Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Handdrawn Blank Page Border (3)

Handdrawn Blank Page Border (3)

Published by Pim Pimmada Jampathai, 2021-07-07 09:23:29

Description: Handdrawn Blank Page Border (3)

Search

Read the Text Version

- องค์ทังสามทํางานอยา่ งคานอํานาจซงึ กันและกัน มใิ หอ้ งค์ใดมอี ํานาจสงู สดุ แต่เพยี งฝายเดยี ว อยา่ งไรก็ตาม อํานาจในการปกครองทีแท้จรงิ อยูท่ ีสภาซเี นต สามารถยงั ยงั สภามติของราษฎร ควบคมุ การคลัง การต่างประเทศ การประกาศสงครามและตัดสนิ คดี นโยบายสภาซเี นตสว่ นใหญ่ เปนไปเพอื ผลประโยชนข์ องแพทรเี ซยี น - การเปลียนแปลงการเมอื งการปกครองของโรมเรมิ ขนึ เมอื มคี วามมงั คังทางการค้ามผี ลทําให้ พวกพอ่ ค้า นกั ธุรกิจ แรงงาน เรยี กรอ้ งความเสมอภาคทางการเมอื งจากพวกแพทรเี ซยี น การทํา สงครามเพอื ขยายอาณาเขตของโรมเพมิ อํานาจการต่อรองระหวา่ งพวกแพททรเี ซยี นและพวกพลี เบยี นทียากจน เพราะพวกนไี มย่ อมเปนทหารในกองทัพและพยายามตังสาธารณรฐั ของตนเอง นาํ ไปสกู่ ารต่อสแู้ ยง่ ชงิ อํานาจทางการเมอื ง - ในทีสดุ พวกพรเี บยี นมสี ภาของตนเองชอื วา “สภาเผา่ พนั ธุ”์ (Assembly of Tribes) หรอื สภา ประชาชน มหี นา้ ทีเลือกตัวแทน 2 คน เขา้ ไปในสภาซเี นตเพอื รกั ษาผลประโยชนข์ องพวกตน ในป 451 ก่อนครสิ ตกาล มกี ารรา่ งกฎหมายเปนลายลักษณอ์ ักษรเปนครงั แรก ระบุสทิ ธแิ ละหนา้ ทีของ พวกแพทรเี รยี นและพลิเบยี นวา่ “กฎหมายสบิ สองโต๊ะ” (Law of Twelve table) เนอื งจากจารกึ บน แผน่ สาํ รดิ 12 แผน่ นบั เปนความสาํ เรจ็ อันยงิ ใหญ่ ในการต่อสเู้ พอื สทิ ธทิ างการเมอื งของพวกพลี เบยี น และพนื ฐานของกฎหมายโรมนั ในสมยั ต่อมา ทําใหพ้ วกพลีเบยี นสามารถดาํ รงตําแหนง่ สาํ คัญๆได้ แต่มพี ลีเบยี นจาํ นวนไมม่ ากนกั ทีจะดาํ รงตําแหนง่ เหล่านไี ด้ เนอื งจากเปนตําแหนง่ ที ไมม่ เี งินเดอื นตอบแทน อยา่ งไรก็ตามนบั เปนก้าวทีสาํ คัญนาํ ไปสสู่ ทิ ธใิ นการออกกฎหมายในสภา ประชาชนในป 287 ก่อนครสิ ตกาล การปกครองโรมในสมยั นจี งึ เปลียนแปลงการปกครองโดยคน กล่มุ นอ้ ยมาเปนลักษณะประชาธปิ ไตยมากขนึ กวา่ เดมิ - การปกครองรปู แบบสาธารณรฐั ของโรมมคี วามเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางดนิ แดนของโรม กล่าวคือ มอี าณาบรเิ วณและประชากรอยูไ่ มม่ ากนกั แต่เมอื โรมขยายดนิ แดนเพอื ปกครอง ซงึ ผคู้ น ต่างชาติ ต่างภาษา ต่างขนบธรรมเนยี มประเพณี กระจายในอาณาบรเิ วณทีกวา้ งใหญ่ จงึ ต้อง เปลียนแปลงรปู แบบการปกครองในแบบจกั รวรรดโิ ดยมพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปนประมุขสงู สดุ สถาบนั ทางการเมอื งทําหนา้ ทีแต่เพยี งนามเท่านนั ประกอบไปดว้ ยการปกครองแบบประชาธปิ ไตย ของโรมมคี วามเสอื มลง ไมส่ ามารถแก้ไขปญหาเศรษฐกิจและสงั คมได้ จงึ เกิดชอ่ งวา่ งระหวา่ ง คนรวยและคนจน ประชาชนเสอื มความนยิ มในรฐั บาล หนั ไปสนใจพวกแมท่ ัพนายกองทีมชี อื เสยี ง ทีนาํ ชยั ชนะมาสโู่ รม การแก่งแยง่ อํานาจของพวกนายทัพและความอ่อนแอของสภาซเี นตทําให้ ออกเตเวยี น ซซี าร์ (Octavian Caesar) ไดข้ นึ มาเปนผเู้ ผดจ็ การแต่เพยี งผเู้ ดยี ว ในป 27 ปก่อน ครสิ ตกาล Octavian Caesar

2.สมยั จกั รวรรดิ (27 B.C.- ค.ศ. 476) - เรมิ ตังแต่สมยั จกั รพรรดอิ อกสุ ตสุ ไดส้ ถาปนาเปนจกั รพรรดอิ งค์แรกในป 27 ปก่อนครสิ ตกาล และสนิ สดุ เมอื จกั รวรรดโิ รมนั ทางภาคตะวนั ออกตกถึงแก่ความพนิ าศใน ค.ศ. 476 - เมอื อกสุ ตสุ ขนึ เปนจกั รพรรดิ ไดด้ าํ เนนิ รอยตามจูเลียส ซซี าร์ ในการปกครองคือ รวบอํานาจมา อยูท่ ีพระองค์ ระบอบสาธารณรฐั จงึ ค่อยๆสลายตัวมาเปนระบอบกษัตรยิ ์ จกั รพรรดทิ ีครองต่อออ กสุ ตสุ ไดส้ ง่ เสรมิ ฟนฟูธรรมเนยี มศาสนา มกี ารบูชาจกั รพรรดเิ ยยี งเทพเจา้ ความเจรญิ รงุ่ เรอื ง ของโรมนั ระยะที 2 ศตวรรษแรกในชว่ ง 27 ปก่อนครสิ ตกาล – ค.ศ. 180 เรยี กวา่ สมยั สนั ติภาพ โรมนั เปนชว่ งมคี วามสงบ ปราศจากสงครามใหญ่ และตามดว้ ยยุคทองของจกั รวรรดิ โรมนั ระหวา่ ง ค.ศ.96 – ค.ศ. 180 เปนชว่ งทีจกั รวรรดปิ กครองเปนอยา่ งดใี นทกุ ชนชาติ ทกุ ภาษาติดต่อ กันจนถึง 5 พระองค์ ทําใหโ้ รมมคี วามเจรญิ ในดา้ นต่างๆ จนถึง ค.ศ. 476 จกั รวรรดโิ รมนั ตะวนั ตก ล่มสลายจาการทีอานารยะชนเผา่ เยอรมนั โค่นล้มจกั รวรรดโิ รมนั และครองอิตาลีทังหมด แต่พวกนี ยอมรบั เอาอารยธรรมของโรมนั หลายอยา่ ง เชน่ ภาษาละติน กกหมาย และครสิ ต์ศาสนา ขณะ เดยี วกันจกั รวรรดโิ รมนั ตะวนั ออกมศี ูนยก์ ลางอยูท่ ีคอนสแตนติโนเบลิ (Constantinople) หรอื อิสตันบูล (Istanbul) ปจจุบนั ไมถ่ กู รกุ รานจากอานารยะ ไดย้ งั ยนื ต่อมาเปนศูนยก์ ลางของ อารยธรรมกรกี แบบเฮเลนนกิ ติส ทีมอี ิทธพิ ลเขา้ มาแทนทีอารยธรรมโรมนั จนสนิ สดุ ยุคกลาง (Middle age) เมอื พวกออตโตมนั เนอรท์ ีนบั ถืออิสลามรกุ รานในตอนกลางครสิ ต์วรรษที 15 Istanbul

ผปู้ กครองคนสาํ คัญของอารยธรรมโรมนั จูเรยี ส ซซี าร์ (Julius Caesar) - จูเลียส ซซี า่ ร์ เกิดวนั ที 12 กรกฎาคม ในตระกลู ขุนนางเก่าตระกลู หนงึ มบี ดิ าชอื เคอูส จูเลียส และมารดาชอื อรอเรเลีย ซซี า่ รเ์ ปนมนษุ ยค์ นแรกทีเกิดโดยการผา่ ตัดจากหนา้ ท้อง บดิ าของเขา แมจ้ ะมงั คังราํ รวย แต่ก็มไิ ดม้ ตี ําแหนง่ สงู นกั ในทางราชการ จูเลียสเปนกําพรา้ บดิ าตังแต่อายุยงั นอ้ ย คงมแี ต่มารดาซงึ คอยใหค้ วามปกปองค้มุ ครองดแู ลต่อมา - นบั ตังแต่เดก็ มา จูเลียสไมเ่ คยคิดทีจะยดึ เอาการทหารเปนอาชพี อยา่ งแท้จรงิ เลยทัง ๆ ทีเขาเคย เขา้ ฝกทหารอยูช่ วั ระยะเวลาหนงึ เขาตังใจจะเปนทนายความ ซงึ เปนอาชพี ทีเปนหนา้ เปนตาในสมยั นนั มาก จูเลียสนนั เปนผทู้ ีชอบการสรู้ บมาตังแต่เดก็ ๆ และก็ดเู หมอื นวา่ เขาจะมชี อื เสยี งทีสดุ ใน ดา้ นการทหาร เมอื อายุ 21 ป เขาไดร้ บั เหรยี ญกล้าหาญในฐานะทีไดช้ ว่ ยชวี ติ ทหารคนหนงึ ไวไ้ ดจ้ าก การรบ สามารถตีชนะประเทศต่าง ๆ ถึง 300 ประเทศ ไดเ้ มอื งต่าง ๆ ไวใ้ นอํานาจถึง 800 เมอื ง แมแ้ ต่ในวงการทหารสมยั ปจจุบนั ก็ยงั อดแปลกใจไมไ่ ดว้ า่ ทําไมจูเลียส ซซี าร์ จงึ สามารถเดนิ ทัพ และทําสงครามเผดจ็ ศึก ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถึงเพยี งนนั ทัพของโรมนั ไดช้ ยั ชนะตังแต่ยุโรป ทางตอน เหนอื จรดยุโรปตอนใต้ จากสเปนไปจนถึงอียปิ ต์ ตลอดเวลาของการเดนิ ทัพ จูเลียสจะกินอยูห่ ลับ นอนรว่ มกับทหารเลวทังหมด ทังมกั จะชอบแสดงถึงความกล้าหาญ ปราศจากความกลัวใน ภยนั ตรายทังหลายทังปวงใหเ้ หล่าทหารไดเ้ หน็ ครงั หนงึ เขาควบมา้ อยา่ งรวดเรว็ เต็มฝเท้าแต่กลับ ปล่อยมอื จากสายบงั เหยี น แล้วยกขนึ ประสานไวเ้ หนอื ศีรษะ และอีกครงั หนงึ เขาไดข้ อลองขนึ ขมี า้ ทีขนึ ชอื วา่ ยพยศทีสดุ จนไมม่ ใี ครกล้าขี ในการบุกทกุ ครงั จูเลียสจะเขา้ รว่ มอยูใ่ นกล่มุ ทหาร ปฏิเสธ ไมย่ อมใสแ่ มแ้ ต่หมวกเหล็กเพอื ใหท้ หารจาํ ได้ เขาไมเ่ คยตกใจจนทําอะไรไมถ่ กู และไมว่ า่ จะทําอะไร เขาจะทําอยา่ งเชอื มนั ในตนเอง ตลอดเวลาเขามกั จะคิดถึงแต่ความสง่างามความยงิ ใหญข่ องเขา ในฐานะเปนผนู้ าํ

เหตกุ ารณท์ ีสาํ คัญทีสดุ ในสมยั ทีซซี ารค์ รองโรม การยกทัพเขา้ รกุ รานเกาะอังกฤษ ทีเรยี กวา่ สาํ คัญก็ดว้ ยเหตผุ ลประการหนงึ คือ ทําใหค้ นรนุ่ หลัง ไดร้ จู้ กั ประวตั ิของเกาะเล็ก ๆ เกาะหนงึ ซงึ ก่อนหนา้ นนั ไมเ่ คยมอี ยูบ่ นแผนทีเลยดว้ ยซาํ ปนนั ตรง กับปที 55 ก่อนครสิ ต์ศักราช ซซี ารไ์ ดค้ รองอาณาจกั รโกล ต่อมาราว 59 ป ก่อนครสิ ต์ศักราช จู เลียสไดร้ บั เลือกเปนกงสลุ และไดม้ กี ารแบง่ อํานาจกันระหวา่ งค่สู ญั ญาทังสาม ซงึ ทําใหจ้ ูเลียสได้ โอกาสแผข่ ยายอํานาจต่อไปไดเ้ ต็มที จนปอมเปยอ์ ิจฉา จนในทีสดุ เกิดเปนสงครามขนึ ตอนนแี ค รสซสั ตายแล้ว จูเลียสไดช้ ยั ชนะ ปอมเปยห์ นไี ปอียปิ ต์ และไปถกู ฆา่ ตายทีนนั ราว 48 ป ก่อนครสิ ต์ ศักราช เขาไดเ้ ขา้ เมอื งอียปิ ต์ชว่ ยจดั การใหค้ ลีโอพตั รา ซงึ กําลังมเี รอื งแยง่ ราชสมบตั ิกับพระอนชุ า ใหไ้ ดข้ นึ ครองราชบลั ลังก์ จนมเี รอื งลือกระฉ่อนเกียวกับความสมั พนั ธข์ องเขากับพระนางคลีโอ พตั รา อยา่ งไรก็ตาม ในตอนนจี ูเลียสก็ไดม้ อี ํานาจเต็มทีในโรมเขากลับมาถึงโรม และไดร้ บั การ ยกยอ่ งใหเ้ ปน “ผมู้ อี ํานาจปกครองโดยเผดจ็ การ” โดยกําหนดใหม้ อี ํานาจอยูค่ รงั ละสบิ ป และต่อมา เมอื เขาปราบปรามตีดนิ แดนทางแถบแอฟรกิ า และสเปนได้ เขาจงึ ไดร้ บั การอนมุ ตั ิใหเ้ ปน “หวั หนา้ ผเู้ ผดจ็ การ” ตลอดชวี ติ

จกั รพรรดกิ ายุส ยูลิอุส ไกซาร์ ออกัสตัส - จกั รพรรดกิ ายุส ยูลิอุส ไกซาร์ ออกสุ ตสุ เปนจกั รพรรดพิ ระองค์แรกของจกั รวรรดโิ รมนั ซงึ ทรง ปกครองแต่เพยี งผเู้ ดยี วนบั ตังแต่ 27 ปก่อนครสิ ตกาลจนกระทัง สวรรคตใน ค.ศ. 14 พระนาม เมอื ประสตู ิ คือ ไกอัส จูเลียส ธูรนี สั พระองค์ทรงเปนบุตรบุญธรรมของพระมาตลุ า กายุส ยูลิอุส ไกซา่ ร์ เมอื 44 ปก่อนครสิ ตกาล ซงึ ในระหวา่ งนนั จนถึง 27 ปก่อนครสิ ตกาล พระองค์ทรงมี พระนามอยา่ งเปนทางการวา่ กายุส ยูลิอุส ไกซาร์ ในปที 27 ก่อนครสิ ตกาล วุฒสิ ภาโรมนั ไดถ้ วาย พระนามเฉลิมพระเกียรติ ออกสุ ตสุ (“ผไู้ ดร้ บั ความเคารพนบั ถือ”) และทําใหพ้ ระนามของพระองค์ หลังจากนนั เปน กายุส ยูลิอุส ไกซาร์ ออกสุ ตสุ เนอื งจากพระองค์ทรงมหี ลายพระนาม จงึ มกั เรยี ก พระองค์วา่ ออกเตเวยี ส เมอื กล่าวถึงพระราชประวตั ิระหวา่ ง 63-44 ปก่อนครสิ ตกาล ออกเต เวยี น (หรอื ออกเตวแิ อนสั ) เมอื กล่าวถึงพระราชประวตั ิระหวา่ ง 44-27 ปก่อนครสิ ตกาล และ ออ กสุ ตสุ เมอื กล่าวถึงพระราชประวตั ิหลัง 27 ปก่อนครสิ ตกาล ในบนั ทึกกรกี พระองค์ทรงเปนที รจู้ กั กันในนาม Ὀκτάβιος (ออกเตเวยี ส) Καῖσαρ (ซซี าร)์ Αὔγουστος (ออกสุ ตสุ ) หรอื Σεβαστός (เซบาสตอส) ขนึ อยูก่ ับบรบิ ท - ออกเตเวยี สในวยั หนมุ่ ไดร้ บั มรดกทางการเมอื งภายหลังการลอบสงั หารซซี ารเ์ มอื 44 ปก่อน ครสิ ตกาล ในปที 43 ก่อนครสิ ตกาล ออกเตเวยี นเขา้ รว่ มกองกําลังกับ มารก์ แอนโทนี และ มารค์ ัส อมเี ลียส เลพดี สั ในการปกครองระบอบเผดจ็ การทหาร ซงึ รจู้ กั กันวา่ คณะผสู้ าํ เรจ็ ราชการ ชุดทีสอง ในฐานะทีเปนหนงึ ในคณะผสู้ าํ เรจ็ ราชการ ออกเตเวยี นมอี ํานาจปกครองเหนอื โรมและ อีกหลายจงั หวดั ของสาธารณรฐั คณะผสู้ าํ เรจ็ ราชการดงั กล่าวล่มสลายลงหลังจากความ ทะเยอทะยานของผรู้ ว่ มคณะทังสามเลพดิ สั ถกู เนรเทศ และแอนโทนไี ดท้ ําอัตวนิ บิ าตกรรมหลัง จากความพา่ ยแพใ้ น ยุทธการอักติอุม โดยกองเรอื ของออกเตเวยี น ภายใต้บงั คับบญั ชาของ อก รบิ ปา ในปที 31 ก่อนครสิ ตกาล

- หลังจากการล่มสลายของคณะผสู้ าํ เรจ็ ราชการชุดทีสอง ออกเตเวยี นไดฟ้ นฟูสาธารณรฐั โรมนั โดยใหอ้ ํานาจบรหิ ารอยูภ่ ายใต้วุฒสิ ภา แต่ในทางปฏิบตั ิ เปนผผู้ กู ขาดอํานาจเผดจ็ การไวแ้ ต่เพยี ง ผเู้ ดยี ว ออกเตเวยี นใชเ้ วลาหลายปเพอื พจิ ารณาโครงสรา้ งทีชดั เจนทีซงึ สาธารณรฐั จะสามารถอยู่ ภายใต้การนาํ ของผนู้ าํ เพยี งคนเดยี วไดอ้ ยา่ งเปนทางการ ซงึ ผลไดก้ ลายมาเปนจกั รวรรดโิ รมนั ตําแหนง่ จกั รพรรดมิ ใิ ชต่ ําแหนง่ ทางการเมอื งอยา่ งผเู้ ผดจ็ การโรมนั ซงึ ซซี ารแ์ ละซุลลาเคยรบั ตําแหนง่ มาก่อนหนา้ นี ซงึ เขาไดย้ ุบตําแหนง่ ดงั กล่าวเมอื มหาชนโรมนั “ยอมรบั ใหเ้ ขามอี ํานาจ เผดจ็ การ” ตามกฎหมาย ออกสุ ตัสทรงมอี ํานาจหลายประการทีมอี ยูต่ ลอดพระชนมช์ พี โดยไดร้ บั ความเหน็ ชอบจากวุฒสิ ภา รวมไปถึงทรบี ูนของสภาพลีเบยี นและเซน็ เซอร์ พระองค์ทรงเปน กงสลุ จนกระทังปที 23 ปก่อนครสิ ตกาล พระราชอํานาจสาํ คัญของพระองค์มาจากความสาํ เรจ็ ทางการเงินและทรพั ยากรซงึ ไดร้ บั ระหวา่ งการสงคราม การสรา้ งระบบอุปถัมภ์ตลอดทังจกั รวรรดิ ความจงรกั ภักดขี องนายทหารและทหารผา่ นศึกจาํ นวนมาก อํานาจซงึ ไดร้ บั จากวุฒสิ ภา และความ เคารพจากประชาชน การควบคมุ เหนอื กองทัพโรมนั สว่ นใหญข่ องพระองค์ไดเ้ ปนภัยซงึ สามารถ คกุ คามต่อวุฒสิ ภา ทําใหพ้ ระองค์สามารถบบี บงั คับการตัดสนิ ใจของวุฒสิ ภาได้ ดว้ ยความสามารถ ในการกําจดั ค่แู ขง่ ในวุฒสิ ภาโดยการใชก้ ําลัง วุฒสิ ภาทีเหลือจงึ ยอมอ่อนนอ้ มต่อพระองค์ การ ปกครองดว้ ยระบบอุปถัมภ์ อํานาจทางการทหาร และการสะสมตําแหนง่ ในระบบสาธารณรฐั เดมิ ได้ กลายมาเปนรปู แบบการปกครองสาํ หรบั จกั รพรรดใิ นเวลาต่อมา



การแพทยข์ องอารยธรรมโรมนั ก่อนทีตําราของ ‘Dioscorides‘ เกิดขนึ เล็กนอ้ ยนนั ทางอาณาจกั รโรมนั ไดแ้ พรอ่ ํานาจมาถึงยุโรป ดนิ แดนรอบๆทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ภายใต้การปกครองของโรมนั ทําใหเ้ กิดการปฏิวตั ิทาง สาธารณสขุ อยูส่ องเรอื ง ซงึ ถือเปนประวตั ิศาสตรว์ งการสาธารณสขุ ก็วา่ ได้ คือ หนงึ การดมื นาํ สะอาดบรสิ ทุ ธิ และสองระบบขจดั ขยะ สาํ หรบั อนามยั สว่ นบุคคล ในศตวรรษแรกจะมุง่ ไปยงั การ อดอาหาร, ยา และการผา่ ตัด โรคทีเกียวกับการติดเชอื ทังหลายจะถกู รกั ษาดว้ ยการอดอาหารและ การพกั ผอ่ นในหลักการของฮิปโปเครติส การปรบั สมดลุ ยร์ า่ งกายโดยวธิ ผี า่ ตัด ซงึ โดยมาก เปนการนาํ เลือดออกจากรา่ งกาย มกี ารใชน้ าํ ผงึ และไวนช์ ว่ ยในการผา่ ตัด นอกจากนกี ็ใชส้ มุนไพร ผกั ช,ี ยหี รา่ รวมทังพชื ทีใชเ้ ปนยาถ่ายล้างลําไส้ นเี ปนยุคของตํารา “Theriac”คําทีมาจากภาษา กรกี Theriakon, ‘การรกั ษาอาการทีถกู สตั วก์ ัด’ Theriac เปนการผสมผสานระหวา่ งต้นไมพ้ ชื สมุนไพรหลายๆชนดิ โดยมกั จะมฝี นเปนพนื ฐาน แนวทางของการรกั ษาแบบ Theriac คือการ บรรเทาอาการเท่านนั แล้วปล่อยใหธ้ รรมชาติดาํ เนนิ การต่อไป กล่มุ ยาทีใชแ้ ก้ถอนพษิ ทีเรยี กวา่ ” Mithridates ” เปนทีมชี อื ของตํารา Theriac มนั ถกู นาํ มาใชใ้ นศตวรรษทีหนงึ โดยกษัตรยิ แ์ หง่ พอนตสุ (Pontus)อาณาจกั รฝงทะเลดาํ ทีมพี ระนามวา่ “Mithridate Eupator” ต่อมาถกู ยดึ ครองโดยพวกโรมนั นายพลปอมเปอีเมอื 66 ปก่อนครสิ ตกาล กษัตรยิ ์ ไมทรเิ ดส(Mithridate) มี พระชนมช์ พี อยูด่ ว้ ยความกลัววา่ จะถกู ลอบปลงพระชนมด์ ว้ ยการวางยาพษิ พระองค์หาทางกําจดั ประหารญาติ พนี อ้ ง และดว้ ยกลัววา่ จะถกู วางยา พระองค์จงึ ทดลองประกอบยาพษิ ต่างและลอง กินแต่นอ้ ยๆ อ่อนๆ คิดวา่ มนั จะไดส้ รา้ งภมู ติ ้านทานใหพ้ ระองค์ได้ เชน่ ดมื เลือดจากเปดทีถกู พชื มี พษิ นามของพระองค์ต่อมาถกู นาํ มาใชต้ ังเปนชอื สกลุ ของต้นไมว้ า่ Eupatorium พวกสกลุ นยี งั แยกออกเปนชนดิ ต่างๆ ได้ 40-1,000ชนดิ ต่อมากษัตรยิ ์ ไมทรเิ ดส สนิ พระชนมล์ งยาต้านพษิ ตํารบั ของพระองค์ถกู พฒั นาปรบั ปรงุ โดย แอนโดรมาชุส(Amdromachus) แพทยป์ ระจาํ พระองค์กษัตรยิ น์ โี ร จนกลายเปนตํารบั ใหมช่ อื วา่ Andromachus theriac มสี ว่ นประกอบดว้ ย 70 สว่ นของผกั แรธ่ าตแุ ละ







ดา้ นการค้า การค้าในจกั รวรรดโิ รมนั รงุ่ เรอื งมาก มที ังการค้ากับดนิ แดนภายในและนอกจกั รวรรดิ ปจจยั สาํ คัญทีทําให้ การค้าเจรญิ รงุ่ เรอื ง ไดแ้ ก่ ขนาดของดนิ แดนทีกวา้ งใหญแ่ ละจาํ นวนประชากร ซงึ เปนตลาดขนาดใหญ่ สามารถรองรบั สนิ ค้าต่างๆไดม้ าก นอกจากนกี ารจดั เก็บภาษีการค้าก็อยูใ่ นอัตราตําและยงั มกี ารใชเ้ งินสกลุ เดยี วกันทัวจกั รวรรดิ ประกอบกับภายในจกั รวรรดโิ รมนั มรี ะบบคมนาคมขนสง่ ทางบก คือ ถนนและสะพานที ติดต่อเชอื มโยงกับดนิ แดนต่างๆ ไดส้ ะดวก ทําใหก้ ารติดต่อค้าขายสะดวกรวดเรว็ การค้ากับดนิ แดนนอก จกั รวรรดโิ รมนั ทีสาํ คัญไดแ้ ก่ ทวปี เอเชยี โดยเฉพาะการค้ากับอินเดยี ซงึ สง่ สนิ ค้าประเภทเครอื งเทศ ผา้ ฝาย และสนิ ค้าฟุมเฟอยต่างๆ สาํ หรบั ชนชนั สงู เขา้ มาจาํ หนา่ ย โดยมกี รงุ โรมและนครอะเล็กซานเดรยี ในอียปิ ต์เปน ศูนยก์ ลางการค้าทีสาํ คัญ

สถาปตยกรรมของอารยธรรมโรมนั - สถาปตยกรรมโรมนั โดยสว่ นใหญแ่ ล้วมนั จะมอี ิทธพิ ลทางดา้ นศิลปะมาจากกรกี เพราะวา่ สาเหตทุ ีกรกี นนั ไดม้ อี ิทธพิ ลต่อโรมนั ก็คือจุดเดน่ เลยก็คือความประณตี และงดงามแล้วสว่ น ใหญถ่ ้าเปนศิลปะจากทางโรมนั จะมคี วามโดดเดน่ อยูท่ ีความใหญโ่ ตมโหฬารและมคี วาม หรหู ราอลังการสง่างาม และจะถกู สรา้ งขนึ มาใหม้ นั มคี วามมนั คงคงทนและแขง็ แรงและต้อง ยอมรบั จรงิ ๆ วา่ สถาปตยกรรมของโรมนั นนั มหี ลายทีทีมชี อื เสยี งมาก และมนั ก็เปนชาติแรก ทีไดม้ กี ารคิดค้นสรา้ งคอนกรตี ขนึ ไดโ้ ดยทางโรมนั เคยใชค้ อนกรตี ทําใหเ้ ปนรปู โดมทีมขี นาด ใหญ่ ซงึ ในปจจุบนั มนั ก็มชี อื เสยี งมนั ก็คือวหิ ารแทนเธออนหรอื โคลอสเซยี ม ซงึ ต้องบอกเลย วา่ มนั เปน สถาปตยกรรมโรมนั ทีมขี นาดใหญม่ าก และในปจจุบนั โคลอสเซยี มก็เปนสนาม กีฬาทีเปนรปู วงรี จุคนไดถ้ ึง 50,000 คน และสงิ ทีสรา้ งชอื ใหก้ ับสถาปตยกรรมโรมนั ก็คือ ประตชู ยั มนั เปนสงิ ทีถกู สรา้ งขนึ มาเพอื ฉลองชยั ชนะของทหารโดย เฉพาะและมกี ารจดั ตกแต่งประณตี สวยงามมาก - แต่ก็มอี ีกอยา่ งหนงึ ทีงานประติมากรรมของโรมนั นนั ถกู สรา้ งขนึ มาเอาจรงิ ๆ แล้วมนั มสี ว่ น นอ้ ยถ้าจะใหพ้ ูดกันตามตรงก็คือมไี มม่ ากเท่าไหรน่ กั โดยเขาจะเนน้ การขนยา้ ยเสยี มากกวา่ โดยการขนยา้ ยมาจากกรกี เพราะกรกี มคี วามสามารถและสามารถสรา้ งสรรค์ผลงานออกมา ไดเ้ ปนอยา่ งดี ดงั นนั จงึ ทําใหม้ กี ารขนยา้ ยมาจากกรกี และนาํ มาสรา้ งสรรค์ หรอื มาต่อเติม และสว่ นใหญก่ ็จะทําเลียนแบบของกรกี เกือบจะทังหมด ถึงโรมนั จะมรี ปู แบบทีมไี มเ่ หมอื นใคร ก็ตามแต่แต่เขาก็ไดน้ าํ รปู แบบของกรกี เขา้ มาเสรมิ เพอื ใหม้ นั มคี วามสวยงามแต่ถึงอยา่ งไร แล้วมนั ก็ไมใ่ ชเ่ ปนศิลปะของทางโรมนั ซะเสยี อยา่ งเดยี ว มนั มกี รกี เขา้ มารว่ มดว้ ยแต่ก็ถือวา่ เปนสถาปตยกรรมทีมคี วามสวยงามและโดดเดน่ มาก



ผนงั โมเสกทีเมอื ง ปอมเปอี - อาศัยจากการค้นควา้ ขอ้ มูลจากเมอื งปอมเปอี สตาบเิ อ และ เฮอรค์ ิวเลนมุ ซงึ ถกู ถล่มทับดว้ ย ลาวาจากภเู ขาไฟวสิ เุ วยี ส เมอื พ.ศ. 622 และถกู ขุดค้นพบในสมยั ปจจุบนั จติ รกรรมผาฝนงั ประกอบดว้ ยแผงรปู สเี หลียมผนื ผา้ ซงึ มกั เลียนแบบหนิ อ่อน เปนภาพทิวทัศน์ ภาพคน และภาพ เกียวกับสถาปตยกรรม มกี ารใชแ้ สงเงา และกายวภิ าคของมนษุ ยช์ ดั เจน เขยี นดว้ ยสฝี ุนผสมกับ กาวนาํ ปูน และสขี ฝี งรอ้ น นอกจากการวาดภาพ ยงั มภี าพประดบั ดว้ ยเศษหนิ สี (Mosaic) ซงึ ใชก้ ัน อยา่ งกวา้ งขวาง ทังบนพนื และผนงั อาคาร

- ประติมากรรมของโรมนั รบั อิทธพิ ลมากจากชาวอีทรสั กันและกรกี ยุคเฮเลนสิ ติกแสดงถึง ลักษณะทีถกู ต้องทางกายภาพ เปนแบบอุดมคติทีเรยี บง่าย แต่ดเู ขม้ แขง็ มาก ประติมากรรมอีก ชนดิ หนงึ ทีเปนทีนยิ มคือประติมากรรมรปู นนู เรอื งเกียวกับประวตั ิศาสตร์ มรี ายละเอียดของเรอื ง ราว เหตกุ ารณถ์ กู ต้อง ชดั เจน ประติมากรรมโรมนั ในยุคหลัง ๆ เรมิ เปนเรอื งราวเกียวกับ พธิ กี รรมทางศาสนามากเปนพเิ ศษวสั ดทุ ีใชส้ รา้ งประติมากรรมของโรมนั มกั สรา้ งขนึ จาก ขผี งึ ดนิ เผา หนิ และสาํ รดิ สะท้อนบุคลิกภาพของมนษุ ยอ์ ยา่ งสมจรงิ ตามธรรมชาติ และมสี ดั สว่ นงดงาม เหมอื นกรกี แต่โรมนั จะเนน้ พฒั นาศิลปะดา้ นการแกะสลักรปู เหมอื นบุคคลสาํ คัญๆ เชน่ จกั รพรรดิ นกั การเมอื ง โดยเฉพาะในครงึ ท่อนบนจะสามารถแกะสลักไดอ้ ยา่ งสมบูรณซ์ งึ แสดงใหเ้ หน็ ถึง ความมชี วี ติ ชวี า ชาวโรมนั เชอื วา่ การแกะสลักรปู เหมอื นจรงิ ทีสดุ จะชว่ ยรกั ษาวญิ ญาณของคนนนั เมอื ตายไปแล้วไวไ้ ด้ นอกจากนยี งั มกี ารแกะสลักภาพนนู ตํา เพอื บนั ทึกเรอื งรามทาง ประวตั ิศาสตรแ์ ละสดดุ วี รี กรรมของนกั รบ

- ความเชอื ทางศาสนาไดผ้ กู ติดอยูก่ ับสงั คมโรมนั จาก ยุคทีเก่าแก่ทีสดุ ชาวโรมนั บูชาวญิ ญาณหลายรอ้ ยชนดิ พวกเขาเชอื วา่ วญิ ญาณเหล่านอี าศัยอยูใ่ นทกุ ๆ สงิ ที อยูร่ อบตัวพวกเขารวมทังแมน่ าํ ปาและท่งุ นา ครอบครวั โรมนั ยงั เชอื วา่ เทพเจา้ ประจาํ บา้ น (ทํานองผี บา้ นผเี รอื นของเรา) จะปกปองพวกเขา พวกเขาตังศาล เพยี งตาในบา้ นของพวกเขาเพอื ทีจะใหเ้ กียรติวญิ ญาณ เหล่านี - ต่อมาความเชอื ของชาวโรมนั ก็ไดร้ บั อิทธพิ ลจาก วฒั นธรรมอืน ๆ โดยเฉพาะอยา่ งยงิ ชาวอีทรสั คันและ ชาวกรกี มอี ิทธพิ ลต่อศาสนาชาวโรมนั ชาวโรมนั ไดร้ บั ความคิดของชาวอีทรสั คันเกียวกับพระเจา้ อยูใ่ นรา่ ง มนษุ ย์ พวกเขายงั ไดร้ บั พธิ กี รรมของชาวอีทรสั คันที ออกแบบมาเพอื ทํานายอนาคต ชาวโรมนั เชอื วา่ พธิ กี รรมเหล่านอี าจจะทําใหป้ รากฏเปนการกระทําพเิ ศษ เชน่ การต่อสู้ จะมผี ลดี - ชาวโรมนั ไดย้ มื เทพเจา้ จาํ นวนมากมาจากชาวกรกี ยกตัวอยา่ งเชน่ เทพเจา้ โรมนั ชอื จูป เตอร์ (Jupiter) ซงึ เปนบดิ าของเทพเจา้ ทังหลาย มลี ักษณะของเทพเจา้ ซุส (ซอี ุส) ของกรกี หลายประการ เทพเจา้ อพอลโล ซงึ เปนเทพเจา้ ดนตรแี ละบทกวกี รกี กลายเปนเทพเจา้ โรมนั ทีสาํ คัญในชอื เดยี วกัน - ในขณะทีในอียปิ ต์โบราณ ศาสนาและรฐั มกี ารเชอื มโยงกันกับโรม พระสงฆท์ ีเปนเจา้ หนา้ ที ของรฐั และจกั รพรรดเิ ปนประมุขของศาสนจกั ร เหล่าเทพเจา้ โรมนั ยงั เปนสญั ลักษณข์ อง รฐั อีกดว้ ย ชาวโรมนั ประสงค์จะใหเ้ กียรติแก่เทพเจา้ เหล่านใี นพธิ สี าธารณะ เมอื เวลาผา่ นไป แมต้ ัวจกั รพรรดเิ อง ก็กลายเปนเทพเจา้ เดมิ ที ชาวโรมนั บูชาจกั รพรรดหิ ลังจากการตาย แล้วเท่านนั แต่ในทีสดุ พวกเขาก็ใหเ้ กียรติผปู้ กครองทียงั มชี วี ติ อยูใ่ นฐานะเปนเทพเจา้ ความจงรกั ภักดที ีมตี ่อองค์จกั รพรรดกิ ลายเปนเชน่ เดยี วกันกับความจงรกั ภักดที ีมตี ่อ เทพเจา้ ซากปรกั หกั พงั ของถนนและวหิ ารในเมอื งเอฟฟซุสของ โรมนั สถานทีชาวครสิ ต์เผยแพรศ่ าสนาครงั แรก

สมยั ทีโรมรงุ่ เรอื งขนึ มาแทนทีกรกี นนั มนี กั ปรชั ญากฎหมายและการเมอื งเกิดขนึ มากมาย แต่ทีนบั วา่ สาํ คัญและมบี าบาทอยา่ งยงิ มี 2 ท่าน คือ ชเิ ซโร (Cicero) 1. เปนนกั กฎหมาย นกั การเมอื ง และรฐั บุรษุ คนสาํ คัญ ของโรม 2. เจา้ ของวรรณกรรม “สาธารณรฐั ” (Republic) และ “กฎหมาย” (Laws) ซงึ เขยี นในรปู ของบทสนทนา ตาม แบบของเปลโต แต่มผี วู้ จิ ารณว์ า่ ฝมอื ดอ้ ยกวา่ 3. เปนผทู้ ียอมรบั และอธบิ ายถึงสทิ ธธิ รรมชาติไดอ้ ยา่ ง ชดั เจนทีสดุ ซงึ นาํ ไปเปนขอ้ ต่อรองกับผปู้ กครอง จน ก้าวไปสสู่ ทิ ธขิ องพลเมอื ง นกั บุญออกัสตินแหง่ ฮิปโป (Saint Augustine of Hippo) 1. เปนนกั บุญชาวแอฟรกิ ัน ต่อมาไดร้ บั การสถาปนา เปนสงั ฆราชแหง่ เมอื งฮิปโป 2. The City of God เปนวรรณกรรมทีเรยี บเรยี งขนึ จากแนวคิดของนกั บุญเปาโล และเปลโต วรรณกรรม นี แบง่ สงั คมออกเปน 4 สว่ น คือ บา้ น เมอื ง โลก และ จกั รวาล และเนน้ ความสาํ คัญของความยุติธรรม 3. ทฤษฎีของนกั บุญออกัสติน มสี ว่ นวางรากฐานให้ แก่ปรชั ญาของนกั บุญอไควนสั ในเวลาต่อมา

นกั ปรชั ญาสมยั กลางปรชั ญาเมธที ีมอี ิทธพิ ลทางกฎหมายมหาชนทีสดุ ในสมยั กลาง มี 2 ท่าน คือ จอหน์ แหง่ ซอสเบอรี (John of Salisbury) 1. เปนปรชั ญาเมธชี าวอังกฤษ 2. เจา้ ของวรรณกรรม “โปลิเครติคสุ ” (Policraticus) เปนวรรณกรรมทีเนน้ ความสาํ คัญของกฎหมาย 3. เปนผทู้ ีชใี หเ้ หน็ ขอ้ แตกต่างทีสาํ คัญระหวา่ ง “ทร ราชย”์ และ “ราชา” โดยกล่าววา่ ราชานนั ต้องเคารพ กฎหมายและต้องปกครองประชาชนดว้ ยบญั ชาแหง่ กฎหมาย โดยถือวา่ ตนเปนผรู้ บั ใชป้ ระชาชน ในขณะทีทร ราชยค์ ือ ผนู้ าํ ทีไมด่ าํ รงตนอยูใ่ นธรรม ประชาชนไมจ่ าํ ต้องยอมตนอยูใ่ ต้อํานาจ นกั บุญโธมสั อไควนสั (Saint Thomas Aquinas) 1. เปนชาวอิตาลี ในบนั ปลายแหง่ ชวี ติ ไดอ้ ุทิศตนใหก้ ับ ครสิ ต์ศาสนา 2. เปนผทู้ ีไดอ้ ธบิ ายถึงแนวคิดเกียวกับกฎหมาย ธรรมชาติอยา่ งละเอียดชดั เจน และแนวคิดของปรชั ญา เมธผี นู้ ี ภายหลังมผี นู้ าํ ไปจดั ลําดบั ชนั กฎหมาย 3. นกั บุญอไควนสั แบง่ ประเภทของกฎต่างๆ ออกเปน 4 ประเภทตามลําดบั คือ 1. กฎนริ นั ดร เปนกฎสงู สดุ ถือไดว้ า่ เปนแผนการ สรา้ งโลกของพระผเู้ ปนเจา้ 2. กฎธรรมชาติ เปนกฎสงู สดุ รองลงมา และวา่ ดว้ ย เหตผุ ล คณุ ธรรม ความยุติธรรม ซงึ เปนกฎแหง่ ความ ประพฤติทีสอดคล้องกับกฎนริ นั ดร 3. กฎศักดสิ ทิ ธิ เปนกฎรองลงมา และวา่ ดว้ ยหลัก ประพฤติปฏิบตั ิทางศาสนา 4. กฎหมายของมนษุ ย์ เปนกฎตําสดุ และกําหนด หลักประพฤติปฏิบตั ิของมนษุ ยใ์ นทางโลก

- อารยธรรมกรกี เกิดขนึ ในบรเิ วณตอนใต้ของคาบสมุทรบอลขา่ นและชายฝงทะเลอีเจยี น ซงึ กัน ระหวา่ งคาบสมุทรบอลขา่ นและเอเชยี ไมเนอร์ บรเิ วณเหล่านอี ยูใ่ นเขตทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นซงึ ราย รอบดว้ ยอารยธรรมสาํ คัญของโลก คืออารยธรรมอียปิ ต์และเมโสโปเตเมยี โดยเฉพาะอยา่ งยงิ อยู่ ใกล้กับเกาะครตี ซงึ เปนศูนยก์ ลางของอารยธรรมไมนวน (Minoan Civilization ประมาณป 2000-1400 ก่อนครสิ ต์ศักราช) ทีเกิดจากการผสมผสานอารยธรรมของดนิ แดนในแถบรอบ ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ทําใหช้ าวกรกี สมยั โบราณมโี อกาสรบั และแลกเปลียนความเจรญิ ดา้ นต่างๆ ของอารยธรรมเมโสโปเตเมยี และอียปิ ต์จากเกาะครตี - อนงึ พนื ทีในคาบสมุทรบอลขา่ นตอนใต้ยงั ประกอบดว้ ยภเู ขาและทีราบสงู ซงึ เปนอุปสรรคต่อการ รวมศูนยอ์ ํานาจปกรอง ทําใหช้ าวกรกี สมยั โบราณมกี ารปกครองแบบนครรฐั และมกั เกิดสงคราม ระหวา่ งนครรฐั เชน่ กรณนี ครรฐั สปารต์ า (Sparta) ทําสงครามรกุ รานกรงุ เอเธนส์ อนงึ กรกี ยงั มี พนื ทีราบเพาะปลกู ไมม่ ากนกั ทําใหไ้ มส่ ามารถพงึ พาการประกอบอาชพี เกษตรกรรมไดเ้ พยี งอยา่ ง เดยี ว แต่สภาพทีตังซงึ มชี ายฝงทะเลและท่าเรอื ทีเหมาะสมจาํ นวนมาก ชาวกรกี จงึ สามารถ ประกอบอาชพี ประมงและเดนิ เรอื ค้าขายกับดนิ แดนต่างๆ ในทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น รวมทังมี โอกาสขยายอิทธพิ ลไปยดึ ครองดนิ แดนอืนๆ ในเขตเอเชยี ไมเนอรด์ ว้ ย ทําใหเ้ กิดการแลกเปลียน และถ่ายทอดอารยธรรมต่อกัน โดยเฉพาะการนาํ อารยธรรมของโลกตะวนั ออกไปสตู่ ะวนั ตก - ชาวกรกี โบราณ ชาวกรกี โบราณเรยี กตัวเองวา่ “เฮลลีน” (Hellene) เปนพวกอินโด-ยูโรเปยนก ล่มุ หนงึ ทีอพยพมาจากทางตอนเหนอื ของประเทศกรซี ปจจุบนั เมอื ประมาณ 2000 ปก่อนครสิ ต์ ศักราช ในระยะแรก กระจายอยูเ่ ปนเผา่ ต่างๆ ในคาบสมุทรบอลขา่ นและเขตทะเลอีเจยี น ทีสาํ คัญ ไดแ้ ก่ พวกไอโอเนยี น (Ionians) และพวกไมซเี นยี น (Mycenaeans) โดยทัวไปชาวกรกี โบราณ ประกอบอาชพี เกษตรกรรมและเดนิ เรอื ต่อมาเผา่ ทีมคี วามเจรญิ ไดข้ ยายอํานาจและก่อตังเปน นครรฐั ทีสาํ คัญไดแ้ ก่นครรฐั ของพวกไมซเี นยี นซงึ ยดึ ครองพนื ทีสว่ นใหญ่ และมอี ํานาจสงู สดุ ประมาณป 1600-1100 ก่อนครสิ ต์ศักราช โดยมศี ูนยก์ ลางอยูท่ ีเมอื งไมซเี นทางตอนใต้ของ ประเทศกรซี ในปจจุบนั พวกไมซเี นยี นเปนนกั รบทีมคี วามเก่งกล้าสามารถยดึ ครองดนิ แดนของ นครรฐั อืนๆ รวมทังเกาะครตี และรบั อิทธพิ ลของอารยธรรมต่างๆ โดยเฉพาะอารยธรรมไมนวนข องชาวเกาะครตี - ต่อมาประมาณป 1100 ก่อนครสิ ต์ศักราช พวกกรกี อีกกล่มุ หนงึ เรยี กวา่ ดอเรยี น (Dorians) ซงึ อพยพมาจากทางเหนอื และขยายอํานาจครอบครองดนิ แดนของพวกไมซเี นยี น พวกนไี ดส้ รา้ ง นครรฐั สปารต์ าเปนศูนยก์ ลางปกครองของตน พวกดอเรยี นมคี วามเจรญิ นอ้ ยกวา่ ไมซเี นยี นและ ไมร่ หู้ นงั สอื จงึ ไมม่ หี ลักฐานทีกล่าวถึงดนิ แดนกรกี ภายใต้อิทธพิ ลของพวกดอเรยี นในชว่ งป 1100-750 ก่อนครสิ ต์ศักราชมากนกั จนกระทังประมาณป 750 ก่อนครสิ ต์ศักราช ไดม้ กี าร ประดษิ ฐอ์ ักษรซงึ รบั ร)ู แบบมาจากอักษรและพยญั ชนะของพวกฟนเิ ชยี นทีเขา้ มาติดต่อค้าขายใน ชว่ งนนั อยา่ งไรก็ตามแมพ้ วกดอเรยี นจะมอี ํานาจเขม้ แขง็ แต่ก็ไมส่ ามารถรวมอํานาจปกครอง นครรฐั กรกี ไดท้ ังหมด

นครรฐั ทีบสี (Thebes) - หลังจากนครรฐั สปารต์ าเสอื มอํานาจ เมอื ป 371 กาอนครสิ ต์ศักราช นครรฐั กีกอืนๆ ก็พยายาม รวมตัวกันโดยมนี ครรฐั ทีบสี (Thebes) เปนผนู้ าํ แต่ในทีสดุ ก็ถกู กษัตรยิ ฟ์ ลิปแหง่ มาซโิ ดเนยี ซงึ อยูใ่ นเขตเอเชยี ไมเนอรร์ กุ รานและครอบครองเมอื ป 338 ก่อนครสิ ต์ศักราช ต่อมาเมอื พระเจา้ อะเล็กซานเดอรม์ หาราช (Alexander the Great, ป 336-323 ก่อนครสิ ต์ศักราช) โอรสของพระ เจา้ ฟลิปไดป้ กครองจกั รวรรดมิ าซโิ ดเนยี พระองศ์ไดข้ ยายอาณาจกั รออกไปอยา่ งกวา้ งขวาง จนถึงเขตล่มุ แมน่ าํ สนิ ธุและไดค้ รอบครองแหล่งอารยธรรมต่างๆ ของโลก ไดแ้ ก่ อียปิ ต์ เมโสโป เตเมยี และเปอรเ์ ซยี จงึ มกี ารรบั ความเจรญิ จากแหล่งต่างๆ เหล่านนั มาผสมผสานกับอารยธรรม กรกี เรยี กวา่ อารยธรรมเฮลเลนสิ ติกตามชอื สมยั เฮลเลนสิ ติก (Hellenistic) ซงึ เรมิ ตังแต่สมยั ของพระเจา้ อะเล็กซานเดอรม์ หาราชจนกระทังสนิ สลายเมอื ประมาณป 146 ก่อนครสิ ต์ศักราช จากนนั ดนิ แดนกรกี ไดต้ กอยูใ่ ต้การปกครองของจกั รวรรดโิ รมนั ความเจรญิ ต่างๆ ทีชาวกรกี สงั สมไวก้ ็กลายเปนสว่ นหนงึ ของอารยธรรมโรมนั พระเจา้ อะเล็กซานเดอรม์ หาราช (Alexander the Great, ป 336-323 ก่อนครสิ ต์ศักราช)

- การเสอื มของจกั รวรรดโิ รมนั เรมิ ต้นปรากฏใหเ้ หน็ มาตังแต่ป ค.ศ. 180 โดยจกั รวรรดโิ รมนั ซงึ เคยรงุ่ เรอื งเปน มหาอํานาจในอดตี กลับค่อยๆ เสอื มอํานาจลง อันเนอื งมาจากสาเหตใุ หญๆ่ ไดแ้ ก่ ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพมากพอใน การ ปกครองจกั รวรรดิ ซงึ มอี าณาเขตกวา้ งใหญม่ หาศาลมากๆ ได้ สง่ ผลใหบ้ างชว่ งจาํ เปนต้องมกี ารแต่งตัง จกั รพรรดริ ว่ ม เพอื แบง่ แยกออกไปปกครองจกั รวรรดใิ นอาณาเขตต่างๆ ในป ค.ศ. 324 อันเปนยุคของ จกั รพร รติ Constantine ท่านไดป้ กครองจกั รวรรดิ Roman และไดเ้ กิดเหตกุ ารณค์ รงั ใหญ่ 2 เหตกุ ารณ์ ซงึ สง่ ผลกระ ทบต่อจกั รวรรดทิ ีเคยรงุ่ เรอื ง ไดแ้ ก่… เหตกุ ารณท์ ี 1 ของการล่มสลายของจกั รวรรดโิ รมนั ไดม้ กี ารยา้ ยศูนยก์ ลางการปกครองจากเดมิ คือ กรงุ Rome ไปยงั กรงุ Constantinople และเรยี กวา่ จกั รวรรดBิ yzantine ในป ค.ศ. 330 สง่ ผลใหจ้ กั รวรรดิ Roman ทีเคยเปน 1 เดยี ว ต้องถกู แบง่ แยกออกเปน 2 สว่ น ไดแ้ ก่ จกั รวรรดิ Roman ตะวนั ตก ซงึ ยงั คงมศี ูนยก์ ลางอยู่ ณ กรงุ Rome ตามแบบเดมิ และจกั รวรรดิ Byzantine หรอื จกั รวรรดิ Roman ตะวนั ออก มศี ูนยก์ ลางตังอยู่ ณ กรงุ Constantinople ซงึ ปจจุบนั คือ นคร Istanbul ประเทศตรุ กี สง่ ผลใหจ้ กั รวรรดโิ รมนั ทีเคยเปนปกแผน่ เรอื งรองค่อยๆ เสอื มอํานาจลง จน กระทังถกู รกุ รานในทีสดุ กรงุ Rome กรงุ Constantinople

พวก Huns เหตกุ ารณท์ ี 2 ของการล่มสลายของจกั รวรรดโิ รมนั Byzantine จกั รพรรดิ Constantine เปลียนไปนบั ถือศาสนาครสิ ต์ สง่ ผลทําให้ ครสิ ต์ศาสนาไดเ้ ขา้ สเู่ ขตจกั รวรรดิ Roman จนกระทังไดร้ บั ความ นยิ ม กลายเปนศาสนาหลักของดนิ แดนตะวนั ตกตังแต่นนั เปนต้นมา ในชว่ งครสิ ต์ศตวรรษที 5 จกั รวรรดิ Roman ทัง 2 ฝาย ไดร้ บั การ แบง่ แยกออกจากกันโดยเดด็ ขาด สง่ ผลใหจ้ กั รวรรดิ Roman ทางฝง ตะวนั ตกค่อยๆ อ่อนแอลงตามลําดบั เนอื งจากโดนรกุ รานทําลาย โดย ฝมอื ของอารยชนทีมคี วามสาํ คัญ 2 เผา่ ไดแ้ ก่ 1.เผา่ เยอรมนั ซงึ บุกมาจากทางเหนอื ของแมน่ าํ Rhine และแมน่ าํ Danube 2. พวก Huns เชอื สายเอเชยี ซงึ เขา้ มาจากทางตอนเหนอื ของทะเลดาํ นอกจากนเี ยอรมนั ก็บุกโจมตีกรงุ Rome ในป ค.ศ. 410 รวมทังออก ปล้นสะดมทกุ สงิ อยา่ ง ก่อใหเ้ กิดความไมม่ นั คงขนึ ทังสภาพจติ ใจของ ประชาชน และสภาพความเปนอยู่ ภายในจกั รวรรดิ Roman ตะวนั ตก จนกระทังสดุ ท้ายแล้วจกั รพรรดอิ งค์สดุ ท้ายของจกั รวรรดิ Roman ตะวนั ตกก็ถกู โค่นลงในป ค.ศ. 476 โดยนกั ประวตั ิศาสตรบ์ นั ทึกไว้ อยา่ งเปนทางการ ใหร้ บั ทราบโดยทัวกันวา่ เปนปทีจกั รวรรดิ Roman ล่มสลาย ถึงแมว้ า่ จกั รวรรดิ Byzantine จะยงั อยูต่ ่อไปก็ตาม สาเหตอุ ืนๆ ของการเกิดความเสอื มของจกั รวรรดิ - ภายหลังจากป ค.ศ. 180 ไมม่ กี ําหนดการสบื ตําแหนง่ ไวใ้ น รฐั ธรรมนญู สง่ ผลใหเ้ กิดการแยง่ อํานาจภายในหมู่ นายพล - ถกู โจมตีจากศัตรภู ายนอก - ทีดนิ เกือบทังหมดตกอยูภ่ ายใต้เงือมมอื ของชนชนั สงู ซงึ เปนสว่ น นอ้ ยเท่านนั โดยชาวนาทีไมเ่ หลืออะไรเลยก็จะไดร้ บั ทีดนิ ผนื หนงึ จาก เจา้ ของ ซงึ สามารถนาํ มาเพาะปลกู ไดอ้ ยา่ งเสรี หากแต่ต้องชดใชใ้ ห้ เจา้ ของดว้ ยแรงงานของตนเอง ซงึ เปนสภาพกึงทาส - สงครามกลางเมอื ง ทําใหก้ ระทบกระเทือนระบบการค้า

The end


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook