ช้นิ งานที่ 1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ จดั ทาโดย นางสาวปนดั ดา พุดหอม ปวส.1 คอมพวิ เตอรธุรกจิ กลมุ่ ท่ี 1 เลขที่ 18 เสนอ นายทวศี กั ด์ิ หนูทิมงานชน้ิ นีเ้ ป็นสว่ นหนึ่งของวชิ าการประกอบเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษานครศรธี รรมราช
คอมพิวเตอร์ทางานอย่างเป็นระบบ(System) หมายถึงภายในระบบงานคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยท่ีมีหน้าที่เฉพาะ ทางานประสานสัมพันธ์กัน เพื่อให้งานบรรลุตามเปา้ หมาย ในระบบงานคอมพิวเตอร์ การที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียว จะยังไม่สามารถทางานได้ด้วยตัวเอง ซึ่งหากจะให้คอมพิวเตอร์ทางานได้อย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพแล้วระบบคอมพิวเตอรค์ วรจะประกอบไปด้วยองคป์ ระกอบ คือ ฮาร์ดแวร์ ( HARDWARE) ซอฟต์แวร์(SOFTWARE) บุคลากร (PEOPLEWARE) ข้อมูล (DATA) สารสนเทศ(INFORMATION) กระบวนการทางาน (PROCEDURE) 1. ฮารด์ แวร์ (HARDWARE) ฮาร์ดแวร์เปน็ องคป์ ระกอบของตัวเครอ่ื งที่สามารถจบั ต้องได้ ไดแ้ ก่ วงจรไฟฟา้ ตวั เครือ่ ง จอภาพ เครื่องพมิ พ์ ครี บ์ อรด์ เปน็ ตน้ ซ่งึ สามารถแบง่ สว่ นพน้ื ฐานของฮาร์ดแวร์เปน็ 4 หน่วยสาคัญ
1.1 หนว่ ยรับข้อมูลหรืออนิ พตุ (Input Unit) ทาหน้าท่ีรับข้อมูลและโปรแกรมเข้า เครอื่ ง ไดแ้ ก่ คยี บ์ อรืดหรือแป้นพมิ พ์ เมาส์ เครื่องสแกน เครอื่ งรูดบัตร Digitizer เป็นต้น 1.2 ระบบประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit)ทาหนา้ ที่ในการทางานตามคาสง่ั ที่ปรากฏอย่ใู นโปรแกรม ปัจจบุ นั ซพี ียูของเครื่องพีซี รู้จักในนามไมโครโปรเซสเซอร์ (Micro Processor) ไมโครโปรเซสเซอร์ มหี น้าที่ในการประมวลผลข้อมูลในลักษณะของการคานวณและเปรียบเทียบ โดยจะทางานตามจังหวะเวลาท่ีแน่นอน เรียกว่าสัญญาณClockเม่ือมกี ารเคาะจงั หวะหน่งึ ครัง้ ก็จะเกิดกิจกรรม1ครง้ั เราเรยี กหน่วยท่ีใชใ้ นการวดัความเรว็ ของซพี ยี ูว่า “เฮริ ์ท”(Herzt) 1.3 หนว่ ยเก็บขอ้ มูล (Storage) ซึ่งสามารถแยกตามหน้าที่ได้เป็น 2 ลกั ษณะ คอื(1.3.1) หน่วยเกบ็ ข้อมูลหลักหรือความจาหลัก (Primary Storage หรือ Main Memory)ทาหนา้ ทเ่ี ก็บโปรแกรมหรอื ขอ้ มลู ท่ีรบั มาจากหนว่ ยรบั ขอ้ มลู เพอ่ื เตรียมส่งใหห้ นว่ ยประมวลผลกลางทาการประมวลผล และรบั ผลลพั ธท์ ีไ่ ด้จากการประมวลผลเพ่ือส่งออกหนว่ ยแสดงข้อมลู ต่อไป(1.3.2) หนว่ ยเกบ็ ข้อมูลสารอง (Secondary Storage) เป็นหนว่ ยทที่ าหน้าท่ีเก็บข้อมูล หรือโปรแกรมทจี่ ะป้อนเข้าส่หู นว่ ยความจาหลักภายในเครอ่ื งก่อนทาการประมวลผลโดยซีพียูและเก็บผลลพั ธ์จากการประมวลผลนน้ั ด้วย ปจั จบุ นั รูจ้ ักในนามฮาร์ดดิสก(์ Hard disk) หรอื แผ่นฟร็อปปีดิสก์(Floppy Disk) 1.4 หนว่ ยแสดงข้อมูลหรือเอาต์พุต(Output Unit) ทาหน้าท่ีในการแสดงผลลพั ธ์ที่ได้จากการประมวลผล ได้แก่ จอภาพ และเครื่องพิมพ์ เป็นต้น ท้ัง 4ส่วนจะเชื่อมต่อกันด้วยบสั (Bus)ere to edit.
2. ซอฟตแ์ วร์ (SOFTWARE) ซอฟตแ์ วร์ คือโปรแกรมหรือชุดคาสั่ง ที่สั่งให้ฮาร์ดแวร์ทางาน รวมไปถึงการควบคุมการทางานของอุปกรณ์แวดล้อมต่างๆ เช่น ฮาร์ดดิสก์ ดิสก์ไดร์ฟ ซีดีรอม การ์ดอินเตอร์เฟสต่าง ๆ เป็นต้นซอฟต์แวร์ เป็นสิ่งที่มองไม่เห็นจับต้องไม่ได้ แต่รับรู้การทางานของมันได้ ซ่ึงต่างกับ ฮาร์ดแวร์(Hardware) ท่สี ามารถจบั ตอ้ งได้ ซึ่งแบง่ เปน็ 2 ประเภทคือ 2.1 ซอฟตแ์ วร์ระบบ (System Software) คอื โปรแกรม ท่ใี ช้ในการควบคุมระบบการ ทางานของเครื่องคอมพวิ เตอรท์ งั้ หมด เชน่ การบตู เคร่อื ง การสาเนาขอ้ มลู การจดั การระบบของดิสก์ ชุดคาส่ังท่ีเขียนเป็นคาส่ังสาเร็จรูป โดยผู้ผลิตเครื่องคอมพิวเตอร์ และมีมาพร้อมแล้วจากโรงงานผลิต การทางานหรือการประมวลผลของซอฟต์แวร์เหล่าน้ี ขึ้นกับเคร่ืองคอมพิวเตอร์แต่ละเครอ่ื ง ระบบของซอฟต์แวร์เหล่านี้ ออกแบบมาเพ่ือการปฏิบัติควบคุม และมีความสามารถในการยืดหยุน่ การประมวลผลของเครอื่ งคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภทคือ2.1.1 โปรแกรมระบบปฏิบัติการ (Operating System) เป็นโปรแกรมที่ใช้ควบคุมและติดต่อกับอุปกรณต์ า่ งๆของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะการจัดการระบบของดิสก์ การบริหารหน่วยความจาของระบบ ถา้ ขาดซอฟต์แวร์ชนิดน้ี จะทาให้เครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถทางานได้ ตัวอย่างของซอฟต์แวรป์ ระเภทนไี้ ด้แก่ โปรแกรมระบบปฏิบัติการ Unix Linux DOS และ Windows (เวอร์ชัน่ ต่าง ๆ เชน่ 95 98 XP Vista ) เปน็ ต้น2.1.2 ตวั แปลภาษา (Translator) จาก Source Code ให้เป็น Object Code (แปลจากภาษาท่ีมนุษย์เข้าใจ ใหเ้ ป็นภาษาทเ่ี ครื่องเข้าใจ) เปน็ ซอฟต์แวร์ท่ีใช้ในการแปลภาษาระดับสูง ซึ่งเป็นภาษาใกล้เคียงภาษามนษุ ย์ ใหเ้ ป็นภาษาเคร่ืองก่อนที่จะนาไปประมวลผล ตัวแปลภาษาแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และอนิ เตอร์พที เตอร์ (Interpeter) คอมไพเลอร์จะแปลคาส่ังในโปรแกรมทั้งหมดก่อน แล้วทาการล้ิง(Link) เพ่ือให้ได้คาสั่งท่ีเคร่ืองคอมพิวเตอร์เข้าใจ ส่วนอินเตอร์พีทเตอร์จะแปลทีละประโยคคาสั่ง แล้วทางานตามประโยคคาสั่งนั้น การจะเลือกใช้ตัวแปลภาษาแบบใดนั้น จะขน้ึ อยู่กับภาษาทใี่ ช้ในการเขยี นโปรแกรม2.1.3 ยูตลิ ติ ้ี โปรแกรม (Utility Program) คือซอฟต์แวร์เสริมชว่ ยให้เครอ่ื งทางานมีประสทิ ธภิ าพมากข้นึ เช่น ช่วยในการตรวจสอบดสิ ก์ ชว่ ยในการจดั เกบ็ ขอ้ มลู ในดิสก์ ชว่ ยสาเนาข้อมูล ช่วยซ่อมอาการชารุดของดสิ ก์ ช่วยคน้ หาและกาจดั ไวรสั ฯลฯ เปน็ ตน้
2.1.4 ติดตัง้ และปรับปรุงระบบ (Diagonostic Program) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการติดต้ังระบบเพือ่ ให้คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อและใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ท่ีนามาติดต้ังระบบ ได้แก่ โปรแกรมSetupและ Driver ตา่ ง 2.2 ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวรห์ รือโปรแกรมที่ทาใหค้ อมพิวเตอร์ทางานตา่ งๆ ตามทผ่ี ้ใู ชต้ อ้ งการ ไม่ว่าจะดา้ นเอกสาร บญั ชี การจัดเกบ็ ข้อมูล เป็นต้น ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์สามารถจาแนกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คอื2.2.1 ซอฟต์แวรส์ าหรับงานเฉพาะด้าน(Special Purpose Software) คือ โปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพือ่ การทางานเฉพาะอย่างท่เี ราตอ้ งการ บางทเ่ี รยี กวา่ User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบัญชีจ่ายเงินเดอื น โปรแกรมระบบเช่าซ้ือ โปรแกรมการทาสินค้าคงคลัง เปน็ ตน้ ซ่ึงแตล่ ะโปรแกรมก็มกั จะมีเงื่อนไข หรอื แบบฟอรม์ แตกต่างกนั ออกไปตามความตอ้ งการหรอื กฏเกณฑข์ องแต่ละหนว่ ยงานทใี่ ช้2.2.2 ซอฟต์แวรส์ าหรับงานทัว่ ไป(General Purpose Software) เป็นโปรแกรมประยุกตท์ ่ีมผี จู้ ัดทาไว้ เพอ่ื ใช้ในการทางานประเภทต่างๆ ท่ัวไป โดยผใู้ ชค้ นอ่ืนๆ สามารถนาโปรแกรมน้ไี ปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทาการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซ่งึ เป็นการประหยดั เวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม ดังน้ันการใช้โปรแกรมสาเร็จรูปจึงเป็นสิ่งท่ีอานวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างย่ิง ตัวอย่างโปรแกรมสาเร็จรูปท่ีนิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Adobe Photosho, Internet Explorer และ เกมส์ต่างๆเป็นตน้ 3. บคุ ลากร (PEOPLEWARE) บคุ ลากรจะเปน็ สงิ่ สาคัญที่จะเปน็ ตัวกาหนดถงึ ประสทิ ธภิ าพถงึ ความสาเร็จและความคุ้มค่าในการใช้งานคอมพวิ เตอร์ ซ่งึ สามารถแบง่ บุคลากรตามหน้าท่ีเก่ียวข้องตามลกั ษณะงานได้ 6 ด้าน ดังนี้ 3.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ (Systems Analyst and Designer :SA) ทาหน้าทีศ่ กึ ษา และรวบรวมความต้องการของผใู้ ช้ระบบ และทาหน้าทเี่ ป็นสื่อกลางระหว่างผู้ใช้ระบบและนกั เขียนโปรแกรมหรือปรับปรุงคุณภาพงานเดิม นักวิเคราะห์ระบบต้องมีความรู้เกี่ยวกับระบบคอมพวิ เตอร์ พ้นื ฐานการเขียนโปรแกรม และควรจะเป็นผู้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์มีมนุษย์สัมพันธท์ ี่ดี
3.2 โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือบุคคลที่ทาหน้าที่เขียนซอฟต์แวร์ต่างๆ(Software) หรอื เขียนโปรแกรมเพ่ือส่ังงานให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทางานตามความต้องการของผู้ใช้โดยเขยี นตามแผนผงั ทน่ี ักวเิ คราะห์ระบบได้เขยี นไว้ 3.3 ผูใ้ ช้ (User) เปน็ ผูใ้ ช้ระบบคอมพิวเตอร์ ซ่ึงจะเป็นผู้ปฏิบัติหรือกาหนดความตอ้ งการในการใช้ระบบคอมพวิ เตอร์วา่ ทางานอะไรได้บ้าง ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ท่ัวไป จะต้องเรียนรู้วิธกี ารใชเ้ ครอ่ื งและวิธีการใชง้ านโปรแกรม เพอ่ื ใหโ้ ปรแกรมทม่ี อี ยู่สามารถทางานได้ตามทีต่ ้องการ 3.4 ผปู้ ฏบิ ัติการ (Operator) สาหรับระบบขนาดใหญ่ เชน่ เมนเฟรม จะต้องมีเจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์ท่ีคอยปิดและเปิดเคร่ือง และเฝ้าดูจอภาพเมื่อมีปัญหาซึ่งอาจเกิดขัดข้องจะตอ้ งแจง้ System Programmer ซึง่ เปน็ ผู้ดูแลตรวจสอบแก้ไขโปรแกรมระบบควบคุมเครือ่ งอีกทีหนึ่ง 3.5 ผบู้ รหิ ารฐานข้อมลู (Database Administrator : DBA) บุคคลท่ีทาหนา้ ท่ีดแู ลขอ้ มูลผ่านระบบจัดการฐานข้อมลู ซ่ึงจะควบคุมให้การทางานเป็นไปอย่างราบรืน่ นอกจากนี้ยังทาหนา้ ที่กาหนดสทิ ธกิ ารใช้งานขอ้ มูล พรอ้ มทงั้ ดแู ลดาตา้ เบสเซริ ์ฟเวอรใ์ หท้ างานอย่างปกติด้วย 3.6 ผ้จู ัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใชค้ อมพิวเตอรใ์ ห้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน เป็นผู้ทีม่ ีความหมายต่อความสาเร็จหรอื ล้มเหลวของการนาระบบคอมพวิ เตอรเ์ ขา้ มาใช้งานเปน็ อยา่ งมาก 4. บุคลากร (PEOPLEWARE) 4.1 ข้อมลู (DATA) หมายถึง ข้อเทจ็ จริงหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วใช้ตัวเลขตัวอักษรหรือสัญลกั ษณ์ ต่างๆ ทาความหมายแทนสิ่งเหลา่ นั้น เชน่ - คะแนนสอบวชิ าภาษาไทยของนักเรียน - อายขุ องพนักงานในบรษิ ทั ชินวัตรจากัด - ราคาขายของหนังสือในร้านหนังสือดอกหญ้า - คาตอบทผี่ ้ถู ูกสารวจตอบในแบบสอบถาม
4.2 สารสนเทศ (INFORMATION) หมายถึง ข้อสรุปต่างๆ ทไ่ี ด้จากการนาข้อมูลมาทาการวเิ คราะห์ หรอื ผ่านวธิ ีการท่ี ได้กาหนดขน้ึ ทง้ั นเ้ี พือ่ นาขอ้ สรุปไปใช้งานหรอื อา้ งอิง เชน่ - เกรดเฉลี่ยของวิชาภาษาไทยของนกั เรียน - อายุเฉลยี่ ของพนกั งานในบรษิ ัทชนิ วตั รจากดั - ราคาขายสูงสดุ ของหนังสือในรา้ นหนังสือดอกหญา้ - ขอ้ สรุปจากการสารวจคาตอบในแบบสอบถาม 5. กระบวนการทางาน (PROCEDURE) องค์ประกอบดา้ นน้ีหมายถึงกระบวนการทางานเพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลลัพธ์ตามตอ้ งการ ในการทางานกับ คอมพวิ เตอร์ผู้ใชจ้ าเปน็ ตอ้ งทราบขั้นตอนการทางานเพอื่ ใหไ้ ดง้ านทถี่ ูกต้องและมีประสทิ ธิภาพ ซ่ึง อาจจะมขี นั้ ตอนสลบั ซบั ซ้อนหลายข้นั ตอน ดงั น้นั จึงมีความจาเปน็ ต้องมคี ู่มือปฏิบัติงาน เชน่ คมู่ ือ ผู้ใช้ ( user manual ) หรือค่มู ือผดู้ แู ลระบบ ( operation manual ) เป็นต้น หลกั การทางานของคอมพวิ เตอร์ ระบบการทางานของคอมพวิ เตอร์ การทางานของคอมพวิ เตอร์ แบ่งออกเปน็ 4 สว่ น ดงั น้ี 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) ทาหน้าที่ในการรับข้อมูลหรือคาส่ังจากภายนอกเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจา เพอื่ เตรียมประมวลผลข้อมูลทตี่ ้องการ ซง่ึ อปุ กรณ์ทใ่ี ช้ในการนาข้อมูลท่ีใชก้ นั อยู่ตง้ั แตอ่ ดตี จนถึง ปัจจุบันน้นั มอี ยหู่ ลายประเภทด้วยกนั สาหรับอปุ กรณท์ น่ี ยิ มใช้ในปจั จุบันมี ดงั ต่อไปนี้ - Keyboard - Mouse - Disk Drive - Hard Drive
- CD-Rom - Magnetic Tape - Card Reader - Scanner 2. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) ทาหน้าที่ในการคานวณและประมวลผล แบง่ ออกเป็น 2 หน่วยยอ่ ย คอื - หน่วยควบคุม ทาหน้าทใ่ี นการดูแล ควบคุมลาดับข้ันตอนของการประมวลผลและการทางานของอปุ กรณ์ตา่ งๆ ภายในหน่วยประมวลผลกลาง และช่วยประสานงานระหว่างหน่วยประมวลผลกลาง กับอุปกรณ์นาเข้าข้อมูล อุปกรณ์ในการแสดงผล และหน่วยความจาสารอง - หนว่ ยคานวณและตรรก ทาหนา้ ทใ่ี นการคานวณและเปรยี บเทยี บขอ้ มูลต่างๆ ที่สง่ มาจากหน่วยควบคุม และหนว่ ยความจา 3. หน่วยความจา (Memory) ทาหนา้ ทีใ่ นการเก็บข้อมูลหรือคาส่ังต่างๆ ที่รับจากภายนอกเข้ามาเก็บไว้ เพ่ือประมวลผลและยังเก็บผลท่ีได้จากการประมวลผลไว้เพ่ือแสดงผลอีกด้วย ซ่ึงแบ่งออกเป็ นหน่วยความจา เป็นหน่วยความจาท่ีมีอยู่ ในตัวเครื่องคอมพวิ เตอร์ ทาหน้าที่ในการเก็บคาสั่งหรือข้อมูล แบง่ ออกเปน็ - ROM หนว่ ยความจาแบบถาวร - RAM หนว่ ยความจาแบบชว่ั คราว - หน่วยความจาสารอง เป็นหน่วยความจาที่อยู่นอกเคร่ือง มีหน้าที่ช่วยให้หน่วยความจาหลกั สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ไดม้ ากข้นึ 4. หนว่ ยแสดงผล (Output Unit)
ทาหน้าท่ีในการแสดงผลลัทธ์ที่ได้หลังจากการคานวณและประมวลผล สาหรับอปุ กรณท์ ี่ ทาหน้าที่ในการแสดงผลข้อมลู ท่ีไดน้ นั้ มีต่อไปนี้ - Monitor จอภาพ - Printer เครอ่ื งพิมพ์ - Plotter เครื่องพมิ พ์ท่ใี ช้ปากกาในการเขยี นขอ้ มูลต่างๆ ทตี่ อ้ งการลงกระดาษ
Search
Read the Text Version
- 1 - 9
Pages: