Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore unit15

unit15

Published by e27asy, 2020-01-07 11:19:56

Description: unit15

Search

Read the Text Version

ชุดการสอนหนว่ ยที่ 15 การประกอบบัดกรวี งจรอิเลก็ ทรอนิกส์ วชิ า อุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร รหสั 2104-2102 หลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี หนว่ ยท่ี 15 เร่ืองการประกอบบดั กรีวงจรอิเลก็ ทรอนิกส์ นายสมพร บญุ รนิ สาขาวิชาชา่ งไฟฟา้ กาลัง วทิ ยาลยั เทคนคิ ชลบรุ ี สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

1 ใบความรทู้ ี่ 15 สอนครั้งที่ 16 รวม 4 ชวั่ โมง ช่อื วชิ า อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสแ์ ละวงจร รหสั วิชา 2104-2102 จานวน 1 ชวั่ โมง หนว่ ยท่ี 15 ชอ่ื หน่วย การประกอบและบดั กรีอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ชื่อเร่อื ง การประกอบและบดั กรีอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ สาระสาคัญ การประกอบวงจรดา้ นอเิ ลก็ ทรอนิกส์ จาเปน็ ตอ้ งอาศยั การบดั กรเี ปน็ พนื้ ฐาน และการอ่านคา่ การดูขาอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ โดยสว่ นใหญพ่ บวา่ ปญั หาเกี่ยวกับการประกอบวงจร แลว้ วงจรไมท่ างาน เป็นปญั หาจากการบัดกรี และการประกอบอปุ กรณผ์ ดิ ตาแหนง่ ผดิ คา่ หรอื สลับข้วั ดงั นั้นการฝึกการ บัดกรที ่ถี ูกตอ้ ง รวมถงึ ความรพู้ ้นื ฐานของอุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ สต์ า่ ง ๆ เชน่ ตวั ต้านทาน ตวั เก็บประจุ อุปกรณ์สารก่งึ ตัวนาชนดิ ต่าง ๆ จึงเปน็ สิง่ จาเปน็ อยา่ งย่ิงในการปฏบิ ตั งิ านอิเล็กทรอนกิ ส์ ดังนั้นผู้เรียนจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ อุปกรณ์และเครื่องมือการบัดกรีอุปกรณ์บน แผ่นวงจรพิมพ์ เทคนิคการการบัดกรีอุปกรณ์บนแผ่นวงจรพิมพ์ ขั้นตอนการบัดกรีอุปกรณ์บน แผน่ วงจรพิมพ์ คาแนะนาการประกอบอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ สก์ ับแผ่นวงจรพมิ พ์ สาระการเรยี นรู้ 1. ความหมายการบดั กรี 2. อุปกรณ์และเครอื่ งมอื การบดั กรีอปุ กรณบ์ นแผน่ วงจรพมิ พ์ 3. หลักการที่สาคญั ของการบดั กรีอุปกรณบ์ นแผ่นวงจรพิมพ์ 4. ขนั้ ตอนการบัดกรีอุปกรณบ์ นแผน่ วงจรพิมพ์ 5. คาแนะนาการประกอบอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกสบ์ นแผน่ วงจรพมิ พ์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ เมือ่ ผเู้ รยี น ศึกษาหน่วยการเรียนน้ีแล้วมคี วามสามารถดังต่อไปนี้ 1. อธิบายความหมายการบดั กรีได้ 2. บอกอปุ กรณ์และเครื่องมือการบดั กรีอปุ กรณบ์ นแผน่ วงจรพมิ พ์ได้ 3. บอกหลักการที่สาคัญของการบัดกรีอุปกรณ์บนแผน่ วงจรพิมพ์ได้ 4. อธบิ ายขนั้ ตอนการบดั กรีอุปกรณ์บนแผน่ วงจรพิมพ์ได้ 5. บอกคาแนะนาการประกอบอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกสบ์ นแผ่นวงจรพิมพ์ได้

2 การประกอบและบัดกรอี ปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ 1. ความหมายการบัดกรี การบัดกรีคือการเช่ือมวัสดุเข้าด้วยกันอาจทาได้หลายวิธี วิธีท่ีสะดวกและใช้กันมากคือการใช้ กาวเป็นตวั ประสาน แตอ่ ย่างไรกต็ ามการเช่ือมต่อด้วยวิธีน้ี มจี ุดออ่ นในดา้ นความแข็งแรงในการเกาะยึด ตัวและการนาไฟฟ้า ดังน้ันในงานด้านโลหะจึงมักใช้วิธีการเช่ือมประสาน โดยการเชื่อมต่อ จะต้องใช้ ความร้อนสูงเพื่อหลอมโลหะเข้าด้วยกัน แต่ในงานด้านอิเล็กทรอนิกส์นอกจากต้องการในด้านความ แข็งแรงในการยึดเหนี่ยวแล้ว ยังต้องการการต่อเชื่อมกันทางไฟฟ้าด้วย และยังต้องการความสะดวกใน การถอดถอนการเชอ่ื มต่อในภายหลงั จงึ นยิ มวิธี การบดั กรี ดงั น้นั เราจึงอาจกลา่ วไดว้ า่ การบดั กรคี ือ การ เชื่อมต่อโลหะเข้าด้วยกันโดยใช้วัสดุตัวกลางซ่ึงเป็นโลหะผสมของดีบุกและตะกั่วเป็นตัวเชื่อมประสาน เพ่ือจุดประสงค์ใหม้ กี ารเช่ือมต่อกันทางไฟฟ้า และสะดวกต่อการถอดถอนในภายหลัง 2. อปุ กรณ์และเครอ่ื งมอื การบัดกรี การบัดกรีจะต้องมีอุปกรณ์หลัก 2 อย่างคือ หัวแร้งบัดกรี และ ตะก่ัวบัดกรี โดยหัวแร้งบัดกรี จะใช้เพื่อให้ความร้อนในการละลายตะก่ัวบัดกรีให้เช่ือมประสานกับชิ้นงาน ส่วนตะก่ัวบัดกรีจะมี ส่วนผสมระหว่างดบี ุกและตะกั่ว และจะมฟี ลักซ์ ซ่งึ กันการเกดิ ออ๊ กไซดข์ องโลหะ ซ่งึ เป็นอปุ สรรคในการ เช่ือมต่อในระหวา่ งการบดั กรี 2.1 ตะก่ัวบัดกรี ตะกั่วบัดกรีเกิดจากส่วนผสมระหว่างดีบุกและตะกั่ว ซึ่งโลหะท้ังสองมีจุดหลอมละลายต่ากว่า โลหะชนิดอื่นๆ สาเหตขุ องการเลอื กใชโ้ ลหะทมี่ ีจุดหลอมละลายต่าเป็นสว่ นผสมของตะก่ัวบดั กรกี ็เพื่อให้ ขณะท่ีทาการบัดกรีชิ้นงาน ความร้อนจะเป็นตัวทาให้ตะกั่วบัดกรีหลอมละลายก่อน โดยไม่ทาให้ข้ัวไฟ หรือสายไฟได้รับความเสียหายด้วยปริมาณส่วนผสมท่ีแตกต่างกันระหว่างดีบุกและตะก่ัว จึงทาให้ คุณสมบัติตะก่ัวบัดกรีมีคุณสมบัติแตกต่างกนั ด้วย เช่น ตะกั่วบักดกรี 60/40 มีส่วนผสมของ ดีบุก 60% และตะกัว่ 40 % นอกจากนแ้ี ล้วในตวั ตะกัว่ บัดกรี จะมกี ารแทรกฟลักซ์ (FLUX) ไว้ภายใน ด้วยจานวน ที่พอเหมาะ เพ่ือเพ่ิมความสะดวกในการใช้งาน ซึ่งหน้าท่ีของฟลักซ์คือ จะดูดกลืนโลหะอ๊อกไซด์ ซ่ึงเกิด จากการเขา้ ร่วมทาปฏิกริ ิยา ของออกซิเจนในอากาศออกไป ทาใหร้ อยตอ่ ระหว่างตะก่ัวกบั โลหะติดแน่น ย่ิงขึ้น โดยการแทรกฟลักซ์นี้ไว้ตลอดความยาวซ่ึงบางชนิดมีถึง 5 แกนและเรียกกันตามผู้ผลิตว่า ตะกั่วมัลติคอร์ (multi-core) ตะกั่วที่ใช้ในการบัดกรีมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5 mm. 0.8 mm. และ 1.2 mm. การเลอื กขนาดของเสน้ ตะกั่วขน้ึ อย่กู ับจดุ ทีต่ อ้ งการบัดกรวี ่ามขี นาดใหญห่ รอื เล็ก

3 รปู ที่ 15.1 ตะก่วั บัดกรีสาหรบั งานอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 2.2 ฟลักซ์ (Flux) ทองแดงลายปรินต์ ขั้วต่อสายหรือขาของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีโอกาสสัมผัสกับอากาศอยู่ เสมอจะทาให้เกิดชั้นของฉนวนออกไซด์ท่ีไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าปกคลุมที่ผิวหน้าของ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ เหลา่ น้นั ดังนน้ั จงึ จาเป็นต้องใช้สารเคมีท่ีสามารถชะล้าง หรอื นาช้ันของฉนวนออกไซด์น้ี ออกก่อน มิฉะนั้นแล้วการบัดกรีให้ตะกั่วบัดกรีตดิ กับชิ้นงานน้ันทาไดย้ ากมาก ซึ่งสารเคมีนี้มีช่ือเรียกว่า ฟลักซ์ ในตะกว่ั บัดกรที ่ใี ชใ้ นงานอเิ ล็กทรอนิกสจ์ ะบรรจุอยู่ไว้ในแกนกลาง รปู ท่ี 15.2 ฟลักซ์ (Flux) 2.3 หัวแรง้ บัดกรี (Electric Soldering Iron) หัวแร้งบัดกรีจะแบ่งตามอัตรากาลังไฟฟ้าท่ีหัวแร้งบัดกรีแต่ละขนาดใช้ หรืออาจจะหมายความ ถึงความส้ินเปลืองกาลังไฟฟ้าของหัวแร้งบัดกรีนั่นเอง นอกจากนั้นอัตรากาลังไฟฟ้าของหัวแรง้ บัดกรยี งั แสดงถงึ ปริมาณความร้อนท่ีสามารถแพร่กระจายออกมาจากหวั แรง้ บดั กรไี ดอ้ กี ด้วย การนาหวั แรง้ บดั กรี มาสัมผัสยังจุดที่จุดบัดกรี จะทาให้ความร้อนจากหัวแร้งบัดกรีส่งผ่านไปยังชิ้นงานที่สัมผัสอยู่ ดังนั้น ถ้า

4 เป็นจุดบัดกรีขนาดใหญ่ก็จาเป็นท่ีต้องใช้หัวแร้งบัดกรีท่ีมีอัตรากาลังไฟฟ้าสูงๆด้วย สาหรับการบัดกรี ชิ้นงานทางดา้ นอิเล็กทรอนิกสน์ ้นั นิยมใชห้ วั แรง้ บัดกรีทมี่ ีอัตรากาลังไฟฟ้า 25 ถงึ 130 W รปู ที่ 15.3 แสดงหัวแรง้ บดั กรีแบบเลือกอตั รากาลงั ไฟฟ้า 30/130 W 2.4 คมี ตัด (Diagonal pliers or side cutters) คมี ตดั ลวดสาหรบั ตดั ขาอปุ กรณด์ า้ นลา่ งแผ่นวงจรพิมพเ์ มื่อทาการบัดกรีเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ รปู ท่ี 15.4 คีมตัดลวด 2.5 แท่นวางหัวแร้ง เมือ่ ใช้งานหัวแรง้ สิ่งท่คี วรระวงั คือความร้อนทป่ี ลายหัวแร้งฉะนนั้ การวางหวั แร้งควรวางบน แทน่ วางหัวแรง้ นอกจากนนั้ แทน่ วางหวั แรง้ บางแบบยังมีอุปกรณส์ าหรับจบั ยดึ แผ่นวงจรพมิ พแ์ ละแว่น ขยายเพ่ือช่วยในการบัดกรใี ห้งา่ ยขึน้

5 รูปท่ี 15.5 แสดงแท่นวางหัวแร้งบดั กรี ท่ีมา : http://www.bloggang.com/ 2.6 กระบอกดดู ตะกั่ว เมือ่ ตอ้ งการถอดอุปกรณอ์ อกจากแผน่ วงจรพมิ พ์จาเปน็ ตอ้ งใช้กระบอกดดู ตะกวั่ และหวั แร้งช่วย ในการดดู ตะก่วั ทเ่ี ชอ่ื มตดิ กับขาอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนิกส์กบั ลายทองแดงบนแผน่ วงจรพมิ พ์เพอื่ จะได้ถอด อุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ สอ์ อกจากแผ่นวงจรพิมพ์ รูปที่ 15.6 แสดงกระบอกดูดตะก่วั ที่มา : http://chay4.myreadyweb.com 3. หลกั การท่ีสาคัญของการบัดกรีอปุ กรณ์บนแผ่นวงจรพมิ พ์ ส่ิงสาคญั ท่สี ุดในการสรา้ งวงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์ คอื ความใสใ่ จในรายละเอยี ด และการบัดกรี ลายวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ซ่งึ ไม่สามารถจะอธบิ ายไดท้ ั้งหมดแตจ่ ะให้ หลกั การทสี่ าคัญได้ ดังนี้ 1) เลือกใช้หวั แร้งกาลงั ไฟประมาณ 20-30 วตั ตซ์ งึ่ มปี ลายขนาดเลก็ 2) ปลายหวั แรง้ จะต้องมดี ว้ ยตะกวั่ บดั กรีเคลอื บอยู่ตลอดการใช้งานเสมอ เพอื่ ไมใ่ หห้ วั แร้งสึก เร็ว และจะชว่ ยให้งา่ ยในการบัดกรี

6 3) เตรยี มฟองน้าหรอื ผา้ ที่เปียกสาหรบั ใชเ้ ชด็ ปลายหวั แรง้ ตามความเหมาะสมเพื่อใหป้ ลายเปน็ เงาสีตะกั่วอยู่เสมอ รูปท่ี 15.7 ปลายหัวแรง้ 4. ขั้นตอนการบัดกรีอปุ กรณบ์ นแผ่นวงจรพิมพ์ 1) ทาความสะอาดปลายหวั แร้ง โดยใช้ปลายหวั แร้งจมุ่ ลงในฟลกั ซ์ หรอื ใชต้ ะกัว่ บักกรใี ห้ ละลายหมุ้ ปลายหวั แรง้ แลว้ เชด็ ด้วยฟองนา้ หรอื ผา้ ทเี่ ปียก ดังแสดงในรปู ท่ี 15.8 รปู ท่ี 15.8 การทาความสะอาดปลายหวั แร้ง 2) ใส่อุปกรณ์และดนั ใหต้ ิดราบอยู่บนแผน่ วงจรพิมพแ์ ละดัดขาอปุ กรณใ์ ห้ถ่างออกเล็กนอ้ ยเพ่อื ไม่ให้อปุ กรณห์ ลดุ จากแผ่นวงจรโดยให้ลงอุปกรณ์ตัวทคี่ วามสูงน้อยท่สี ดุ เชน่ ตัวตา้ นทาน ไดโอด รูปท่ี 15.9 การดัดขาอปุ กรณแ์ ละการลงอุปกรณด์ า้ นบนแผ่นวงจรพิมพ์

7 รูปท่ี 15.10 การดัดขาอปุ กรณ์ถ่างออกเลก็ น้อยเพอื่ ไม่ให้อุปกรณห์ ลุดจากแผ่นวงจร 3) หงายแผ่นวงจรให้ด้านท่ีมีอุปกรณ์คว่าลง วางปลายหัวแร้งที่ร้อนพอเหมาะ โดยทามุม 45 องศา ประมาณ 2 วินาทีแล้วจี้ตะก่ัวบัดกรีลงบนลายวงจรบริเวณที่ต้องการโดยจะต้องสัมผัสทั้งขาของ อปุ กรณ์และลายวงจรดว้ ยพร้อม ๆ กนั รปู ที่ 15.11 การบดั กรีขาอุปกรณ์ 4) ให้ตะก่วั บัดกรไี หลลงบนลายวงจรและขาของอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ทนั ทีท่ีเห็นตะกว่ั เคลอื บ ส่วนทีเ่ ปน็ ลายวงจรและขาอุปกรณแ์ ล้ว ให้ยกตะก่ัวบัดกรีและตามดว้ ยหัวแรง้ ออก 5) สาหรบั อุปกรณท์ มี่ ขี ายาว ให้ตัดปลายขาออกเหลอื ความยาวเหนือแผ่นวงจรพมิ พ์ประมาณ 1- 2 mm. ไมต่ อ้ งตัดขาสาหรับอปุ กรณจ์ าพวก ไอซี เน่ืองจากมีความยาวทีเ่ หมาะสมอยู่แล้ว

8 รปู ที่ 15.12 การใชค้ ีมตดั ขาอปุ กรณ์ 6) ตรวจสอบลกั ษณะรอยบดั กรี จะเปน็ รูปกรวยควา่ ขน้ึ มาตามขาอปุ กรณ์ มีผวิ เป็นเงาสตี ะกัว่ ไม่มชี ่องวา่ งระหวา่ งตะกวั่ และขาอปุ กรณ์ หรอื ไมม่ ตี ะกัว่ มากเกินไปจนขา้ มลายวงจรข้างเคยี ง รปู ท่ี 15.13 ลกั ษณะรอยการบดั กรี รปู ท่ี 15.14 แสดงลักษณะการลงอปุ กรณ์ดา้ นบน การบัดกรีวงจรไฟฟ้าเป็นข้ันตอนท่ีละเอียดอ่อน ต้องอาศัยทักษะจากการฝึกฝน จงจาไว้เสมอ ว่าการบัดกรีท่ีมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์สามารถทางานได้อย่างดีและคงทนด้วย เช่นกัน การบัดกรที ี่ไม่ดีจะเป็นการเพ่มิ คา่ ใช้จ่ายในการทางาน และเกิดข้อบกพร่องในวงจรได้ การสร้าง วงจรอเิ ล็กทรอนกิ ส์เปน็ งานอดเิ รกน้นั การบัดกรีที่ไมด่ ีมักเปน็ สาเหตุหลกั ทท่ี าใหว้ งจรไม่ทางาน

9 5. คาแนะนาการประกอบอุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนกิ ส์บนแผ่นวงจรพิมพ์ การประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กับแผ่นวงจรพิมพ์นอกจากการบัดกรีแล้ว ส่วนท่ีต้อง คานึงถึงคือการอ่านค่าอุปกรณ์เช่น ค่าความต้านทานจากรหัสสี ค่าความจุของตัวเก็บประจุ การเลือก ชนิดของอุปกรณ์ ตาแหน่งขาหรอื ขั้วของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เชน่ ไดโอด ตัวเก็บประจุ ทรานซิสเตอร์ ซ่ึงถ้าใส่ผิดข้ัว หรือใส่อุปกรณ์ผิดตาแหน่งวงจรก็จะไม่ทางานต้องเสียเวลาในการตรวจสอบหา จุดบกพรอ่ ง ฉะนั้นต้องใช้ความละเอียดรอบคอบตรวจสอบความถูกต้องกอ่ นทจี่ ะบดั กรที กุ ครงั้ 5.1 การอ่านค่าความตา้ นทานจากรหสั สี การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์ส่ิงท่ีสาคัญท่ีสุดคือการอ่านค่าตัวต้านทาน สาหรับบทน้ีจะ นาเสนอวิธกี ารอา่ นค่าของ Resistor แบบ 4 แถบสี 12 3 4 12 001 1 1 10 ± 1% 2 2 100 ± 2% 3 3 1,000 4 4 10,000 5 5 100,000 6 6 1,000,000 77 8 8 0.1 ± 5% 9 9 0.01 ± 10% รูปท่ี 15.15 การอา่ นค่าตวั ตา้ นทาน จากรปู ท่ี 15.15 เปน็ ตารางสใี นการอา่ นคา่ ตัวตา้ นทานตวั R อ่านไดด้ งั ต่อไปน้ี ขัน้ ที่ 1 หนั ตวั ตัวตา้ นทาน โดยให้แทบสคี วามคลาดเคลื่อน สีเงนิ และสที องไปทางขวา แถบสที ี่ 1 เป็นค่าตาแหนง่ ท่ี 1 แถบสีท่ี 2 เปน็ คา่ ตาแหน่งท่ี 2 แถบสที ่ี 3 เปน็ ตัวคูณ แถบสที ี่ 4 เป็นคา่ ความผดิ พลาด บวกลบ

10 ยกตวั อยา่ ง แถบสีที่ 1 สีเขยี ว มคี ่าเท่ากับ เลข 5 แถบสีที่ 2 สีดา มีคา่ เทา่ กับ เลข 0 แถบสีท่ี 3 สีเหลือง มคี ่ากบั กับตวั คณู 10,000 แถบสที ่ี 4 สีทอง มคี ่าเทา่ กบั ค่าความผิดพลาด ±5% อ่านได้วา่ 50 * 10,000 = 500,000Ω คา่ ความผดิ พลาด 5% หรือ 500KΩ ±5% 5.2 การอา่ นค่าความจขุ องตัวเก็บประจุ (capacitor) ในการประกอบอปุ กรณ์ท่ีเป็นตัวเก็บประจุจะต้องคานงึ ถึง ค่าความจขุ องตัวเก็บประจุ อตั ราทน แรงดันไฟฟ้า และข้ัวของตัวเก็บประจุ ในกรณีที่เป็นชนิดแบบมีขั้วบวกลบเช่น ชนิดอิเล็กโตรไลต์ และ แทนทาลั่ม ค่าของตัวเก็บประจถุ ูกกาหนดอยู่ 2 รูปแบบคือ พิมพ์ค่าความจุไวบ้ รเิ วณข้าง ๆ ของตัวเกบ็ ประจุ และแบบใช้รหัสตวั เลข 1) วธิ ีอา่ นคา่ ตวั เก็บประจุชนิดมีขว้ั ตัวเก็บประจุชนิดมีขั้วที่พบบ่อยคือ ชนิดอิเล็กโตรไลต์ และ แทนทาลั่ม สามารถอ่านค่าของตัว เก็บประจุได้ตามรูปท่ี 15.16 ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลต์ และรูปที่ 15.16 ตัวเก็บประจุชนิด แทน ทาลมั่ 1,000µF +- 35V + - - รปู ท่ี 15.16 การดขู วั้ และอ่านคา่ ตวั เก็บประจุชนดิ อิเล็กโตรไลต์

2.2µF 11 25V + -+ รปู ท่ี 15.17 การดูข้ัวและอ่านค่าตวั เกบ็ ประจุชนิด tantalum capacitor 2) วธิ ีอา่ นคา่ ตวั เก็บประจชุ นดิ ไมม่ ขี ้ัวแบบรหัส EIA ตัวเก็บประจุชนิดไม่มีขั้วแบบรหัสตัวเลข EIA ท่ีพบบ่อยคือ ชนิดตัวเก็บประจุชนิดเซรามิก (Ceramic Capacitor)ชนิดไมล่าร์ (Mylar Capacitor) ตามรูปท่ี 15.18 ส่วนการอ่านค่าความจุแสดง ในรูปท่ี 15.18 รูปท่ี 15.18 ตวั เก็บประจชุ นดิ ไม่มีขั้วแบบรหสั ตัวเลข 104 3 3 3 J ±5% 10 0000 33 000 100,000pF 33,000pF 0.1µF 0.033µF±5% คา่ ผดิ พลาด J = ±5% K = ±10% M = ±20% รูปท่ี 15.19(ก) การอ่านค่าตวั เก็บประจชุ นิดไมม่ ขี ั้วแบบรหัสตัวเลข

12 2 2 2 2 4 J ±5% 100V 22 0000 100 V 22pF 220,000pF 100V 0.22µF 100V รปู ท่ี 15.19(ข) การอา่ นคา่ ตัวเกบ็ ประจชุ นดิ ไม่มขี ั้วแบบรหัสตวั เลข ตารางที่ 15.1 สรปุ การอ่านคา่ ตวั เกบ็ ประจชุ นดิ ไม่มขี ั้วแบบรหสั ตวั เลข EIA ไมโครฟารัด นาโนฟารดั พโิ กฟารัด รหสั EIA (Microfarad) (Nanofarad) (Picofarad) 22 101 0.000022µF 0.022 nF 22 pF 102 103 0.0001µF 0.1 nF 100 pF 104 105 0.001µF 1 nF 1,000 pF 0.01µF 10 nF 10,000 pF 0.1µF 100 nF 100,000 pF 1µF 1,000 nF 1,000,000 pF จากตารางท่ี 15.1 สรุปการอ่านค่าตัวเก็บประจุชนิดไม่มีขั้วแบบรหัสตัวเลข EIA ข้อสังเกต ถ้า รหัส 2 หลัก เช่น 22 ให้อ่านค่าเป็น 22pF 33 อ่านค่าเป็น 33pF เป็นต้น แต่ถ้ารหัส 3 หลักให้ดูตัวเลข หลังสุดว่าเป็นเลขอะไร เช่นถ้าลงท้ายด้วยเลข xx1 ให้อ่านค่าเป็น xx0 pF รหัส xx2 ให้อ่านค่าเป็น xx,00 pF รหัส xx3 ให้อ่านค่าเป็น 0.0xx µF รหัส xx4 ให้อ่านค่าเป็น 0.xx µF รหัส xx5 ให้อ่าน คา่ เปน็ x.x µF 5.3 การดตู าแหน่งขาของ ไดโอด ซีเนอรไ์ ดโอด ไดโอดเปล่งแสง และไอซี ตาแหน่งขาหรือข้ัวของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เช่น ไดโอด ซีเนอร์ไดโอด ไดโอดเปล่งแสง และ ไอซี ซึ่งถ้าใส่ผิดข้ัว วงจรก็จะไม่ทางาน การดูตาแหน่งขาของ ไดโอด ซีเนอร์ไดโอด ไดโอดเปล่งแสง ได้ กล่าวไว้แล้วในบทเรียนทีผ่ ่านมา แต่ในเนื้อหาบทน้ีได้นามาทบทวนการดูขาของอุปกรณ์อีกครงั้ ดงั แสดง ในรูปท่ี 15.20

13 A k A k k A (LED) 1 11 IC IC Socket รปู ที่ 15.20 ตาแหน่งขาของ ไดโอด ซีเนอรไ์ ดโอด ไดโอดเปล่งแสง และไอซี 5.4 การตดิ ต้งั แผ่นระบายความรอ้ น Heat sink หรือ แผ่นระบายความร้อนดังแสดงในรูปท่ี 15.21 ในระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็น ชิ้นส่วนซ่งึ ทาหนา้ ท่ีลดอุณหภมู ิขณะทางานของอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ โดยเพิ่มพนื้ ท่ีสมั ผสั อากาศ ทาให้ การพาความร้อนจากตัวอุปกรณ์สู่อากาศโดยรอบทาได้เร็วข้ึน ทาจากอลูมิเนียม ถ้าติดต้ังผิดวิธีหรือไม่ ถูกต้องอาจเกิดการลดั วงจรของตวั อปุ กรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ได้ รปู ท่ี 15.21(ก) แผ่นระบายความรอ้ นสาหรับ อปุ กณ์อเิ ล็กทรอนิกสท์ ม่ี ีตวั ถงั เปน็ To-220 To-126

14 รปู ท่ี 15.21(ข) แผ่นระบายความรอ้ นสาหรับ อปุ กณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่มตี วั ถังเป็น To-3 Nut Bush PCB รปู ที่ 15.22(ก) การตดิ ต้ังแผน่ ระบายความร้อน อปุ กณ์อิเล็กทรอนิกสท์ มี่ ีตัวถังเปน็ To-3p To-247 Nut Bush PCB รปู ที่ 15.22(ข) การตดิ ต้ังแผ่นระบายความรอ้ นอปุ กณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สท์ ่ีมตี ัวถงั เปน็ To-220

15 Nut To-3 Bush TAG Bolt รปู ท่ี 15.22(ค) การตดิ ตงั้ แผ่นระบายความร้อนอปุ กณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ที่มตี วั ถงั เปน็ To-3 ทม่ี า : http://www.futurekit.com/

16 สรุป 1. ความหมายการบดั กรี การบัดกรีคือการเชื่อมวัสดุเข้าด้วยกัน โดยการเชื่อมต่อต้องใชค้ วามร้อนสูงเพ่อื หลอมโลหะเข้า ด้วยกัน การเชื่อมต่อโลหะเข้าด้วยกันโดยใช้วัสดุตัวกลางซึ่งเป็นโลหะผสมของดีบุกและตะก่ัวเป็น ตัวเชื่อมประสาน เพื่อจุดประสงคใ์ ห้มกี ารเชอื่ มตอ่ กันทางไฟฟ้า และสะดวกต่อการถอดถอนในภายหลัง 2. อปุ กรณ์และเครอื่ งมอื การบัดกรี การบัดกรีจะต้องมีอุปกรณ์หลัก 2 อย่างคือ หัวแร้งบัดกรี และ ตะกั่วบัดกรี โดยหัวแร้งบัดกรี จะใช้เพ่ือให้ความร้อนในการละลายตะกั่วบัดกรี ให้เชื่อมประสานกับชิ้นงาน นอกจาน้ีก็เป็นเครื่องมือ ทว่ั ๆ ไปเชน่ แท่นวางหวั แร้ง คีมตดั 3. เทคนคิ การการบดั กรอี ปุ กรณ์บนแผน่ วงจรพมิ พ์ 1) เลือกใช้หวั แรง้ กาลังไฟประมาณ 30 วตั ตซ์ ่ึงมปี ลายขนาดเลก็ 2) ปลายหัวแร้งจะต้องมดี ้วยตะกว่ั บัดกรเี คลือบอยูต่ ลอดการใช้งานเสมอ เพอื่ ไมใ่ หห้ ัวแร้งสึก เรว็ และจะช่วยใหง้ า่ ยในการบัดกรี 3) เตรยี มฟองนา้ หรอื ผา้ ทเี่ ปยี กสาหรบั ใช้เช็ดปลายหวั แร้งตามความเหมาะสมเพอื่ ให้ปลายเป็น เงาสตี ะกัว่ อยเู่ สมอ 4. ข้นั ตอนการบดั กรีอปุ กรณบ์ นแผน่ วงจรพมิ พ์ 1) ทาความสะอาดปลายหัวแรง้ 2) ใส่อปุ กรณ์ตวั ท่คี วามสูงน้อยที่สุดก่อน 3) บัดกรีโดยการ วางปลายหัวแร้งที่รอ้ นพอเหมาะ พร้อมตะก่ัวบัดกรลี งบน ลายวงจรบริเวณท่ี ต้องการโดยจะต้องสมั ผสั ท้ังขาของอุปกรณ์และลายวงจรด้วยพร้อมๆกัน 4) ให้ตะก่ัวบัดกรไี หลลงบนลายวงจรและขาของอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ ทนั ทที เี่ ห็นตะกวั่ เคลอื บ ส่วนที่เป็นลายวงจรและขาอปุ กรณ์แล้ว ใหย้ กตะก่ัวบดั กรีและตามดว้ ยหัวแรง้ ออก 5) สาหรบั อปุ กรณ์ทีม่ ีขายาว ให้ตัดปลายขาออกเหลือความยาวเหนอื แผน่ วงจรพมิ พป์ ระมาณ 1- 2 mm. 6) ตรวจสอบลักษณะรอยบัดกรี จะเป็นรูปกรวยคว่าข้ึนมาตามขาอุปกรณ์ มีผิวเป็นเงาสีตะกั่ว ไม่มชี ่องวา่ งระหวา่ งตะกวั่ และขาอปุ กรณ์ หรอื ไมม่ ตี ะก่วั มากเกนิ ไปจนข้ามลายวงจรขา้ งเคียง 5. คาแนะนาการประกอบอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สก์ ับแผ่นวงจรพิมพ์ การประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กับแผ่นวงจรพิมพ์นอกจากการบัดกรีแล้ว ส่วนท่ีต้อง คานึงถึงคือการอ่านค่าอุปกรณ์เช่น ค่าความต้านทานจากรหัสสี ค่าความจุของตัวเก็บประจุ การเลือก ชนิดของอุปกรณ์ ตาแหน่งขาหรือขั้วของอุปกรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์เชน่ ไดโอด ตัวเก็บประจุ ทรานซิสเตอร์ ซึ่งถ้าใส่ผิดขั้ว หรือใส่อุปกรณ์ผิดตาแหน่งวงจรก็จะไม่ทางานต้องเสียเวลาในการตรวจสอบหา จุดบกพร่อง ฉะนน้ั ต้องใช้ความละเอยี ดรอบคอบตรวจสอบความถกู ตอ้ งกอ่ นทีจ่ ะบัดกรที ุกครง้ั

17 บรรณานุกรม ฉตั รธิวฒั น์ ธรรมานุยตุ 2558. วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์. กรุงเทพมหานคร: ซเี อ็ดยูเคช่นั . ชิงชัย ศรสี รุ ตั น์ และวรี ศักด์ิ สวุ รรณเพชร 2556. วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนงั สือเมอื งไทย. ไวพจน์ ศรธี ญั 2558. อปุ กรณอ์ ิเลก็ ทรอนิกส์และวงจร. กรงุ เทพมหานคร: วงั อกั ษร จากัด. บุญสืบ โพธิ์ศรี และคนอน่ื ๆ 2550. งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนกิ สเ์ บื้องตน้ . กรงุ เทพมหานคร :ศนู ย์ ส่งเสรมิ อาชวี ะ. ปยิ ตลุ า อาภรณ์ “การสรา้ งโครงงาน”, [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://electronics.se-ed.com/contents/020h060/020h060_p02.asp , [สืบค้นเม่ือ 8 มนี าคม 2558]

18 บรรณานกุ รม ฉตั รธิวฒั น์ ธรรมานุยุต 2558. วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์. กรงุ เทพมหานคร: ซเี อ็ดยูเคชนั่ . ชิงชยั ศรีสุรตั น์ และวรี ศกั ดิ์ สวุ รรณเพชร 2556. วงจรอเิ ล็กทรอนิกส์และวงจร. กรุงเทพมหานคร: ศูนยห์ นังสอื เมอื งไทย. ไวพจน์ ศรธี ัญ 2558. อปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ สแ์ ละวงจร. กรงุ เทพมหานคร: วงั อักษร จากดั . บญุ สบื โพธศิ์ รี และคนอน่ื ๆ 2550. งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบอื้ งต้น. กรุงเทพมหานคร :ศนู ย์ ส่งเสรมิ อาชีวะ. ปยิ ตลุ า อาภรณ์ “การสรา้ งโครงงาน”, [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก: http://electronics.se-ed.com/contents/020h060/020h060_p02.asp , [สืบคน้ เมือ่ 8 มีนาคม 2560] ปยิ ตลุ า อาภรณ์ “เทคนคิ การถอนบดั กร”ี , [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://electronics.se-ed.com/contents/016h064/016h064_p03.asp , [สืบคน้ เมอ่ื 8 มนี าคม 2560]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook