Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1 วิถีพุทธ

บทที่ 1 วิถีพุทธ

Published by 921supatn, 2019-08-01 23:54:46

Description: บทที่ 1 วิถีพุทธ

Search

Read the Text Version

10 บทท่ี 1 วิถพี ุทธ สาระสาคญั กกกกกกก1. การกาเนิดศาสนา ศาสนามีกาเนิดจากสาเหตุหลายประการตามความเชื่อของ ประชาชนแต่ละกลุ่ม และสภาพส่ิงแวดล้อมท่ีโน้มน้าวให้เกิดความเช่ือเช่นนั้น ซึ่งสามารถแบ่งสาเหตุ ออกได้ 6 ประการ คอื (1) เกิดจากความไม่รู้ (2) เกดิ จากความกลวั (3) เกิดจากความจงรักภักดี (4) เกิด จากความอยากรู้เหตุผล หรือปัญญา (5) เกิดจากอิทธิพลของคนสาคัญ และ (6) เกิดจากลัทธิ การเมอื ง กกกกกกก2. นิกายสาคัญของพุทธศาสนา มี 2 นิกาย คอื (1) นกิ ายเถรวาท (หนิ ยาน) เปน็ นกิ ายที่ยึด ถือพระธรรมวินัยเดมิ ของพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด โดยยดึ หลักท่ีวา่ พระธรรมวนิ ัยของพระพุทธเจ้า เป็นกาลิโก ซึ่งหมายถึง ทันสมัยตลอดกาล ทาให้ผู้ปฏิบัติบรรลุจุดหมายปลายทางได้ยาก (2) นิกาย อาจริยวาท (มหายาน) เปน็ นิกายที่ยดึ หลกั ทีว่ ่า ศาสนาจาเป็นตอ้ งเสริมการพฒั นาใหท้ ันสมัยเหมาะสม กับกาลเวลา และสภาวะของสังคมอยู่เสมอ ไม่กาหนดเร่ืองกาลเวลา สามารถพัฒนาได้เร่ือยไป ทาให้ นิกายนี้แตกแยกเป็นนิกายย่อยจานวนมากมาย จุดเด่นของนิกายน้ีอยู่ที่แนวคิดเรื่องการบาเพ็ญตน เป็นพระโพธสิ์ ัตว์ สรา้ งบารมีเพอ่ื ช่วยเหลือ สรรพชวี ิตในโลกไปสู่ความพน้ ทุกข์ กกกกกกก3. การนับถือศาสนาพุทธ มี 2 แนว ได้แก่ (1) พระพุทธศาสนาแนวจารีต หมายถึง พระพทุ ธศาสนานัยที่สะท้อนความเป็นจารีตด้ังเดิม คือ พระไตรปิฎก เป็นแก่นสาระสาคัญ เน้นการ ปฏิบัติตามวิถีแห่งมรรค เพื่อความพ้นทุกข์โดยสิ้นเชิง และ (2) พระพุทธศาสนาแนวประชานิยม หมายถงึ ศาสนานยั ทีส่ ะท้อนวฒั นธรรม หรือวิถีชวี ิตดงั้ เดิมของคนไทยท่ีถูกเสรมิ แต่ง หรือกลมกลนื กับ พระพุทธศาสนา มีพทุ ธธรรมบอ่ เกิดประเพณี และถกู สรา้ งสรรค์ให้มีความงดงามอย่างเป็นเอกลักษณ์ เฉพาะท้องถิ่นผสมผสานกับความเช่ือดั้งเดิมท้ังพราหมณ์ รวมทั้งลัทธินับถือผีสาง เทวดา และส่ิง ศกั ด์ิสทิ ธิ์ต่าง ๆ วถิ กี ารปฏิบตั ทิ เ่ี ห็นไดเ้ ด่นชัด คือ การทาบญุ ตามประเพณใี นเทศกาลต่าง ๆ กกกกกกก4. ความเชื่อเก่ียวกับเจดีย์ในวถิ ีพุทธ มคี วามเชอื่ ว่าเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขนั ธ์ปรนิ ิพพาน ปรนิ ิพพานแลว้ พระบรมสารรี ิกธาตถุ ูกแบ่งออกไปเปน็ แปดสว่ น และนาไปบรรจไุ ว้ตามสถูปเจดีย์แปด แห่งที่ทาเปน็ การเฉพาะก่อน ต่อมาเกิดความนิยมเอาอัฐิของพระอรหันต์สาวกไปบรรจุแบบเดียวกัน จึงเกดิ เป็นเจดีย์แบบต่าง ๆ ในที่สดุ ชาวบ้านธรรมดาสามัญก็พยายามเอาอย่าง สร้างเจดีย์เป็นยุคเป็น สมัย เจดีย์จึงเป็นศรีสง่าแห่งเมือง แสดงถึงความร่มเย็นเป็นสุขในดินแดนแห่งพุทธศาสนา และภูมิ ปัญญาทางศิลปะของไทย เป็นอนุสรณ์เตือนใจให้เราราลึกถึงพระพุทธศาสนา และภูมิปัญญาทาง ศิลปะของไทย เจดียเ์ ป็นศาสนสถานท่แี สดงถงึ ศรัทธาของบรรดาพทุ ธศาสนกิ ชน และคณุ ค่าทางศิลปะ ของชาติ จึงถือเป็นหนา้ ทข่ี องคนไทยที่ตอ้ งยดึ ถือในความศักด์ิสิทธ์ิ ตามประเพณีและพิธีกรรมท่ีได้สืบ ทอดกันต่อมา ควรชว่ ยกันบารงุ รักษามิให้เสือ่ มโทรมลง และพรอ้ มใจกนั บูรณะให้คงความงดงามเป็นท่ี เคารพบูชาตลอดไป

11 ผลการเรยี นรู้ท่ีคาดหวงั กกกกกกก1. บอกการกาเนิดศาสนา และนกิ ายในศาสนาพทุ ธได้ กกกกกกก2. อธบิ ายจุดหมายการนบั ถือศาสนาพุทธ และอธบิ ายความเชอื่ เก่ียวกับเจดยี ์ในวถิ พี ทุ ธ กกกกกกก3. เหน็ คุณคา่ ความสาคัญของวิถีพุทธ ขอบขา่ ยเนือ้ หา กกกกกกกเรือ่ งที่ 1 การกาเนดิ ศาสนา กกกกกกกเรื่องที่ 2 นกิ ายในศาสนาพทุ ธ กกกกกกกเรือ่ งที่ 3 การนับถือศาสนาพทุ ธ กกกกกกกเรอ่ื งที่ 4 ความเช่อื เก่ียวกับเจดียใ์ นวถิ ีพุทธ สื่อประกอบการเรยี นรู้ กกกกกกก1. หนงั สอื ประวัติวดั สาคัญทางพระพุทธศาสนา ตอนท่ี 3 ผู้แต่ง กรมศาสนา ปที ่พี มิ พ์ 2526 โรงพมิ พก์ ารศาสนา กกกกกกก2. หนงั สือ ประวัติพระพุทธเจดยี ์ ผแู้ ตง่ กรมศาสนา ปีทพ่ี ิมพ์ 2526 โรงพมิ พก์ ารศาสนา กกกกกกก3. สอ่ื อิเล็กทรอนิกส์ เรือ่ ง มูลเหตกุ ารณ์เกดิ ศาสนา ผ้เู ขียน ณัฐพงษ์ สงั ข์กลิ่นหอม (2559) สืบคน้ จาก https://sites.google.com/site/nathphngssangkhklinhxmiom/prawati 4. Website เรื่อง กาเนิดพุทธศาสนา สบื ค้นจาก https://www.youtube.com/watch?v=X3EMTCaZNDU 5. Website เรื่อง การนับถือศาสนาพุทธ เว็บ GotoKnow โดย ญาณภัทร ยอดแกว้ ใน พุทธชยันตี 2,600 ปี สบื ค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/485798 6. Website เรือ่ ง สถปู เจดีย์ โดย สุจิตต์ วงษ์เทศ สบื คน้ จาก http://www.sujitwongthes.com/suvarnabhumi/2012/04/27042555 กกกกกกก7. พพิ ธิ ภณั ฑว์ ดั พระปฐมเจดีย์ ราชวรมหาวหิ าร ท่ีอยู่ บริเวณลานช้ันลดด้านทิศเหนือตรง ข้ามกับพระอุโบสถ เป็นพิพธิ ภณั ฑข์ ององค์พระปฐมเจดยี ์ หมายเลขโทรศัพท์ 034-242143 กกกกกกก8. พพิ ิธภณั ฑส์ ถานแหง่ ชาตพิ ระปฐมเจดยี ์ ท่อี ยู่ บริเวณองคพ์ ระปฐมเจดยี ด์ ้านทิศใต้ เป็น อาคารทรงไทยประยกุ ต์ 2 ชัน้ หมายเลขโทรศัพท์ 034-270300 และ 034-242500 เร่ืองท่ี 1 การกาเนดิ ศาสนา 1.1 ความหมายของศาสนา ความหมายของศาสนาตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 และ ตามความเห็นของนักวชิ าการด้านการศาสนาท่ีสาคญั มีดังตอ่ ไปนี้

12 ศาสนา หมายถึง ลัทธคิ วามเชื่อถือของมนุษย์อนั มีหลกั คือ แสดงกาเนิด และความส้ิน สุดของโลก เป็นต้น อันเป็นไปในฝ่ายปรมัตถ์ประการหน่ึง แสดงหลักธรรมเก่ียวกับบุญ บาป อัน เป็นไปในฝ่ายศีลธรรมประการหนึ่ง พร้อมท้ังลัทธิพิธีที่กระทาตามความเห็นหรือตามคาสั่งสอนใน ความเชอ่ื ถือนั้น ๆ ศาสนา หมายถึง คาส่ังสอน ท่านผู้ใดเป็นต้นเดิม เป็นผู้บัญญัติส่ังสอนก็เรียกว่า ศาสนาของท่านผู้นั้น หรือท่านผู้บัญญัติสั่งสอนนั่นได้นามพิเศษอย่างไร ก็เรียกชื่อน้ันอย่างน้ัน เพราะฉะนั้น ศาสนาจึงมีมาก คาสอนกต็ ่างกัน ศาสนา หมายถงึ ท่ีรวมแห่งความเคารพนับถืออันสูงส่งของมนุษย์เป็นทพี่ ึง่ ทางจิตใจ ซึง่ มนษุ ยส์ ว่ นมากย่อมเลอื กยึดเหน่ียวตามความพอใจ และความเหมาะสมแก่เหตุแวดล้อมของตน มี คาสัง่ สอน อันว่าด้วยศีลธรรม และอุดมคติสูงสุดในชีวิตของบุคคล รวมท้ังแนวความเชื่อถือและแนว การปฏบิ ตั ติ า่ ง ๆ กันตามคติของแตล่ ะศาสนา กล่าวโดยสรุปแล้ว ศาสนา หมายถงึ ความเชื่อของมนุษย์ท่เี กีย่ วกบั การกาเนิดและ การสิ้นสุดของโลก ความเชอ่ื เก่ียวกบั การหลุดพ้นอันเป็นปรมัตถ์ และความเชื่อเก่ียวกับบุญ บาป อัน เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของมนุษย์ช่วยให้มนุษย์ได้ทาความดีตามความเชื่อของตน ศาสนาจะมีช่ือ เรียกตามนามศาสดาผู้ให้กาเนดิ หรอื นามพเิ ศษทก่ี าหนดขึ้น 1.2 สาเหตุการกาเนิดศาสนา นกั วชิ าการกลา่ วถงึ สาเหตุของการกาเนดิ ศาสนาไวห้ ลายประการ สามารถจัดเป็น 2 ความเห็นทสี่ าคัญ ดังต่อไปน้ี ความเหน็ ที่ 1 มีความเหน็ วา่ ศาสนามกี าเนดิ จาก 6 สาเหตุ ได้แก่ สาเหตทุ ่ี 1 เกิดจากความไมร่ ู้ หรอื อวชิ ชา สาเหตทุ ี่ 2 เกิดจากความกลัว สาเหตุที่ 3 เกิดจากความจงรักภกั ดี สาเหตุท่ี 4 เกิดจากความอยากรู้เหตผุ ล หรือการใช้ปญั ญา สาเหตุที่ 5 เกิดจากอทิ ธพิ ลของคนสาคญั สาเหตุที่ 6 เกิดจากลทั ธกิ ารเมือง โดยมีรายละเอยี ดดังต่อไปน้ี สาเหตทุ ่ี 1 เกิดจากความไมร่ ู้ หรืออวิชชา ความไมร่ เู้ หตผุ ลที่ถกู ต้องตามหลักวชิ าการ เม่อื เหน็ ส่งิ ทีเ่ กิดขึ้นตามปรากฏการณ์ ธรรมชาติก็คดิ ว่าเปน็ อานาจของเทพเจ้าบันดาลให้เปน็ ไป ซงึ่ ความไม่รใู้ นเหตุผลท้ังหลายเหล่านั้นสรุป ได้ดงั นี้ ความไม่รู้เหตุผลทางภมู ิศาสตร์ คนในประเทศอินเดยี ไม่เคยปีนไปบนยอดเขาหิมาลัย อันปกคลมุ ด้วยหิมะอยา่ งหนาทึบในฤดูหนาว เม่ือถึงฤดูร้อนหิมะละลาย น้าไหลลงมาเป็นแม่น้าคงคา ชาวอินเดียไม่รู้ว่าต้นน้าของแม่น้าคงคาเกิดจากเหตุนี้ เข้าใจว่าเป็นน้าท่ีไหลมาจากสวรรค์ผ่านเศียร พระศิวะ ซ่ึงเปน็ เทพเจา้ ศักด์สิ ทิ ธ์ิของศาสนาพราหมณ์ และเข้าใจว่าแม่น้าคงคานั้นศักดิ์สิทธิ์สามารถ ล้างบาปได้ คนจึงนิยมไปอาบนา้ ในแม่นา้ คงคาเพื่อลา้ งบาป ตามความเชือ่ ของศาสนาพราหมณ์

13 ความไม่รู้เหตุผลทางดาราศาสตร์ เมื่อเกดิ จนั ทรุปราคา และสุรยิ ุปราคาขนึ้ เพราะการ โคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ประชาชนท่ีไม่รู้เหตุผลก็เรียกว่า เกิดราหูอมจันทร์ จึงยิงปืนบ้าง จุด ประทดั บา้ ง หรือตีเกราะ เคาะไม้ เพอื่ ใหร้ าหตู กใจแล้วจะไดห้ นีไป ความไม่รูเ้ หตุผลทางชีววทิ ยา คนบางคนเดนิ ผ่านต้นไม้ใหญ่ เขาจะยกมือไหวโ้ ดย เชือ่ วา่ ตน้ ไมน้ น้ั เปน็ ที่สิงสถิตของเทพเจ้าผู้ท่ีเดินทางผ่านภูเขาใหญ่ หรือภูเขาท่ีประกอบด้วยหน้าผา รูปแปลก ๆ ชาวบา้ นให้ชอ่ื ภเู ขานนั้ ตามทต่ี นนึกว่าเหมือนอะไร แล้วก็แสดงความเคารพภูเขานั้น โดย ถอื ว่ามเี ทพเจ้าสงิ สถิตอยู่ ความไม่รู้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ เม่ือเห็นร้งุ กนิ น้า ก็เข้าใจว่า เกิดจากอานาจส่ิง ศกั ด์สิ ิทธิ์บนั ดาลให้เกิดข้ึน จึงทานายไปตามความเข้าใจของตนว่า รุ้งกินน้าทางทิศนี้ฝนจะตกชุก รุ้ง กนิ น้า ทางทิศน้นั ฝนจะแล้ง จากความไมร่ ้เู หตุผลดังกล่าวมาแล้ว ทาให้คนยึดถือสิ่งศักดิ์สิทธ์ิเป็นท่ีพ่ึงท่ีระลึกซ่ึง เปน็ เหตใุ ห้เกิดศาสนาประเภทเทวนยิ ม หรือศาสนาทีน่ บั ถอื เทพเจ้าขน้ึ สาเหตทุ ี่ 2 เกดิ จากความกลวั เนื่องจากความไม่รู้เหตุผล เมื่อบุคคลได้เหน็ ปรากฏการณธ์ รรมชาติต่าง ๆ ลมพายุ ฟ้าผ่า ฟ้าร้อง แผ่นดินไหว มีดาวหางปรากฏขึ้นก็เกิดความกลัว จึงขวนขวายหาที่พึ่งโดยคิดว่า ปรากฏการณ์เหล่านั้นมีเทพเจ้าบันดาลให้เกิดข้ึน จึงได้อ้อนวอนบนบานศาลกล่าวขอให้เทพเจ้า เหล่าน้นั โปรดระงบั สงิ่ เหล่าน้ันเสยี สาเหตทุ ี่ 3 เกิดจากความจงรักภักดี ความภักดี คือ ความเชือ่ ในสิง่ นนั้ วา่ มีอานาจเหนือคน หรอื เชอื่ ในบุคคลว่า มคี วามดี ทเ่ี ช่อื ถือได้เกิดความเลอื่ มใสในสิ่งน้ัน หรือบุคคลน้ันว่ามีศักดิ์ศรีหรือมีจริยาวัตรที่ควรแก่การ ยกย่อง เมือ่ เกิดความเชอื่ ความเลอื่ มใสแลว้ ความเคารพ ความรักและความนับถือจะเกิดข้ึนตามมา กิจกรรม ประกอบในส่งิ ท่ีตนมีความเช่ือความเลอื่ มใสนั้น ไดแ้ ก่ การแสดงความเคารพทางกายมีการกราบไหว้ บูชา เคารพทางวาจาไดแ้ ก่ การกลา่ วคาสรรเสรญิ ยกย่อง เคารพทางใจไดแ้ ก่ การเลียนแบบจริยาวัตร หรอื ปฏบิ ัตติ าม คาสอนของผนู้ น้ั ซ่ึงกเ็ ป็นจุดเริม่ ต้นท่ที าให้เกดิ ศาสนาขึ้น สาเหตทุ ่ี 4 เกดิ จากความอยากรู้เหตผุ ล หรอื การใช้ปญั ญา ความอยากรู้เหตุผลน้นั เปน็ ความรู้ท่ปี ระกอบด้วย ปญั ญา ซงึ่ จะตอ้ งคิดคน้ ถงึ เหตผุ ล ที่แท้จริงว่าส่ิงน้ันเกิดขนึ้ มาจากอะไร ดงั เช่นเจ้าชายสิทธตั ถะไดท้ อดพระเนตรเห็นคนแก่ คนเจ็บ และ คนตาย ทรงเห็นว่าสงิ่ เหลา่ นล้ี ว้ นแตเ่ ปน็ ทกุ ข์ จึงทรงพยายามทจ่ี ะแกท้ กุ ขท์ งั้ สามอย่าง โดยทรงดาริว่า ในโลกมีสิง่ ทเี่ ป็นคู่ ๆ ตรงกันเสมอ เช่น มมี ดื แล้วกม็ ีสว่าง มีร้อนแล้วก็มีเย็น ฉะนั้นเมื่อมีแก่ก็ต้องมีไม่ แก่ได้ มเี จบ็ กต็ ้องมไี ม่เจ็บได้ มีตายกต็ ้องมี ไม่ตายได้ ความอยากรู้เหตุผลเป็นเหตุให้เกิดศาสนาที่เป็น อเทวนยิ ม หรอื ศาสนาทไ่ี มน่ บั ถือเทพเจา้ สาเหตุท่ี 5 เกดิ จากอทิ ธิพลของคนสาคญั การเคารพตอ่ วญิ ญาณของบรรพบรุ ษุ เป็นสิง่ ทไ่ี ดก้ ระทากนั มาชา้ นาน ถ้าบุคคลนั้น เปน็ ทส่ี าคญั ตอ่ ชมุ ชน กส็ ามารถเป็นจดุ ศนู ยร์ วมน้าใจของคนส่วนมากไว้ได้ อกี ประการหนึ่งการเคารพ บุคคลสาคัญทางวรรณคดี เช่น พระราม และพระกฤษณะในเร่ืองมหาภารตะ ซ่ึงเป็นวรรณคดีท่ี ย่งิ ใหญ่ของอินเดีย พราหมณ์ต้องการให้พระราม และพระกฤษณะเข้ามาเป็นเทพเจ้าในศาสนาฮินดู

14 เพ่ือต้องการให้ประชาชนนับถือศาสนาฮินดูมากยิ่งข้ึน จึงได้ประกาศแก่ประชาชนว่า พระราม และ พระกฤษณะก็ไม่ใช่ใครที่ไหน คือ พระวิษณุได้อวตารลงมานั่นเอง ประชาชนได้ทราบเช่นน้ันก็ไม่ว่า อะไร เพราะเขานบั ถอื ของเขาอยู่แล้วก็ย่ิงเป็นความดีย่ิง ๆ ขึ้น การเคารพนับถือวิญญาณของบุคคล สาคัญกเ็ ปน็ ทางหน่ึงที่ทาใหเ้ กดิ ศาสนาขึ้น สาเหตุที่ 6 เกิดจากลทั ธกิ ารเมือง ความเชอื่ ถอื ทางลทั ธิการเมือง ทาให้คนมจี ิตใจเบ่ยี งเบนออกไปจากศาสนาประจาชาติ ของตนได้ เชน่ ลทั ธคิ อมมิวนสิ ต์ ไดก้ ลา่ วประณามศาสนาเป็นยาเสพติด เอาเปรียบสังคม เป็นกาฝาก สงั คม สบู เลอื ดเอาประโยชน์จากสงั คม ผูท้ ี่เชอื่ ถือศาสนาเปน็ พวกงมงาย ทาใหเ้ ริ่มต้นเผยแผ่ลัทธินี้ คือ ประเทศรัสเซีย และจีนบนผนื แผน่ ดนิ ใหญ่ซึ่งเปน็ ประเทศที่ถอื ลทั ธคิ อมมวิ นสิ ต์เป็นศาสนาประจาชาติ ความเห็นท่ี 2 มีความเห็นวา่ ศาสนามกี าเนดิ จาก 6 ประการ ได้แก่ ประการท่ี 1 อวิชชา (Lack of Knowlegde) ความไม่รู้ ความไม่รู้ ไม่เข้าใจในเหตุผลทางด้านภูมิศาสตร์ ดาราศาสตร์ ชีววิทยา รวมถึง ปรากฏการณธ์ รรมชาติอื่น ๆ รอบตวั ของคนสมัยดึกดาบรรพ์ เม่ือไม่รู้สาเหตุที่แท้จริงจึงคิดว่ามีสิ่งที่มี อานาจเหนือมนุษย์เหนือธรรมชาติ แล้วพากันบูชาบวงสรวงอ้อนวอนให้เมตตาปรานีเพื่อขอความ ปลอดภยั ในชีวิต ความคดิ ลักษณะเช่นว่าน้ี เป็นสาเหตุทาให้เกิดศาสนาข้ึน และศาสนาของคนโบราณ จึงมักจะมีมูลเหตุมาจากอวิชชา หรือความไรค้ วามรู้เหตุผล ประการที่ 2 ความกลัวภัย (Fear) เพราะความไมร่ ู้ ความไม่ร้เู ป็นสาเหตุให้เกิดความกลัว เช่น ไม่รู้ ไมเ่ ข้าใจในปรากฏการณ์ธรรมชาติ อาจเป็นฝนตกหนัก น้าท่วม ฟ้าผ่า ความมืด ก็เกิดความกลัวในปรากฏการณ์ธรรมชาติ พร้อมกับ เข้าใจไปว่าเกิดเหตุการณ์อย่างนั้น ๆ จะต้องมีผู้มีฤทธ์ิเดชเป็นผู้ดลบันดาล จึงเกิดความเชื่อเร่ืองเทพ เจ้าหรือเทวดาต่าง ๆ เช่น เทพเจ้าแห่งฝน เทพเจ้าแห่งพายุ เป็นต้น และเทพเจ้าเหล่าน้ันก็คงมี ลักษณะเชน่ เดยี วกับมนษุ ย์ คือ มรี ัก มีโกรธ มกี ารใหร้ างวลั และการลงโทษ จึงคิดหาทางเอาอกเอาใจ ดว้ ยการเคารพกราบไหว้ เพือ่ มิให้เทพเจา้ เหล่านั้นบนั ดาลภัยพิบตั แิ ก่ตน แต่ให้บันดาลความสุขสวัสดี มาให้ ภยั หรอื ความกลวั จึงเปน็ มลู เหตุอย่างหน่ึงท่ที าใหเ้ กิดศาสนาขน้ึ ประการท่ี 3 ความศรทั ธา (Faith) ความศรัทธา นาไปสู่ความเชื่อ หรือความเล่ือมใสในสิ่งที่ตนเองมั่นใจว่ามีอานาจ เหนอื มนุษยธ์ รรมดา มีอานาจเหนอื ธรรมชาติที่จะสามารถดลบนั ดาลใหต้ นไดร้ ับความคุ้มครองป้องกัน จากภัยพิบัตติ า่ ง ๆ ได้ เมื่อเกิดความเช่ือและความเล่ือมใสเช่นน้ีก็ยอมท่ีจะปฏิบัติตาม ยอมท่ีจะมอบ กายถวายตนด้วยความจงรักภักดีอย่างสุดจิตสุดใจ ศรัทธาหรือความจงรักภักดีจึงกลายเป็นมูลเหตุที่ ทาให้เกิดศาสนา โดยเฉพาะศาสนาประเภทเทวนยิ ม หรือศาสนาท่นี ับถอื เทพเจ้า ประการที่ 4 ความตอ้ งการเหตุผล (Want of Sources) เม่ือมนุษย์มีความเจริญมากขึ้น ก็มีสติปัญญาสามารถพิจารณาหาเหตุผลได้ หา ความจรงิ ของชีวิตได้ ศาสนาทีเ่ กิดจากความตอ้ งการเหตุผล เชน่ ศาสนาพทุ ธ เจ้าชายสิทธัตถะก่อนจะ ได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้านั้น พระองค์ทรงมีสติปัญญาดี รู้จักค้นคิด เข้าใจคิด เช่น คิดเรื่องความแก่ ความเจ็บ ความตาย ซึ่งเปน็ เรอ่ื งธรรมดาสามญั ทมี่ อี ยใู่ นทุกยคุ ทกุ สมัย และทุกหนทุกแหง่ แต่พระองค์ ได้เข้าใจคิดให้เป็นประโยชน์ รู้จักหาประโยชน์จากเหตุการณ์ธรรมดา ๆ เหล่าน่ีมาเป็นตัวปลุกเร้าให้

15 เกิดปัญญาญาณ หรือรู้อยา่ งถอ่ งแท้ ความต้องการเหตุผล เมื่อค้นพบเหตุผลแล้วก็จะเกิดความศรัทธา และปฏิบัติตาม เปน็ สาเหตขุ องการเกดิ ศาสนาได้ ประการที่ 5 ความต้องการที่พ่งึ ทางใจ (Needs of Spiritual Refuge) ที่พ่ึงทางใจเปน็ สิ่งทม่ี นษุ ยต์ อ้ งการมากเพราะสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ของตนรู้สึกว่าจะ จะไม่เป็นที่ปลอดภัย ไม่ว่าจะเป็นภัยจากธรรมชาติ จากอมนุษย์หรือจากมนุษย์ด้วยกัน หรือจาก ธรรมดาของชีวิต เช่น ความผิดหวัง ความกังวลใจ ทรมานใจ ความเจ็บ ความแก่ ความตาย ความ พลัดพรากจากของรักของชอบใจ เป็นต้น สิ่งเหล่านี้ทาให้มนุษย์ขาดความอบอุ่นทางจิตใจ จึง จาเป็นต้องมีทย่ี ดึ เหนี่ยวเพือ่ ให้ชีวิตยงั คงมีความหวังมีความหมาย ผู้ที่จะเป็นที่พึ่งยึดเหน่ียวทางใจได้ กต็ ้องมีอานาจเหนือมนุษยธ์ รรมดา อันไดแ้ ก่ พระเจ้า หรือเทพเจ้า มนุษย์จึงพากันบูชาเทพเจ้าเพ่ือให้ เกิดความรูส้ กึ ว่าจติ ใจปลอดโปร่งปลอดภัย ประการที่ 6 ความตอ้ งการความสงบสุขของสังคม (Social Needs of Happiness) การอยู่ร่วมกันของมนุษย์เป็นกลุ่มเปน็ สงั คมนน้ั สิง่ ที่พงึ ปรารถนาสาหรับสมาชิกของ ของสังคม คือ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข สงบเรียบร้อย ทุกคนสามารถหาความสุข ความสาเร็จ ความปลอดภัยได้ตามสมควรแก่อัตภาพ การท่ีจะบรรลุเป้าหมายเช่นนั้นได้ สมาชิกของสังคมจะต้อง อยู่ในกฎเกณฑ์และระเบียบแบบแผน ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมที่ดีงามของสังคม นอกจากส่ิงเหล่าน้ีจะเป็นกลไกควบคุมระเบียบสังคมให้เรียบร้อยแล้ว จาเป็นต้องมีศาสนาเข้าไปมี บทบาทดว้ ย จึงจะไดผ้ ลสมบูรณ์มากข้ึน เพราะการทม่ี นุษยจ์ ะเชื่อหรือปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ทางสังคม มากน้อยเพียงใดนั้น ศาสนามีความสาคัญมากในการช่วยกล่อมเกลาโน้มน้าวจิตใจ และสร้างสานึก ทางศลี ธรรมต่อสังคม อนั จะยังผลให้เกิดความสงบสุขรม่ เย็นแก่สงั คมท่ีทุกคนตอ้ งการ กล่าวโดยสรุปแล้ว ศาสนามีกาเนิดจากสาเหตุหลายประการ ตามความเช่ือของ ประชาชนแต่ละกลุ่ม และสภาพสิ่งแวดล้อมท่ีโน้มน้าวให้เกิดความเชื่อเช่นนั้น ซ่ึงสามารถแบ่งสาเหตุ ออกได้ 6 ประการ คือ (1) เกิดจากความไม่รู้ หรือ อวิชชา (2) เกิดจากความกลัว (3) เกิดจากความ จงรักภักดี (4) เกิดจากความอยากรู้เหตุผล หรือปัญญา (5) เกิดจากอิทธิพลของคนสาคัญ และ (6) เกิดจากลทั ธิการเมือง 1.3 ประวตั พิ ระศาสดาของศาสนาพทุ ธ พระพุทธเจ้าทรงมีพระนามเดมิ วา่ “สทิ ธตั ถะ” ซึ่งหมายถึง ผ้ทู ่สี าเรจ็ ความมุ่งหมาย แล้ว หรือผ้ปู รารถนาสิ่งใดย่อมไดส้ ิ่งน้ัน เจ้าชายสทิ ธัตถะทรงเป็นพระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ กษตั รยิ ์ผู้ครองกรงุ กบิลพสั ด์ุ แควน้ สักกะ และพระนางสิริมหามายาพระราชธิดาของกษัตริย์ราชสกุล โกลยิ วงศแ์ ห่งกรุงเทวทหะ แควน้ โกลยิ ะ พทุ ธประวัตยิ อ่ ประสตู ิ ในคนื ที่พระพุทธเจ้าเสดจ็ ปฏิสนธใิ นครรภพ์ ระนางสิรมิ หามายา พระนางทรงพระสุบิน นิมิตว่า มีชา้ งเผือกมีงาสามคไู่ ด้เข้ามาสู่พระครรภ์ ณ ที่บรรทม ก่อนท่ีพระนางจะมีพระประสูติกาลท่ี ใต้ตน้ สาละ ณ สวนลุมพินวี นั เม่ือวันศกุ ร์ ขึน้ สิบห้าคา่ เดอื นวิสาขะ ปีจอ 80 ปี ก่อนพุทธศักราชปัจจุบัน คือ สวนลมุ พินวี ัน อยใู่ นเขตประเทศเนปาล ทันทีท่ีประสูติ เจ้าชายสิทธัตถะทรงดาเนินด้วยพระบาท 7 ก้าว และมีดอกบัวผุดข้ึนมารองรับพระบาท พร้อมเปล่งพระวาจาว่า “เราเป็นเลิศท่ีสุดในโลก

16 ประเสรฐิ ท่ีสดุ ในโลก การเกดิ คร้งั นี้เป็นคร้ังสุดท้ายของเรา” แต่หลังจากเจ้าชายสิทธัตถะประสูติกาลได้ แลว้ 7 วัน พระนางสิริมหามายาก็เสด็จสวรรคาลัย เจ้าชายสิทธัตถะ จึงอยู่ในความดูแลของพระนาง ประชาบดีโคตรมี ซงึ่ เปน็ พระกนิษฐาของพระนางสิริมหามายา มีพราหมณ์ จานวน 8 คน ไดท้ านายว่า เจา้ ชายสิทธตั ถะมลี ักษณะเป็นมหาบรุ ษุ หากดารงตนในฆราวาสจะได้เป็นจกั รพรรดิ ถ้าออกบวชจะได้ เป็นศาสดาเอกของโลก แต่โกณฑัญญะ พราหมณ์ผู้อายุนอ้ ยที่สุดในจานวนนนั้ ยืนยันหนักแน่นว่าพระ ราชกมุ ารสทิ ธตั ถะจะเสด็จออกบวช และจะได้ตรัสร้เู ปน็ พระพุทธเจา้ แน่นอน ชวี ิตในวยั เด็กของเจ้าชายสิทธตั ถะ ในวัยเด็กเจ้าชายสิทธัตถะทรงศึกษาเล่าเรียนจนจบศิลปศาสตร์ 18 แขนง อันเป็น ศาสตร์ท่ีกษัตริย์ต้องเล่าเรียนในสานักครูวิศวามิตร และเน่ืองจากพระบิดาไม่ประสงค์ให้เจ้าชาย สทิ ธัตถะเปน็ ศาสดาเอกของโลก จึงพยายามทาให้เจ้าชายสิทธัตถะพบเห็นแต่ความสุข โดยการสร้าง ปราสาท 3 ฤดู ให้ประทับ

17 การอภเิ ษกสมรสของเจ้าชายสิทธัตถะ เมอ่ื เจ้าชายสิทธัตถะพระชนมายุ 16 พรรษา ทรงอภิเษกสมรสกบั พระนางยโสธราหรอื พระนางพิมพา พระธิดาของพระเจ้ากรุงเทวทหะ ซึ่งเป็นพระญาติฝ่ายพระมารดา จนกระท่ังมี พระชนมายุ 29 พรรษา พระนางพิมพาได้ให้ประสตู ิพระราชโอรส มพี ระนามว่า “ราหุล” ซึ่งหมายถึง “บ่วง” การเสด็จออกผนวชของเจา้ ชายสทิ ธัตถะ เจ้าชายสทิ ธตั ถะทรงเบ่อื ความจาเจในปราสาท 3 ฤดู จงึ ชวนสารถีทรงรถม้าประพาส อทุ ยาน ครงั้ นั้นไดท้ อดพระเนตรเห็นคนแก่ คนเจ็บ คนตาย และนักบวช โดยเทวทตู หรือทตู สวรรค์ ที่ แปลงกายมา พระองค์จึงทรงคิดได้ว่า นี่เป็นธรรมดาของโลก ชีวิตของทุกคนต้องตกอยู่ในสภาพ เช่นน้ัน ไม่มีใครสามารถหลีกเล่ียงการเกิด แก่ เจ็บ และตายได้ จึงทรงเห็นว่าความสุขทางโลกเป็น

18 เพียงภาพมายาเทา่ นนั้ และวิถีทางท่ีจะพ้นจากความทุกข์ คือต้องครองเพศสมณะ ดังนั้นพระองค์จึง ใคร่จะเสดจ็ ออกบรรพชา ในขณะทมี่ ีพระชนม์ 29 พรรษา โดยพระองคท์ รงมา้ กัณฐกะ สู่แม่น้าอโนมา ก่อนจะประทบั นง่ั บนกองทราย ทรงตดั พระเมาลดี ้วยพระขรรค์ และเปล่ียนชุดผ้ากาสาวพัตร์ หรือผ้า ย้อมดว้ ยรสฝาดแห่งต้นไม้ แล้วให้นายฉนั ทะนาเครอ่ื งทรงกลบั ไปยังกรุงกบลิ พสั ดุ์ การบาเพ็ญทกุ รกิรยิ าของเจา้ ชายสิทธัตถะ พระองค์มุ่งไปท่ีแม่นา้ คยา แคว้นมคธ ได้พยายามเสาะแสวงทางพ้นทุกข์ ด้วยการ ศกึ ษาคน้ คว้าทดลองในสานักอาฬารดาบส กาลามโครตร และอุทกดาบส รามบุตร แต่เมื่อเรียนจบทั้ง 2 สานกั แลว้ ทรงเหน็ วา่ น่ียังไม่ใช่ทางพ้นทุกข์ จากนั้นพระองค์ได้เสด็จไปที่แม่น้าเนรัญชรา ในตาบล อุรุเวลาเสนานิคม และทรงบาเพ็ญทุกรกิริยา ด้วยการขบฟันด้วยฟัน กล้ันหายใจและอดอาหารจน ร่างกายซูบผอม แต่หลังจากทดลองได้ 6 ปี ทรงเห็นว่านี่ยังไม่ใช่ทางพ้นทุกข์ จึงทรงเลิกบาเพ็ญ ทกุ รกริ ิยา และหนั มาฉนั อาหารตามเดิม ด้วยพระราชดาริตามท่ีท้าวสักกเทวราชได้เสด็จลงมาดีดพิณ ถวาย 3 วาระ คือ ดดี พณิ สายท่ี 1 ขงึ ไว้ตงึ เกินไปเม่ือดดี ก็จะขาด ดดี พณิ วาระที่ 2 ซง่ึ ขงึ ไว้หย่อน เสียง จะยืดยาด ขาดความไพเราะ และวาระท่ี 3 ดีดพิณสายสุดท้ายท่ีขึงไว้พอดี จึงมีเสียงกังวานไพเราะ ดงั นั้นจึงทรงพิจารณาเหน็ วา่ ทางสายกลาง คือ ไมต่ งึ เกนิ ไป และไม่หย่อนเกินไป น่ันคือทางท่ีจะนาสู่ การพ้นทุกข์ หลังจากพระองค์เลิกบาเพ็ญทุกรกิริยา ทาให้พระปัญจวัคคีย์ท้ัง 5 ได้แก่ โกณฑัญญะ วัปปะ ภทั ทยิ า มหานามะ อสั สชิ ทีม่ าคอยรับใชพ้ ระองค์ดว้ ยความคาดหวังว่าเม่ือพระองค์ค้นพบทาง พ้นทุกข์ จะได้สอนพวกตนให้บรรลุด้วย เกิดเส่ือมศรัทธาที่พระองค์ล้มเลิกความต้ังใจ จึงเดินทาง กลับไปทปี่ า่ อสิ ิปตนมฤคทายวนั ตาบลสารนาถ เมืองพาราณสี

19 การตรสั รเู้ ปน็ พระพุทธเจา้ ของเจ้าชายสทิ ธัตถะ เจ้าชายสิทธัตถะทรงตรัสร้เู ปน็ พระพทุ ธเจ้าในตอนเชา้ วันเพญ็ เดือน 6 ปรี ะกา ก่อน พุทธศักราช 45 ปี ขณะนั้นนางสุชาดาได้นาข้าวมธุปายาสไปบวงสรวงเทวดา คร้ันเห็นพระมหาบุรุษ ประทบั ที่โคนต้นไทรดว้ ยอาการสงบ นางคิดวา่ เป็นเทวดา จึงถวายขา้ วมธปุ ายาส เม่อื เจ้าชายสิทธัตถะ ทรงเสวยข้าวมธปุ ายาสแล้ว จึงเสด็จไปริมฝั่งแม่นา้ เนรัญชรา ตอนเย็นวันนั้นเองพระองค์ได้กลับมายัง ตน้ โพธิ์ทปี่ ระทบั พบคนหาบหญ้าชอ่ื โสตถยิ ะนาหญา้ มาถวายใหพ้ ระองค์ปลู าด ณ ใต้ต้นโพธ์ิ พระองค์ ทรงนาหญ้าปูลาดเป็นที่ประทับ แล้วขึ้นประทับหันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก และได้ตั้งจิต อธษิ ฐานวา่ แมเ้ ลอื ดในกายของเราจะเหอื ดแห้งไปเหลอื แต่หนัง เอ็น กระดูก ก็ตาม ถ้ายังไม่พบธรรม วิเศษแลว้ จะไมย่ อมหยุดความเพียรเป็นอันขาด เม่ือทรงต้ังจิตอธิษฐานแล้ว พระองค์ก็ทรงสารวมจิต ใหส้ งบแน่วแนเ่ รมิ่ บาเพญ็ เพยี รทางจติ และในท่ีสุดทรงชนะความลังเลพระทัย ทรงบรรลุความสาเร็จ เม่ือพระองค์ทรงรู้เห็นอย่างนี้ จิตก็พ้นจากกิเลสทั้งปวง พระองค์ก็ตรัสรู้เป็นพระสัมมา สัมพุทธเจ้า เม่ือพระชนมายุ 35 พรรษา ในวนั เพ็ญ เดือน 6 ปีระกา ธรรมสงู สง่ ที่พระพุทธเจ้าตรัสรูน้ ั้น คือ อรยิ สัจ ทกุ ข์ สมุทัย นโิ รธ และมรรค

20 การเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพุทธเจา้ ตอ่ มาพระพุทธเจา้ ไดเ้ ทศน์พระธรรมเทศนาโปรดแก่ยสกุลบตุ รและเพอื่ นของยสกลุ บุตร จนได้สาเร็จเปน็ พระอรหนั ต์ท้งั หมด รวม 60 รูป พระพุทธเจ้าทรงมีพระราชประสงค์จะให้มนุษย์โลก พ้นทกุ ข์ พ้นกิเลส จึงตรัสเรียกสาวกทัง้ 60 รปู มาประชมุ กนั และตรัสให้พระสาวก 60 รูป จาริกแยก ย้ายกันเดินทางไปประกาศศาสนา 60 แห่ง โดยลาพัง ในเส้นทางที่ไม่ซ้ากัน เพ่ือให้สามารถเผยแผ่ พระพทุ ธศาสนาได้ในหลายพน้ื ที่อย่างครอบคลุม ส่วนพระองค์เองได้เสด็จไปแสดงธรรม ณ ตาบลอุรุ เวลา เสนานิคม หลังจากสาวกได้เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนาในพ้ืนที่ต่าง ๆ ทาให้มีผู้เลื่อมใส พระพุทธศาสนาเป็นจานวนมาก พระองค์จึงทรงอนุญาตให้สาวกสามารถดาเนินการบวชได้ โดยใช้ วิธีการ “ตสิ รณคมนูปสัมปทา” คอื การปฏญิ าณตนเป็นผถู้ ึงพระรตั นตรยั พระพุทธศาสนาจึงหย่ังราก ฝงั ลกึ และแพร่หลายในดนิ แดนแห่งนั้นเป็นต้นมา

21 พระพุทธเจ้าเสดจ็ ดบั ขนั ธป์ รินพิ พาน พระพทุ ธเจ้าได้เสดจ็ โปรดสัตว์และแสดงพระธรรมเทศนา ตลอดระยะเวลา 45 พรรษา ทรงสดับว่า อีก 3 เดือนข้างหน้าจะปรินิพพาน จึงได้ทรงปลงอายุสังขาร ขณะนั้นพระองค์ได้ประทับจา พรรษา ณ เวฬุคาม ใกล้เมืองเวลาสี แคว้นวัชชี โดยก่อนเสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน 1 วัน พระองค์ได้เสวย สุกรมทั ทวะที่นายจนุ ทะทาถวาย แต่เกิดอาพาธลง ทาให้พระอานนท์โกรธ แต่พระองค์ตรัสว่า “บิณฑบาต ท่มี ีอานิสงส์ทสี่ ุด มี 2 ประการ คอื เมื่อตถาคตเสวยบิณฑบาตแล้วตรัสรู้ และปรินิพพาน” และมีพระดารัส ว่า “โย โว อานนท ธมม จ วินโย มยา เทสิโต ปญญตโต โสโว มมจจเยน สตถา” อันแปลว่า “ดูก่อน อานนท์ ธรรมและวินัยอันท่ีเราแสดงแล้ว บัญญัติแล้วแก่เธอ ทั้งหลายธรรมวินัยน้ันจักเป็นศาสดาของเธอ ท้ังหลายเมอ่ื เราล่วงลบั ไปแลว้ ”พระพุทธเจ้าทรงประชวรหนัก แต่ทรงอดกลั้นมุ่งหน้าไปยังเมืองกุสินารา ประทับ ณ ป่าสาละเพ่อื เสดจ็ ดับขันธปุ์ รินพิ พาน โดยกอ่ นทีจ่ ะเสดจ็ ดบั ขนั ธ์ปรนิ พิ พานนั้น พระองค์ได้ อุปสมบทแก่ พระสภุ ทั ทะปริพาชก ซงึ่ ถอื ไดว้ ่า “พระสุภภัททะ” คือสาวกองค์สุดท้ายท่ีพระพุทธองค์ ทรงบวชให้ ในท่ามกลางคณะสงฆ์ท้ังที่เป็นพระอรหันต์ และปุถุชนจากแคว้นต่าง ๆ รวมทั้งเทวดา ทม่ี ารวมตวั กนั ในวันนี้ ในครานนั้ พระองค์ทรงมีปัจฉิมโอวาทว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราขอบอกเธอ ทั้งหลาย สังขารทั้งปวงมีความเส่ือมสลายไปเป็นธรรมดา พวกเธอจึงทาประโยชน์ตนเอง และ ประโยชน์ของผู้อื่นให้สมบรู ณด์ ้วยความไมป่ ระมาทเถิด” (อปปมาเทน สมปาเทต) จากนั้นได้เสด็จดับ ขนั ธ์ปรนิ พิ พาน ใต้ต้นสาละ ณ สาลวโนทยาน ของเหลา่ มลั ลกษัตริย์ เมอื งกสุ นิ ารา แคว้นมัลละ ในวัน ขึน้ 15 ค่า เดือน 6 รวมพระชนม์ 80 พรรษา และวนั น้ีถือเปน็ การเริ่มต้นของพทุ ธศักราชพระพุทธเจ้า เสด็จดับขนั ธ์ปรินพิ พาน สรุป ศาสนามีกาเนิดจากสาเหตุหลายประการตามความเชื่อของประชาชนแต่ ละกลุ่ม และสภาพส่ิงแวดล้อมท่ีโน้มน้าวให้เกิดความเชื่อเช่นน้ัน ซ่ึงสามารถแบ่งสาเหตุออกได้ 6 ประการ คือ (1) เกิดจากความไม่รู้ (2) เกิดจากความกลัว (3) เกิดจากความจงรักภักดี (4) เกิดจาก ความอยากรเู้ หตุผล หรอื ปญั ญา (5) เกิดจากอทิ ธพิ ลของคนสาคัญ และ (6) เกดิ จากลทั ธิการเมือง เรอื่ งท่ี 2 นิกายในศาสนาพุทธ 2.1 นิกายทสี่ าคญั ของพทุ ธศาสนา มี 2 นกิ าย ไดแ้ ก่ 2.1.1 นิกายอาจริยวาท (มหายาน) หมายถึง นกิ ายในศาสนาพุทธฝ่ายอาจริยวาท ที่นับถือกันอยู่ในประเทศแถบตอนเหนือของอินเดีย เนปาล จีน ญ่ีปุ่น เกาหลี เวียดนาม มองโกเลีย รวมถงึ บางสว่ นของรัสเซีย สมยั ตอ่ มาเรียกตัวเองว่า“มหายาน” แปลว่า พาหนะอันใหญ่โตเพราะการ แก้ไขวัตรปฏิบัติให้อานวยความสะดวกสบายย่ิงขึ้นจะช่วยให้สามารถนาผู้พ้นทุกข์ได้จานวนมาก มี หลกั ความเช่ือว่า มหายาน แปลวา่ “ยานใหญ่” เป็นนามซึ่งตั้งขึ้นเพื่อแสดงว่าพระพุทธศาสนาแบบน้ี สามารถช่วยให้สัตว์โลกข้ามพ้นวัฎสงสารได้มาก นิกายอาจริยวาท เป็นนิกายท่ียึดหลักท่ีว่า ศาสนา จาเป็นตอ้ งได้รับการพัฒนาให้ทันสมัยเหมาะสมกับกาลเวลา และสภาวะของสังคมอยู่เสมอ อกาลิโก ในทัศนะของฝ่ายอาจริยวาท จึงหมายถึง ไม่กาหนดเร่ืองกาลเวลา สามารถพัฒนาได้เร่ือยไป ความ คดิ เหน็ ดงั กล่าวของผูน้ บั ถือนิกายอาจรยิ วาท ทาให้นิกายน้ีแตกแยกเป็นนิกายย่อยจานวนมากมายใน

22 สมัยน้ี จุดเดน่ ของนกิ ายนอ้ี ยทู่ ีแ่ นวคดิ เรื่องการบาเพ็ญตนเป็นพระโพธิ์สัตว์ สร้างบารมีเพ่ือช่วยเหลือ สรรพชีวิตในโลกไปส่คู วามพ้นทุกข์ 2.1.2 นิกายเถรวาท (หินยาน) หมายถึง นิกายที่ยึดถือพระธรรมวินัยเดิมของ พระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด นิกายน้ียึดหลักท่ีว่า พระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้าเป็นกาลิโก ซ่ึง หมายถงึ ทันสมยั ตลอดกาล หินยาน แปลว่า “ยานอันคับแคบ”เพราะวัตรปฏิบัติอันเข้มงวดกวดขันจะ ทาให้ผู้ปฏิบัติบรรลุจุดหมายปลายทางได้ยาก นิกายเถรวาท หรือ หินยาน เป็นนิกายเก่าแก่ท่ีสุด ยึดถือพระธรรมวนิ ยั เดมิ อยา่ งเครง่ ครัด นบั ถือมากในไทย พมา่ เขมร ลาว ศรลี งั กา กลา่ วโดยสรุป นิกายในศาสนาพุทธ ประกอบดว้ ย นิกายหินยาน และนกิ ายมหายาน ต่างมีหลักธรรมส่วนใหญ่ที่เป็นหลักท่ัวไป เช่น หลักท่ัวไป หลักอริยสัจ ยังมีการจัดต้ังพุทธศาสนิก สมั พนั ธ์แห่งโลก ซงึ่ เปน็ องค์กรรวมของพระพุทธศาสนาทุกนิกายด้วยช่วยให้มีความเข้าใจกัน ร่วมมือ รว่ มใจกนั ทางานเพือ่ พระพุทธศาสนาโดยรวม 2.2 สาเหตุของการเกิดนิกาย ความแตกแยกนิกายในวงการพุทธศาสนาคร้ังสาคัญ เริ่มขึ้นหลังจากการสังคายนา ครั้งท่ี 2 เม่ือคณะสงฆ์วัชชีบุตร ซึ่งมีพวกมากประพฤตินอกรีตนอกรอย และแก้ไขพระวินัย 10 ข้อ เปน็ เหตใุ ห้คณะสงฆ์ที่ยึดมน่ั ในพระธรรมวินัยเดิมอย่างเคร่งครัด และคณะสงฆ์วัชชีบุตร ต่างฝ่ายต่าง แยกกันทาสังคายนา คร้ังนั้นพุทธศาสนาได้เริ่มแตกแยกเป็น 2 นิกาย คือ เถรวาท กับ อาจริยวาท ฝ่ายเถรวาท เรียกว่า นิกายสถวีระ หรือ สถวีระ ฝ่ายอาจริยวาท เรียกว่า นิกายมหาสังฆิกะ นิกาย มหาสังฆิกะเจริญรุ่งเรืองในอินเดียภาคเหนือ ส่วนนิกายสถวีระเจริญรุ่งเรืองในอินเดียภาคใต้ ฐานะ ของนิกายทัง้ สองในสงั คมอินเดยี ขณะน้ันต่างกัน คือ นิกายสถวีระ เป็นนิกายของทางราชการ เพราะ ได้อุปถัมภจ์ ากกษตั ริย์นับแต่ตน้ มาโดยตลอด ส่วนนิกายมหาสังฆิกะ เป็นนิกายของประชาชน เพราะ อานวยความสะดวกในการปฏิบตั ิและพฒั นาตามสภาวะของสังคม จงึ ได้รับความนิยมในหมู่ประชาชน และมีจานวนผู้นับถือมากกว่านิกายเถรวาท เนื่องจากนิกายมหาสังฆิกะเริ่มต้นด้วยพุทธบริษทั ที่มีความคิดกา้ วหน้าต้องการพฒั นา ศาสนาให้มีผนู้ ยิ มนบั ถอื มากทีส่ ุด ประกอบกับการทีต่ ้องแข่งขันกบั อิทธิพลของศาสนาอื่น เช่น ศาสนา พราหมณ์ ฮินดู ศาสนาเซน และศาสนากรกี (สมยั พระเจ้าอเล็กซานเดอร์รุกรานอินเดีย) ทาให้บรรดา คณาจารย์ท่ีแยกย้ายกันออกไปเผยแผ่ศาสนาต่างเพ่ิมเติมความคิดส่วนตัวของตนเข้าในคาสอน เป็น เหตใุ หเ้ กดิ คมั ภีร์ใหม่ และนกิ ายใหม่ข้ึนหลายนิกาย เช่น คาภีร์ มหาวัสดุ ของนิกายโลกุดรวาทีนและ คัมภีร์ ลลิตวิลดร ของนิกายสรวาทติวาทิน เป็นต้น ประมาณพ.ศ. 235 นิกายเถรวาทได้รับอุปถัมภ์ จากพระเจ้าอโศกมหาราช จนแพรข่ ยายไปตง้ั มนั่ อยู่ในประเทศลังกา พม่า ไทย ลาว และกัมพูชาสมัย ต่อมา ประมาณ พ.ศ. 624 พุทธศาสนานิกายย่อยชองนิกายมหาสังฆิกะ ช่ือนิกายลวาสทิน ได้รับ ความอปุ ถัมภจ์ ากพระเจ้ากนษิ กะ แหง่ ราชวงศ์กุษานซ่ึงปกครองอินเดียระหว่าง พ.ศ. 613 - 645 ทา การสังคายนา ครง้ั ที่ 3 ครัง้ นั้นไดจ้ ารึกพระไตรปฎิ กทั้งหมดลงแผ่นทอง นับแต่นั้นพุทธศาสนานิกายล วาสทินได้ตั้งม่ันในอินเดียภาคเหนือและแพร่ขยายสู่ประเทศจีน มองโกเลีย ทิเบต เกาหลี เวียดนาม และญีป่ ุน่ นกิ ายมหายานเร่ิมต้นอบุ ัติข้นึ ในสมยั ของพระเจ้ากนิษกะ และปรากฏเด่นชัดโดยสมบูรณ์ใน ปี พ.ศ. 700

23 2.3 หลักความเช่อื ในนิกายมหายาน 2.3.1 พระพทุ ธเจ้าทีแ่ ท้จรงิ ทรงเป็นอมตะ ทรงมี 3 สภาวะ เรียกว่า“ตรีกาย” คือ ธรรมกาย สัมโภกาย และนิรนามกาย ประทับอยู่เหนือโลก (โลกุตระ) ณ แดนที่เรียกว่า “พุทธเกษตร” หรอื สุขาวดี ทรงถือกาเนิดมาเปน็ มนุษยเ์ พียงครัง้ คราว เพอ่ื ชว่ ยเหลือสัตวโ์ ลกใหพ้ ้นทกุ ข์ 2.3.2 ผู้ใดปฏิบัตธิ รรมจนถึงข้นั บรรลุโพธิญาณ ก็สามารถเปน็ พระพุทธเจ้าได้ทง้ั นน้ั พระพทุ ธเจา้ จึงมจี านวนมากมายนบั ไม่ถว้ น 2.3.3 นกิ ายมหายานบางนกิ าย ให้ความเคารพนบั ถือพระโพธิสตั ว์ (ผทู้ ่จี ะตรสั รเู้ ป็น พระพุทธเจา้ ด้วยการบาเพ็ญบญุ บารมี ในอนาคต) ซง่ึ กม็ ีจานวนมากมายหลายพระองค์เช่นกัน องค์ท่ี ได้รับความนิยมสูงสุดได้แก่องค์ท่ีมีพระนามว่า อวโลกิเตศวรและมัญชุนาถ คัมภีร์สัทธรรมปุณฑริก ถอื วา่ พระมญั ชุนาถ (มัญชศุ รหี รือมญั ชโุ ฆษ) เป็นองค์ปฐมโพธิสัตว์ และเป็นพระอาจารย์ของพระศรี อารยเมตไตรย (ในอนาคต) พระพุทธรปู ซ่งึ สร้างขน้ึ บุชาพระสงค์มักทาเป็นรูปพระหัตถ์หน่ึงทรงกระบ่ี (หมายถึง ปัญญา) อกี พระหตั ถ์หน่งึ ถือหนังสอื 2.3.4 จุดหมายสูงสุดของนิกายมหายาน คือ การบรรลุ “ฌาน” (ญ่ีป่นุ เรียก “เซน”) หมายถงึ ปญั ญาความร้ทู ีเ่ กดิ จากสมาธิจติ ระดบั สูง 2.3.5 นิกายมหายาน ถือวา่ พระพุทธเจา้ ทรงบรรลุนิพพาน (สอปาทิเสสนพิ าน) นับ แต่วันตรัสรู้ ข้อควรทราบ ผู้ส่ังสอนแลเผยแผ่ลัทธิมหายานโดยตรง และเด่นชัดที่สุดเป็นคนแรก คือ “นาคารชุน” บุตรพราหมณ์ชาวเมืองวิทรรภ ท่านผู้น้ีเป็นคณาจารย์ในพุทธศาสนาทางภาคใต้ของ อินเดีย (ประมาณ พ.ศ. 700) 2.4 ความแตกต่างระหว่างนกิ ายมหายานกับนิกายเถรวาท เปรียบเทยี บขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งนิกายมหายานกับนิกายเถรวาท นกิ ายอาจริยวาท (มหายาน) นิกายเถรวาท (หินยาน) 1. สอนใหท้ กุ คนมุ่งมัน่ โพธญิ าณด้วยการปฏบิ ตั ิ 1. สอนให้มงุ่ อรหนั ต์ผลเพ่ือพ้นทุกข์โดยเนน้ ตามทศบารมเี พ่อื เป็นพระโพธสิ ัตว์ หลักอรยิ สจั 4 2. มงุ่ พฒั นาปรมิ าณผศู้ รทั ธาเขา้ มานับถอื ศาสนา 2. มุ่งพฒั นาคณุ ภาพผเู้ ขา้ มานับถือศาสนา กอ่ นการพัฒนาดา้ นคุณภาพ เป็นสาคัญ 3. มงุ่ ประโยชน์สงู สดุ โพธจิ ิตเป็นใหญ่แมต้ อ้ ง 3. ม่งุ ผลสูงสุดที่สอดคล้องกับหลกั ปฏบิ ัตอิ นั กระทาผิดวินยั เชน่ การค้าถ้าจาเป็น ถกู ตอ้ งตามพระวินยั 4. มกี ารปรับปรุงพธิ กี รรมและใช้ธรรมะสังคมขีด 4. ไมถ่ ือวา่ พธิ ีกรรมเปน็ เรื่องสาคัญและไม่ เปน็ เคร่ืองมอื ประกอบการประกาศพระศาสนา นยิ มใชธ้ รรมสงั คีตประกอบการเผยแพร่ 5. มีการอธบิ ายขยายความเพ่มิ เตมิ พระพุทธเจา้ ศาสนา วัจนะออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง 5. ยึดถอื พระพทุ ธเจ้าคณะเดิมอย่างเคร่งครัด 6. มกี ารแต่งพระสูตรใหม่ ๆ เพิม่ เตมิ อย่างมากโดย 6. มกี ารแต่งเพิ่มเตมิ บา้ งแต่น้อยและยดึ ถือ มิได้ยดึ ถือพระพุทธเจ้าเป็นหลัก พระพทุ ธเจา้ เปน็ หลกั สาคญั 7. เปน็ ศาสนาเทวนิยมนบั ถือและให้ความสาคญั 7. เปน็ ศาสนาอเทวนยิ มนบั ถอื และให้ แก่พระพุทธเจ้าหลายองคซ์ ่งึ ไม่ใชพ่ ระสมณโคดม ความสาคัญแกพ่ ระพุทธเจ้าองค์ท่มี ีพระนาม

24 นกิ ายอาจริยวาท (มหายาน) นกิ ายเถรวาท (หนิ ยาน) 8. เน้นความชว่ ยเหลอื ท่ีจะได้รบั จากพระเจา้ ดว้ ย ว่าพระสมณโคดมสูงสุด ความศรัทธาและภกั ดีตอ่ พระองค์ 8. ให้พ่ึงตนเองและเชอ่ื กฎแห่งกรรม 9. นิพพานของพระพุทธเจ้าเปน็ การดับสญู 9. นพิ พานของพระพทุ ธเจา้ มใิ ช่การดับสูญโดย สนิ้ เชงิ แตเ่ ป็นการเสด็จจากโลกมนษุ ยก์ ลับสู่ ตามอายไุ ขของมนษุ ย์ธรรมดาแต่เป็นการ สวรรคโ์ ลกตุ ระเมื่อไดโลกเกดิ ยคุ เข็ญจะลงมา ดบั สญู โดยสน้ิ เชิงไม่หวนกลับมาเกิดอีก เกิดเปน็ มนษุ ย์โพธิสัตว์เพือ่ ช้ที างพ้นทุกขแ์ ก่ 10. พระไตรปฎิ กจารึกบนใบลานด้วยภาษา สตั ว์โลกอกี สนั สกฤต 10. พระไตรปฎิ กจารกึ บนแผน่ ทองด้วยภาษา สันสกฤต กกกกกกก กล่าวโดยสรุป นิกายสาคัญของพุทธศาสนา มี 2 นิกาย คือ (1) นิกายเถรวาท (หินยาน) เปน็ นกิ ายที่ยึดถือพระธรรมวินัยเดิมของพระพุทธเจ้าอย่างเคร่งครัด โดยยึดหลักที่ว่า พระธรรมวินัย ของพระพทุ ธเจา้ เปน็ กาลิโก ซึ่งหมายถึง ทันสมยั ตลอดกาล ทาให้ผ้ปู ฏบิ ตั ิบรรลุจดุ หมายปลายทางได้ยาก (2) นกิ ายอาจริยวาท (มหายาน) เปน็ นกิ ายทย่ี ดึ หลักทีว่ า่ ศาสนาจาเปน็ ต้องเสรมิ การพฒั นาให้ทันสมัย เหมาะสมกับกาลเวลา และสภาวะของสังคมอยู่เสมอ ไม่กาหนดเร่ืองกาลเวลา สามารถพัฒนาได้ เร่ือยไป ทาให้นิกายนแ้ี ตกแยกเปน็ นกิ ายยอ่ ยจานวนมากมาย จดุ เดน่ ของนกิ ายนอี้ ย่ทู ีแ่ นวคิดเร่ืองการ บาเพญ็ ตนเปน็ พระโพธสิ์ ตั ว์ สรา้ งบารมีเพ่ือช่วยเหลือ สรรพชวี ติ ในโลกไปส่คู วามพ้นทุกข์ เรอ่ื งท่ี 3 การนับถือศาสนาพุทธ ในอดีตที่ผ่านมา สันนิษฐานว่าเดิมทีสังคมในดินแดนสุวรรณภูมิ ก่อนท่ีจะนับถือ พระพุทธศาสนาน้ัน มีลัทธิความเช่ือดั้งเดิมแพร่หลายอยู่ก่อนทั้งความเช่ือ เรื่องผีสาง เทพเจ้า ไสยศาสตร์ และลัทธิศาสนาพราหมณ์ที่เข้ามามีอิทธิพลอยู่ก่อน การเข้ามาของพระพุทธศาสนาจึง เป็นไปไมไ่ ด้เลยท่ีจะเปลี่ยนความเชื่อและวิถีชีวิตดั้งเดิมไปโดยส้ินเชิง คงเป็นไปได้เพียงค่อย ๆ สร้าง ความสนใจ ความเขา้ ใจและความเคารพนับถือจากผคู้ นไปอย่างคอ่ ยเป็นค่อยไปในลักษณะปรับตัวเข้า กบั ความเปน็ ด้ังเดิมนน้ั แต่ในขณะเดยี วกันแก่นหรือสาระเดิมแท้ท่ีเป็นหลักสาคัญอันได้แก่ ความเชื่อ และหลักปฏิบัติเพื่อความพ้นทุกข์ที่เรียกว่า “พระธรรมวินัย” ก็จะต้องรักษาไว้ให้ม่ันคงตามแนวคิด ของพระพทุ ธศาสนาเถรวาท เพราะนน่ั คือ วิถแี หง่ สัจจะท่มี ิอาจเปล่ียนแปลงได้ เมื่อเป็นเช่นนี้ นับจาก อดีตสู่ปัจจุบัน พระพุทธศาสนาในสังคมไทยจึงก่อเกิดภาพลักษณ์ 2 ด้าน กลายเป็นนัยแห่ง พระพทุ ธศาสนา 2 แนว ดงั น้ี 3.1 พระพุทธศาสนาแนวจารีต หมายถึง พระพุทธศาสนานัยท่ีสะท้อนความเป็นจารตี ดง้ั เดิม ถอื พระไตรปิฎกเป็นแกน่ สาระสาคัญ เนน้ การปฏิบัติตามวถิ แี ห่งมรรคเพ่อื ความพ้นทุกข์โดยส้ินเชิง ใน ปัจจุบันพบได้ในแนวปฏิบัติของวัดที่เป็นสานักปฏิบัติสายพระป่าเป็นส่วนมากท่ีไม่เน้นการดารงชีวิต แบบเรียบง่าย ไม่เน้นอามิส ศาสนพิธีและประเพณีทางศาสนาท่ีผิดหลักหรือคลาดเคล่ือนจากพระ ธรรมวนิ ัยดง้ั เดมิ มเี ป้าหมายของการปฏบิ ัติสู่พระนิพพานอยา่ งชดั เจน

25 3.2 พระพุทธศาสนาแนวประชานิยม หมายถงึ พระพทุ ธศาสนานัยที่สะท้อนวัฒนธรรม หรอื ความเป็นวถิ ีชีวิตดั้งเดิมของคนไทยท่ีถูกเสริมแต่งหรือกลมกลืนกับพระพุทธศาสนา มีพุทธธรรม เปน็ บอ่ เกดิ ประเพณแี ละถกู สร้างสรรคใ์ หม้ คี วามงดงามอย่างเป็นเอกลักษณ์เฉพาะท้องถ่ิน ผสมผสาน กับความเช่ือด้ังเดิมทงั้ พราหณ์และลทั ธินับถือผสี าง เทวดาและส่ิงศักด์ิสิทธ์ิต่าง ๆ วิถีการปฏิบัติท่ีเห็น ได้ชัด คอื การทาบญุ ตามประเพณีในเทศกาลตา่ ง ๆ การไหว้เจา้ ไหวเ้ จ้าท่ี นบั ถือสิ่งศักด์ิสิทธิ์ บนบาน สานกล่าว ทรงเจ้าเข้าผี สะเดาะเคราะห์ต่อชะตา เสริมดวงและความเช่ือทางไสยศาสตร์ที่มีรูปแบบ ทางพทุ ธเข้าไปมสี ่วนร่วมด้วย เป็นต้น ซ่งึ ดูจะเปน็ ความเชือ่ และวถิ ชี วี ิตของคนส่วนมากในสังคมไทย มี เป้าหมายเพื่อตอบสนองความต้องการ ความสุขสบาย โชคลาภ ความเจริญก้าวหน้าและสิริมงคล สาหรบั ชีวติ เปน็ หลัก การนบั ถอื พระพุทธศาสนาท้งั 2 ลกั ษณะน้ี ดูเหมอื นจะเป็นคนละทางเดยี วกัน คอื มิใช่วา่ จะแยกขาดจากกันโดยส้ินเชิง พุทธศาสนิกชนจานวนหน่ึงที่ศึกษาเรียนรู้และเข้าใจแก่นสาคัญของ พระพทุ ธศาสนาก็จะมุ่งเน้นสู่การปฏิบัติธรรมตามหลักธรรมวินัยดั้งเดิมเป็นหลัก เรียกว่า นับถือโดย การปฏิบัติธรรม แต่ดว้ ยความเปน็ ส่วนหน่งึ ของสังคมไทยก็มิอาจละท้ิงวิถีสังคมท่ีปฏิบัติกันในรูปแบบ วัฒนธรรมไปได้ การรว่ มงานประเพณตี า่ ง ๆ การปฏบิ ตั ิตามศาสนพธิ ีของทอ้ งถิ่น การรักษาขนบธรรมเนียม ต่าง ๆ และการปฏิบตั ิตามมารยาททางสงั คมท่ถี กู หล่อหลอมมาจากพุทธธรรม เป็นต้น ยังคงเป็นส่ิงที่ ควรปฏบิ ตั ติ ามโอกาส แมก้ ระทัง่ พิธที ด่ี ูเหมอื นจะมิใช่พทุ ธ เชน่ การสะเดาะเคราะหต์ อ่ ชะตา สืบชะตา เสริมสง่าราศี และประเพณีท้องถ่ินทั้งหลาย ก็มิใช่ว่าจะเป็นส่ิงที่ต้องปฏิเสธไปเสียท่ีเดียว เพราะพิธี เหล่าน้ีก็มีนัยเชิงลึกท่ีแฝงไว้ด้วยปรัชญา และความปรารถนาที่ดี เพียงแต่ว่ามิควรยึดติดหรือคิด สรา้ งสรรค์กันจนลมื แก่นธรรมะ หรือแก่นสารที่ดีงามไปเสีย เครื่องช้ีวัดอย่างง่ายที่สุดว่ายังอยู่ในร่อง ลอยพุทธทีพ่ อจะรับไดก้ ันหรือไม่ก็คือ ส่งิ เหล่านั้นเป็นไปเพื่อเบียดเบียนผู้อ่ืนหรือไม่ เป็นไปเพื่อความ เดือนรอ้ นสบั สนทางจิตใจหรือไม่ เป็นไปเพอ่ื ความหลงมัวเมา เขลาปัญญาจนเป็นที่มาของปัญหาต่าง ๆ หรือไม่ หากเป็นไปในทางคาถามเหล่านี้ ผู้ที่เรียกตนว่าเป็น “ชาวพุทธ” ก็ควรวางท่าทีให้ถูกเสีย ไม่ สง่ เสริม สนับสนุนหรือมสี ว่ นร่วมเพราะจะพาใหต้ วั “เสยี ศนู ย์” เสยี หลักความเป็นพทุ ธและอาจพบกับ ความ “สญู เสยี ” ในทสี่ ดุ กกกกกกกกล่าวโดยสรุป การนับถือศาสนาพุทธ มี 2 แนว ได้แก่ (1) พระพุทธศาสนาแนวจารีต หมายถงึ พระพุทธศาสนานัยท่ีสะท้อนความเป็นจารีตด้ังเดิม คือ พระไตรปิฎก เป็นแก่นสาระสาคัญ เน้นการปฏิบัติตามวิถีแห่งมรรค เพื่อความพ้นทุกข์โดยสิ้นเชิง และ (2) พระพุทธศาสนาแนวประชา นิยม หมายถึง ศาสนานัยท่ีสะท้อนวัฒนธรรม หรือวิถีชีวิตดั้งเดิมของคนไทยที่ถูกเสริมแต่งหรือ กลมกลืนกับพระพุทธศาสนา มีพุทธธรรมบ่อเกิดประเพณี และถูกสร้างสรรค์ให้มีความงดงามอย่าง เป็นเอกลักษณ์ เฉพาะท้องถ่ินผสมผสานกับความเช่ือด้ังเดิมท้ังพราหมณ์ รวมทั้งลัทธินับถือผีสาง เทวดา และส่ิงศักดิ์สิทธ์ิต่าง ๆ วิถีการปฏิบัติที่เห็นได้เด่นชัด คือ การทาบุญตามประเพณีในเทศกาล ต่าง ๆ

26 เรื่องท่ี 4 ความเช่อื เกยี่ วกบั เจดีย์ในวถิ พี ุทธ 4.1 ความหมายของเจดีย์ เจดยี ์ หมายถงึ สงิ่ กอ่ สร้าง เป็นรูปคลา้ ยลอมฟาง มยี อดแหลม บรรจุสิง่ ท่นี ับถือ มี พระธาตุ เป็นตน้ เจดีย์ หมายถงึ สิ่งก่อสร้างหรอื สิ่งของทีส่ ร้างขน้ึ เพ่ือเปน็ ทเ่ี คารพบูชา ระลกึ ถงึ เจดีย์ หมายถึง สง่ิ กอ่ สรา้ งในพุทธศาสนาที่สร้างขน้ึ เพอ่ื บรรจุอัฐหิ รือเพอ่ื ประดิษฐาน พระพุทธรูป หรอื เพื่อเปน็ ทร่ี ะลกึ กล่าวโดยสรปุ เจดยี ์ หมายถงึ ส่งิ ก่อสรา้ งรปู คลา้ ยลอมฟาง มยี อดแหลม บรรจสุ งิ่ ท่นี บั ถือ หรอื เพ่อื เป็นทเ่ี คารพบูชา ระลึกถึงในพระพุทธศาสนา สร้างขึ้นเพ่ือบรรจุอัฐิธาตุหรือเพื่อประดิษฐาน พระพุทธรปู สาหรบั ประเทศไทย คาวา่ “สถูป” และ “เจดยี ์” เรามักรวมเรียกวา่ “สถปู เจดยี ์”หรอื “เจดยี ์” มคี วามหมายเฉพาะ ถงึ ส่งิ กอ่ สร้างในพทุ ธศาสนาที่สรา้ งขึน้ เพอื่ บรรจอุ ฐั ิ หรือเพ่ือประดิษฐาน พระพุทธรูป หรือเพอื่ เปน็ ท่รี ะลกึ ท้ังน้อี าจเป็นเพราะในสมยั หลังลงมาคงมีการสร้างสถานท่ีเพ่ือบรรจุ อฐั ธิ าตุ และเพือ่ เคารพบชู าระลกึ ถงึ พรอ้ มกนั ไปดว้ ย 4.2 ความเชอื่ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั เจดีย์ 4.2.1 จุดกาเนิดการสร้างพระเจดีย์ ในสมัยพทุ ธกาลสมเด็จพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า มกั เสดจ็ ไปตามสถานท่ีต่าง ๆ เพอ่ื ทรงสงเคราะห์เหล่าเวไนยสัตว์ เม่ือชาวเมืองสาวัตถีถือของหอม ระเบียบดอกไม้ ไปที่วัดพระเชตวัน มหาวิหาร เพือ่ นอบนอ้ มบูชาพระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า แต่ไม่พบพระพุทธองค์ ก็นาเคร่ืองสักการะไปวาง ไว้ท่ีประตูพระคันธกุฎี ท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี จึงนาเร่ืองน้ีไปกราบเรียนถามพระอานนท์ และ ขอร้องให้ท่านช่วยกราบทูลถามพระสัมมาสัมพุทธเจ้าว่า เม่ือพระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ได้ประทับอยู่ท่ี พระวิหาร สาธุชนจะบชู าพระองค์ได้อยา่ งไร สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา้ ตรสั ให้บูชาพระเจดีย์ ซึ่งมี 3 อยา่ ง คือ ธาตุเจดีย์ บรโิ ภคเจดีย์ และอุทเทสิกเจดีย์ ซ่ึงในคร้ังนั้นพระอานนท์ได้กระทาอุทเทสิกเจดีย์ อันเป็นต้นโพธิ์ข้ึน เป็นคร้งั แรก สาหรับในยุคปัจจุบนั มีการจัดเจดีย์ ท่ีประดิษฐานพระธรรมเข้ามาเป็นเจดีย์ อีกประเภทหนึ่ง จึงมีพระเจดยี ์รวมเป็น 4 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 ธาตเุ จดยี ์ คือ พระสถูปเจดีย์ทบี่ รรจพุ ระบรมสารีรกิ ธาตุ หรือ พระบรมธาตขุ องถปู ารหบคุ คล คือ พระสัมมาสมั พุทธเจา้ พระปจั เจกพทุ ธเจ้า พระอรหนั ตสาวก และ พระเจ้าจักรพรรดิ ประเภทที่ 2 บริโภคเจดีย์ คือ พระเจดีย์ ณ สังเวชนียสถานอนั เปน็ สถานท่ี สถานที่ประสูติ ตรัสรู้ แสดงปฐมเทศนา และปรินิพพานของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า รวมทั้งพระ สรีรางคาร คือ เถ้าถ่านทถ่ี วายพระเพลิงพุทธสรีระ ตุมพทะนาน ที่โทณพราหมณ์ใช้ตวงพระบรมธาตุ แจกแกเ่ จา้ นครทั้งสี่ รวมทั้งบาตร จวี ร บรวิ าร เสนาสนะ เตยี ง ตั่ง และกฎุ วี หิ าร ทุกสิ่งที่พระสัมมาสัม พทุ ธเจา้ ทรงบริโภค ก็จดั เปน็ บรโิ ภคเจดยี ์

27 ประการท่ี 3 อุทเทสกิ เจดีย์ คือ พระเจดีย์ทส่ี รา้ งข้นึ เพอื่ อทุ ิศแด่พระสัมมาสมั พุทธเจ้า ไม่กาหนดว่าจะตอ้ งทาอยา่ งไร เชน่ พระพทุ ธปฏิมากร พระพุทธรูปปางต่าง ๆ พระพุทธบาท บัลลังกท์ ีส่ รา้ งข้ึนเพอื่ อุทิศและตรึกระลึกนึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ยังความศรัทธาเลื่อมใสแก่ผู้พบ เห็นใหเ้ กดิ กุศลจติ ประการที่ 4 ธรรมเจดีย์ คือ พระเจดีย์ที่บรรจุพระธรรมคาสอนของพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าที่จดจารึกลงบนแผ่นทอง เงิน ศิลา เป็นต้น เช่น คาถาที่แสดงพระอริยสัจหรือ คัมภีร์พระไตรปิฎก การสรา้ งเจดียป์ ัจจบุ นั มีประเพณบี รรจุของมคี า่ และพระพิมพ์จานวนมากไว้ ในกรขุ ององค์เจดยี ์ ซ่งึ มีนัยวา่ เปน็ การสืบทอดพระศาสนา 4.2.2 ความเชอ่ื ที่เก่ยี วข้องกบั เจดีย์ “เจดยี ์” เป็นภาษาบาลี สว่ นภาษาสนั สกฤตเปน็ “ไจตย” ทงั้ เจดีย์และไจตย มี ธาตุหรือรากของคามาจาก “จิ” ธาตุ แปลว่า ทากองดินใหพ้ ูนหรอื ตะลอ่ มขึ้น ในหนังสือธรรมบทแห่ง หนึง่ กลา่ ววา่ พระหยิ ะอรหนั ตสาวกถูกโคขวดิ ถงึ มรณภาพ พระพุทธเจา้ โปรดให้เผาศพแล้วตะล่อมดิน เป็นเจดยี ์ มสี ัณฐานเปน็ โคก หรือจอมปลวกเหนอื กองฟอน นี่คือ ความหมายเดิมของคาวา่ “เจดยี ”์ เหตเุ กดิ เจดยี ์ ความจรงิ เจดยี เ์ คยมีมาแลว้ ก่อนพทุ ธกาล กล่าวคอื ในอินเดียแต่ กอ่ น การเผาศพไปเผากันในปา่ ห่างไกลหมูบ่ า้ น เผาแล้วจะท้งิ อฐั ิ และถา่ นเถา้ ไว้ใหเ้ ร่ียราดไว้ในท่ีเผาก็ อจุ าดไม่เป็นการเผาเคารพผ้ตู าย จึงไดพ้ นู ดินเปน็ เจดีย์กลบ เมื่อกองเฉย ๆ ไม่ถาวร นานเข้าดินที่กลบ เปน็ เจดีย์รอ่ ยหรอหมดไปทีละน้อย จนราบเสมอพื้นดิน ทาให้สังเกตยาก จึงต้องมีเคร่ืองหมายเป็นท่ี สังเกต เช่น มีต้นไม้ใหญ่ ๆ เป็นท่ีกาหนดหมาย เรียกกันว่า พฤกษ์เจดีย์ หรือรุกขเจดีย์ ต่อมามีการ สรา้ งถาวรวตั ถุคร่อมเนนิ ดนิ บรรจุอัฐิแทนการฝังดินกลบ หรือไม่เอาไปบรรจุในท่ีอื่นซึ่งเป็นถาวรวัตถุ เช่นเดียวกัน เลยทาให้เรียกถาวรวัตถุอย่างน้ันว่า เจดีย์ ขึ้นมาอีก แม้ในเวลาต่อมาวัตถุท่ีสร้างแบบ เจดยี ไ์ มไ่ ด้บรรจุอฐั กิ พ็ ลอยเรยี กกนั ว่าเจดีย์ไปด้วย

28 สถูปสาญจี ในประเทศอินเดยี (ภาพจาก ผศ.ดร. เชษฐ์ ตงิ สญั ชลี) สถูปสาญจี อายุราว พ.ศ. 200-300 เป็นเจดยี ์ยคุ แรก ๆ ท่ีมีหลักฐานชัดเจน ประกอบด้วย ทรงกลมขนาดใหญ่ที่มาจากเนินดินหลุมศพ ปักฉัตรและล้อมร้ัวด้านบนแสดงฐานันดรว่าเป็นที่บรรจุ พระบรมสารีริกธาตขุ องพระพทุ ธเจ้า เจดีย์ต่างกบั สถูป เจดียโ์ ดยเฉพาะพระธาตเุ จดยี ์ มีคาเรียกแทนอยอู่ ีกสองคา คอื “สถูป” ซึง่ เพี้ยนมาจาก “สตูป” ในภาษาสันสกฤต บาลี เป็นสถูป มักใช้เรียกในทางสถาปัตยกรรม เม่ืออ้างถึง สิง่ ก่อสรา้ งแบบเจดีย์ ก็ว่าเป็นสถาปัตยกรรมแบบสถูป ส่วนเจดีย์มักใช้กล่าวอ้างทางศาสนามากกว่า จะใช้สถูป ทั้งความหมายของเจดีย์ก็เคลื่อนมาเป็นเร่ืองของที่เคารพบูชา ยังมีอีกคาหน่ึงท่ีใช้แทนท้ัง เจดีย์ และ สถูป คือ ธาตคุ รรภ แปลวา่ ห้องหรือคูหาเป็นที่บรรจุหรือประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ตามพยญั ชนะแลว้ ธาตคุ รรภ เป็นเพียงส่วนหนึ่งของพระสถูปเท่านั้น คือ เป็นห้อง หรือ คูหาท่ีบรรจุ พระบรมสารีรกิ ธาตุเทา่ น้ัน และคาว่า “ธาตุครรภ” มกั ใช้เรยี กกันในลังกาทวปี มากกวา่ ทีอ่ ื่น เมือ่ พระพุทธเจา้ เสด็จปรนิ พิ พานแล้ว พระบรมสารรี ิกธาตุถูกแบ่งออกไปเป็นแปดส่วน และ นาไปบรรจไุ ว้ตามสถูปเจดีย์แปดแห่งท่ีทาเป็นการเฉพาะก่อน ต่อมาเกิดความนิยมเอาอัฐิของพระอรหันต์ สาวกไปบรรจุแบบเดยี วกนั นน้ั ข้นึ มาบ้าง จึงเกดิ เป็นเจดยี แ์ บบต่าง ๆ พระเจดยี จ์ ะใช้เป็นท่ีประดิษฐาน พระบรมสารีริกธาตุของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระอัฐิธาตุของพระสาวก บรรจุพระบรมอัฐิของ พระมหากษัตริย์ และอัฐขิ องบรรพบรุ ษุ ทีเ่ ปน็ ปูชนียบุคคล ในท่ีสุดชาวบ้านธรรมดาสามัญได้พยายาม เอาอย่าง สร้างเจดีย์เป็นยุคเป็นสมัย จนต้องกาหนดเป็นศิลปะและสถาปัตยกรรมตามแนวคิดของ ผู้สร้างแต่ละยุคแต่ละสมัยท้ังดีท้ังเลว ตลอดจนกระท่ังมีการหล่อเจดีย์ขายกัน ไม่เป็นศิลปะหรือ สถาปตั ย์แต่อยา่ งใด สักแต่วา่ เปน็ เจดยี ก์ เ็ ทา่ น้ัน เจดีย์ จึงเป็นศรีสง่าแห่งเมือง แสดงถงึ ความร่มเยน็ เปน็ สุขในดินแดนแห่งพระพุทธศาสนา และภมู ิปญั ญาทางศิลปะของไทย เป็นอนุสรณ์เตือนใจให้เราราลึกถึงพระพุทธศาสนาและภูมิปัญญา ทางศิลปะของไทย เป็นอนุสรณ์เตือนใจให้เราราลึกถึงพระพุทธคุณและคุณงามความดีของบรรพชน ผู้ลว่ งลับ เกดิ จิตสานึกท่ีจะปฏบิ ัติดี ปฏิบตั ิชอบ เพ่อื ความสงบสขุ ของสังคมไทยสบื ไป

29 รูปแบบการสร้างเจดีย์ มีลักษณะ รูปทรงและ และองค์ประกอบที่หลากหลาย อีก ท้ังมีขนาดท่ีแตกต่างกันตามวัตถุประสงค์ของ ผูส้ ร้าง เชน่ พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม ซ่ึง มีขนาดใหญ่จนมีคาเปรียบเทียบว่ามีความสูง เท่ากับนกเขาเหนิ มตี านานวา่ พระยาพาน สร้าง อทุ ิศถวายพระยากง ซึ่งเป็นพระบิดา เพ่ือชดใช้ กรรมที่ได้กระทาปิตุฆาต เจดีย์มีชื่อเรียกหลาย ชื่อ เช่น พระมหาเจดีย์ พระมหาสถูป พระ มหาธาตุ พระบรมธาตุ พระธาตุ พระเจดีย์ ตามแต่การประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ หรือพระอัฐิธาตุ บางครั้งเจดีย์ที่มีรูปทรงแบบ “ปรางค์” กเ็ รียกวา่ พระปรางค์ สถูปจาลองพระปฐมเจดียอ์ งค์เกา่ กกกกกกก เจดยี ์ เรียกอกี อย่างวา่ สถูป คาว่า “สถูป” หรอื “เจดยี ์” ในพระพุทธศาสนาตามความหมาย เดิม หมายถึง สง่ิ กอ่ สร้างสาหรับการประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ หรือพระบรมอัฐิ นอกจากน้ีเจดีย์ ยังเปน็ สถานที่สาคญั อนั ศกั ดสิ์ ิทธ์ิทางพระพุทธศาสน เปน็ ส่ิงทแ่ี สดงถงึ ศรทั ธาของพุทธศาสนิกชน เป็น เครื่องเตือนใจให้ระลึกถึงพระพุทธองค์ ตลอดจนพระธรรม คาสอนของพระพุทธองค์ รวมถึงคุณค่า ทางศลิ ปวัฒนธรรมในแตล่ ะยุคสมยั ของชนชาติต่างๆ อีกด้วย ประชาชนในประเทศไทย สว่ นใหญน่ ับถอื พระพุทธศาสนา วัดจึงเปน็ ศนู ย์รวมทางจิตใจของ พุทธศาสนิกชน ภายในวัดมีส่ิงก่อสร้างทางสถาปัตยศิลป์ท่ีงดงาม เช่น โบสถ์ วิหาร หอระฆัง และ เจดีย์ที่มรี ปู ทรงหลายแบบ สงู ตระหงา่ น ส่วนยอดแหลมสที องอรา่ ม ดงู ามจับตาและนา่ ประทบั ใจ พระสถูปเจดยี ์ คอื สัญลักษณ์แสดงความรุ่งเรอื งของพระพุทธศาสนา

30 กกกกกกกกล่าวโดยสรุป พุทธศาสนามีความเชื่อเกี่ยวกับเจดีย์ว่า เม่ือพระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพาน แลว้ พระบรมสารีริกธาตุ ถูกแบ่งออกไปเป็นแปดส่วน และนาไปบรรจุไว้ตามสถูปเจดีย์แปดแห่งท่ีทา เปน็ การเฉพาะกอ่ น ต่อมาเกิดความนยิ มเอาอัฐขิ องพระอรหนั ตส์ าวกไปบรรจุแบบเดียวกัน จึงเกิดเป็น เจดยี แ์ บบต่าง ๆ ในทีส่ ุดชาวบา้ นธรรมดาสามัญก็พยายามเอาอย่าง สร้างเจดีย์เป็นยุคเป็นสมัย เจดีย์ จึงเป็นศรีสง่าแห่งเมือง แสดงถึงความร่มเย็นเป็นสุข ในดินแดนแห่งพุทธศาสนา และภูมิปัญญาทาง ศลิ ปะของไทย เปน็ อนสุ รณเ์ ตือนใจให้เราราลึกถึงพระพุทธศาสนา และภูมิปัญญาทางศิลปะของไทย เจดยี ์ เป็นศาสนสถานที่แสดงถึงศรัทธาของบรรดาพุทธศาสนิกชน และคุณค่าทางศิลปะของชาติ จึง ถือเป็นหน้าท่ีของคนไทยท่ีต้องยึดถือในความศักดิ์สิทธ์ิ ตามประเพณีและพิธีกรรมที่ได้สืบทอดกัน ตอ่ มา ควรช่วยกันบารงุ รกั ษามิใหเ้ ส่ือมโทรมลง และพร้อมใจกันบูรณะให้คงความงดงามเป็นที่เคารพ บูชาตลอดไป กจิ กรรมท้ายบท กกกกกกก1. กจิ กรรมที่ 1 คาชี้แจง : โปรดเลือกตัวอกั ษรหนา้ ขอ้ ท่นี กั ศกึ ษาคิดว่าขอ้ นั้นเป็นคาตอบท่ถี ูกตอ้ งที่สุด เพียงขอ้ เดยี ว แล้วเขยี นคาตอบลงในกระดาษของนักศกึ ษา 1. องค์ประกอบใดจาแนกศาสนาเป็นเทวนิยม อเทวนิยม เอกเทวนิยม หรอื พหุเทวนยิ ม ก. ศาสนา ข. พิธีกรรม ค. ความเชอ่ื ง. รปู เคารพ 2. มลู เหตุการเกดิ ศาสนาท่ีสาคัญที่สดุ คือข้อใด ก. อวชิ ชา ข. ความกลวั ค. ความจงรกั ภักดี ง. อทิ ธิพลของผนู้ า 3. ขอ้ ใดกล่าวถกู ต้องเกี่ยวกับนิกายเถรวาท (หินยาน) ก. สามารถช่วยให้สตั ว์โลกขา้ มพ้นวัฎสงสารไดง้ า่ ย ข. เป็นนิกายที่เกา่ แกท่ ี่สุด ยึดถือพระธรรมวินัยเดิมของพระพุทธเจ้าอยา่ งเคร่งครัด ค. เปน็ นิกายท่ีไมก่ าหนดเรือ่ งกาลเวลา สามารถพัฒนาไดเ้ ร่ือยไป จงึ แตกแยกเป็น นิกายย่อยจานวนมากมาย ง. สอนใหท้ ุกคนม่งุ ม่ันโพธญิ าณดว้ ยการปฏิบัตติ ามทศบารมีเพือ่ เป็นพระโพธิสัตว์ ช่วยเหลอื สรรพชวี ิตในโลกไปสู่ความพ้นทุกขไ์ ด้

31 4. นกิ ายต่าง ๆ ในทางพระพุทธศาสนา เกิดขึ้นเนื่องจากเหตุผลในขอ้ ใด ก. ความขดั แย้งกันระหว่างผูน้ าของศาสนา ข. ความเห็นไม่ตรงกนั ในเร่อื งสิกขาบทเลก็ ๆ น้อย ๆ ค. พระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาท่ีคนสว่ นใหญ่ใหก้ ารยอมรบั ง. ความเหน็ ไม่ตรงกันเกี่ยวกับหลกั ธรรมตา่ ง ๆ ของศาสนา 5. ความเชอื่ และหลกั ปฏิบัตเิ พ่อื ความพน้ ทกุ ข์ เรียกวา่ อะไร ก. พระธรรมวนิ ัย ข. ลทั ธิความเช่อื ผีสาง เทวดา ค. พระธรรมทูต และคาสอน ง. ลัทธิคาสอนแนวประชานยิ ม 6. การนบั ถอื ศาสนาพุทธแนวจารตี คอื ขอ้ ใด ก. ศาสนาที่เป็นความศกั ดสิ์ ทิ ธิ์ ข. ศาสนาท่นี ับถอื ทเ่ี ป็นวัฒนธรรม ค. ศาสนาที่เป็นความเปน็ เอกลักษณ์ทอ้ งถนิ่ ง. ศาสนาที่นับถือตามพระไตรปิฎกเป็นแก่นสาระสาคัญ 7. พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสให้บูชาพระเจดีย์ ซ่งึ มี 3 อย่าง ข้อใดถูกต้อง ก. ธาตุเจดีย์ บริโภคเจดีย์ และอุทเทสกิ เจดีย์ ข. ธาตุเจดีย์ พระธรรมเจดยี ์ และบริโภคเจดยี ์ ค. พระธาตุเจดีย์ ธรรมเจดยี ์ และอุทเทสิกเจดยี ์ ง. ธรรมเจดีย์ อทุ เทสกิ เจดีย์ และพระสถปู เจดยี ์ 8. ข้อใดคือเจดีย์ประธาน ก. เจดีย์ท่ีสรา้ งข้นึ ข. เจดียท์ ่ีสวยงามทส่ี ุดในวดั ค. เจดียท์ ี่สร้างขน้ึ มคี วามเก่าแก่ของวดั ง. เจดียท์ ี่ใหญ่ทส่ี ดุ ในบรรดาเจดีย์ภายในวัด กกกกกกก2. กจิ กรรมที่ 2 คาชแ้ี จง : โปรดจับคขู่ ้อมูลที่อยู่หลังตัวอักษรท่ีตรงกับขอ้ เลขน้ัน ๆ หรอื มี ความสัมพันธต์ รงกบั ข้อเลขนน้ั ๆ ให้ถูกตอ้ ง แลว้ นาตัวอกั ษรหนา้ ข้อมลู มาใส่ท่หี น้าตวั เลขขอ้ นั้น ๆ .......1. นกิ ายเรอ่ื งการบาเพญ็ ตนเป็นพระโพธสิ ตั ว์ ก. ศาสนา .......2. นิกายที่ยดึ ถือพระธรรมวนิ ัยของพระพุทธเจ้า ข. มหายาน อยา่ งเครง่ ครดั .......3. พระเจดียท์ ีบ่ รรจุพระธรรม คาสอนของ ค. อุทเทสิกเจดีย์ พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้า .......4. พระเจดยี ท์ ส่ี ร้างข้นึ เพอื่ อุทิศแดพ่ ระสมั มาสัมพุทธเจา้ ง. หินยาน .......5. ความเชอื่ ของมนุษย์ท่ีเก่ยี วกบั การกาเนดิ การหลดุ พน้ จ. ธรรมเจดยี ์ เป็นปรปัตถ์ บุญบาป

32 กกกกกกก3. กิจกรรมที่ 3 คาชแี้ จง : โปรดทาเคร่อื งหมายถูก () หรอื เครือ่ งหมายผดิ ( x ) ลงหน้าขอ้ ตวั เลขท่ี นกั ศึกษาอา่ นข้อมูลแลว้ คิดว่าถกู ให้ทาเคร่ืองหมาย () ถา้ คิดว่าขอ้ มูลทอี่ ่านผิด ให้ทาเครอ่ื งหมาย (x) ........ 1. นิกายสาคัญของพระพทุ ธเจ้าปจั จบุ ัน มี 2 นิกาย คอื นกิ ายเถรวาท (หนิ ยาน) กบั นกิ ายอาจรยิ วาท (มหายาน) ........ 2. ศาสนา หมายถึง ความเชื่อของมนุษย์ที่เกีย่ วกับการกาเนิดและการส้ินสุดของโลก ........ 3. พุทธศาสนามีความเชอ่ื เก่ียวกับเจดยี ์วา่ เม่ือพระพทุ ธเจา้ เสด็จปรนิ ิพพานแล้ว พระบรมสารรี กิ ธาตุ ถูกแบง่ ออกไปเปน็ เก้าส่วน และนาไปบรรจไุ วต้ ามสถูป เจดียเ์ ก้าแหง่ ท่ีทาเป็นการเฉพาะก่อน ........ 4. ความเชอื่ และหลักปฏิบตั ิเพ่ือความพน้ ทุกข์เรียกว่า “พระธรรมฑูต” ........ 5. พระสถูปเจดยี ์ คอื สัญลักษณ์แสดงความรุ่งเรืองของพระพทุ ธศาสนา กกกกกกก4. กจิ กรรมท่ี 4 คาช้แี จง : โปรดเตมิ คาหรือตวั เลขหรอื ข้อความส้ัน ๆ ลงในช่องวา่ งของแต่ละข้อให้ สมบูรณ์ ถกู ตอ้ ง 1. พระพุทธเจ้าทรงมพี ระนามเดมิ ว่า..........................หมายถึง ผู้ที่สาเร็จความมุ่งหมาย หรือผู้ปรารถนาสิง่ ใดย่อมได้สิง่ นัน้ 2. พระปญั จวัคคียท์ งั้ 5 ไดแ้ ก่........................................................................................ 3. จดุ มุ่งหมายสงู สุดของนกิ ายมหายาน คือ..........................................หมายถึง ปัญญา ความรทู้ ่ีเกิดจากสมาธิจิตระดับสงู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook