Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธรรมนูญ-30-06-2021

ธรรมนูญ-30-06-2021

Description: ธรรมนูญ-30-06-2021

Search

Read the Text Version

~ก~

~ข~ ธรรมนูญโรงเรยี น โรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๔

~ค~ ธรรมนูญโรงเรยี นเนินมะปรางศึกษาวิทยา พทุ ธศกั ราช 2564 เอกสารวิชาการ ลาดับท่ี 1/2564 ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2564 จัดพิมพ์โดย โรงเรียนเนนิ มะปรางศกึ ษาวิทยา สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษาพิษณโุ ลก อตุ รดติ ถ์ สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

~ง~ ประกาศโรงเรียนเนินมะปรางศกึ ษาวิทยา เรือ่ ง การใชธ้ รรมนญู โรงเรียนเนนิ มะปรางศึกษาวิทยา พุทธศักราช 2564 ……………………………………. ตามทส่ี านักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มนี โยบายให้สถานศึกษาจัดทา ธรรมนญู โรงเรยี นเพ่ือรวบรวมระเบียบ ข้อกาหนด รวมทั้งแนวปฏิบัติของสถานศึกษาไว้ให้ เป็นเครอื่ งมอื ในการสร้างความเข้าใจกบั บคุ คลทีเ่ กย่ี วข้องสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมกับระเบียบปฏิบัติ วัฒนธรรมประเพณีและขนบธรรมเนียมอันดีงามของ สถานศึกษาแต่ละแห่งเป็นสาคัญ ในการนี้ โรงเรียนได้ดาเนินการจัดทาธรรมนูญโรงเรียน ให้เปน็ ไปตามเจตนารมณแ์ ละนโยบายดงั กล่าวแลว้ โรงเรยี นเนนิ มะปรางศกึ ษาวทิ ยา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ขน้ั พน้ื ฐานโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา ให้โรงเรียนประกาศใชธ้ รรมนูญโรงเรียน เนนิ มะปรางศกึ ษาวิทยา พุทธศกั ราช 2564 ตั้งแต่ ปกี ารศึกษา 2564 เปน็ ต้นไป ประกาศ ณ วนั ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2564 (นายวนั ชัย อยู่ตรง) ผู้อานวยการโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวทิ ยา

~จ~ คานา โรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา โรงเรียนมีความประสงค์ที่จะรวบรวมประวัติการจัดต้ัง โรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยารวมท้ังความมุ่งหมาย หลักเกณฑ์ระเบียบและแนวทาง ในการบรหิ ารจดั การโรงเรียนใหส้ อดคล้องกบั บริบทความเปน็ โรงเรียนประจาอาเภอ และเหมาะสมกับ การเป็นโรงเรียนที่มุ่งมั่นพัฒนานักเรียนให้เป็นคนดีมีคุณธรรมจริยธรรมมีวินัย มีความรู้ความสามารถ มีความรักสามัคคีในหมู่คณะ รู้จักการเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพ่ือส่วนรวม มีความกตัญญูกตเวที จงรักภักดีต่อชาติศาสนาพระมหากษัตริย์ เป็นพลเมืองที่ดีของสังคมท้ังในปัจจุบันและอนาคตพร้อม ช่วยกันพัฒนาชาติบ้านเมืองให้เจริญรุ่งเรืองม่ันคงต่อไป จึงจัดทา“ ธรรมนูญโรงเรียนเนินมะปราง ศึกษาวิทยา”ฉบับนี้ข้ึนเพ่ือให้โรงเรียนใช้เป็นคู่มือและแนวทางการบริหารจัดการภารกิจของโรงเรียน ใหบ้ รรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ให้โรงเรยี นให้มคี วามเจริญม่นั คงสถาพรสืบไป อนึ่งธรรมนูญโรงเรียนนี้ได้จัดทาขึ้นเป็นคร้ังแรกซ่ึงอาจมีการแก้ไขเพิ่มเติมได้ในอนาคต เพ่ือให้เกดิ ความสอดคล้องกบั บริบทของสังคม ประเทศชาติและประโยชนข์ องโรงเรียนเป็นสาคัญ โรงเรียนขอขอบคณุ ทุกท่านท่มี สี ว่ นเกย่ี วข้องในการร่างธรรมนูญโรงเรยี นนี้ใหส้ าเร็จตามความ มุ่งหมาย เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์และความเจริญรุ่งเรืองม่ันคงสถาพรของโรงเรียนเนินมะปราง ศกึ ษาวทิ ยา ตลอดไป โรงเรียนเนนิ มะปรางศกึ ษาวิทยา

~ฉ~ ๑ ๑6 สารบัญ ๑6 ๑7 คานา ๑8 สารบัญ ๒5 ข้อมูลท่ัวไปโรงเรยี นเนนิ มะปรางศกึ ษาวทิ ยา ๓๒ หมวดที่ 1 บทท่วั ไป ๓๓ หมวดท่ี 2 นโยบายโรงเรยี น ๓๔ หมวดท่ี 3 รปู แบบการจดั การศกึ ษา หมวดที่ 4 ครู และบุคลากรทางการศึกษา หมวดที่ 5 นกั เรยี น หมวดที่ 6 คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน หมวดที่ 7 วฒั นธรรมโรงเรยี นเนนิ มะปรางศึกษาวทิ ยา หมวดที่ 8 การประกาศใช้ธรรมนูญโรงเรียน

[๑ dksldk สว่ นที่ ๑ ขอ้ มูลทั่วไปของโรงเรียนเนินมะปรางศกึ ษาวิทยา 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ) ช่ือสถานศึกษา โรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา ต้ังอยู่เลขท่ี 460 หมู่ 4 ถนน สากเหล็ก – วังโป่ง ตาบลบ้านน้อยซุ้มขี้เหล็ก อาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลก รหสั ไปรษณีย์ 65190 โทรศพั ท์ 055-992145-7 โทรสาร 055-992146 website http://www.nss.ac.th 1.2 ) สงั กัด ( ) สพฐ. ( ) สช. ( ) กทม. ( ) มท. ( ) อ่นื ๆ ระบุ…… 1.3 ) เขตพ้ืนท่กี ารศึกษา สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาพษิ ณุโลก อตุ รดิตถ์ 1.4 ) เปิดสอนต้ังแต่ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 1 ถงึ ระดบั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 1.5 ) เขตพื้นทบ่ี รกิ ารการศึกษา ตาบลบ้านน้อยซุ้มขเี้ หล็ก, ตาบลเนินมะปราง, ตาบลชมพู, ตาบลบา้ นมุง 2. ข้อมูลเกยี่ วกับการบรหิ ารสถานศกึ ษา 2.1 ) ช่ือ-สกุล ผู้บริหาร นายวันชัย อยู่ตรง วุฒิการศึกษาสูงสุด ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขา การบริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งในโรงเรียนนี้ต้ังแต่ 26 ตุลาคม 2562 จนถึง ปจั จบุ นั หมายเลขโทรศัพท์ 092-416-3698 2.2 ) ประวตั ิโรงเรียนเนนิ มะปรางศึกษาวิทยา โรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา จังหวัดพิษณุโลก สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา มัธยมศึกษาเขต 39 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เมื่อปพี ทุ ธศักราช 2520 รัฐบาลในสมัยน้นั มีนโยบายทีจ่ ะขยายการศึกษาระดับมัธยมศึกษา สู่ชนบท ซ่ึงขณะนั้นนายประยูร อินทรทัสน์ ปลัดอาเภอ ผู้เป็นหัวหน้าประจากิ่งอาเภอเนินมะปราง จงั หวัดพิษณุโลก คิดจะจัดตัง้ โรงเรยี นมัธยมศกึ ษาประจาอาเภอข้ึน โดยใช้พ้ืนที่บริเวณหมู่ที่ 3 บ้าน น้อยซุ้มข้ีเหล็ก ตาบลบ้านมุง กิ่งอาเภอเนินมะปราง จังหวัดพิษณุโลกและผู้ว่าราชการจังหวัด พษิ ณโุ ลก นายชาญ กาญจนาคพันธ์ ได้รับมอบหมายให้ก่ิงอาเภอเนินมะปราง ดาเนินการขออนุมัติ ใช้ท่ีดินป่าสงวนแห่งชาติลุ่มแม่น้าวังทองฝ่ังซ้าย จากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดตั้งโรงเรียน มัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ได้รับการอนุมัติเมื่อวันท่ี 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2520 เนื้อที่ 38 ไร่ 3 งาน 30 ตารางวา จากน้ัน กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศจัดต้ัง โรงเรยี นเนนิ มะปรางศกึ ษาวิทยา เม่ือวันที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2520เร่ิมแรกจัดต้ังมีพ่อค้า ประชาชน และข้าราชการได้ร่วมมือสร้างอาคารเรียนชั่วคราว จานวน 6 ห้องเรียน และในวันท่ี 5 มิถุนายน 2520 นายอาพร จันทรวิจิตร รองนายกรัฐมนตรีในขณะน้ัน ได้ทาพิธีเปิดอาคารเรียน และเริ่มทา การเรียนการสอนในขณะน้ัน นายบุญชู ทองมี เป็นครูใหญ่ มีครูอาจารย์ 4 คน จานวนนักเรียน 2 หอ้ งเรยี น นักเรียนชาย 32 คน นักเรียนหญิงหญงิ 32 คน รวม 64 คน ต้งั แต่ปงี บประมาณ 2521 เปน็ ต้นมาโรงเรยี น ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณจากกรมสามัญศกึ ษาก่อสรา้ งอาคารเรียน โรงฝึกงาน หอประชมุ วสั ดุครุภณั ฑ์ และบคุ ลากรมาเป็นลาดับ [

๒ ปกี ารศกึ ษา 2530 กรมสามญั ศึกษาได้อนุมัติให้เปดิ ทาการสอนในระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย ปกี ารศึกษา 2546 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 มีผลบงั คบั ใช้ ทาใหม้ ีการหลอมรวมส่วนราชการที่เป็นกรม โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษาจึงเป็นส่วน หนึ่งของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ปกี ารศึกษา 2548 ได้รับการรับรองเป็นโรงเรียนต้นแบบในโครงการหน่ึงอาเภอหนึ่งโรงเรียน ในฝนั ทิศเหนอื ตดิ กับ ตาบลบา้ นมงุ อาเภอเนนิ มะปราง จงั หวดั พษิ ณโุ ลก ทศิ ใต้ ตดิ กบั ตาบลเนนิ มะปราง อาเภอเนนิ มะปราง จังหวดั พิษณุโลก ทศิ ตะวันออก ตดิ กบั ตาบลบ้านนอ้ ยซุ้มขเ้ี หล็ก อาเภอเนนิ มะปราง จงั หวดั พษิ ณุโลก ทิศตะวนั ตก ติดกับ ตาบลทา่ เยีย่ ม จังหวัดพจิ ติ ร เครอ่ื งหมายโรงเรยี น พระพุทธลีลามหามงคล พระพุทธรูปประจาโรงเรียน รูปแบบสมัยสุโขทัย เมืองพิษณุโลกใน อดีตเป็นเมืองลูกหลวง ของกรุงสุโขทัย พระพุทธรูปปางลีลา เปรียบประดุจเคร่ืองหมายของรุ่งอรุณ แห่งความสุข พระพุทธรูปมีสีม่วง อยู่ในซุ้มเรือนแก้วสีแสด อันเป็น สีประจาโรงเรียนซึ่งมาจากผล มะปรางอนั เปน็ ช่ืออาเภอเนนิ มะปราง ด้านข้างขององคพ์ ระพทุ ธรูปมีดอกบัวข้างละ 2 ดอก เปรียบดัง หัวใจนกั ปราชญ์ ตามความหมายดังน้ี สตุ ะ - การฟงั , จติ ตะ - การคิด , ปุจฉา - การถาม , ลิขติ - การเขยี น นอกจากนีย้ ังมีริบบิ้นสีเหลืองรองรับองค์พระพุทธรปู มพี ุทธภาษติ บรรจอุ ย่วู ่า “ปญญาฺ โลกสมิ ปชฺ โชโต” และช่อื โรงเรยี นเนนิ มะปรางศึกษาวิทยา 2.3 ) ปรชั ญา วิสัยทัศน์ และเป้าหมายของสถานศึกษา ปรชั ญา “การศึกษาเป็นหัวใจสาคญั ของการพฒั นา” -2-

๓ ตน้ ไมป้ ระจาโรงเรยี น ต้นมะปราง : ต้นมะปรางเป็นไม้ยืนต้นพุ่มใหญ่ ท่ีมีอายุยืนนาน เพาะพันธ์ุง่าย มีผลดก รสอร่อย สีสวย คือส้ม-แสด เม่ือผ่าเมล็ดออกจะเป็นสีม่วงอมชมพู หมายถึง ศิษย์ของโรงเรียนเนิน มะปรางศกึ ษาวทิ ยา เปน็ ผสู้ มถะ เข้มแข็ง อดทน จิตใจโอบอ้อมอารี มีความคิดสร้างสรรค์ รักถิ่นฐาน บ้านเกดิ และเจรญิ เติบโตอย่างร้เู ท่าทันกระแสแหง่ สังคม คาขวญั โรงเรียน “เรยี นดี มีจรยิ ธรรม นากีฬา พัฒนาดนตรี ประเพณี น.ศ.” คตธิ รรม ปญญฺ า โลกสมมฺ ิ ปชฺโชโต “ปญั ญาเป็นแสงสว่างแห่งโลก” สีประจาโรงเรียน “สมี ่วง – สแี สด” อกั ษรย่อโรงเรยี น น.ศ. เอกลกั ษณข์ องสถานศึกษา “สถานศึกษาพอเพียง มีคุณภาพตามมาตรฐานสากลบนพื้นฐานความเปน็ ไทย” อตั ลักษณ์ของนักเรยี น “อยอู่ ยา่ งพอเพียง” ขอ้ มลู อาคารสถานท่ี 1. อาคารเรยี น 216 ค จานวน 1 หลัง (ร้ือถอน) 2. อาคาร 216 ล (ปรับปรงุ 29) จานวน 1 หลงั 3. อาคารก่งึ ถาวร จานวน 1 หลัง 4. อาคารฝึกงาน GEN HIA จานวน 2 หลงั 3 หนว่ ย 5. หอประชมุ แบบ 100 / 32 ปรับปรงุ เป็นสานักงาน จานวน 1 หลัง 6. หอประชุม / โรงอาหาร แบบ 101 / 27 พิเศษ ปรับปรงุ ชนั้ บนเป็นโรงพลศกึ ษา สร้างปี 2544 - 2545 จานวน 1 หลัง 7. บ้านพักนักเรยี น จานวน 2 หลัง 8. บ้านพกั ครู จานวน 10 หลัง 9. บา้ นพกั นักการภารโรง จานวน 1 หลัง 10. ห้องน้า-หอ้ งส้วม แบบ 6 ท่ี จานวน 5 หลัง 11. ถงั เกบ็ น้าฝน จานวน 6 ชดุ 12. สระนา้ จานวน 1 สระ 13. สนามฟุตบอล จานวน 1 สนาม 14. สนามฟุตซอล จานวน 1 สนาม 15. สนามวอลเลยบ์ อล จานวน 1 สนาม 16. สนามตะกรอ้ (สนามเอนกประสงค์) จานวน 1 สนาม 17. อาคารวิทยาศาสตร์ (SC 208 A) จานวน 1 หลงั -3-

๔ 18. ห้องคอมพวิ เตอร์ จานวน 4 หอ้ ง 19. อาคารชั่วคราว จานวน 1 หลงั 20. สนามกีฬา การกีฬาแห่งประเทศไทย จานวน 1 แห่ง โครงการสรา้ งสนามกฬี ากลางแจ้งในภูมิภาค ระดบั อาเภอ- ตาบล มาตรฐาน ตามแบบ กกท. 21. หอถังประปา แบบมาตรฐานถังนา้ คสล 18 /12 สรา้ งปี 2544 – 2545 22. ถนนคอนกรีตทางเข้าโรงเรียน หน้าอาคารเรียน หน้าบา้ นพักครู 1 สาย 23. อาคารเรียน แบบ 318 ล./55 ก จานวน 1 หลัง ทาเนียบผบู้ ริหารโรงเรยี นเนินมะปรางศึกษาวิทยา ลาดับท่ี ชื่อ – สกลุ ปที ี่ดารงตาแหนง่ 1 นายบุญชู ทองมี 1 ม.ิ ย. 2520 - 30 ก.ย. 2522 2 นายสมพร ขนุ พลิ ึก 1 ต.ค. 2522 - 2 พ.ค. 2526 3 นายวฒั นา ภาวะไพบูลย์ 3 พ.ค. 2526 - 3 พ.ย. 2535 4 นายไพจิตร วฒั นกลุ 3 พ.ค. 2535 - 30 พ.ค. 2541 5 นายอุดร เน่ืองไชยยศ 21 ธ.ค. 2541 - 20 ม.ิ ย. 2542 6 นายชว่ ยชาติ ตันตระกูล 21 ม.ิ ย. 2542 - 30 ก.ย. 2547 7 นายชชู าติ ค้มุ พวง 17 ธ.ค. 2547 - 30 ก.ย. 2553 8 นายวโิ รจน์ รอดสงฆ์ 2 ธ.ค. 2553 – 8 ต.ค. 2556 9 นายประวิทย์ ชูศรีโฉม 9 ต.ค. 2556 – 30 ก.ย. 2557 10 นายเฉลียว คาดี 9 ธ.ค. 2557 - 25 ต.ค. 2562 11 นายวันชัย อยู่ตรง 26 ต.ค. 2562 – ปจั จบุ ัน -4-

โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวทิ ยา โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวทิ ยา ค ะกรรมการส านศึก าขันพนื าน ผู้อานวยการ ชมรมศิ ย์เก่า ระบบโครงสร้างการบริหาร ค ะกรรมการบริ ารโรงเรียน โรงเรยี นเนนิ มะปรางศึกษาวทิ ยา ูป้ กครองเครือขา่ ย ค ะกรรมการภาคี าย ค ะกรรมการสภานักเรยี น– กลมุ่ งานบริ ารงานวิชาการ กล่มุ งานบริ ารงานงบประมา ละสนิ ทรัพย์ กลมุ่ งานบริ ารงานบุคคล กล่มุ งานบริ ารงานทว่ั ไป -5- 1. งาน ัว น้ากลมุ่ งานบริ ารวิชาการ งาน วั นา้ กลมุ่ งานบริ ารงาน 1. งาน วั น้ากลมุ่ งานบริ ารงานบคุ คล 1. งาน วั นา้ กล่มุ งานบริ ารงานทว่ั ไป 2. งาน ลกั สตู รส านศึก า ละนเิ ทศการจดั การเรียนรู้ งบประมา ละสินทรพั ย์ 2. งานข้อมูลการป ิบัติราชการ 2. งานสารบรร โรงเรียน 3 งานพฒั นาบคุ ลากร งานทะเบยี น งานนโยบาย ละ นงาน 4. งานวาง นอตั รากาลัง ละการกา นดตา น่ง งานคุ รรม ละจรยิ รรม 4. งานวัด ล ละประเมิน ลการเรยี นรู้ 3. งานการเงนิ ละตรวจบัญชี 5. งานการเลื่อนขันเงินเดือน ทะเบยี นประวตั ิ ละ งานกิจกรรมทั่วไป กิจกรรมเสริม ลกั สูตร ละงาน 5. งานกิจกรรมพฒั นา ู้เรียน บาเ นจความชอบ สมั พนั ช์ มุ ชน งานการเงิน ละงานสวสั ดกิ าร 6 งานขอมี ละเล่อื นวทิ ย านะขา้ ราชการครู ละ 5. งานกจิ กรรม ส งานวิจยั เพอื่ พัฒนาสอ่ื ละนวัตกรรม 5. งานการเงินโครงการศูนยบ์ รกิ าร บบ บุคลการทางการศกึ า 6. งานส านักเรียน ละส่งเสรมิ ประชา ิปไตย งานพัฒนาระบบ ICT ละ DLIT ครบวงจร One Stop Service) 7. งานประชาสมั พนั ์ ละเวบไ ดข์ องโรเงรียน งานระบบสารสนเทศนักเรียน ระบบ DMC งานสรร า บรรจุ ตง่ ตงั โยกยา้ ย ลากออก งานสารสนเทศ ายบริ ารงานท่ัวไป งานประกันคุ ภาพการจดั การศกึ า งานการเงนิ บัญชี งานลูกจา้ งชั่วคราว ละครูชาวตา่ งชาติ งานโสตทศั นูปกร ์ งาน นะ นว 7. งานพัสดุ งานเครอื่ งราชอสิ ริยาภร ์ 10. งานอนามยั โรงเรียน 11. งาน ้องสมดุ ละพัฒนา ล่งเรยี นรู้ งานเสริมสรา้ งกาลงั จ ละเชิดชูเกียรติ 11. งานระบบควบคุมภาย นส านศกึ า โครงการทวศิ ึก า งาน ุรการ ายบริ ารงบประมา งานกองทนุ สวสั ดกิ ารโรงเรยี น งานอาคารส านท่ี ละสง่ิ วดลอ้ ม งานสารบรร ายวชิ าการ 9. งานระดมทรพั ยากร งานเวรยามรัก าทรัพย์สนิ ทางราชการ 13. งานโรงอา าร ละโภชนาการ งาน วั น้ากลุม่ สาระการเรียนรู้ งานสารสนเทศ ายบริ ารงานบุคคล งานปองกนั ก้ไขปญ าบุ ร่ี ละยาเสพตดิ งานสารสนเทศ ายบริ ารงานวชิ าการ งานสารสนเทศ ายบริ าร งาน รุ การ ายบริ ารงานบุคคล งานกิจกรรม To Be Number One งานโรงเรียนมาตร านสากล งบประมา 17. งานสารบรร ายบริ ารทั่วไป งานรบั นกั เรยี น งานกจิ กรรมโ มรมู 18. งานส านศกึ าพอเพียง งานรกั าความปลอดภยั นโรงเรียน งานระบบดู ลชว่ ยเ ลอื นักเรียน ละศนู ยเ์ ฉพาะกิจ ค้มุ ครองชว่ ยเ ลือนักเรียน งานสารสนเทศโรงเรียน โครงการโรงเรียนสุจรติ งานค ะกรรมการส านศึก า ๕

๖ เกยี รติประวตั โิ รงเรยี น โรงเรยี นในฝนั โรงเรยี นมาตรฐานสากล โรงเรยี นตา้ นทุจรติ ปี 2554 ผา่ นการประเมนิ สมศ.รอบสาม ปี 2560 โรงเรียนต้นแบบเศรษฐกจิ พอเพยี ง ปี 2561 โรงเรียนไดร้ บั รางวลั คุณภาพแห่งสานกั งานคณะกรรมการการศึกษา ขนั้ พ้นื ฐาน OBECQA ปี 2564 โรงเรียนได้รับรางวัลระดับ เหรียญเงิน เร่ือง “คนดีของแผ่นดิน” หลักสูตร เพอื่ สงั คมอดุ มการณ์สุจริต บนฐานความคิด ตา้ นทจุ ริตศกึ ษา รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 กิจกรรมถอดบทเรียน (Best Practice) ผู้อานวยการโรงเรียน กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การนาเสนอผลงานและการประกวดแข่งขัน กิจกรรมการเรียนรู้ภายใต้ โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา (โครงการโรงเรียนสุจริต) ประจาปงี บประมาณ 2563 ระดับภมู ภิ าค ภาคเหนอื -6-

๗ แผนผงั โรงเรียน แสดงที่ต้งั อาคารเรยี นและอาคารประกอบ 14. ป้อมยาม 4. สนามฟตุ อล 1. สนามกีฬา 15. อาคารชั่วคราว 5. อาคาร าท่าพล 2. เรือนเพาะชา 16. โรงจอดรถ 6. อาคารปทมุ ชาติ 3. บ้านพกั นักการภารโรง 17. สนามมาตรฐานประจาอาเภอ 7. อ้ งสมดุ 18. อาคารเฉลมิ พระเกยี รติ 8. อประชมุ ไ ทนเรศ 19. บา้ นพักครู 9. อาคาร า ลวง 20. แปลงเกษตร 10. อาคารพลศกึ า 21. อาคารพุทธลลี า 11. อาคารนาดอกไม้ 22. อาคารศิลาวารี 12. อาคารโชคอนนั ต์ 23. ลานเอนกประสงค์ 13. โรง ลติ นาดมื่ บริบทของโรงเรียน -7-

๘ ๑. จดุ แขง็ (Strengths) ปจั จยั ด้านโครงสรา้ งและนโยบาย การมโี ครงสร้างบรหิ ารท่ีชัดเจนทาให้คณะครูปฏิบตั ิหน้าท่ไี ด้ถกู ต้อง รวดเรว็ ส่งผลให้การกากบั ติดตาม สรุป ประเมนิ ผลงานโครงการบรรลตุ ามวัตถปุ ระสงค์ทว่ี างไว้ ปัจจัยด้านบรกิ ารจดั การเรยี นการสอนและคณุ ภาพของผู้เรยี น 1 โรงเรียนมกี ารพฒั นาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถสง่ ผลให้โรงเรยี น มีการพฒั นาด้านวชิ าการอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 2 นกั เรียนรกั ศิลปะ และดนตรสี ง่ ผลใหน้ กั เรียนรว่ มกิจกรรมและแสดงออกดา้ นการมีสุนทรียภาพ 3 นกั เรยี นรกั การเล่นกฬี า และชอบการแข่งขนั กฬี าส่งผลให้นกั เรยี นมีนา้ ใจเปน็ นักกีฬา รู้แพ้ รูช้ นะ รอู้ ภัย 4 โรงเรยี นส่งเสรมิ กจิ กรรมการออกกาลงั กายและการเลน่ กีฬาทาให้นกั เรยี นมีพฒั นาการทาง สขุ อนามยั ทแ่ี ข็งแรง มนี ิสยั รกั การออกกาลงั กาย 5 โรงเรียนมกี ิจกรรมการเรียนรู้และการทางานเปน็ กลุ่ม ส่งผลให้นกั เรียนมีความรบั ผดิ ชอบ เปน็ ผู้นา ผตู้ าม ยอมรับความคิดเห็นของผอู้ ่ืน 6 โรงเรยี นส่งเสรมิ ใหน้ ักเรียนกลา้ แสดงออก เรอ่ื งศิลปวฒั นธรรมไทยและของท้องถิน่ ส่งผลให้ นกั เรียนมนี ิสยั รกั และภาคภูมิใจในศิลปะ วฒั นธรรม ประวัติศาสตร์ ภูมิปัญญาไทยและท้องถน่ิ 7 การจดั บรรยากาศดา้ นสภาพแวดลอ้ ม อาคารสถานที่ แหลง่ เรยี นรู้ เอ้อื ต่อการเรียนรู้ สง่ ผลใน การพัฒนาความรู้ ความสามารถและสุขภาพจิตของนักเรยี น 8 โครงการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมของนักเรียนประสบความสาเร็จอยา่ งต่อเนื่องสง่ ผลให้ นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรมเพม่ิ ขนึ้ ปจั จัยด้านบุคลากร 1 ผู้บรหิ ารและครูสรา้ งความสัมพนั ธ์ทดี่ กี ับชุมชนส่งผลใหก้ ารจัดการศกึ ษาและการพฒั นา การศกึ ษาเปน็ ไปอยา่ งดมี ีประสิทธิภาพ 2 ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา มีคุณธรรม จริยธรรมสงู ส่งผลใหก้ ารปฏบิ ตั ิงานเปน็ ไปด้วยความ ราบรนื่ และประสบผลสาเรจ็ ด้วยดี 3 ครูและบุคลากรทางการศึกษา มกี ารศึกษาหาความรู้จากการศึกษา อบรม ประชุม สมั มนา หาความรูเ้ พิ่มเตมิ ดว้ ยตนเองตลอดเวลาสง่ ผลให้นามาพัฒนางานให้เกดิ ประสิทธิภาพและ ประสทิ ธผิ ลในการทางานมากขึ้น 4 ครูและบุคลากรทางการศึกษา มคี วามกระตอื รือร้นในการทางาน ส่งผลทาใหง้ านตา่ ง ๆ พัฒนา ไปไดด้ ้วยดีมปี ระสิทธภิ าพ -8-

๙ ปจั จยั ด้านบุคลากร 5 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษามคี ณุ วฒุ กิ ารศึกษาเหมาะสมกับวิชาที่สอนทาใหก้ ารจัดการเรียน การสอน ตรงตามเป้าหมายของการจัดการศึกษา และเกิดผลดีมีประสทิ ธภิ าพ 6 ครแู ละบุคลากรทางการศึกษาสว่ นใหญ่ขยนั ขนั แข็งมคี ุณภาพและอุทิศเวลาใหก้ บั ราชการ ส่งผล ให้งานท่ีรบั ผดิ ชอบสาเร็จตามเป้าหมาย 7 ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรยี นมคี วามร้คู วามสามารถในการพฒั นาตนเอง ในเรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ สง่ ผลให้การปฏิบตั ิงานขององค์กร มีประสทิ ธภิ าพสงู ขึน้ 8 ครูและบุคลากรทางการศึกษา มคี วามรู้และวทิ ยาการจัดการในเรือ่ งเทคโนโลยแี ละร้จู กั การนา นวัตกรรมมาประยกุ ตใ์ ช้ในการพัฒนาการเรยี นการสอน ส่งผลใหก้ ระบวนการเรียนรูข้ องนกั เรยี น เปน็ ไปด้วยดแี ละมีประสิทธิภาพ 9 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา สว่ นใหญม่ ีสุขนิสยั สุขภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี ไมย่ งุ่ กบั สิง่ เสพ ติดให้โทษ ส่งผลให้นักเรยี นนามาเปน็ แบบอย่างที่ดี 10 หน้าที่ความรับผดิ ชอบ งานพเิ ศษของครูและบุคลากรทางการศึกษาตรงกับความรู้ ความสามารถ สง่ ผลใหก้ ารปฏิบัติงานในหนา้ ทเี่ ปน็ ไปดว้ ยดีและมีประสทิ ธภิ าพ ปจั จยั ด้านการเงิน การบรหิ ารจัดการดา้ นการเงินมีความคล่องตวั ส่งผลใหก้ ารพัฒนางานของโรงเรยี นในดา้ น ต่าง ๆ มปี ระสทิ ธิภาพ ทันต่อเหตกุ ารณ์ ปจั จยั ดา้ นวัสดุอปุ กรณ์ โรงเรียนมีแหล่งบรกิ ารด้านการเรยี นการสอนเหมาะสมกับความจาเป็นสง่ ผลให้นกั เรยี น บุคลากร ไดใ้ ช้บรกิ ารเพื่อหาความรู้เพ่มิ เติม ปัจจัยด้านบริหารจัดการ โรงเรยี นมกี ารนเิ ทศ กากบั ติดตาม ประเมินผลบุคลากรอย่างต่อเน่ืองส่งผลให้ระบบการบรหิ าร จดั การเปน็ ไปตามเป้าหมาย ๒. จุดออ่ น (Weaknesses) ปัจจัยดา้ นโครงสร้างและนโยบาย 1 นโยบายการจดั การศึกษามภี าระงานที่มากขนึ้ ทาให้ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน ของครลู ดลง 2 โครงสร้างการบรหิ ารงานในโรงเรยี นเป็นระบบแต่บุคลากรในโรงเรียนไมเ่ พียงพอตอ่ ภาระ งาน -9-

๑๐ ปจั จยั ดา้ นบริการจัดการเรยี นการสอนและคุณภาพของผู้เรียน การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษายงั ไม่ครบถ้วนสมบรู ณ์ ส่งผลใหน้ ักเรยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการ เรยี นต่าในบางกลุ่มสาระ ปัจจัยด้านบคุ ลกร อตั ราสว่ นระหวา่ งครูต่อนักเรียนไม่เหมาะสม ส่งผลตอ่ การพัฒนาการเรียน การสอน ปจั จยั ด้านการเงนิ การดาเนนิ งาน/โครงการ เป็นไปตามปฏิทนิ การปฏบิ ัติงาน แต่งบประมาณไม่เพียงพอต่อการ จัดการ ปจั จัยด้านวสั ดุอุปกรณ์ 1 โรงเรียนมวี ัสดุ ส่อื อุปกรณ์ในการจดั การเรยี นการสอนไมเ่ พียงพอ ส่งผลให้นักเรียนขาดทักษะ ในการปฏบิ ตั ิงาน ไมเ่ ป็นไปตามเกณฑ์คุณภาพท่โี รงเรยี นกาหนด 2 ระบบการจดั การด้านสาธารณปู โภค เร่ืองนา้ อปุ โภค บรโิ ภค ยงั ขาดคุณภาพและจดุ บริการท่ี เพียงพอ ส่งผลให้นกั เรียนมีปัญหาด้านสขุ ภาพอนามยั ปัจจัยด้านบริหารจัดการ 1 อาคารสถานท่ี หอ้ งเรียน หอ้ งศนู ย์กล่มุ สาระฯ ตา่ ง ๆ มสี ่ิงอานวยความสะดวกยังไม่ครบถ้วน ตามเกณฑ์มาตรฐาน 2 งานนโยบายมกี ารเปลย่ี นแปลงบอ่ ย และมภี าระการรายงานดา้ นเอกสารมากทาใหม้ ีอุปสรรค ในการจดั การเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ ๓. โอกาส (Opportunities) ปจั จัยดา้ นสังคมและวัฒนธรรม 1 ผู้ปกครองมคี วามจรงิ ใจและศรทั ธาครสู ่งผลให้ครไู ดร้ ับความร่วมมือในการแกไ้ ขปัญหาเกี่ยวกับ ตวั นกั เรียน 2 ชุมชนใหค้ วามร่วมมือกบั ทางโรงเรยี นชว่ ยกนั แก้ไขปัญหายาเสพติดเปน็ ผลให้นกั เรียนเสพยามี จานวนลดลง 3 ชมุ ชนใหค้ วามร่วมมอื สนบั สนุน ส่งเสริมกจิ กรรมการพัฒนาโรงเรียนทาใหโ้ รงเรียนมีความ พรอ้ มทางด้านปจั จยั สง่ ผลให้กจิ กรรมการเรียนการสอนมปี ระสทิ ธิภาพ 4 ขนมธรรมเนยี ม ประเพณีและวัฒนธรรมของชมุ ชน ทาให้โรงเรียนสามารถจดั กจิ กรรมทาง ประเพณแี ละวฒั นธรรม ซึ่งบางอยา่ งเปน็ การสนบั สนนุ การจดั การศึกษาของโรงเรยี นได้ 5 ชุมชนและโรงเรียนมีการแลกเปลย่ี นความรู้ โดยนาวิทยากร ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ มาถา่ ยทอด ความรูส้ ง่ ผลให้นกั เรียนได้รบั ประสบการณ์และสามารถนาความรทู้ ีไ่ ด้รบั ไปปรับใช้ใน ชวี ติ ประจาวนั ได้ - 10 -

๑๑ 6 ชมุ ชนใหก้ ารสนบั สนนุ ส่งเสริมดา้ นการจดั กจิ กรรมด้านการกีฬา สง่ ผลใหน้ กั เรียนชอบเลน่ กฬี า และมีการสนบั สนุนให้นกั เรยี นทถ่ี นดั ดา้ นกฬี าได้รบั คัดเลือกเป็นตวั แทนนักกีฬาระดับจังหวดั และระดบั ประเทศ ปจั จยั ดา้ นเทคโนโลยี 1 องค์กร หน่วยงานในชุมชนตื่นตัวและมีความรู้ขา่ วสารใหม่ ๆ เผยแพรใ่ หโ้ รงเรียนทราบเสมอ สง่ ผลใหน้ กั เรยี นและโรงเรียนมคี วามรทู้ นั สมัย ทันต่อเหตุการณเ์ สมอ 2 เทคโนโลยีสารสนเทศที่ทนั สมัยทาให้การบริหารจัดการของโรงเรยี นเป็นไปอย่างมีระบบ รวดเรว็ และมีประสทิ ธิภาพ 3 ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางด้านเทคโนโลยขี ้อมลู ข่าวสาร ส่งผลใหน้ กั เรยี นได้ข้อมูลที่ทันสมัยต่อ เหตุการณ์ และมโี ลกทัศน์กวา้ งขนึ้ ปจั จัยด้านการเมืองและกฎหมาย 1 กระบวนการแบบประชาธปิ ไตย ทาใหช้ มุ ชน บุคลากร มีทักษะ ประชาธปิ ไตยส่งผลใหโ้ รงเรยี น มีการพฒั นาในเรือ่ งการยอมรับความคดิ ของบุคลากรในชมุ ชนและโรงเรยี น 2 พ.ร.บ. การปฏริ ูปการศึกษาสร้างโอกาสให้นักเรียนไดเ้ รียนรูเ้ ตม็ ศกั ยภาพ 3 นโยบายจดั ตัง้ กองทุนก้ยู ืมเพ่ือการศึกษา ทาให้นักเรยี นมโี อกาสศึกษาตอ่ มากข้นึ ส่งผลให้ จานวนนักเรยี นออกกลางคันนอ้ ยลง 4 นโยบายของรัฐบาล ด้านสาธารณสขุ ใหบ้ รกิ ารดูแลสขุ ภาพอนามัยทาให้ลดภาระค่าใช้จ่ายใน การรกั ษาพยาบาลของครอบครวั และชุมชน สง่ ผลใหน้ กั เรียนสามารถเรยี นได้จนจบหลักสตู ร 5 นโยบายการปฏิรูปการศึกษาตามพ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติสง่ ผลใหค้ รู ผ้ปู กครอง เขา้ ใจทิศทาง ในการพฒั นาการสอนตามกรอบการปฏิรูปการศึกษา ๔. อปุ สรรค (Threats) ปจั จยั ด้านสงั คมและวัฒนธรรม 1 ปัญหาการระบาดของสง่ิ เสพตดิ ในชุมชนส่งผลใหน้ กั เรียนบางกล่มุ มีพฤติกรรมใช้ สิง่ เสพตดิ 2 ชมุ ชนบางส่วนใหค้ วามสาคัญเก่ียวกับการศึกษาของนกั เรียนในปกครองน้อย เป็นผลใหน้ ักเรียนมี ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนค่อนข้างตา่ 3 ชุมชนบางกลมุ่ มีสภาพครอบครัวทแี่ ตกแยก และบางกลุ่มไปประกอบอาชีพนอกท้องถ่ิน สง่ ผลให้ นกั เรียนขาดความอบอนุ่ และขาดการอบรมส่ังสอน 4 บุคคลบางสว่ นในชุมชนมีพฤติกรรมทส่ี ามารถส่งผลใหน้ ักเรียนเลียนแบบพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสม เช่น ดืม่ สรุ าเป็นประจา เลน่ การพนนั - 11 -

๑๒ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี 1 ร้านอนิ เตอร์เน็ตทม่ี ีอยใู่ นชุมชน ส่วนมากบรกิ ารใหเ้ ล่นเกมคอมพิวเตอร์มากกวา่ จะสง่ เสรมิ ให้ นกั เรยี นค้นคว้าหาความรู้ 2 ความเจริญก้าวหน้า รวดเรว็ ของสอ่ื ต่าง ๆ ในปัจจุบัน มบี ทบาทสงู มากในการชีน้ าใหน้ ักเรียน เลยี นแบบพฤติกรรมโดยไมจ่ าแนกความเหมาะสม ทาให้เกิดปญั หาข้ึนในครอบครวั และส่งผลถงึ การเรยี นในโรงเรยี น ปจั จัยดา้ นเศรษฐกิจ 1 ประชากรในท้องถิ่นมีอาชีพเกษตรกรรม ฐานะยากจน มรี ายไดน้ อ้ ย นักเรยี นต้องช่วยเหลือ 2 ชมุ ชนมปี ัญหาด้านเศรษฐกจิ เนอื่ งจากประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน ทาใหผ้ ู้ปกครองต้องไป ทางานตา่ งถ่ินทาใหผ้ ู้ปกครองตอ้ งไปทางานต่างถ่นิ ส่งผลให้นกั เรยี นขาดความรักความอบอุ่น ขาด ผู้ให้คาปรึกษา ขาดผูใ้ ห้คาส่งั สอน และแสดงออกทางพฤติกรรมที่ไมเ่ หมาะสม 3 ภาวการณ์วา่ งงานของผปู้ กครอง ส่งผลใหน้ ักเรยี นทผ่ี ปู้ กครองวา่ งงานขาดแคลนเงินทนุ การศึกษา 4 ชมุ ชนมรี ายไดน้ ้อยทาใหน้ ักเรียนบางกล่มุ ต้องหารายได้เสริม สง่ ผลให้ขาดเรียนในบางคร้ัง 5 ชุมชนบรเิ วณรอบ ๆ โรงเรียนสว่ นใหญม่ ีฐานะยากจนไม่คอ่ ยสนใจการศกึ ษาในระบบโรงเรยี น สง่ ผลใหน้ ักเรยี นไม่คอ่ ยสนใจฝึกฝนหาความร้เู ทา่ ท่ีควร เพราะมีความคิดว่าเรียนไปก็ไม่ไดป้ ระกอบ อาชพี ที่ตนตอ้ งการ ปจั จยั ดา้ นการเมอื งและกฎหมาย 1 ผู้ปกครองบางสว่ นไม่เข้าใจนโยบายปฏริ ูปการศกึ ษา ขาดความรเู้ ร่ืองกฎหมายและพ.ร.บ. การศกึ ษา สง่ ผลให้ขาดความรว่ มมอื ในการจดั การศกึ ษา 2 การดาเนินการด้านการจดั การทรัพยากรทางการศกึ ษาไมส่ อดคล้องกฎระเบยี บการปกครองสว่ น ทอ้ งถน่ิ - 12 -

๑๓ ภาพรปู ไข่ สาหรบั อธบิ ายสถานภาพของโรงเรยี นตามผลการวิเคราะห์ O STAR Question marks 0.72 0.42 S W 0.78 0.06 -0.64 -0.69 CASH COWS DOGS T การอธิบายสถานภาพของโรงเรียน จากภาพรูปไข่ อธบิ ายได้วา่ ตา น่งไข่ ดง อยู่ นตา น่งดาวรุ่ง Stars) มาย ึง โรงเรียนมีสภาวะภาย นท่ีเข้ม ขง ละสภาพ วดลอ้ มภายนอกทเ่ี ออื ตอ่ การดาเนินกิจการ จึงเป็นภาวะที่เ มาะสม นการกา นดกลยุท ์ เพื่อขยายงาน ละสร้างการเติบโต ต่เป็นการเริ่มต้นของตา น่งดาวรุ่งเท่านัน เนื่องจากพิจาร า จากคา่ ส ิติจะเ นได้ว่าไดค้ ะ นนเฉลี่ยท่ี ละ งึ่ ต้องเพิ่มความเข้ม ขงภาย น ละ ลักดัน ส้ ภาพ วดล้อมภายนอกเอือตอ่ โรงเรียนมากย่งิ ขนึ กวา่ เดิม - 13 -

๑๔ รูปแบบการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นเนินมะปรางศกึ ษาวิทยา การพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรยี นเนนิ มะปรางศกึ ษาวิทยาดว้ ยรปู แบบ NMPS Model N = Network การสร้างเครือข่าย โดยมีความเข้าใจท่ีมา เป้าหมาย และผลท่ีได้รับจาก เครือข่าย เข้าถึงองค์ความรู้ที่ถ่ายทอดและความสัมพันธ์ในเครือข่าย และพัฒนาองค์ความรู้ใน เครอื ข่ายจนสามารถสรา้ งเครอื ขา่ ยท่ีเขม้ แขง็ M = Morality ธรรมาภิบาลและความโปรง่ ใส มีความเข้าใจ เข้าถึงหลักกธรรมาภิบาลและ คว ามโ ป ร่งใสใน การ ป ฏิบั ติงาน ให้ ป ระส บผ ล ส าเร็ จมีป ระสิ ทธิภ าพ แล ะเกิดป ร ะโ ย ชน์ สู งสุ ดต่อ สถานศึกษา P = Participation ความร่วมมือในการจัดการศึกษา (ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ร่วมกันดาเนินงานพัฒนาคุณภาพ การจดั การศกึ ษาให้บรรลุเปา้ หมายในทุกมิติ S = Success ความสาเรจ็ การทางานร่วมกันของทุกฝ่ายจนประสบผลสาเร็จตามเป้าหมาย ท่วี างไวร้ ่วมกัน บนความไว้วางใจละมีปฏิสัมพันธท์ ด่ี ตี อ่ กนั - 14 -

๑๕ แผนกลยุทธ์ (Strategy Map) โรงเรียนเนนิ มะปรางศึกษาวทิ ยา ปี พ.ศ. 2564-2567 บทเพลงและทานองมาร์ชโรงเรยี นเนินมะปรางศึกษาวิทยา เรานกั เรยี นเนินมะปรางศึกษาวิทยา เรารู้ค่าในการเรียนพากเพยี รดว้ ยใจ พรอ้ มเดนิ หน้าเทิดสถาบนั ให้เกริกไกร เพอื่ คงไวใ้ ห้นามอยู่คู่ทุกกมล สถาบันรวมปญั ญาสร้างเสริมวิชาการ ปณธิ านงานรวมใจสร้างไทยสร้างคน เสยี สละ ประเพณี สามัคคี อดทน จริยาล้น ดลดวงใจ ใฝร่ กั การเรียน สัญลักษณข์ องเรางามสง่า พระพุทธเลอคา่ ดอกบัวเลอศรี การเรียนพฒั นา กฬี าเป็นหนงึ่ กอ้ งธานี ต่างสดุดสี มี ว่ งแสดเด่นไปท่ัวกัน เราเชิดชูครูอาจารยด์ ้วยรกั และบูชา ศิษย์พร้อมหนา้ ยังตราตรึงซาบซ้ึงชีวัน หลอมรวมจติ ถ่ินช่ืนมติ รมิมแี ปรเปลยี่ นผัน ต่างผูกพันสถาบนั เราเหลา่ เนินมะปราง - 15 -

๑๖ หมวดที่ 1 บทท่ัวไป มาตรา 1 นยิ ามศพั ท์ 1. “โรงเรยี น” หมายถงึ โรงเรียนเนินมะปรางศกึ ษาวทิ ยา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มธั ยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒. “คร”ู หมายถงึ ครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ปฏิบัติการสอนของโรงเรียนเนินมะปราง ศกึ ษาวทิ ยา ๓. “นกั เรยี น” หมายถึง นักเรียนปจั จบุ นั ของโรงเรยี นเนนิ มะปรางศกึ ษาวิทยา ๔. “คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน” หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน ของโรงเรยี นเนินมะปรางศึกษาวิทยา ๕. “ธรรมนูญโรงเรียน”หมายถึง เอกสารหลักฐาน เป็นข้อกาหนดที่กาหนดข้ึนของโรงเรียน เนินมะปรางศึกษาวิทยา โดยความเห็นชอบคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนเนินมะปราง ศกึ ษาวทิ ยา โดยมบี ุคคลท่เี ป็นผูแ้ ทนของทุกส่วนที่เกี่ยวข้องเป็นคณะกรรมการดาเนินการจัดทา ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียน ครู คณะกรรมการสถานศึกษา เครือข่ายผู้ปกครอง ศิษย์เก่า นักเรียน และ ผู้ทรงคุณวุฒิทางกฎหมาย เพื่อให้โรงเรียนนาไปใช้เป็นกรอบในการบริหารภารกิจให้เกิดประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลเป็นไปตามจุดประสงคข์ องโรงเรยี น ๖. ธรรมนูญโรงเรยี นให้มผี ลตง้ั แตว่ ันที่โรงเรียนประกาศใชเ้ ป็นต้นไป มาตรา ๒ ธรรมนูญโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา พุทธศักราช ๒๕๖๔ มีเจตนาเพื่อรวบรวม ระเบยี บ ขอ้ บังคับ นโยบาย หรือแนวปฏิบตั ทิ ีเ่ ป็นวัฒนธรรมขององค์กร หากมีมาตราใดหรือข้อความ ใดขดั กบั ขอ้ กฎหมายทท่ี างราชการกาหนด ใหถ้ อื ปฏบิ ัติตามข้อกฎหมายนั้น ๆ เป็นสาคัญ หมวดท่ี 2 นโยบายโรงเรียน มาตรา ๓ วัตถปุ ระสงค์ของโรงเรยี น 1. เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีความเป็นเลิศทางวิชาการ และส่งเสริมให้มีการพัฒนาเต็ม ตามศักยภาพของตนเอง 2. เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีคุณธรรมจริยธรรม และสามารถอยู่ ร่วมกบั ผ้อู ่นื อย่างมคี วามสุข 3. เพ่ือส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้มีรูปแบบการจัดการเรียนรู้ท่ีทัน ต่อการเปล่ียนแปลง สอดคลอ้ งตามชว่ งวยั ของผเู้ รยี น 4. เพ่ือใหม้ ีรปู แบบการบรหิ ารจดั การทเ่ี ปน็ ระบบคุณภาพ 5. เพื่อให้ทกุ ภาคสว่ นมสี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาให้บรรลุวัตถุประสงค์ - 16 -

๑๗ มาตรา ๔ โรงเรียนกาหนดเป้าหมายให้นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพทางด้านความรู้ ความสามารถอย่างสูงสดุ ตามมาตรฐานของโรงเรยี น ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. พฒั นานกั เรียนใหเ้ กิดองค์ความร้เู ทยี บเคียงมาตรฐานสากลบนพน้ื ฐานความพอเพยี ง 2. พัฒนานกั เรียนให้มคี ณุ ลักษณะตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. พฒั นาและส่งเสริมสขุ ลักษณะทีด่ ใี ห้เกิดกบั นักเรียน มาตรา ๕ โรงเรยี นกา นด นวทางเพื่อยกระดับคุ ภาพการศึก า ทังด้าน ู้เรียน ด้านกระบวนการ บริ าร ละการจัดการ ละด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ู้เรียนเป็นสาคัญ เพื่อความ เปน็ เลิศ ละมาตร านสากลโดยมกี ลยทุ ์ ดังนี 1. พัฒนา ลกั สูตร ละกระบวนการจัดการเรียนรเู้ ทียบเคียงมาตร านสากล 2. พัฒนานักเรียน ้มคี วามเป็นเลิศทางวชิ าการบนพืน านความพอเพยี ง 3. พฒั นาครู ละบุคลากรทางการศกึ าสู่ครมู อื อาชีพ 4. พัฒนาระบบการบริ ารจัดการเทียบเคียงมาตร านสากล 5. สรา้ งภาคเี ครือขา่ ยทางการศึก า ม้ ีประสิท ภิ าพ หมวดท่ี 3 รูปแบบการจัดการศกึ ษา มาตรา ๖ โรงเรียนมีรูปแบบการจัดการศึกษาเพ่ือมุ่งพัฒนานักเรียน โดยยึด ลักคุ รรมนาความรู้ น้อมนาความสุจริตสร้าง นวคิด บบมาตร านสากล บนพืน านความเป็นไทย ก้าวไกลอย่างพอเพียง ภายในปี 2567 มาตรา ๗ โรงเรียนจัดการจัดการศึกษาสาหรับนักเรียนต้ังแต่ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ถึง มัธยมศึกษาปีที่ 6 การจัดแผนการเรียนในแต่ละระดับชั้น เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา จานวน นกั เรียนต่อหอ้ งเปน็ ไปตามกฎกระทรวงศกึ ษาธกิ าร มาตรา 8 หลักสตู รสถานศึกษา โรงเรียนจัดการบริหารหลักสูตรและการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือให้นักเรียน มีความรู้ความสามารถในทุกแขนงวิชาเป็นไปตามวัตถุประสงค์การจัดการศึกษาของโรงเรียน เพ่ือให้ นักเรียนได้รับการพัฒนาศักยภาพทั้งทางด้านความรู้ ความสามารถ และทักษะทางสังคม เต็มตาม ศกั ยภาพ โดยหลักสูตรสถานศึกษา มอี งค์ประกอบดงั นี้ - 17 -

๑๘ 1. หลกั สูตรกลมุ่ สาระการเรียนรู้ ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน 2. หลักสูตรรายวิชาเพ่มิ เติมให้เปน็ ไปตามเป้าหมายของโรงเรียนกาหนด 3. กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น ประกอบดว้ ย 3.1 กจิ กรรมในเคร่ืองแบบ/กจิ กรรมนักศกึ ษาวชิ าทหาร 3.2 กิจกรรมชุมนุม 3.3 กจิ กรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ 3.4 กจิ กรรมแนะแนว มาตรา 9 โรงเรียนต้องให้การสนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่ือรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต โดย การพัฒนาและนาระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการสื่อสารมาเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาระบบ บริหารจัดการ และระบบการจัดการเรยี นรู้ของผู้เรียนให้ทนั ยุคสมยั และมปี ระสิทธิภาพสูงสดุ มาตรา 10 โรงเรียนต้องมีการวิจัยหลักสูตรอย่างน้อยปีละ 1 เรื่อง เพ่ือนาผลการวิจัยมาปรับปรุง พัฒนา คณุ ภาพของโรงเรียนอย่างตอ่ เนือ่ ง มาตรา 11 โรงเรียนต้องมีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพ่ือเป็นเครื่องมือในการกากับติดตามและ ชว่ ยเหลอื นกั เรยี นอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ มาตรา 12 โรงเรียนต้องมีระบบรักษาความปลอดภัยนักเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา และจัดส่งิ แวดล้อมทีเ่ อือ้ ต่อการจดั การเรยี นการสอน หมวดที่ 4 ครู และบุคลากรทางการศึกษา มาตรา ๑๓ คณุ สมบตั ิของผู้บริหารโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวทิ ยา ๑. มีความจงรักภกั ดีในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์ ๒. มคี วามรอบรู้ มีความแม่นยาในกฎระเบียบของทางราชการ ๓. มีความสามารถในการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องรวดเร็ว และกล้าตัดสินใจ ปฏิบัติตาม นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ ๔. มีความเป็นประชาธิปไตย ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา มีบุคลิกภาพ และมนษุ ยธรรมท่ดี ีต่อผ้รู ว่ มงาน และมีความจรงิ ใจต่อผรู้ ว่ มงาน ๕. มีความสจุ ริตโปร่งใส และเที่ยงธรรม รกั ษาผลประโยชน์ของส่วนรวม มีความเสียสละ ๖. มีความรู้ ความเข้าใจในการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา สามารถปรับใช้ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ ในการบริหารจดั การ วางแผนพฒั นาโรงเรยี น สร้างองค์กรแหง่ การเรียนรู้ - 18 -

๑๙ มาตรา ๑๔ ผ้อู านวยการโรงเรยี น มบี ทบาทหน้าท่ี ดังต่อไปนี้ ๑. วางแผนการจัดการศึกษาและปฏิบัติงานของโรงเรียนให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบ ขอ้ บังคับของทางราชการ ๒. กาหนดวธิ ีดาเนินงานและติดตามผลด้านวิชาการ งบประมาณ บุคลากร กิจการนักเรียน และบรหิ ารทว่ั ไป ๓. จดั ทาและพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา ควบคุมการเรียนการสอน และการวัดผลการศึกษา ใหเ้ ปน็ ไปตามหลกั สตู ร ๔. ปฏิบัติหน้าที่รับผิดชอบดาเนินงานเก่ียวกับงานท่ีได้รับมอบหมายต่าง ๆ ที่กาหนด เป็น อานาจหนา้ ท่ีที่ตอ้ งปฏิบัติ ๕. ควบคุมดูแล ปกครอง จัดระบบงานโรงเรียน จัดทามาตรฐานการปฏิบัติงาน ขอบข่าย ภาระงาน มอบหมายงานให้เหมาะสมกบั ความสามารถของบุคลากร ๖. ติดตามให้คาปรึกษา แก้ปัญหา และนิเทศครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียนให้ สามารถปฏบิ ตั ิตามหนา้ ทไ่ี ดอ้ ย่างถูกต้องครบถว้ น ๗. ดูแลสวัสดิภาพความเป็นอยู่ของครูและบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และส่งเสริม สนับสนุนใหม้ ีการพฒั นาตนเองอยา่ งตอ่ เนือ่ ง ๘. สง่ เสรมิ และสรา้ งความสมั พนั ธ์ระหว่างผู้ปกครองและชุมชน ๙. เข้ารว่ มประชุมคณะกรรมการต่าง ๆ ตามที่ได้รับการแต่งตัง้ ๑๐. จัดให้มีการวิเคราะห์ วิจัย ประเมินผลและรวบรวมข้อมูล จัดทารายงานประจาปีของ สถานศึกษา จัดทาสถิติต่าง ๆ เป็นสารสนเทศท่ีสาคัญ โดยนาเทคนิคและวิธีการใหม่ ๆ มาใช้เพื่อ ปรบั ปรงุ การเรยี นการสอนและพัฒนาโรงเรียนใหไ้ ดม้ าตรฐานเปน็ ที่นิยม ๑๑. ประสานงานกับหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อประโยชน์ของโรงเรียนและ ชมุ ชน ๑๒. ดาเนนิ การตามความเหน็ ชอบและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการสถานศกึ ษา ข้นั พน้ื ฐานของโรงเรียนเนนิ มะปรางศกึ ษาวทิ ยา ๑๓. ปฏิบตั หิ นา้ ทอี่ ืน่ ๆ ตามที่ได้รบั มอบหมาย มาตรา ๑๕ รองผูอ้ านวยการโรงเรยี น มีบทบาทหน้าที่ ดังตอ่ ไปนี้ ๑. ปฏิบัติหน้าท่ีรองผู้อานวยการโรงเรียน โดยปฏิบัติงานตามท่ีได้รับมอบหมายจาก ผู้อานวยการโรงเรียนในการช่วยบริหารกิจการของสถานศึกษา การวางแผนการปฏิบัติงาน การควบคุม กากับ ดูแลเก่ียวกับการบริหารกลุ่มงานวิชาการ บริหารกลุ่มงานงบประมาณและ สินทรัพย์ บริหารกลุ่มงานบุคคล บริหารกลุ่มงานบริหารท่ัวไป และงานอื่นท่ีเกี่ยวข้องหรือท่ีได้รับ มอบหมาย ๒. บริหารกิจการของสถานศึกษาให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ นโยบายและ วัตถปุ ระสงคข์ องสถานศกึ ษา ๓. วางแผนพฒั นาการศึกษา ประเมนิ และรายงานผลการจดั การศึกษา - 19 -

๒๐ ๔. จัดทาและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การจัดกระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีการศึกษา การนิเทศ และการวัดผล ประเมนิ ผล ๕. ส่งเสริมและจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนทุกกลุ่มเป้าหมายท้ังในระบบ นอกระบบ และตาม อัธยาศยั ๖. จัดทาระบบประกนั คุณภาพการศึกษา ๗. การบริหารการเงิน การพัสดุและทรพั ย์สิน ๘. วางแผนการบริหารงานบุคคล การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน วินัยและ การรักษาวนิ ัย การดาเนนิ การทางวนิ ยั และการออกจากราชการ ๙. จดั ทามาตรฐานและภาระงานของครูและบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาประเมินผล การปฏบิ ตั ิงานตามมาตรฐานของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ๑๐. สง่ เสริมและสนับสนุนครแู ละบุคลากรทางการศึกษาใหม้ กี ารพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง ๑๑. ประสานความร่วมมือกับชุมชนและท้องถิ่นในการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษาและ ใหบ้ ริการวชิ าการแกช่ มุ ชน ๑๒. จดั ระบบควบคมุ ภายในสถานศึกษา ๑๓. จดั ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรยี น ๑๔. ปฏบิ ัติหนา้ ทอ่ี ่ืน ๆ ตามทไ่ี ด้รบั มอบหมายจากผู้อานวยการโรงเรยี น มาตรา ๑๖ คณุ สมบตั ขิ องครูและบคุ ลากรทางการศึกษา ๑. ม่งุ มั่นพัฒนาและส่งเสริมการเรยี นรู้ ทกั ษะและนิสยั ทถี่ ูกตอ้ งดงี ามแกน่ ักเรยี น ๒. สามารถปฏบิ ตั กิ จิ กรรมทางวชิ าการเกี่ยวกบั การพฒั นาวชิ าชีพครู ๓. มีจติ วิญญาณของความเป็นครทู ดี่ ี ให้บริการดว้ ยความจรงิ ใจและเสมอภาค ๔. มคี วามรู้ความสามารถ มคี วามเสยี สละอุทศิ ตนเป็นประโยชนแ์ กน่ ักเรยี น ดว้ ยความเต็มใจ ๕. มีจิตใจช่วยเหลือเก้ือกูลซ่ึงกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดม่ันในคุณธรรมและ เสริมสรา้ งความสามัคคใี นหมคู่ ณะ ๖. สามารถปฏิบัตหิ นา้ ที่ในการจดั การเรียนการสอนแก่นกั เรียนและมีหนา้ ที่ในการอบรม บม่ นิสัยนกั เรียนใหน้ ักเรยี นเป็นคนดี มคี ณุ ธรรม ๗. สามารถประพฤตติ นเปน็ แบบอยา่ งทดี่ แี กน่ ักเรียนทั้งทางกาย วาจา ใจ ๘. ไมเ่ ป็นผู้ท่แี สวงหาผลประโยชนใ์ ด ๆ ทัง้ ทางตรงและทางออ้ มจากโรงเรียน ผู้ปกครอง และ นักเรียน มาตรา ๑๗ ครมู บี ทบาทหน้าท่ี ดังต่อไปนี้ ๑. ศึกษาหาความรู้วิธีการสอน วิธีประเมินผล การใช้สื่อการเรียนการสอน หนังสือเรียนและ คู่มอื การเรยี นการสอนตามหลักสตู ร ๒. ปฏิบัตงิ านในหน้าทใี่ ห้ไดผ้ ลตามนโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ๓. ประพฤติปฏบิ ัติตนตามระเบยี บวินัยของทางราชการอย่างเครง่ ครดั - 20 -

๒๑ ๔. จดั กิจกรรมการเรียนการสอนและอบรมบ่มนิสยั นักเรยี นอยา่ งเต็มความสามารถ 5. พัฒนาและปรบั ปรุงการเรยี นการสอนให้มีประสทิ ธิภาพอยา่ งตอ่ เนื่อง 6. ส่งเสริมและเผยแพร่การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข 7. ปลูกฝังวัฒนธรรม ค่านิยมและเอกลกั ษณไ์ ทย 8. สง่ เสริมความสามัคคีในหมคู่ รู นกั เรียนและผทู้ เ่ี กี่ยวขอ้ ง มาตรา 18 บทบาทและหน้าท่ีของผู้ปกครองนักเรียนโรงเรยี นเนนิ มะปรางศึกษาวิทยา ผู้ปกครองนักเรียนมีความเข้าใจในระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนและยินยอมปฏิบัติ ตามระเบยี บของโรงเรียนทุกประการ ได้แก่ 1. ใหค้ วามร่วมมือสนบั สนุนกจิ กรรมของโรงเรียน 2. ศึกษาและเข้าใจวัฒนธรรม กฎระเบียบ ของโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา 3. ดูแล เอาใจใส่ กากบั ติดตามบตุ รในอปุ การะให้ปฏบิ ตั ติ ามธรรมนญู ของโรงเรียน ๔. มคี วามพร้อมในการสนบั สนนุ ค่าเล่าเรยี นและคา่ ใชจ้ า่ ยอ่นื ๆ ให้กับบุตร มาตรา ๑๙ โรงเรียนควรจัดหาเจ้าหน้าท่ีและบุคลากรเพื่อปฏิบัติหน้าท่ี ท่ีไม่เกี่ยวข้องกับการจัดการ เรียนการสอนโดยตรง เพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจัดการ การบริการ และสนับสนุน การเรียน การสอนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยง่ิ ขึ้น ดงั ตาแหนง่ งานและคณุ สมบัตขิ น้ั ตน้ ดงั นี้ ๑. เจา้ หน้าทก่ี ารเงนิ และบญั ชี ปฏิบตั หิ นา้ ท่ี ๑.๑ งานการเงนิ งบประมาณและรายไดส้ ถานศึกษา ๑.๒ งานบัญชที ะเบยี นคมุ การเบิกจ่าย ๑.๓ งานคา่ ใช้จ่ายนกั เรียน ๑.๔ งานเงินเดือนและสวัสดิการ ๒. เจา้ หนา้ ท่ีพัสดุ ปฏิบัติหน้าท่ี ๒.๑ งานจัดซ้ือ จัดจ้าง จ้างออกแบบและควบคุมงาน จัดทาสัญญาและแก้ไขสัญญา จัดทา หนงั สือ รบั รองผลงาน เบิกจ่ายเงนิ คา่ จัดซอื้ จัดจา้ ง ๒.๒ งานทะเบียนผู้รับจ้าง การรับจดทะเบียนผู้รับจ้างงานก่อสร้าง การตรวจสอบและ พิจารณาคุณสมบัติผู้รับจ้าง การเล่ือนช้ันประเภทการจดทะเบียนผู้รับจ้าง การต่ออายุทะเบียน ผู้รับ จา้ ง การจดั ทาบัญชีทะเบียนผรู้ ับจา้ ง ๒.๓ งานคมุ คลังพัสดุ ควบคุมการเบกิ จา่ ย เก็บรกั ษาตรวจสอบ การโอน การยืม การจาหน่าย พัสดุที่ชารุดหรือเสื่อมสภาพ หรือไม่จาเป็นต้องใช้ประโยชน์ในทางราชการ การทาบัญชี ทะเบียน ครภุ ณั ฑ์ บญั ชีทะเบยี นสนิ ทรัพย์ บัญชีเบิกจ่ายพัสดุ - 21 -

๒๒ ๒.๔ งานบันทึกข้อมูลการดาเนินการ บันทึกข้อมูลการจัดซ้ือ/จัดจ้าง/เช่า เข้าสู่ระบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ สด์ าเนินการสรา้ งและเปลี่ยนแปลงขอ้ มูลหลกั ผขู้ าย ๒.๕ งานตรวจสอบรบั -จ่ายพสั ดุประจาปี ๓. เจ้าหน้าทง่ี านธุรการ ปฏิบัติหนา้ ที่ ๓.๑ ลงเวลาการปฏิบัติงาน การลา การขออนุญาตออกนอกโรงเรียนของครูและ บุคลากร สรุปรายงานการปฏิบัติงาน การลา ในแต่ละวัน พร้อมทั้งติดตามให้เป็นไปตามระเบียบและ จัดทา สารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ ๓.๒ จัดทาและเก็บรักษาทะเบียนประวัติข้าราชการครูและบุคลากรรวมท้ังการแก้ไข เปลยี่ นแปลงขอ้ มลู ในทะเบียนประวัติข้าราชการครแู ละบุคลากรใหเ้ ป็นปัจจุบัน ๓.๓ รับ – ส่ง และลงทะเบียนหนงั สอื ราชการใหถ้ กู ต้องตามระเบยี บงานสารบรรณ ๓.๔ ร่าง – พิมพ์ โต้ตอบหนังสือราชการ ให้ถกู ต้องตามระเบียบงานสารบรรณ และ ทันเวลา ๓.๕ ประสานงานผู้ท่ีเก่ียวข้องในการให้ข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือราชการ เพ่ือให้การดาเนินงาน ทันกาหนดเวลา ๓.๖ จัดทาแบบฟอร์มในการติดต่อทางราชการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้รับบริการได้รับความ สะดวก ในการติดต่อราชการกบั ทางโรงเรยี น ๓.๗ สามารถปฏบิ ตั งิ านอื่น ๆ ที่ไดร้ บั มอบหมาย ๔. เจา้ หนา้ ทโ่ี สตทศั นปู กรณ์ ปฏบิ ัติหนา้ ท่ี ๔.๑ จัดทาระบบการให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ให้บริการติดต้ัง ยืม คืน อุปกรณ์โสตฯ แก่ บคุ ลากรและหนว่ ยงานท่ีขอใชบ้ ริการให้ได้รบั ความสะดวก ๔.๒ บันทกึ ภาพน่ิง ภาพเคลอ่ื นไหว กจิ กรรมตา่ ง ๆ ของโรงเรียน ๔.๓ บริการระบบภาพและเสียงภายในโรงเรยี น ๔.๔ ตดิ ตงั้ เครื่องเสยี ง ไมค์ และอุปกรณ์อ่ืน ๆ ภายในโรงเรียน ๔.๕ ซอ่ มบารงุ เคร่อื งมือและอปุ กรณ์ วสั ดุ โสตทัศน์ ๔.๖ ดูแลซอ่ มแซมและปรับปรุง ระบบเคเบิลทีวี ระบบวงจรปดิ ๔.๗ ใหบ้ รกิ ารห้องประชมุ ควบคมุ ดูแล ปรับปรุงและซอ่ มแซมให้พร้อมใชง้ าน ๔.๘ ปฏบิ ัตงิ านอืน่ ๆ ทีไ่ ดร้ ับมอบหมาย ๕. เจ้าหน้าทห่ี ้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี ๕.๑ บารุงรักษาเครอ่ื งคอมพิวเตอรแ์ ละห้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ ๕.๒ ควบคมุ การยืม-คนื อุปกรณ์ทนี่ กั เรียนใช้ในการปฏบิ ตั ิการต่างๆ - 22 -

๒๓ ๕.๓ ตดิ ตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพ่มิ เตมิ เม่อื มีผ้มู าใช้ห้องปฏิบัติการ ๕.๔ ปฏบิ ตั ิงานอนื่ ๆ ทไี่ ด้รับมอบหมาย ๖. เจ้าหน้าท่หี ้องสมดุ ปฏิบตั ิหนา้ ท่ี ๖.๑ ลงทะเบยี นและวิเคราะห์ให้หมวดหมสู่ อื่ ทุกประเภทและบันทึกรายละเอียดของ หนังสือ เข้าฐาน ๖.๒ บริการสืบค้นข้อมูลทางวิชาการผา่ นทางเครือข่ายอนิ เตอร์เนต็ ๖.๓ จัดทาสอื่ ประชาสัมพันธ์ ผา่ นทางอินเตอรเ์ น็ต เชน่ สร้าง Homepage หอ้ งสมุด ๖.๔ จัดเตรียมสิ่งพิมพ์ก่อนออกให้บริการ เช่น ประทับตราหนังสือ ติดสันหนังสือ ติดซอง บตั รหนงั สอื เปน็ ตน้ ๗. เจ้าหนา้ ทหี่ อ้ งพยาบาล ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี ๗.๑ บริหารจัดสรรทรัพยากรท่ีใช้ในงานอนามัยท่ีจาเป็นให้เพียงพอต่อความต้องการของ นกั เรียน ๗.๒ จดั บรรยากาศในหอ้ งพยาบาลให้สะอาดและเปน็ ระเบียบ ๗.๓ จดั ทาระเบยี บปฏิบัตกิ ารขอใช้หอ้ งพยาบาล ๗.๔ ให้การปฐมพยาบาลนักเรียนท่ีได้รับอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน ในขณะที่อยู่ใน โรงเรยี นและจดั สง่ โรงพยาบาลในกรณีจาเป็น ๗.๕ ติดตอ่ ประสานงานกับครทู ป่ี รกึ ษา ผปู้ กครองของนักเรียนในกรณที ี่นักเรียนเจ็บป่วย ๗.๖ รวบรวมข้อมูลสถิติและรายงานผลการดาเนินงานของอนามัยโรงเรียนทั้งรายวัน ราย สปั ดาห์ รายเดอื นและรายภาคเรยี น ๘. เจ้าหนา้ ท่ีประชาสัมพนั ธ์ ปฏบิ ตั หิ น้าที่ ๘.๑ กาหนดแผนการประชาสัมพันธ์ภายนอกและภายในโรงเรียน ๘.๒ นาข้อมูลขา่ วสารเพอ่ื สนองการดาเนินงานตามศกึ ษานโยบาย เปา้ หมายและ พันธกิจของ โรงเรยี น ๘.๓ จดั ทาส่ือทเ่ี หมาะสมประกอบข้อมูลที่ถูกต้องและน่าสนใจเพ่ือสร้างความน่าสนใจ ให้กับ การประชาสัมพนั ธ์ ๘.๔ กาหนดรูปแบบการประชาสัมพนั ธใ์ ห้ไปถึงกลุ่มเป้าหมาย อาจดว้ ยแผ่นพบั ใบปลวิ ตดิ บอรด์ และผา่ นสอ่ื ออนไลนต์ า่ ง ๆ ๘.๕ จัดเก็บข้อมูลจากการประชาสัมพนั ธท์ ี่ผ่านมา ๘.๖ พิจารณา ประเมนิ ผลการทางาน และรายงานผลสรุปขอ้ มลู ๘.๗ ปฏบิ ัติงานอนื่ ๆ ทไ่ี ด้รบั มอบหมาย - 23 -

๒๔ ๙. พนักงานขับรถ ปฏิบัตหิ นา้ ท่ี ๙.๑ ขับรถของโรงเรยี นตามทไ่ี ด้รบั มอบหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๙.๒ รกั ษาวินัยการปฏบิ ตั ิหน้าที่ด้วยความวิริยะอตุ สาหะ อทุ ศิ เวลาแก่ราชการอยา่ ง เคร่งครดั ๙.๓ ดแู ลรกั ษารถยนต์มิใหส้ ญู หายและรักษาเครอ่ื งยนตใ์ ห้อยูใ่ นสภาพท่ีใชก้ ารไดด้ ีอยู่ เสมอ โดยปฏบิ ตั ติ ามหลักการและวธิ ีการรักษาเคร่อื งทีถ่ ูกต้องและให้อยใู่ นสภาพพรอ้ มใชท้ ุกวนั ๙.๔ ขับรถดว้ ยความระมดั ระวังมใิ หเ้ กิดอุบตั ิเหตหุ รอื เป็นโอกาสใหเ้ กิดการชารุด เสียหาย ไม่ ขับรถด้วยความเร็ว ซ่ึงเกิดการจากความคึกคะนองหรืออารมณ์อ่ืน ๆ ซึ่งเป็นโอกาสให้เกิด อุบัติเหตุ เกดิ ความทรุดโทรมแกส่ ภาพรถและมนี า้ ใจรับ - สง่ ครแู ละนักเรียนดว้ ยความเต็มใจ ๙.๕ ปฏบิ ตั ิงานอ่นื ๆ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายได้ ๑๐. พนกั งานทาความสะอาด ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่ ๑๐.๑ ดูแลทาความสะอาดภายในและภายนอกอาคาร หอ้ งเรียน ห้องพักครู ห้องนา้ ห้องสขุ าให้เป็นระเบยี บเรยี บรอ้ ย ๑๐.๒ ดแู ล บารงุ รกั ษาตน้ ไม้ สนามหญ้าของโรงเรยี นให้สวยงาม ๑๐.๓ ดแู ลรกั ษาวสั ดุ ครุภณั ฑ์ในส่วนพื้นท่ีงานทรี่ ับผดิ ชอบ ๑๐.๔ ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ทีไ่ ด้รับมอบหมาย มาตรา ๒๐ สิทธิของครูและบคุ ลากรของโรงเรยี นเนนิ มะปรางศึกษาวิทยาพึงได้รบั ดังตอ่ ไปนี้ ๑. บตุ รทกุ คนมสี ิทธิเ์ ข้าเรียนในโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา ประเภทเงอ่ื นไขพิเศษ ๒. ได้รับสวัสดิการของโรงเรียนตามระเบยี บสวสั ดิการโรงเรยี นเนนิ มะปรางศกึ ษาวิทยา พ.ศ. 2563 ๓. คณะครู บุคลากร และนักเรียน มีสิทธิ์ถือหุ้นอย่างน้อย คนละ 1 หุ้น แต่ไม่เกิน 250 หุ้น โดยสมาชกิ ตอ้ งชาระคา่ หุ้นเม่ือแรกสมัครคร้ังเดยี ว มาตรา ๒๑ โรงเรียนต้องจัดให้มีสหกรณ์ภายในโรงเรียนเพ่ือฝึกให้นักเรียนเรียนรู้ระบบของสหกรณ์ โดยคณะครู บุคลากร และนักเรียน มีสิทธ์ิถือหุ้นอย่างน้อย คนละ 1 หุ้น แต่ไม่เกิน 250 หุ้น โดย สมาชิกต้องชาระค่าหุน้ เมอ่ื แรกสมคั ร มาตรา ๒๒ โรงเรียนต้องจัดให้มีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติ หน้าท่ใี หม้ ปี ระสิทธิภาพมากขึ้น อยา่ งนอ้ ย ๑ รายการตอ่ ปี ดงั น้ี ๑. การศึกษาดงู าน ๒. การสัมมนาทางวชิ าการ ๓. การอบรมเชิงปฏิบตั กิ ารในเรือ่ งทจ่ี าเปน็ ตอ่ ครูทกุ คน ๔. การจัดทาวจิ ยั ในช้ันเรยี น หรอื ผลงานทางวิชาการ - 24 -

๒๕ หมวดท่ี 5 นกั เรยี น มาตรา 23 คณุ สมบตั พิ ้นื ฐานของผู้ท่จี ะสมัครเข้าเรียนโรงเรียนเนนิ มะปรางศึกษาวทิ ยา ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 1. สาเรจการศึก าชันประ มศึก าปีท่ี ๖ ตาม ลักสูตรกระทรวงศึก า ิการ รือ เทียบเท่า รอื กาลงั ศึก าอยู่ นชันประ มศึก าปที ่ี ๖ รอื เทียบเท่า 2. ส านภาพโสด ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 1. สาเรจการศึก าชันมั ยมศึก าปีท่ี ๓ ตาม ลักสูตรกระทรวงศึก า ิการ รือเทียบเท่า รอื กาลังศึก าอยู่ นชันมั ยมศกึ าปีท่ี ๓ รอื เทยี บเท่า 2. ส านภาพโสด 3. ผู้สมัครความสามารถพเิ ศษทางด้านวชิ าการตามโครงการห้องเรียนพิเศษ (แผนการเรียน วิทย์ - คณติ ) ตอ้ งมคี ะแนนเฉลย่ี สะสม (GPAX) (ในหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน) ไมน่ อ้ ยกวา่ 3.00 หรอื 75% มาตรา ๒4 โรงเรียนต้องจัดให้มีสภานักเรียน ซึ่งได้มาโดยการได้รับการเลือกมาจากนักเรียน ครู และผู้บริหารภายในโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยา เพื่อเป็นผู้แทนของนักเรียน เป็นส่ือกลางความ เป็นประชาธิปไตย รักษาสิทธิและหน้าที่ของนักเรียนโดยไม่ขัดกับระเบียบและนโยบายของโรงเรียน กาหนดแผนการปฏิบัติกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อโรงเรียน สังคมและประเทศชาติ โดยตอ้ งมีคุณสมบตั ดิ ังต่อไปน้ี ๑. เปน็ ผู้ท่ียึดม่นั ในระบอบประชาธิปไตย และจงรักภกั ดตี ่อสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ๒. เป็นผ้ทู ก่ี าลังศึกษาอยใู่ นระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๕ ในขณะทม่ี กี ารเลือกตง้ั ๓. ไมม่ ีผลการเรยี น ๐, ร, มส หรอื มผ ๔. เปน็ นักเรียนโรงเรียนเนนิ มะปรางศกึ ษาวิทยาอย่างถกู ตอ้ งตามกฎหมาย ๕. ผู้สมัครจะต้องลงสมัครตามกาหนดระยะเวลาของงานสภานักเรียนและส่งเสริม ประชาธิปไตยในโรงเรียน ๖. ได้รับความยินยอมจากครูประจาชั้น/ครูท่ีปรึกษาและผู้ปกครองให้เข้าสมัครรับเลือกตั้ง ประธานสภาและสมาชิกสภานกั เรียน ๗. พรรคหลักเป็นผู้ที่ได้รับคะแนนเสียงสูงสุดจากการเลือกต้ัง หรือได้คะแนนเสียงเกินคร่ึง จากผู้ใช้สิทธ์ิเลือกต้ัง จะคงตาแหน่งประธานคณะกรรมการนักเรียน รองประธานกรรมการนักเรียน และเลขานุการ ๘. พรรคร่วมคือตัวแทนจากพรรคที่ทาการสมัครส่งตัวแทนในแต่ละพรรคจานวน 5 คน เข้า รว่ มจัดตัง้ เป็นสภานักเรยี น - 25 -

๒๖ ๙. เปน็ ผ้มู คี ุณธรรม จริยธรรมและมีความเปน็ กลางในการดาเนินนโยบาย ๑๐. เป็นผ้ทู ่รี ักและเทดิ ทูลในเกยี รติของโรงเรียนอยา่ งจรงิ ใจ ๑๑. เปน็ ผูน้ าในการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมเพอ่ื ส่วนรวมตามหลกั ธรรมาภิบาล ๑๒. ปฏิบัติงานโดยไมข่ ัดหรือแยง้ กบั ระเบยี บหรือขอ้ บงั คับอ่ืนใดของทางราชการและระเบียบ วนิ ยั ของโรงเรยี น มาตรา 25 นกั เรียนตอ้ งได้รับการพัฒนาจากทางโรงเรียนและผู้ที่มสี ว่ นเก่ยี วข้องเพื่อให้มีคุณลักษณะ อันพึงประสงคด์ ังนี้ 1. มีวนิ ยั ๒. ใฝเ่ รียนรู้ 3. อย่อู ย่างพอเพยี ง ๔. ระเบยี บ เรยี บรอ้ ย รักสะอาด ๕. มงุ่ มั่นในการทางาน ๖. ความเปน็ ผนู้ า ๗. เจตคติเชิงบวก ๘. ความซ่ือสัตยส์ ุจริต ๙. ความกตัญญูกตเวที ๑๐. การออ่ นน้อมถ่อมตน ๑๑. ความรบั ผิดชอบ ๑๒. มีจิตสาธารณะ ๑๓. ความสามคั คี ๑๔. รักความเป็นไทย ๑๕. จงรักภักดตี ่อสถาบนั มาตรา ๒6 นกั เรียนต้องแตง่ กายใหถ้ กู ต้องตามระเบยี บของโรงเรียน ดงั น้ี 1. นกั เรยี นชาย ๑.๑ ช้นั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1.1.๑ เส้ือ แบบเสื้อเช้ิตแขนสั้นเพียงข้อศอก คอตั้ง ผ้าขาวเกล้ียงไม่บางเกินไป สาบที่คอกว้าง 5 เซนติเมตรมีสาบพับข้างนอกขนาด 3 เซนติเมตร ใช้กระดุมสีขาวกลมแบน เส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 1 เซนติเมตร มีกระเป๋าราวนมซ้าย 1 ใบ กว้าง 8-10 เซนติเมตร และลึก 10-15 เซนติเมตร พอเหมาะกับขนาดของตวั 1.๑.2 กางเกง ผา้ สกี ากี เนื้อหนา เป็นกางเกงไทยแบบขาส้ันเสมอเข่าหรือเหนือเข่าไม่ เกิน 5 เซนติเมตรความกว้างของขอบกางเกงเม่ือยืนตรง ห่างจากขา 8 -10 เซนติเมตร ตามส่วนของขนาด ขาปลายกางเกงพับข้างในกว้าง 5 เซนติเมตร ผ่าหน้า ใชก้ ระดุมขนาดยอ่ มซอ่ นไวข้ า้ งใน หรือใช้ซิบ ด้านข้าง มีจีบข้างละ 2 จีบ มีกระเป๋าตามแนวตะเข็บ 2 กระเป๋า ไม่มีกระเป๋าหลังเวลาสวมให้สวมเส้ือไว้ข้างใน กางเกงให้เรยี บรอ้ ย - 26 -

๒๗ ๑.๒ ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1.๒.๑ เส้ือ แบบเส้ือเชิ้ตแขนสั้นเพียงข้อศอก คอต้ัง ผ้าขาวเกลี้ยงไม่บางเกินไป สาบทค่ี อ กว้าง 5 เซนติเมตร มสี าบพับข้างนอกขนาด 3 เซนตเิ มตร ใชก้ ระดุมสีขาวกลมแบนเส้นผ่าน ศูนยก์ ลางไมเ่ กนิ 1 เซนตเิ มตร มกี ระเปา๋ ราวนมซา้ ย 1 ใบ กวา้ ง 8-10 เซนติเมตร และลึก 10 - 15 เซนติเมตร พอเหมาะกบั ขนาดของตวั 1.๒.2 กางเกง ผ้าสีดา เน้ือหนา เป็นกางเกงไทยแบบขาสั้นเหนือเข่าไม่เกิน 5 เซนตเิ มตร ความกว้างของขอบกางเกงเมอื ยนื ตรง ห่างจากขา 8-12 เซนติเมตร ตามส่วนของขนาดขา ปลาย กางเกงพบั ขา้ งในกวา้ ง 5 เซนตเิ มตร ผา่ หนา้ ใช้กระดมุ ขนาดยอ่ มซ่อนไวข้ ้างใน หรอื ใชซ้ ิบ ดา้ นข้างมจี ีบขา้ ง ละ 2 จบี มีกระเป๋าตามแนวตะเข็บ 2 กระเป๋า ไมม่ กี ระเปา๋ หลัง เวลาสวมเสอื้ ไว้ขา้ งในกางเกงใหเ้ รียบร้อย 1.3 รองเท้า-ถุงเทา้ นักเรียน ม. ต้น รองเท้าหนังสีน้าตาลหุ้มส้น มีเชือกผูกไม่มีลวดลาย ถุงเท้าใช้สี เดยี วกับรองเทา้ ไม่มลี วดลายและเปน็ ถุงเทา้ สั้น(วดั จากพืน้ ไม่ต่ากว่า 15 เซนติเมตร) นกั เรียน ม. ปลาย รองเท้าหนัง หรือ ผ้าใบสดี า หมุ้ สน้ มีเชือกผูกไม่มลี วดลาย ถุงเท้า ใชส้ ีขาว ไมม่ ีลวดลาย และเปน็ ถุงเทา้ สัน้ (วดั จากพ้นื ไม่ต่ากว่า 15 เซนติเมตร) 1.4 เขม็ ขดั นักเรียน ม. ต้น หนังสีน้าตาล ขนาดกว้างตั้งแต่ 2.5 -4 เซนติเมตร ไม่มีลวดลาย หัวเข็มขัด เป็นโลหะสีเหลือง รูปสี่เหล่ียมผืนผ้าชนิดหัวกลัดเข็มเดียว มีปลอกหนังขนาดกว้าง 1.5 เซนติเมตร สาหรบั สอดใสป่ ลายเขม็ ขัด นกั เรยี นทีเ่ ปน็ ลกู เสอื จะใช้เข็มขดั ลกู เสอื แทนก็ได้ นักเรียน ม. ปลาย หนังสีดา ขนาดกว้างตั้งแต่ 2.5 -4 เซนติเมตร ไม่มีลวดลาย หัวเข็มขัด เป็นโลหะสีเหลืองรูปสี่เหล่ียมผืนผ้าชนิดหัวกลัดเข็มเดียว มีปลอกหนังขนาดกว้าง 1.5 เซนตเิ มตร สาหรบั สอดใส่ปลายเขม็ ขัด 1.5 ทรงผม นักเรยี น ม. ต้น ตัดผมบ๊อบสัน้ เลยตง่ิ หไู ม่เกนิ 3 เซนตเิ มตร ห้ามซอย สไลด์ปลาย ผม ห้ามดัดผม ย้อมผม และห้ามกัดสผี ม หรอื อนื่ ๆ ท่ไี มเ่ หมาะสม นักเรียน ม. ปลาย ให้นักเรียนไว้ทรงแรเงาหรือรองทรงสูง ด้านหน้าล้านบน ศีรษะยาวไม่เกิน 5 เซนติเมตร ห้ามหวีแสกกลางหรือหวีเป๋ ห้ามใส่น้ามันใส่ผม เจล ห้ามไว้หนวด ไว้ เครา และหา้ มสวมหมวกในบริเวณโรงเรยี น โดยเด็ดขาดยกเวน้ หมวกนิรภยั ๒. นักเรยี นหญิง ๑.๑ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 1.1.๑ เส้ือ ผ้าขาวเกล้ียงไม่บางเกินไป แบบคอพับในตัวลึกพอให้สวมศีรษะได้ สะดวก สาบเส้ือตลบเขา้ ข้างใน ส่วนบนของสาบเส้อื ใหใ้ หญพ่ อแบะคอ แล้วไม่เห็นตะเข็บด้านใน ด้าน ในมีปกขนาด 10 เซนติเมตร ปลายแขนจีบเล็กน้อย ประกอบด้วยผ้า 2 ช้ิน ขนาดกว้าง 2.5 เซนติเมตร ความยาวจากเสื้อถึงข้อมือ เม่ือยืนตรง 5-10 เซนติเมตร ชายขอบเสื้อด้านล่างมอ รอบ พับ 2-3 เซนติเมตร ขนาดตัวเส้ือตั้งแต่ใต้ท้องแขนถึงขอบล่างมีความกว้างพอเหมาะกับตัวไม่รัดเอว ขอบล่างด้านหน้าข้างขวาติดกระเป๋าเป็นริมกว้างไม่เกิน 2 เซนติเมตร ผูกคอด้วยผ้ากรมท่าชาย สามเหลยี่ มกว้างตั้งแต่ 6-7 เซนติเมตร ทัง้ 2 ชายยาว 80-100 เซนตเิ มตร ผูกเง่ือนกะลาสี - 27 -

๒๘ 1.๑.2 กระโปรง ผ้าสีกรมท่าเนื้อเกลี้ยง กระโปรงทรงนักเรียนมีขอบ ด้านหน้ามีจีบ 6 จีบ ข้างละ 3 จีบ หันจีบออกด้านข้างตัว ตีเกล็ดทับบนจีบจากขอบล่างของเอวลงมา 8-10 เซนติเมตร ดา้ นหลงั ทาเช่นเดยี วกบั ด้านหนา้ กระโปรงยาวจากเขา่ ลงมา 3-5 เซนตเิ มตร ๑.๒ ช้นั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1.๒.๑ เสื้อ ผ้าขาวเกล้ียงไม่บางเกินไป แบบคอเช้ิตผ่าอกตลอด สาบเสื้อตลบ เข้าขา้ งใน ขนาดกว้าง 3 เซนติเมตร ใสก่ ระดุมกลมแบนสีขาว แขนขาวเหนือศอกเล็กน้อยต้นแขนและ ปลายแขนมีจีบปลายแขนเปน็ ผา้ สองข้นั กวา้ ง 3 เซนติเมตร ขนาดตัวเส้ือความยาวให้พอกับลาตัวเวลา สวมใหช้ ายเสอ้ื อยใู่ นกระโปรงให้เรียบร้อย โดยมกี ระดุมเหลอื อยเู่ หนือกระโปรง 3 เมด็ 1.๒.2 กระโปรง ผา้ ขาวเกล้ียงไม่บางเกินไป แบบคอเช้ิตผ่าอกตลอด สาบเส้ือตลบ เข้าข้างใน ขนาดกวา้ ง 3 เซนตเิ มตร ใสก่ ระดุมกลมแบนสขี าว แขนขาวเหนือศอกเล็กน้อยต้นแขนและ ปลายแขนมีจบี ปลายแขนเปน็ ผา้ สองข้ันกว้าง 3 เซนติเมตร ขนาดตัวเส้อื ความยาวให้พอกับลาตัวเวลา สวมใหช้ ายเสือ้ อยู่ในกระโปรงให้เรียบร้อย โดยมกี ระดุมเหลืออยเู่ หนอื กระโปรง 3 เมด็ 1.3 รองเทา้ -ถุงเทา้ นกั เรียน ม. ตน้ รองเทา้ หนังห้มุ สน้ สีดา ปลายมน ไม่มีลวดลาย มีสายรดั หลงั เท้า ส้นรองเทา้ สูงไมเ่ กิน 3 เซนตเิ มตร ถงุ เทา้ สขี าวไม่มีลวดลาย พบั ปลายระดับข้อเทา้ นักเรียน ม. ปลาย รองเท้าหุ้มส้นสีดา ปลายมน ไม่มีลวดลาย มีสายรัดหลังเท้า สน้ รองเทา้ สูงไมเ่ กิน 3 เซนตเิ มตร ถุงเทา้ สีขาวไมม่ ลี วดลาย พบั ปลายระดบั ขอ้ เท้า 1.4 ทรงผม นกั เรยี น ม. ตน้ ตัดผมบอ๊ บส้ันเลยติ่งหูไม่เกิน 3 เซนติเมตรห้ามซอย สไลด์ปลาย ผม ห้ามดดั ผม ยอ้ มผม และห้ามกดั สผี ม หรอื อ่นื ๆ ท่ไี มเ่ หมาะสม นักเรียน ม. ปลาย ตัดผมบ๊อบสั้นเลยต่ิงหูไม่เกิน 5 เซนติเมตร ,หรือไว้ผมยาวได้ และมดั ให้เรียบรอ้ ยดว้ ยรบิ บนิ้ สกี รมท่า ห้ามซอย สไลดป์ ลายผม ห้ามดัดผม ย้อมผม และห้ามกัดสีผม หรอื อ่ืนๆ ที่ไมเ่ หมาะสม ๓. เคร่ืองประดับและของมคี ่า โรงเรียนอนุญาตใหน้ ักเรยี นใส่เครือ่ งประดบั ดงั น้ี 1) นาฬิกาข้อมอื ใชส้ ายสภุ าพเรยี บรอ้ ย 2) กบ๊ิ ติดผมสีดาไม่มลี วดลาย 3) สร้อยพระทสี่ วมใส่ ดูแล้วมขี นาดทสี่ ุภาพเหมาะสม โรงเรียนไม่อนุญาตใหน้ ักเรียนใสห่ รอื พกพาเครอ่ื งประดับนี้ 1) สร้อยคอ (ทองคา เงนิ นาค หรืออนื่ ๆ ที่ไม่เหมาะสม) 2) แหวน 3) ตา่ งหู 4) กาไล 5) ท่ีคาดผม 6) หวีสบั 7) ลกู ประคา - 28 -

๒๙ 8) อื่น ๆ ทไี่ ม่เหมาะสม ถ้าเครื่องประดับที่ห้ามใส่เหล่านี้เกิดสูญหาย ทางโรงเรียนไม่รับผิดชอบ ถ้าตรวจพบ ฝ่ายปกครอง จะยึดไว้ท่ีฝ่ายปกครอง และให้ผู้ปกครองมาติดต่อรับคืน กระเป๋าหนังสือนักเรียนทุกคน ต้องใช้กระเป๋าตามที่โรงเรียนกาหนดเท่านั้น หากตรวจพบว่านักเรียนนากระเป๋าท่ีผิดระเบียบมา โรงเรยี น ฝ่ายปกครองจะยึดไว้ท่ีฝา่ ยปกครอง และใหผ้ ้ปู กครองมาตดิ ต่อรับคนื โทรศัพท์มือถือให้นักเรียนรับผิดชอบท่ีชาร์ตแบตด้วยตัวเองห้ามนาโทรศัพท์มาชาร์ต แบตในห้องเรยี น หากฝา่ ฝนื นักเรียนจะถูกตัดคะแนน 30 คะแนน และจะถูกยึดโทรศัพท์ เป็นเวลา 1 สปั ดาห์ และให้ผู้ปกครองมาตดิ ต่อรบั คนื มาตรา ๒7 นักเรยี นต้องปฏิบัติตนระหวา่ งเป็นนกั เรยี นของโรงเรยี นเนินมะปรางศึกษาวิทยา ดังน้ี การปฏบิ ัติตนโดยทั่วไปของนักเรียน ๑. นักเรียนพึงระลึกไว้เสมอ การรักษาช่ือเสียงและเกียรติภูมิของโรงเรียนนั้นเป็น หน้าที่โดยตรงของนักเรียน ดังน้ันนักเรียนจะต้องประพฤติตนให้เป็นไปตามระเบียบ กฎเกณฑ์ หรือ ข้อบังคับต่าง ๆ อย่างเคร่งครัด เพราะระเบียบกฎเกณฑ์หรือข้อบังคับน้ันๆ ก่อให้เกิดความดีงามแก่ ตนเองและหมูค่ ณะทาใหส้ งั คมอยู่รว่ มกันได้อยา่ งปกตสิ ขุ ๒. นักเรียนพึงต้องเสียสละแรงกาย เพื่อเป็นการพัฒนาโรงเรียน หรือชุมชนตาม โอกาสสมควร ๓. นักเรยี นรุ่นพี่พงึ ปฏิบตั ใิ หเ้ ปน็ ตัวอย่างที่ดีแก่นักเรียนรุ่นนอ้ ง ๔. นักเรยี นรนุ่ นอ้ งใหเ้ กยี รติและเคารพรุ่นพ่ี การปฏิบัตติ นในระหวา่ งบา้ นมาโรงเรียน ๑. ปฏิบตั ติ ามกฎจราจรอยา่ งเครง่ ครดั เช่น ขา้ มถนนตามทางม้าลาย ไม่ห้อยโหนรถ ประจาทางเดนิ ชดิ ขอบถนนทางด้านขวา สวมหมวกนิรภยั ๒. ใช้เส้นทางจราจรทัว่ ไป ไม่เดินเกาะกลมุ่ หรอื เลน่ กัน ๓. ไม่ชกั ชวนกนั ไปเทีย่ วตามที่สาธารณะต่างๆ ในขณะท่ยี งั อยใู่ นเคร่ืองแบบนักเรยี น ๔. การนายานพาหนะมาโรงเรียนจะอนุญาตเฉพาะรถจักยานยนต์ รถจักรยาน ทม่ี ี ใบขบั ขเ่ี ท่าน้ันมาโรงเรียนได้ ไมอ่ นุญาตให้นกั เรียนนารถยนตม์ าโรงเรยี น การปฏิบตั ิตนในโรงเรยี น ๑. เมื่อนักเรียนลงรถท่ีประตูโรงเรียน ให้นักเรียนทุกคนทาความเคารพครูอาจารย์ โดยการยกมือไหว้พร้อมกล่าวคาว่า “สวัสดีครับ(คะ่ )”และทาความเคารพพระพุทธรูป พระพุทธลลี า ๒. การเดนิ ทางเขา้ ออกโรงเรียน ให้เดินบนทางเท้า โดยการชิดขวาของทางเทา้ น้ันๆ ๓. นกั เรยี นช่วยกนั ทาความสะอาดห้องเรยี นและทาความสะอาดเขตพื้นที่รับผิดชอบ ให้สะอาดเรียบรอ้ ย ๔. เม่ือได้ยินสัญญาณเพลงมาร์ช น.ศ. ให้ทุกคนเตรียมตัวเข้าแถวเดินจากเขต รบั ผดิ ชอบมายังหน้าเสาธง ๕. นกั เรยี นทุกคนเข้าแถวหนา้ เสาธงอยู่ในสภาพเรียบรอ้ ย - 29 -

๓๐ ๖. นักเรียนทุกคนต้องต้ังใจกระทาพิธีเคารพธงชาติ สวดมนต์ รับฟังโอวาท หรือการ ประชาสัมพนั ธด์ ้วยความสงบเรียบรอ้ ย ๗. นกั เรยี นตอ้ งเดนิ แถวข้ึนชั้นเรียน หรือเดินเปลี่ยนช่ัวโมง ให้เดินเป็นแถวอย่างเป็น ระเบียบ และสงบ การปฏิบัติตนในห้องเรียน ๑. เมื่ออาจารย์เข้าห้องเรียน ให้หัวหน้าห้องบอกทาความเคารพ โดยออกคาสั่งว่า “นักเรียนเคารพ” นักเรียนยืนตรงแล้วยกมือไหว้เมื่อได้รับคาส่ังจากครู จึงน่ังลง (ยกเว้นหมวดวิชา ภาษาตา่ งประเทศ ให้ปฏิบตั ิตามแนวทางทอี่ าจารย์กาหนด) ๒. เม่อื หมดช่ัวโมงการสอน ให้หัวหนา้ บอกทาความเคารพ นักเรยี นยนื ตรงแลว้ ยกมือไหว้ ๓. นกั เรียนต้องรักษาความเปน็ ระเบยี บเรียบรอ้ ยของหอ้ งเรียน โต๊ะ เก้าอ้ี ๔. นักเรียนต้องรักษาระเบียบไม่เล่นไม่คุยในห้องเรียน ต้ังใจเรียน ฟังคาอธิบายของ ครอู าจารย์ดว้ ยความเคารพ นั่งประจาที่ไม่ลกุ จากที่โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต ๕. ในกรณีที่ไม่มีอาจารย์เข้าสอน ให้หัวหน้าไปแจ้งที่ฝ่ายวิชาการ เพ่ือให้หัวหน้า หมวดวิชาจัดอาจารย์สอนแทน ๖. ในกรณีท่ีไม่มีอาจารย์เข้าสอน ห้ามออกนอกห้องเรียน ยกเว้นได้รับอนุญาตจาก หวั หนา้ หอ้ งแลว้ เมอ่ื เสรจ็ กิจธรุ ะ ตอ้ งเรง่ รบี เขา้ หอ้ งเรยี นทันที ๗. ในการเปลย่ี นห้องเรยี นต้องเดนิ ไปเป็นแถวด้วยความเรยี บรอ้ ย ๘. ไมน่ าชอลก์ หรือสิ่งของภายในห้อง เช่น แปลงลบกระดาน ไม้กวาดมาเล่นกันหรือ ขดี เขยี นโต๊ะฝาผนังห้อง ๙. เมอื่ เกดิ การทะเลาะวิวาทภายในห้อง หรอื ระหว่างห้องอยา่ ตัดสนิ เอง ควรรายงาน ให้อาจารยท์ ราบ ๑๐. ไมเ่ สริมสวย แตง่ หน้าแตง่ ตวั ในห้องเรยี น มาตรา ๒8 นักเรียนต้องดาเนินการเรื่องการลาหยุด การขาดเรียน การมาสายและการออกนอก บรเิ วณโรงเรียน ดังนี้ การลากจิ และลาปว่ ย 1. เม่ือนักเรียนหยุดเรียน ด้วยกิจธุระหรือป่วย จะต้องส่งใบลากิจหรือลาป่วยต่ออาจารย์ท่ี ปรึกษาเมื่อมาโรงเรียนในวันแรก ในท้ายของใบลาจะต้องมีลายมือช่ือของผู้ปกครองรับรองว่า การลา หยุดในครั้งนน้ั ๆมีเหตจุ าเปน็ ตามท่ีอ้างองิ 2. หากนักเรียนขาดเรียนโดยไมส่ ง่ ใบลา หรอื ไม่ได้รบั แจ้งจากผปู้ กครอง ถงึ 3 วันติดต่อกัน โรงเรียนจะดาเนินการคือ ๒.๑ ฝา่ ยปกครองสง่ ใบแจ้งถงึ ผูป้ กครองคร้ังที่ 1 หากยังไม่ได้รับการติดต่อภายใน 2 วัน โรงเรยี นจะเตอื นเปน็ ครั้งที่ 2 ,ครั้งท่ี 3 ๒.๒ หากผู้ปกครองยังไม่ติดต่อกลับมาอีก โรงเรียนจะสั่งให้พักการเรียนตามความ เหมาะสม หรือคดั ชอื่ ออกจากทะเบียนนักเรยี น ๒.๓ ทางโรงเรยี นขอทอี่ ยู่ เบอร์โทรศพั ท์ทสี่ ามารถติดต่อได้ เพือ่ สะดวกในการติดตอ่ - 30 -

๓๑ การขาดเรยี น การลา (ใบลาให้สง่ กบั อาจารย์ท่ีปรกึ ษาหรอื หัวหนา้ ระดบั ชน้ั ) 1. ลาป่วย ให้ส่งใบลาที่มีลายเซ็นผู้ปกครองส่งในวันท่ีลา ถ้าส่งไม่ได้ อนุญาตให้นามาส่งใน วันที่มาโรงเรียนได้ แต่ขอให้แจ้งให้ทางโรงเรียนทราบทางใดทางหน่ึงไว้ก่อน เพ่ือท่ีทางโรงเรียนจะได้ ไม่กงั วลเก่ยี วกับสวสั ดภิ าพของนักเรียน 2. ลากิจ ผู้ปกครองต้องให้ส่งใบลาก่อน 1 วัน หรือส่งในวันที่ลา ถ้าไม่สามารถส่งใบลาได้ ให้ส่งในวันท่ีมาเรียน แต่จะต้องแจ้งให้โรงเรียนทราบก่อน ในใบลาจะต้องมีคารับรองพร้อมลายเซ็น ผปู้ กครอง ๓. ใบลาใหใ้ ช้แบบใบลาของโรงเรยี นเท่านัน้ (ดูในค่มู ือนกั เรียน) ๔. การขออนุญาตออกไปนอกบริเวณโรงเรียน ๔.๑ ขออนญุ าตทางโทรศพั ท์ โรงเรยี นไมอ่ นญุ าต ๔.๒ ขออนุญาตได้ที่ฝ่ายปกครองของโรงเรียน โดยผ่านขั้นตอนตามท่ีระบุในใบขอ อนุญาต ๔.๓ นักเรียนนาใบอนุญาตติดตัวไปด้วยระหว่างที่ออกนอกบริเวณโรงเรียน และคืน บตั รเมอ่ื กลับเขา้ มาในโรงเรยี น ๔.๔ นกั เรยี นทีป่ ่วยกะทันหัน ให้อาจารย์พยาบาลอนุญาตกลบั ได้ การมาสาย มาโรงเรยี นช้าหรอื มาโรงเรียนสายกว่าที่กาหนดคือ หลังเคารพธงชาติ ตอ้ งปฏิบัตดิ งั นี้ 1. มีหลกั ฐานรบั รองหรอื หรือเหตุผลทีน่ า่ เชอ่ื ถือ แสดงตอ่ อาจารยเ์ วร เพื่อเข้าโรงเรียน 2. กรณนี ักเรียนมาโรงเรียนสาย และไม่มีหลักฐานรับรองจากผู้ปกครองจะมีความผิด และ ได้รบั โทษอย่างใดอย่างหนึง่ มาตรา 29 การลงโทษนักเรยี นให้เป็นไปตามระเบยี บโรงเรยี นซึง่ กระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย การลงโทษนักเรียนและนักศกึ ษา พ.ศ.2554 มี 5 สถาน 1. วา่ กลา่ วตกั เตอื น 2. ทาทณั ฑบ์ น 3. ตดั คะแนนความประพฤติ 4. ทากจิ กรรมปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรม 5. กรณีเป็นความผิดท่ีร้ายแรงที่อาจก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยต่อผู้อื่นและส่วนรวม โรงเรียนจะพจิ ารณาแกไ้ ขปัญหาของนกั เรียนตามขั้นตอนของระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน หรือตามท่ี โรงเรยี นกาหนด - 31 -

๓๒ หมวดที่ 6 คณะกรรมการสถานศึกษาศกึ ษาข้ันพื้นฐาน มาตรา 30 คณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน มีองคป์ ระกอบ ดังนี้ ๑. ประธานกรรมการ (มาจากกรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ) ๒. กรรมการทเี่ ปน็ ผู้แทนผ้ปู กครอง ๓. กรรมการท่เี ปน็ ผูแ้ ทนครู ๔. กรรมการทเ่ี ปน็ ผแู้ ทนองค์กรชมุ ชน ๕ กรรมการท่เี ป็นตวั แทนองค์กรปกครองสว่ นท้องถนิ่ ๖. กรรมการที่เปน็ ผู้แทนศษิ ยเ์ ก่า ๗. กรรมการท่เี ปน็ ผแู้ ทนพระภกิ ษุสงฆ์หรอื ผแู้ ทนองคก์ รศาสนาในพ้นื ท่ี ๘. กรรมการผู้ทรงคุณวฒุ ิ ๙. ผูอ้ านวยการสถานศึกษาเป็นกรรมการและเลขานุการ มาตรา 31 คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน มีบทบาทหนา้ ท่ี ดงั ต่อไปนี้ ๑. ให้ความเห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษาและให้ข้อเสนอแนะในการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานและความต้องการของผู้เรียน ชมุ ชนและทอ้ งถิ่น ๒. ให้ข้อเสนอแนะและส่งเสริมสนับสนุนในการจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม กระบวนการ เรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ ภมู ปิ ัญญาท้องถ่นิ ฯลฯ เพ่อื การปรบั ปรุงและพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง ๓. ให้ความคิดเห็นเก่ียวกับการบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษาในสถานศึกษาต่อผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ๔. ให้ความเห็นชอบแผนปฏิบัติการประจาปีและให้ข้อเสนอแนะเก่ียวกับการจัดตั้งและการ ใชง้ บประมาณของสถานศึกษา ๕. ให้ความเห็นชอบ และเสนอแนะในการออกระเบียบข้อบังคับ ประกาศและแนวปฏิบัติ เกี่ยวกับการบริหารการเงินและการจัดหารายได้จากทรัพย์สินของสถานศึกษาหรือปฏิบัติหน้าที่อ่ืน เก่ียวกับเรอ่ื งนต้ี ามทก่ี ฎหมาย ระเบียบประกาศ ฯลฯ กาหนด ๖. ให้ความเห็นชอบ ข้อเสนอแนะและให้คาปรึกษาในการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาของ สถานศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบายและแผนของกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน เขตพน้ื ที่การศึกษา ชุมชนและท้องถิ่น ๗. ให้ความเห็นชอบ เสนอแนะและให้คาปรึกษา สนับสนุนเก่ียวกับการระดมทรัพยากรเพ่ือ การศึกษาท่ีมีคุณภาพรวมทั้งปกครองดูแลบารุงรักษา และจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของ สถานศกึ ษาตามทีก่ ฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนด ๘ ปฏิบัติหน้าท่ีอ่ืนเกี่ยวกับกิจการของสถานศึกษาตามท่ีกฎหมาย ระเบียบ ประกาศ ฯลฯ กาหนดใหเ้ ป็นอานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ๙. ปฏิบัติหน้าที่อ่นื ๆ ตามท่ีได้รับมอบหมายจากหน่วยงานตน้ สงั กดั - 32 -

๓๓ หมวดที่ ๗ วัฒนธรรมโรงเรียนเนินมะปรางศกึ ษาวทิ ยา มาตรา 32 โรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยาเป็นโรงเรียนประจาอาเภอท่ีมีรูปแบบการบริหารเป็น องคค์ ณะ เพอ่ื ให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถทั้งด้านวิชาการ กีฬา และดนตรี มีคุณธรรมจริยธรรม กตัญญูกตเวทีต่อบิดามารดา เคารพผู้อาวุโส รู้รักสามัคคีและเสียสละในหมู่คณะ รัก ชาติ ศาสนา และพระมหากษตั รยิ ์ พร้อมรบั ใชช้ าตบิ า้ นเมือง โดยผา่ นกิจกรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. กจิ กรรมวันสาคัญของชาติ ศาสนา และพระมหากษตั ริย์ ไดแ้ ก่ 1.1 วนั คล้ายวันพระราชสมภพ (พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวและสมเดจ็ พระราชนิ ี) ๑.๒ วนั คลา้ ยวนั สวรรคตพระสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชบรมนาถ บพิตร ๑.๓ วันปยิ มหาราช ๑.๔ วันพ่อแห่งชาติ ๑.๕ วันแมแ่ หง่ ชาติ ๑.๖ วันเดก็ แหง่ ชาติ ๑.๗ วนั สาคญั ทางพระพุทธศาสนา 2. วันสาคญั ของโรงเรียน ไดแ้ ก่ ๒.1 วนั สถาปนาโรงเรียน ๒.๒ กิจกรรมบวงสรวงสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ๒.๓ วันไหว้ครู ๒.๔ กิจกรรมแขง่ ขันกีฬาคณะสี ๒.๕ วนั สาคัญตามกจิ กรรมของกลมุ่ สาระการเรยี นรู้และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รยี น ๒.๖ วันเกษยี ณอายุราชการของข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา ๒.๗ วันเกียรตยิ ศนักเรียน - วันประดับเข็มสภานกั เรียน - วนั ปัจฉิมนิเทศ - 33 -

๓๔ หมวดที่ 8 การประกาศใชธ้ รรมนญู โรงเรียน มาตรา 33 ให้โรงเรียนจัดพิมพ์ต้นฉบับธรรมนูญโรงเรียนเนินมะปรางศึกษาวิทยาอย่างน้อย จานวน ๕ ฉบับ มีข้อความถูกต้องตรงกัน เพื่อเป็นเอกสารหลักฐานแห่งธรรมนูญโรงเรียนนี้ รวมถึงหากมีการ แก้ไขเพ่ิมเติมธรรมนูญโรงเรียนน้ีในภายหลัง ให้จัดพิมพ์ข้อความการแก้ไขเพ่ิมเติมธรรมนูญโรงเรียน ข้นึ ใหมต่ า่ งหาก หรอื การแกไ้ ขเพม่ิ เติมข้อความจากธรรมนูญฉบับเดิมแล้วจัดพิมพ์ขึ้นใหม่ท้ังฉบับ โดย ให้กาหนดว่าเปน็ ฉบับแก้ไขเพมิ่ เติมพทุ ธศักราช มาตรา ๓4 ให้เป็นหน้าที่ของกลุ่มบริหารบุคคล มีหน้าท่ีเผยแพร่ธรรมนูญโรงเรียนให้กับครูและ บุคลากรทางการศึกษาท่ีบรรจุหรือย้ายมาใหม่ นักเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน และบุคคลท่ีเก่ียวข้อง ผ่านทางหนังสือสิ่งพิมพ์ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ (E-book) หรือ การนเิ ทศโดยตรง ตามความเหมาะสม มาตรา ๓5 ให้โรงเรียนโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ประกาศใช้ ธรรมนญู โรงเรยี น รวมถงึ หากมกี ารแก้ไขเพม่ิ เติมธรรมนูญโรงเรียนซึ่งอาจมีข้ึนในภายหลัง โดยให้มีผล ต้ังแต่วันที่ประกาศใช้เป็นธรรมนูญโรงเรียน และให้โรงเรียนประกาศเป็นท่ีทราบโดยทั่วกัน - 34 -

- 35 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook