Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรฐานสมรรถนะ

หลักสูตรฐานสมรรถนะ

Description: หลักสูตรฐานสมรรถนะ

Search

Read the Text Version

1 Newsletter: January 2009 ความรูเกี่ยวกบั หลักสูตรฐานสมรรถนะและการประเมนิ ผล (Competency-Based Curriculum and Assessment) โดย สุจติ รา ปทุมลงั การ ศกึ ษานิเทศกชํานาญพิเศษ สํานักมาตรฐานการอาชวี ศึกษาและวชิ าชีพ แนวคดิ หลกั สตู รฐานสมรรถนะ (Competency-Based Approach) สมรรถนะ (Competence) หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติ (Performance) ภายใตเง่ือนไข (Condition) โดยใชเคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณท่ีระบุไว ใหไดมาตรฐาน (Standard) ตามเกณฑการปฏิบัติ (Performance Criteria) และมีหลักฐานการปฏิบัติ (Evidence) ใหป ระเมนิ ผลและตรวจสอบได หลักสูตรฐานสมรรถนะ จึง ยึดความสามารถ ของผูเรียนเปนหลัก การออกแบบหลักสูตรตามแนวคิดนี้จะ มกี ารกําหนดเกณฑค วามสามารถท่ีผูเรียนพึงปฏบิ ัติ ไดหลกั สูตรทเ่ี รียกวา หลักสตู รเกณฑความสามารถ จัดทําข้ึนเพ่ือ ประกันวา ผทู จี่ บการศึกษาระดับหนง่ึ ๆ จะมีทักษะและความสามารถในดานตางๆ ตามท่ีตองการ เปนหลักสูตรท่ีไมได มุงเรื่องความรูหรือเนื้อหาวิชาที่อาจมีความเปลี่ยนแปลงไดตามกาลเวลา แตจะมุงพัฒนาในดานทักษะ ความสามารถ เจตคติและคานิยม อันจะมีประโยชนตอชีวิตประจําวันและอนาคตของผูเรียนในอนาคต หลักสูตรน้ีมีโครงสรางแสดงให เห็นถึงเกณฑความสามารถในดานตาง ๆ ท่ีตองการใหผูเรียนปฏิบัติในแตละระดับการศึกษา และในแตละระดับช้ัน ทักษะและความสามารถจะถูกกําหนดใหมีความตอเนื่องกัน โดยใชทักษะและความสามารถที่มีในแตละระดับเปนฐาน สาํ หรบั เพ่มิ พนู ทกั ษะและความสามารถในระดับตอ ไป (ศ.ดร.ดาํ รง บัวศร:ี 2535) ที่มาของหลักสตู รฐานสมรรถนะ หลักสูตรฐานสมรรถนะ เริ่มใชมาตั้งแตป 1970 ในประเทศสหรัฐอเมริกา นิยมใชในการจัดหลักสูตรการ ฝกอบรม (Competency-based Training) เชน สหรัฐอเมริกา คานาดา อังกฤษ เกาหลี ออสเตรเลีย เพื่อควบคุม คุณภาพของบุคลากรในอาชีพตาง ๆ เพ่ือเพ่ิมการแขงขันกับนานาชาติ เชน ประเทศออสเตรเลียมี The National Training Board เปนผูกําหนดมาตรฐานสมรรถนะระดับชาติ ( National Competency Standards) ใหนโยบาย และ แนวทางการการดําเนนิ งานฝก อบรม โดยคาดหวงั ส่ิงทีผ่ ูเขาอบรมจะสามารถปฏิบัติ (Performance) ไดเม่ือจบหลักสูตร เชน การฝกอบรมดานภาษาอังกฤษเกี่ยวกับอาชีพตาง ๆ เชน ดานอาหาร การโรงแรม ทองเที่ยว ของ TAFE ประเทศออสเตรเลีย ก็จัดการฝกอบรมแบบ Competency Based Training in English Language Teaching และได ปรบั ปรุงพัฒนา มาตรฐานสมรรถนะของอาชีพตา ง ๆ จนถึงปจจบุ นั รวมถึงการเทียบความรูและประสบการณ ดงั ขอ มลู การสืบคน จาก www.google.com 1. RPL in Australian Vocational Education and Training: what do we ... รปู แบบไฟล: PDF/Adobe Acrobat - แสดงเปนแบบ HTML National Competency Standards: Policy and Guidelines. Canberra, National Training Board: 72. NTB (1992). Policy and Guidelines: second edition. ... www.avetra.org.au/AVETRA%20WORK%2011.04.08/CS3.1%20-%20Helen%20Smith.pdf - 2. EE-OZ electrician; electrical; electricity; gas; generation ... High Risk Work Licensing Units of Competency · National Workshops - 2008 ... In relation to EE-Oz Training Standards the ElectroComms and EnergyUtilities ... www.ee-oz.com.au/ - 34k - หนาที่ถูกเกบ็ ไว - หนาท่คี ลายกัน 3. National competency standards : policy and guidelines / National ... Available in the National Library of Australia collection. Author: National Training Board (Australia); Format: Book; 36 p. : ill. ;

2 ปจจุบันสถาบันการศึกษาตาง ๆ ในหลายประเทศ ไดนําแนวทางการฝกอบรมแบบฐานสมรรถนะ (Competency Based Training) มาใชกับการจัดหลักสูตรการศึกษาระดับตาง ๆ เปนหลักสูตรฐานสมรรถนะ (Competency Based Curriculum) ซึ่งเปนที่ยอมรับจากผูกําหนดนโยบาย และ ผูนําดานหลักสูตรของประเทศตาง ๆ อยางกวา งขวาง ขอดขี องการจดั หลักสตู รการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ • กําหนดผลการเรียนรูอยางชัดเจน วาผูเรียนสามารถทําอะไรไดเม่ือจบหลักสูตร (Course Outcomes /Performance Outcomes) • ใชม าตรฐานสมรรถนะเปนกรอบในการพัฒนาหลักสูตร กําหนดเนื้อหา วางแผนการจัดการเรียนการสอนและ การประเมินผล ทําใหการเรยี นการสอนเช่ือมโยงกบั การประเมินผล และการรับรองคณุ วฒุ ิ • มเี กณฑก ารปฏบิ ัติ (Performance Criteria) เพอ่ื ใชในการประเมินผลผเู รียนที่แนนอน กรอบมาตรฐานสมรรถนะ (Competency Standards) มาตรฐานสมรรถนะ เปนขอ กําหนดความรู และทักษะ และนําความรูและทักษะนั้น ๆ ไปประยุกตใชในการ ทํางาน โดยปฏิบัติงานใหไดตามมาตรฐานท่ีกําหนด (Competency Standards reflect the specification of the knowledge and skill and the application of that knowledge and skill to the standard of performance required in employment) การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนในหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะ จึงมีกรอบมาตรฐานสมรรถนะ เปน ตวั กําหนดความรู และ ทกั ษะ ทคี่ าดหวงั วา ผเู รยี นจะสามารถปฏิบัติภาระงาน / กิจกรรมตาง ๆ ไดเมื่อเรียนจบหลักสูตร และสามารถวดั และประเมนิ ผลไดตามเกณฑก ารปฏิบตั ทิ ี่กาํ หนด องคป ระกอบของมาตรฐานสมรรถนะ ในการปฏิบตั ิงานในอาชีพ จะกาํ หนดสมรรถนะท่ีคาดหวังวาผูเรยี นจะสมารถปฏบิ ตั ิได ประกอบดว ย • หนวยสมรรถนะ (Unit of Competence / Competency) เปนขอบขายกวาง ๆ (Broad Area) ของงาน (Job) ใน อาชพี หนึง่ ๆ ทผ่ี เู รยี นตองปฏบิ ตั ิ โดยใชความรูแ ละทักษะ หรอื อาจรวมถึงเจคติ • สมรรถนะยอ ย (Element of Competence) เปนภาระงานยอ ย(Task) ทป่ี ระกอบข้นึ ภายใตงานในหนวย สมรรถนะนนั้ ๆ • เกณฑก ารปฏบิ ัติ (Performance Criteria) เปนกิจกรรมยอย ๆ (sub-task) ภายใตสมรรถนะยอ ย ซ่งึ เปน ผลการเรียนรู (Learning Outcomes) ทค่ี าดหวังวา ผเู รยี นจะสามารถปฏิบัตไิ ดเมือ่ เรียนจบหลกั สตู ร • เง่อื นไข/ขอบเขตการปฏิบตั ิ (Conditions /Range of Variables) การปฏิบัตภิ ายใตเ งือ่ นไขทก่ี ําหนด อาจ รวมถึง วัสดุ (Materials) เคร่อื งมือ (Tools) หรือ อุปกรณต าง ๆ (Equipment) ที่กําหนดให (หรือไมใหใช) เพ่อื ใหก าร ปฏิบตั ิงานน้ันสําเร็จ

3 เม่ือไดก รอบมาตรฐานสมรรถนะแลว การจดั หลกั สตู รการเรียนการสอน การกําหนดเน้ือหา และกิจกรรมการ เรียนการสอน จะสรางขึ้นภายใตกรอบมาตรฐานสมรรถนะที่กําหนด และจะเชื่อมโยงกับการวัดและประเมินผล ซึ่งอาจ เรยี กวา การทดสอบวัดตามสมรรถนะ (Competency Test) ลกั ษณะเฉพาะของภาระงาน (Task Characteristics) การวเิ คราะหหนาที่ใน 1 งาน/หนว ยสมรรถนะ (Unit of Competency) จะมอี งคป ระกอบ 3 ดา น คือ ความรู ทกั ษะ และ/หรือ เจตคติ และมีภาระงานยอ ย (Element of Competency) ทก่ี าํ หนดใหป ฏิบัติ เปนจดุ ประสงคข องการ ปฏบิ ัตงิ าน (Performance Objective) ดงั ตวั อยา ง งานการประกอบอาหาร (Cookery) จะมีภาระงาน และ ภาระงานยอ ย ๆ ตองสามารถปฏิบตั อิ ะไรไดบ าง Job: Cookery - Western Cuisine (การประกอบอาหารตะวนั ตก) 1. Unit of Competency: Use Basic Methods of Cookery (Duty) ใชว ิธกี ารประกอบอาหารเบอ้ื งตน 2. Element of Competency: Select, use cooking equipment (เลอื กและใชอุปกรณก ารทําอาหาร) (Task) 3. Performance Criteria: 1. Appropriate equipment is selected and used correctly for particular (sub-task) cooking methods (เลอื กอุปกรณอยางเหมาะสมและใชอ ยางถกู ตองกบั วิธกี ารประกอบอาหารแตละชนิด) 2. Equipment is used hygienically in accordance to manufacturer’s instructions. (ใชอ ปุ กรณอ ยางถกู สุขอนามัยตามขอ แนะนาํ ของผผู ลิต) Range of Variables (เง่อื นไข/ขอบเขตการปฏิบตั )ิ • อุปกรณอ าจรวม แตไมจํากดั แคอุปกรณต อไปน้ี 1. เตาอบ เครอ่ื งปงยาง กระทะ ท่ีใชแ กส หรอื ไฟฟา 2. เคร่ืองปน เครือ่ งผสม เคร่ืองห่ัน • วธิ ีการทาํ อาหารอาจรวมแตไ มจํากัดแคว ิธีตอ ไปนี้ การตม อบ น่ึง ตุน เค่ยี ว ปง ยา ง ทอด เกณฑการปฏิบัติ (Performance Criteria) คือผลการเรียนรู ซึ่งคาดหวังใหผูรับการอบรม หรือ ผูเรียน สามารถทําไดเม่ือเรียนจบหนวยนี้ ดังน้ัน การวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในหนวยสมรรถนะนี้ ตอง กําหนดจุดประสงคการปฏิบัติ (Performance Objective) หรือ จุดประสงคการเรียนรู โดยใหความรูและการฝกปฏิบัติ เพ่ือใหผูเรียนเกิดทักษะ สามารถปฏิบัติงานไดตามเกณฑท่ีกําหนด และการประเมินผลตองสอดคลองกับเกณฑการ ปฏิบัติ จึงจะเกิดการเรียนการสอนและการประเมินผลแบบฐานสมรรถนะ เพราะใชสมรรถนะเปนตัวกําหนดตั้งแต การ จดั การเรียนการสอนจนถึงการประเมินผล ซึ่ง การประเมนิ ผล สามารถใชรปู แบบท่หี ลากหลาย ไดแก การสังเกต (Observation) การสาธติ และต้ังคําถาม (Demonstration and questioning) แบบทดสอบและขอสอบอัตนัย (Pen and Paper Test and essays) ซ่ึงใชประเมินดานความรู การสอบปากเปลา (Oral Test) การทําโครงงาน (Projects) สถานการณจําลอง (Simulations) แฟมผลงาน (Portfolios) การประเมินผลโดยการใชคอมพิวเตอร (Computer-based assessment) ใชโปรแกรมสาํ เรจ็ รปู เปน เคร่อื งมอื ในการสรางแบบทดสอบและบันทกึ ผลได

4 จากตัวอยางที่แสดงขางตน จะเห็นไดวา หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย เกณฑการประปฏิบัติ การ วางแผนกิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล มีความสัมพันธสอดคลองกันอยางตอเน่ือง จึงเรียกการจัด หลักสูตรฝกอบรม ท่ีนํามาประยุกตในการจัดหลักสูตรการศึกษาในสถาบันตาง ๆ ท่ียึดความสามารถ (สมรรถนะ) ใน การปฏิบัตขิ องผูเรียนเปนหลกั วา หลักสตู รฐานสมรรถนะ ลักษณะของการจัดการเรียนการสอนแบบฐานสมรรถนะ แบบฐานสมรรถนะ แบบดง้ั เดิม กาํ หนดผลการเรยี นรู (Learning Outcomes /Course การเรียนการสอนยึดตาํ ราเรียนเปน หลัก หรือ สอื่ Outcomes) หรอื เรียกวา สมรรถนะ หรอื ภาระงาน ตา ง ๆ เพื่อนํามากําหนดเปน เนื้อหารายวิชา ซึ่งอาจ (Competencies or Tasks) อยางชดั เจน ซึง่ สมรรถนะที่ ไมเ ก่ียวขอ งกบั อาชพี ผูเรยี นไมทราบชดั เจนวาตอ งทาํ กาํ หนดขึ้นเปน ส่งิ จาํ เปนกบั การศึกษาและการปฏิบตั งิ าน อะไรไดเ มอ่ื จบหลักสูตร ผูสอนยึดเนื้อหาตามตาํ รา ในอาชีพตา ง ๆ ท่คี าดหวงั วาผูเ รียนจะสามารถปฏบิ ัตไิ ด เรียน บทตอบท หรอื หนวยตอ หนวย เมอื่ จบหลักสูตร ผูสอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตาม สมรรถนะทกี่ าํ หนด จัดกิจกรรมการเรยี นทีเ่ นนผูเรียนเปนสาํ คญั เลือกใชส ื่อท่ี การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเปนไปตามทผี่ ูส อน หลากหลาย และอุปกรณที่จะชว ยใหผ เู รยี นปฏบิ ัตภิ าระ กาํ หนด ผสู อนเปนผสู าธิต บรรยาย (Instructor- งาน (task-oriented activities) ได สําเร็จตามสมรรถนะท่ี centred learning activities) ผเู รียนไดรับขอมูล กาํ หนด เนน กระบวนการเรียนรู ใหข อมูลยอ นกลบั ยอนกลับนอ ย (Feedback) แกผ เู รยี นเปนระยะ เพ่ือใหผ ูเรียนไดป รับปรงุ แกไ ขการปฏิบตั ิงานใหไดต ามเกณฑ ใหเวลาผเู รียนแตละคนเพียงพอทีจ่ ะปฏบิ ัตภิ าระงานหน่ึงๆ ใหเวลาผเู รียนทุกคน ภายในเวลาท่กี าํ หนดเทากนั และ ใหส ําเรจ็ กอนท่ีจะไปสภู าระงานตอไป เรยี นบทเรียนตอไปพรอมกนั ซง่ึ อาจมากไป หรอื นอย ไปสาํ หรับผเู รียนแตล ะคนทมี่ ีศักยภาพแตกตา งกัน ใหผูเรยี นแตละคนปฏิบัตภิ าระงานใหสาํ เรจ็ ตามเกณฑการ ใชขอ สอบวัดผลแบบอิงกลุม (Norm referenced) โดย ปฏบิ ตั ิงานทกี่ ําหนด ใชก ารวดั ผลแบบอิงเกณฑ (Criterion การเปรยี บเทียบผลการปฏิบัติกบั ผูเรียนในกลุม referenced) ในการประเมินผลความสําเรจ็ ของผูเรยี น แตล ะคน การฝกอบรม และจัดการเรยี นการสอนแบบฐานสมรรถนะ เนนผูเรียนเปน สําคัญ (Learner- centeredness) เชื่อมโยงความรูและประสบการณเ ดิมของผเู รียนกับความรแู ละประสบการณใหม สง เสริม สนับสนุนใหผ เู รยี น ไดฝก กิจกรรมในสถานการณจรงิ มที ักษะการคิด และแกปญ หา และบรู ณาการกบั การทํางานในสาขาอาชีพตาง ๆ ดงั แผนภาพ

การสอนตามแนวคดิ แบบดง้ั ดิม (Traditional Approach) 5 และแบบฐานสมรรถนะ (Competency-based Approach) Competency-based Approach กจิ กรรม Traditional Approach ผูเรยี นเชื่อมโยงความรูและ กอ นเรยี น ประสบการณท่ีมมี าใช ผูเ รียนไมต องเช่ือมโยง ประสบการณและความรูทมี่ ี ผูสอนใหค วามรแู ละประสบการณท่ี เชือ่ มโยงกับความคดิ และคา นิยม ผูสอนเปนผูจัดการประสบการณ และความรู ของผเู รียน กจิ กรรม ผูสอนใหป ระสบการณและ ผเู รียนไดรบั ความรแู ละประสบการณใ หม ระหวางเรียน ความรตู อผูเรียน แลวนาํ มาเชือ่ มโยงกบั ความรแู ละ ประสบการณเดิม ผูเรยี นฟงและดูการนําเสนอ ผเู รยี นกล่ันกลองความรูแ ละคา นิยม ท่ไี ดรับใหม ผเู รียนทดลองใชค วามรูและ ประสบการณที่ไดร ับใหมท้งั ใน สถานการณจ าํ ลองและชีวิตจริง กิจกรรม ผเู รยี นทดลองความรู และ ผูเ รยี นใชความรูและประสบการณ หลงั เรียน ประสบการณใหมใ นชีวติ จริง ใหมเ พอื่ เปน พนื้ ฐานในการเรียนและ หาความรูและประสบการณต อไป หลงั จากเรยี นจบแลว ผูเรียนประยุกตความรแู ละ นาํ ไปใชใ นชีวติ จรงิ

6 กลวิธีการจัดเรียนการสอน (Delivery Strategies) มหี ลากหลายวิธี ไดแ ก • ใชส อื่ ประเภท Audio-Visual Materials • การระดมสมอง (Brainstorming) • กรณศี กึ ษา (Case Study) • ประสบการณทํางานรว มกนั (Cooperative work Experience) • การสาธติ (Demonstration) • การอภิปราย (Discussion) • การฝก ซ้าํ ๆ (Drill) • ศึกษานอกสถานท่ี (Field Trip) • กิจกรรมกลุม (Group Work) • เชญิ วทิ ยากรมาบรรยาย (Guest Speaker) • ชุดการเรียน (Modules/learning Packages) • การบรรยาย (Lecture) • หองปฏิบตั ิการแบบเปด (Open Lab Sequences) • จัดอภิปรายโดยผชู าญการเฉพาะดาน (Panel Discussions) • โครงงาน (Projects), เอกสารจากองคกร บริษทั (Enterprise Papers), ผลงานตน แบบ (Prototypes), โรง งานวจิ ยั (Research Projects), แบบจาํ ลองตาง ๆ (Models) • การถาม – ตอบ (Questions and Answers) • การทบทวน/ ทาํ กจิ กรรมเพมิ่ เติม (Review/ Reinforcement) • บทบาทสมมตุ ิ (Role Playing) • เกมสถานการณจาํ ลองSimulation Games • Text or Reference Assessment คาํ ศัพททค่ี วรรแู ละเกย่ี วขอ งกบั การจดั หลักสตู รฐานสมรรถนะ ดังที่กลาวมาแลววา การจัดหลักสูตรฐานสมรรถนะเนน การปฏิบัติ (Performance) ของผูเรียนเปนสําคัญ การจัดหลักสูตรตามแนวคิดนี้ จึงมักพบคําศัพทท่ีใชแตกตางไปจากหลักสูตรเดิม (แตมีเปาหมายปลายทางเดียวกัน คือ ผูเรยี นสามารถทําอะไรไดเ มื่อเรยี นจบหลักสตู ร) ซง่ึ ควรมีความรแู ละทาํ ความเขาใจความหมายดงั น้ี • Performance Outcomes (Elements of Competency) หมายถึง เปนผลการปฏิบัติท่ีคาดหวังวาผูเรียนจะ มีความรูและสามารถปฏิบัติได เชนเดยี วกับ ผลการเรียนรูทคี่ าดหวัง • Performance Standards (Performance Criteria) หมายถึง เกณฑการปฏิบัติ หรือ ตัวช้ีวัดการปฏิบัติ (Performance Indicators) เพ่ือใหแนใจวาผูเรียนมีความสามารถ/สมรรถนะตามที่กําหนดเมื่อเรียนจบ หลกั สตู ร • Performance Conditions หมายถงึ ส่ิงท่ีจะจดั หรือไมจ ดั ใหก ับผูเ รยี น / ผูฝ กอบรม ไดแก เคร่ืองมือ วัสดุ อปุ กรณ ฯ สาํ หรับใชใ นการประเมินการปฏิบัติ (Performance Assessment)

7 • Performance Objective หมายถึง จุดประสงคก ารปฏิบัติ ระบสุ ่ิงทผี่ เู รยี นตอ งปฏิบัตอิ ยา งชัดเจน วา ผูเรยี น ตอ งรูแ ละทาํ อะไร (what trainee is expected to know and to do.) • Performance Based Assessment หมายถงึ “ผเู รยี นถกู คาดหวงั วงั วาจะสามารถทําอะไรไดบา ง เม่ือ เรยี นจบหลกั สตู ร เพ่อื วัดสมรรถนะ (Competencies) ของผเู รยี น และตองแสดง หลกั ฐาน (Evidence) การปฏิบัติ และอาจรวมหลกั ฐานดา นความรูไวด วย ซึ่งแตกตา งจากการประเมินแบบเดมิ (Traditional Assessment) มกั ใชการ สอบปลายภาค (Final Examination) คิดคะแนนเปน รอ ยละ เพอ่ื กาํ หนดเกณฑการผา น หรอื อาจมีการตดั สนิ แบบใช กลมุ เปนเกณฑการตดั สนิ เพือ่ ตดั สนิ วาผเู รยี นทําไดด ีเพยี งใด นอกจากนนั้ มาตรฐานสมรรถนะ จงึ กาํ หนดท้ังความรูและทกั ษะ และหรือ เจตคติ ทีจ่ ําเปน ตองมีในการ ปฏิบตั งิ านหนงึ่ ๆ และยังมกี ารกําหนดระดบั ของการปฏิบตั ิ (Level of Performance) ท่ตี อ งการในขอบเขตเฉพาะ ของงานในแวดวงอตุ สาหกรรมไวด วย นอกจากคําท่กี ลา วขา งตนแลว ยังมีคําศัพทท่ีเกย่ี วขอ งและใชอางองิ ไดในความหมายของคําตอไปน้ี • Element of Competency - Training/Learning Objectives จดุ ประสงคก ารเรยี นรู - Training/Learning Outcomes ผลการเรียนรู - Performance Objectives จุดประสงคการปฏิบัติ - Task Statements ขอกําหนดภาระงาน - Terminal Performance Objectives จุดประสงคเชงิ การปฏบิ ตั ิปลายทาง (กฤตกิ รรมปลายทาง) อีกนยั หนึ่ง คอื สมรรถนะยอยเปน ตัวกําหนด จดุ ประสงคก ารเรียนรู ผลการเรยี นรู ขอกําหนดภาระงาน จดุ ประสงค การปฏิบตั ิ รวมถึงจุดประสงคปลาย • Performance Criteria - Sub task ภาระงานยอย ๆ - Assessment Criteria เกณฑการประเมนิ - Performance Indicators ตัวชวี้ ดั การปฏบิ ตั ิ อกี นัยหน่งึ คอื Performance Criteria กําหนดภาระงานยอ ย ๆ ท่ีใชเ ปนตัวชวี้ ัดการปฏบิ ตั ิ และ นาํ ไปใชเปน เคร่ืองมอื ประเมินผลวาผเู รียนสามารถทําไดอ ยใู นเกณฑการปฏิบตั ิในระดับใด • Conditions เงื่อนไข หมายถงึ การปฏบิ ตั ิภายใตเง่ือนไขท่ีกาํ หนด ซงึ่ อาจประกอบดว ย วัสดุ (Materials) เครอ่ื งมอื (Tools) หรือ อุปกรณตา ง ๆ (Equipment) เนอ่ื งจากในการปฏบิ ัติงานดานอาชพี ตา ง ๆ ตองมขี อบเขต (Range of Variables) ใหผปู ฏบิ ัตภิ ายใตเ ง่ือนไขทก่ี าํ หนด เพื่อใหการปฏบิ ัติงานน้นั สําเร็จลง ตวั อยา งของเงื่อนไข ไดแก • ในโรงฝก (in the workshop) • ในอาคารหลายช้นั (in a multi-storey building) • ในชน้ั เรียน (in the classroom) • ในบรรยากาศของสาํ นักงาน (in an office environment) • ในธุรกจิ จัดเลยี้ งอาหารและเคร่ืองดื่ม (in a catering industry) • ใชเ คร่ืองยนตข องยานพาหนะทจ่ี ดั ให (given a vehicle with an operable engine) • ใชม อดูลและตําราเรียนที่จัดให (given a module book and relevant text books) • หลงั จากเรยี นมอดูลที่ 1.2.3 (after completing module 1.2.3) • โดยไมใชเ ครื่องคิดเลข (without using a calculator) เปนตน

8 คําทคี่ วรใชแ ละหลีกเล่ียงในการเขียน Performance Objective เม่ือ Performance ระบุสง่ิ ท่คี าดหวังใหผ เู รียนมคี วามสามารถในการปฏบิ ัตภิ าระงานหนึ่ง ๆ การเขียน จุดประสงคใ นการปฏบิ ัตติ องสามารถวดั และสังเกตได (Performance states what the trainee is expected to be able to do upon completion of training. Performance must be observable and measurable) เชน หลีกเล่ยี งใชค าํ กริยาหลักทวั่ ไป ใชคํากรยิ าทแ่ี สดงการปฏบิ ัตไิ ด (Avoid generalized verbs) (Use action verbs) - พัฒนา (to develop) - เอาขอมูล…ออกมา( to retrieve) - เขา ใจ (to understand) - เลือก (to select) - เรียนรู (to learn) - วาด (to draw) - วิเคราะห (to analyse) - พูด (to say) - ทดสอบ (to test) - บอก (to state) - คนพบ (to discover) - ตดิ ปา ย (to label) - คิด (to think) - ตรวจสอบ(to check) - ตีความ (to interpret) - ถาม(to ask) - แกป ญ หา (to solve) - เขยี นขอมลู สําคญั (to fill out) - ตดั สินใจ (to determine) - ยาย (to move) - สรุป (to conclude) - วาง (to place) - อนุมาน (to infer) - ซอม (to fix) - สนุกสนาน เพลดิ เพลนิ (to enjoy) - ติดต้งั (to install ) - ฉวย ควา (to grasp) - เรียกชอ่ื (to name) - ทําขอ ตกลง (to deal with) - ทาํ เครื่องหมาย (to mark ) - พจิ ารณา (to consider) - เขียนรายการ (to list) - ปรบั (to adjust) - ตดั (to cut) - ทําลาย (to demolish - สง (to deliver) - สรา ง (to construct) - ซอม (to repair) - คาํ นวณ (to circulate) ตวั อยางการเขยี นจดุ ประสงคการปฏิบตั ิ ประกอบดว ย 1. ส่งิ ท่ีตองปฏบิ ัติ (the performance) 2. มาตรฐาน / เกณฑก ารปฏิบัติ (the Standard/Performance Criteria) 3. เง่อื นไข (the Conditions) เชน • นําไฟลทร่ี ะบุออกมาวางบนหนา จอ • เขียนรายการของกฎความปลอดภยั ในโรงฝก หัด • บรรยายทรงผมและเส้ือผา ทเ่ี หมาะสมกบั การทํางานในโรงฝกงานและเจตคตทิ ี่ดตี อความปลอดภัยในโรง ฝกงาน • อธิบายเหตผุ ลของการใชรองเทาบูทเพอ่ื ความปลอดภัย

9 การเขยี นมาตรฐาน หรอื เกณฑการปฏบิ ัติ มาตรฐาน หรือ เกณฑการปฏิบัติระบุเกณฑท่ีผูเรียนตองปฏิบัติเพ่ือใหงานน้ันเสร็จสมบูรณ ตัวอยางเกณฑท่ี กําหนดให ไดแก • ความเร็วท่ีตองการในการทาํ งานใหเ สร็จสมบูรณ • ความถูกตอ ง • จํานวนความผดิ พลาดสูงสุดทย่ี อมใหเ กดิ ขน้ึ ได • อางองิ เกณฑจากแหลง ท่กี าํ หนด ตัวอยางเชน • ………ไฟลต องปรากฏบนหนา จอภายใน 10 วนิ าที • ระบรุ ายการของกฎความปลอดภัยในโรงฝก หดั อยางถูกตอง 3 ใน 5 ขอหลัก • ………..พรอมสําหรับลูกคา ภายใน 2 ชัว่ โมง โดยจัดสงถึงโรงฝกงาน • …………. ตามขอ กําหนดของ Bosch จากตัวอยา งขางตน แสดงใหเหน็ วาการเขียนเกณฑก ารปฏบิ ัตใิ นหลักสูตรแบบฐานสมรรถนะ มคี วาม สอดคลอ งกับการเขียนจุดประสงคเชิงพฤติกรรมในหลักสูตรเดมิ การประเมินผลแบบฐานสมรรถนะ (Competency Based Assessment) การประเมนิ ผลเปนการรวบรวมหลกั ฐานผลการเรียนรู วาผเู รียนมคี วามกาวหนา ถึงเกณฑ หรอื ระดับที่ กําหนดในมาตรฐาน หรอื ตามผลการเรยี นรูท่กี ําหนดในหนว ยสมรรถนะ สมรรถนะยอย และตัวชี้วัด เพือ่ ตัดสินวา ผเู รียนสาํ เรจ็ ตามสมรรถนะทีก่ ําหนดหรอื ไม การประเมนิ ผลการจดั หลักสตู รแบบฐานสมรรถนะควรทาํ ควบคู (Built in) กับการเรยี นการสอน โดยวัดท้ังความรูและทักษะและการนาํ ไปประยุกตใช การประเมินผลแบบฐานสมรรถนะ ไมไดดีไปกวาหรือแตกตางไปจากวิธีการประเมินแบบเดิม (Traditional Assessment) หรอื แบบอนื่ ๆ เพยี งแตการเมนิ แบบฐานสมรรถนะใหความสําคญั กบั สมรรถนะที่กาํ หนด ในการฝกอบรมหรือศึกษาทางวิชาชีพ การประเมินผลที่เนนการปฏิบัติ (Performance Based Assessment) เนน ที่กระบวนการเรยี นรูและการปฏิบัติ ซึ่งมกั จะประเมินทักษะ 4 ดาน คอื 1. ทักษะตามภาระงาน (Task Skills) ความสามารถในการปฏิบตั ิภาระงานแตละชิ้น 2. ทักษะการจัดการ (Task Management Skills) ความสามารถในการจดั การกับภาระงาน และ กจิ กรรมทตี่ องปฏบิ ตั ภิ ายใตงานนัน้ ๆ 3. ทกั ษะในคาดการณอุปสรรคปญ หาท่อี าจเกิดขึ้น (Contingency Skills) การประเมินทักษะใชไ ดดีโดย กาํ หนดสถานการณจ าํ ลอง 4. ทกั ษะตามบทบาทและงานที่รบั ผิดชอบและสภาพแวดลอม (Job/Role Environment) รวมถงึ การ ทาํ งานรวมกบั ผูอ่นื วธิ กี ารประเมนิ ผลแบบฐานสมรรถนะ • เนน กระบวนการเรียนรู (Learning Process) และมกี ารประเมินใหค วามสาํ คัญกบั การประเมนิ แบบยอย (Formative Assessment) อยา ตอ เนื่อง เพื่อติดตามดูความกาวหนา วินิจฉยั จุดดอย จดุ เดนของผูเ รียน ใหขอมูล ยอ นกลับ และเปนการประเมนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของผสู อนไปดวย ในขณะเดียวกันตอ งมกี ารสอบสรปุ

10 การ (Summative Assessment) เพ่ือวัดและตัดสินกระบวนการเรียนรู(the end of learning process)ตอนเรียนจบ รายวิชา • ใชการองิ เกณฑ (Criterion Referenced) วัดความสําเร็จในการปฏบิ ัตขิ องผูเรียนเปน รายบคุ คลเพ่ือให ผูเรียนไดร บั การพฒั นา ใชศกั ยภาพตามความสามารถ โดยไมตองเปรียบเทียบกับผูอ น่ื และตัดสินแบบอิงกลุม • ประเมินสมรรถนะทีส่ าํ คญั (Crucial outcomes) กอนเพราะผลการเรยี นรู/ การปฏบิ ัตขิ องทุกสมรรถนะ มี ความสําคญั ไมเ ทากนั บางสมรรถนะอาจมคี วามสําคญั กวาอกี สมรรถนะหนึ่ง ทค่ี รผู ูสอนจาํ เปนตองต้ังขอจาํ กัดในการ เรยี นรแู ละการประเมนิ ผล • บรู ณาการสมรรถนะตา ง ๆ ท่ีเก่ียวขอ งเขาดวยกัน ไมป ระเมินแยกตามหนว ยสมรรถนะ หรือ หนว ย สมรรถนะยอย ออกจากกัน แมว า กรอบมาตรฐานสมรรถนะจะกาํ หนดแยกเปนหนว ยสมรรถนะ สมรรถนะยอย และตัว บงช้ี ไมไ ดห มายความวาผสู อนจะตองสอนหรือประเมินผลแยกแตละสมรรถนะ เพราะในการจัดเนื้อหาการสอนแตล ะ หนวยอาจตอ งเก่ียวของกับสมรรถนะตาง ๆ ที่มีความสมั พนั ธ เกี่ยวขอ งหรอื ตอเนือ่ งกัน • ใชว ิธกี ารประเมินทหี่ ลากหลาย ไดแก • การสังเกต (Observation), รายการประเมนิ (Checklist) • การสาธติ และตงั้ คําถาม (Demonstration and questioning) • แบบทดสอบและขอสอบอัตนัย (Pen and Paper Test and essays) ซ่ึงใชประเมินดา นความรู • การสอบปากเปลา (Oral Test) • การทําโครงงาน (Projects) • สถานการณจ าํ ลอง (Simulations) • แฟม ผลงาน (Portfolios) • การประเมินผลโดยการใชคอมพิวเตอร (Computer-based assessment) เปนเครื่องมือในการสราง แบบทดสอบและบันทกึ ผลได สรุป สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาไดกําหนดใหมีการจัดการเรียนการสอนทุกระดับใหเปนหลักสูตรฐาน สมรรถนะ และ สํานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพมีภาระหนาที่ใหการจัดทํา กรอบมาตรฐานสมรรถนะ ของประเภทวิชาตาง ๆ เพื่อใหสถานศึกษานําไปใชในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยจัดทําโครงสรางรายวิชา จัดการเรียนการสอน และการประเมินผลโดยยึดกรอบมาตรฐานสมรรถนะเปนหลัก เพ่ือใหผูเรียนมีความสามารถใน การปฏิบัติงานในอาชีพตาง ๆ ใหมีคุณภาพตามมาตรฐานที่กําหนด ดังนั้น ความรูความเขาใจเก่ียวกับหลักสูตรฐาน สมรรถนะ จะเปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะอยางมีประสิทธิภาพใหบรรลุตามเปาหมายของ สาํ นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา เอกสารอา งองิ ธาํ รง บัวศร.ี (2532). ทฤษฎหี ลกั สตู ร : การออกแบบและพัฒนา โรงพมิ พค ุรสุ ภา. The National Training Board. (1991). National Competency Standards: Policy and Guidelines. National Capital Printing, Fyshwick ACT,Australia. Competency Based Training. (1992). A Practical Guide for Frontline Trainers. National Centre for Competency Based Training. Australia. Baseline Information Sheet. Competency Based Assessment, National Centre for Competency Based Training. Australia. เอกสารอัดสําเนาใ

11


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook