรงดันให้ขา Threshold มากกว่า2Vcc/3 จะได้ลอจิก “1” ที่ขา R ของฟลิป-ฟลอบ ทาให้ฟลิป-ฟลอบถูกรีเซต จะได้เอาต์พุตเป็น “0” ทาให้ทรานซิสเตอร์ไม่ทางาน และถ้าแรงดันท่ีขาTrigger มีค่าต่ากว่า Vcc/3 จะได้ลอจิก “1” ท่ีขา S ของฟลิป-ฟลอบ ทาให้ฟลิป-ฟลอบถูกเซต จะได้เอาต์พุตเป็น “1” ทาให้ทรานซิสเตอร์ทางานในลักษณะคายประจุลงกราวด์ ทาให้ขา 7 เปรียบเสมือนต่อลงกราวด์ ถ้าหากในกรณีที่แรงดันท่ีขาThreshold สูงกว่า 2Vcc/3 และแรงดันขา Trigger ต่ากว่าVcc/3 พร้อมกัน จะทาให้ขา S และ ขา R ถูกกระตุ้นพร้อมกัน จะทาให้ฟลิป-ฟลอบระบุสถานะไม่ได้ตารางความจริงของอารเ์ อสฟลิป-ฟลอบ แสดงดังตาราง 12.1ตาราง 12.1 ตารางความจริงของอารเ์ อสฟลปิ -ฟลอบRS Q Q̅ Q̅ เดิม00 Q เดิม 001 1 1 ระบุสถานะไม่ได้10 011 ระบุสถานะไม่ได้2. วงจรโมโนสเตเบิลมลั ติไวเบรเตอร์โดยใช้ IC555 IC555 ทางานเป็น 2 แบบ คือ เป็นตัวผลิตสัญญาณค่าความถี่ต่าง ๆ และ เป็นวงจรนับสญั ญาณจึงแบ่งการทางานเปน็ วงจรที่สาคัญ ได้ 2 ชนิดคือวงจรโมโนสเตเบิล และ วงจรอะสเตเบิล110 0 2mS Input Monostable Multivibrator Output รูปที่ 12.4 แสดงบล๊อกไดอะแกรมการทางานของวงจรโมโนสเตเบลิ

5 อปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102 วงจรโมโนสเตเบลิ หรือบางตาราเรียกวา่ วงจรวงจรโมโนสเตเบิลมลั ติไวเบรเตอร์ (MonostableMultivibrator) หรือเรียกส้ัน ๆ ว่า one-shot เป็นวงจรท่ีการเปลี่ยนแปลงการทางานต้องมีสัญญาณอินพุตมากระตุ้นการทางาน โดยปกติการทางานของวงจรแต่ละคร้ังทางานเพียงสภาวะเดียว และจะเปล่ียนสภาวะเม่ือมีสัญญาณอินพุตมากระตุ้น และจะคงสภาวะน้ันไปช่ัวขณะตามค่า RC ในวงจร และจะกลับมาสภาวะเดิม รูปที่ 12.4 แสดงบล็อกไดอะแกรมการทางานของวงจรโมโนสเตเบิล ท่ีมีสัญญาณเอาตพ์ ุตขนาด 2 mS Vcc R2 R1 74 810kΩ 6 C1 555 3 Vo VTrig 21 5 S1 C2 0.1µFรปู ท่ี 12.5 วงจรโมโนสเตเบิลมลั ติไวเบรเตอร์

6 อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102 Vcc Threshold Vcc ResetR1 R 2Vcc/3 + Control - RQC1 0.1µF R Vcc/3 + SQ Vo R Trigger - Vcc Discharge 10kΩ S1 รปู ที่ 12.6 โครงสรา้ งของ IC 555 ท่ีตอ่ เปน็ วงจรโมโนสเตเบลิ 2.1 การทางานของวงจรโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์โดยใช้ IC555 การต่อวงจรโมโนสเตเบิล โดยใช้ IC555 ขาทริกเกอร์จะทาหน้าท่ีเป็นอินพุตของวงจร โดยจะต่อตัวต้านทาน 10k โอห์มแบบพูลอัพไว้ เพ่ือให้เป็นลอจิกสูงตลอดเวลาเมื่อไม่มีสัญญาณทริกท่ีเป็นลอจิกต่าเข้ามายังอนิ พุต ส่วนขา Control จะต่อตัวเก็บประจขุ นาด 0.1 µF ไวเ้ พือ่ กรองสญั ญาณความถ่ีสงู ออกจากตวั เปรียบเทียบหรือคอมพาราเตอร์ขา Discharge และขาThreshold ถกู ตอ่ เข้าด้วยกันและต่อเข้ากับ C1 ดังนั้น เพ่ือให้แรงดันทั้งสองขาน้ีมีค่าเท่ากับ VC1 เม่ือพิจารณารูปท่ี 12.6 เริ่มต้นให้ทาให้ทรานซิสเตอร์ลัดวงจรทาให้ VC1 =0 และ VTrig = Vcc ดังนั้น ขา R = 1 และขา S = 0 (Q = 0 และQ̅ = 1) สญั ญาณเอาตพ์ ตุ = 0 ตอ่ มาเมื่อสวิตช์ S1 ถูกกด ทาใหแ้ รงดันอนิ พุต VTrig = 0 ช่วั ขณะ ทาให้R = 0 และ S = 1 (Q = 1 และ Q̅ = 0) สัญญาณเอาต์พุต = 1 และทรานซิสเตอร์เปิดวงจร เนื่องจากฟลปิ -ฟลอบถูกเซต ตัวเก็บประจุ C1 จะถูกอัดประจุผ่านตัวต้านทาน R1 เมื่อเวลาผ่านไป t = T = t2 - t1 ตัวเก็บประจุ C1 ถูกชารจ์ ประจุจนทาให้ที่ขา 6 มีแรงดนั 2Vcc/3 ทาให้ R = 1 และ S = 0 (Q = 0 และ Q̅ =1) สญั ญาณเอาตพ์ ตุ = 0 อีกครั้ง ทาใหท้ รานซิสเตอร์ทางานและตวั เกบ็ ประจุ C1 ถกู ลดั วงจรลงสู่กราวด์และเกิดการคายประจทุ ันที ทาให้ R = 0 และ S = 0 (Q = 0 และ Q̅ = 1) ทาให้ฟลิป-ฟลอบคงสถานะนั้น ไวจ้ นกว่าจะสัญญาณเข้ามาทริกอีกคร้ัง จากการทางานดังกล่าว วงจรโมโนสเตเบิล เม่ือถูกสัญญาณกระตุ้น VTrig = 0 จะให้สัญญาณเอาต์พุตเป็นพัลส์ที่มีความกว้างเท่ากับ T สัญญาณของ Vo ดังแสดงในรปู ท่ี 12.7

7 อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102 Vtrig 2/3Vcc Vc1 t1 T t2 S R Vo รปู ท่ี 12.7 ลกั ษณะของสัญญาณในวงจรโมโนสเตเบิล2.2 การออกแบบวงจรโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอรโ์ ดยใช้ IC555 จากรปู ท่ี 12.7 แรงดันตกคร่อมตัวเกบ็ ประจุ VC1 และสญั ญาณเอาตพ์ ตุ Vo จะมคี วามกวา้ งของสญั ญาณเท่ากับ T ซง่ึ คานวณไดจ้ ากสมการคา่ คาบเวลา T = 1.1R1C1 ........................................(1)เมื่อตัวเกบ็ ประจมุ ีแรงดันตกคร่อมเท่ากบั VC1(t) =2Vcc/3 ดังน้นั VccVR1 = 3 = IC1R1 ........................................(2)โดยท่ี IC1 ≥ 100ITH ซง่ึ สามารถดูค่า Threshold Current ได้จาก datasheet ของ IC รูปที่ 12.8 ค่า Threshold Current

8 อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102จากรปู ท่ี 12.8 ซง่ึ จะระบุไวว้ ่า ITH(max) 250nA หรือ 0.25µA สามารถคานวณคา่ R1 อย่างครา่ ว ๆ ได้จาก R1 = Vcc ........................................(3) 3 Ic1 IC1 = 300 ITH........................................(4)ตวั อยา่ งที่ 12.1 จงคานวณหาคา่ R1 และ C1 ในวงจรโมโนสเตเบิล เพอ่ื ให้มคี วามกวา้ งของสญั ญาณเอาต์พุตเท่ากับ 2 mS โดยใช้ IC555 และใชแ้ หล่งจ่ายไฟเท่ากบั 5 V ITH เทา่ กับ 0.25 µA Vcc 5 V R2 R1 74 8 10kΩ 6 C1 555 3 Vo S1 21 5 C2 0.1µF รูปที่ 12.9 วงจรโมโนสเตเบลิ มลั ตไิ วเบรเตอร์วิธีทา , IC1 = 100 ITHจาก R1 = Vcc 5 3 Ic1 x 0.25A) R1 = 3 (100 R1 = 66.67kΩT = 2mS , R1 = 66.67kΩคา่ คาบเวลา T = 1.1R1C1

9 อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102C1 = T 1.1 R1C1 = 1.1 2x103 (66.7x103 ) = 27.26 nF3. วงจรตั้งเวลา (Timer Circuit) ไอซไี ทเมอร์ 555 สามารถสรา้ งเป็นวงจรต้ังเวลาได้ โดยมพี ื้นฐานมาจากการต่อวงจรแบบโมโนสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร์ ดังน้ัน การหน่วงเวลาท่ีต้องการ สามารถหาได้จากสมการท่ี (1) ซ่ึงขึ้นกับค่าตัวต้านทานและตวั เก็บประจุท่ตี ่อรว่ มกันเป็นวงจร RC ทข่ี า Threshold ดังตวั อยา่ งในรปู ท่ี 12.10 Vcc S1 R2 74 8 R3 LED10kΩ R1 300Ω 6 C1 555 3 C3 0.1µF 21 5 C2 0.1µF รปู ที่ 12.10 วงจรตัง้ เวลา

10 อุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-2102 3.1 การทางานของวงจรตง้ั เวลาโดยใช้ IC555 จากรูปที่ 12.10 เมื่อกดสวิทซ์ S1 วงจรจะเร่ิมทางาน โดยที่กระแสจะไหลไปที่ตัวต้านทาน R2ผ่านไปยังตัวเก็บประจุ C3 เพ่ืออัดประจุ และตัวต้านทาน R1 เพื่ออัดประจุให้กับตัวเก็บประจุ C1ในขณะท่ีแรงดันตกคร่อมตัวเกบ็ ประจุ C3 ซึง่ ต่อเข้ากับขา Trigger ตา่ กว่า Vcc/3 ตวั คอมพาราเตอร์จะให้เอาต์พุตเป็นลอจิก “1” ทาให้ขา S เป็น “1” ทาให้เอาต์พุตท่ีขา 3 เป็นลอจิก “1” เช่นกัน ทาให้หลอด LED ไมต่ ดิ และใหข้ ณะเดยี วกนั แรงดันตกครอ่ มตัวเกบ็ ประจุ C1 ซึ่งตอ่ เขา้ กบั ขา Threshold ตา่กว่า 2Vcc/3 จาทาให้คอมพาราเตอร์ให้เอาต์พุตเป็นลอจิก “0”ในเวลาไม่นาน แรงดันที่ขา Trigger จะเพ่ิมขึ้น เร่ือย ๆ จนมากกว่า Vcc/3 ทาให้คอมพาราเตอร์ให้เอาต์พุตท่ีขา S เป็น “0” ซ่ึงจะได้ R = 0และ S = 0 ทาให้ RS ฟลิปฟลอป คงสถานะเดิมไว้ นั่นคือเอาต์พุตที่ขา 3 ยังคงเป็นลอจิก “1” และหลอด LED ยังไม่ติด จากน้ันเมื่อเวลา T ผ่านไปเท่ากับ 1.1R1C1 ดังสมการท่ี (1) แรงดันท่ีขาThreshold จะสูงกว่า 2Vcc/3 ทาให้คอมพาราเตอร์ให้เอาต์พุตเป็นลอจิก “1” ซึ่งในขณะนี้จะทาให้ R= 1 และ S = 0 เอาตพ์ ตุ ทขี่ า 3 กลายเปน็ ลอจิก “0” และหลอด LED ตดิ สวา่ ง ขา 7 ท่ีต่อร่วมอยู่เกิดการนากระแสลงสู่กราวด์เพ่ือคายประจุออกจากตัวเก็บประจุ C1 อย่างรวดเรว็ จึงทาใหแ้ รงดันท่ขี า Threshold กลับมาต่ากว่า 2Vcc/3 อกี ครั้ง ทาให้ได้ R = 0 และ S = 0 ซึ่งทาให้สัญญาณเอาต์พุตคงสถานะเดิมไว้ต่อไป สามารถศึกษาการทางานทั้งหมดของวงจรนี้ได้จากลักษณะของสญั ญาณของวงจรต้ังเวลาดงั รูปที่ 12.11 2Vcc/3Vc1 t1 2Vcc/3 T t2 VtrVigcc/3S 10 0R 0 10Vo LED OFF LED ONรปู ท่ี 12.11 ลักษณะการทางานของวงจรตัง้ เวลาโดยใช้ IC555

11 อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ สแ์ ละวงจร 2104-21023.2 การออกแบบวงจรต้ังเวลาโดยใช้ IC555ตัวอยา่ งที่ 12.2 จงออกแบบวงจรตง้ั เวลา 1 นาที โดยใช้ IC555 Vcc 5 V S1 R2 R110kΩ 74 8 C1 R3 LED 330µF 6 300Ω 555 C3 3 0.1µF 21 5 C2 0.1µF รปู ที่ 12.12 วงจรต้งั เวลาโดยใช้ IC555วิธที ากาหนดคา่ ตวั เกบ็ ประจุ C1 และตัวต้านทาน R1 ท่ีใชใ้ นวงจร ในที่น้จี ะใชต้ ัวเก็บประจทุ ม่ี ีคา่ 330 μFคาบเวลาทตี่ อ้ งการคือ 1 นาที หรอื 60 วินาทีจากสมการ T =1.1R1C1 จะสามารถหาคา่ R ไดด้ ังน้ี 60 =1.1(R1x330x10-6) R1 = 1.1 60 (330x106 ) = 165.289kΩ

12 อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102 สรปุ 1. วงจรรวมตั้งเวลา IC555 IC 555 จะมที ้ังหมด 8 ขา - ขาที่ 1 GND - ขาท่ี 2 TR (Trigger) - ขาท่ี 3 Q (Output) - ขาท่ี 4 R (Reset) - ขาท่ี 5 CV (Control) - ขาท่ี 6 TH (Threshold) - ขาท่ี 7 DC (Discharge) - ขาที่ 8 Vcc 2. วงจรโมโนสเตเบิลมลั ตไิ วเบรเตอรโ์ ดยใช้ IC555 เปน็ วงจรทก่ี ารเปลีย่ นแปลงการทางานต้องมสี ัญญาณอินพุตมากระตนุ้ การทางาน โดยปกตกิ ารทางานของวงจรแตล่ ะครัง้ ทางานเพยี งสภาวะเดยี ว และจะเปล่ียนสภาวะเม่อื มสี ญั ญาณอนิ พุตมากระตนุ้และจะคงสภาวะนน้ั ไปช่วั ขณะตามค่า RC ในวงจร และจะกลบั มาสภาวะเดมิ 3. วงจรตั้งเวลา โดยมพี ้ืนฐานมาจากการต่อวงจรแบบโมโนสเตเบลิ มัลติไวเบรเตอร์ ดังนั้น การหนว่ งเวลาขึ้นกบัคา่ ตัวตา้ นทานและตัวเกบ็ ประจุทีต่ ่อร่วมกนั เป็นวงจร RC ท่ขี า Threshold T =1.1R1C1

13 อุปกรณอ์ ิเลก็ ทรอนกิ ส์และวงจร 2104-2102 บรรณานกุ รมชงิ ชัย ศรีสุรัตน์ และวีรศกั ด์ิ สุวรรณเพชร. 2556. วงจรอิเล็กทรอนิกส์และวงจร. กรงุ เทพมหานคร: ศูนยห์ นงั สือเมืองไทย.ไวพจน์ ศรธี ญั . 2545. เทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกส์. กรงุ เทพมหานคร: สกายบุกส์ จากัด.นภัทร วจั นเทพนิ ทร์. 2558. อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์และวงจร. กรุงเทพมหานคร: วังอักษร จากดั .ฐติ นิ นั ต์ กาศโอสถ. 2559. “ไอซี 555 ไทเมอรแ์ ละการประยุกต์ใช้,”เข้าถงึ ได้จาก: http://www.ebooks.in.th/search/writer/ฐติ ินันต%์ 20กาศโอสถ/, [สบื คน้ เม่ือ 11 ตุลาคม 2559]SONTHAYA NONGNUCH. 2557. “ไอซี 555,” [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.elec- za.com/ไอซ-ี 555/, [สบื คน้ เมอ่ื 11 ตุลาคม 2559]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook