Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Handdrawn Blank Page Border (3)

Handdrawn Blank Page Border (3)

Published by Pim Pimmada Jampathai, 2021-07-07 09:23:29

Description: Handdrawn Blank Page Border (3)

Search

Read the Text Version

อารยธรรมกรกี และโรมนั ผจู้ ดั ทํา นางสาว พมิ พม์ าดา จาํ ปาไทย ชนั ม.6/1 เลขที 37 เสนอ ผศ.ดร.อําพร ขุนเนยี ม

ต้นกําเนดิ ของอารยธรรมกรกี reece - อารยธรรมกรกี เกิดขนึ เมอื 4,000 ปมาแล้ว เปนอารยธรรมเก่าของแหลม อิตาลี เกิดบนแผน่ ดนิ กรกี ในทวปี ยุโรป และบรเิ วณชายฝงตะวนั ออกของทะเล เมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ถือเปนอารยธรรมตะวนั ตกและอารยธรรมสมยั ใหม่ - อารยธรรมกรกี ทีเปนมรดกตกทอดมาถึงปจจุบนั นปี ระกอบดว้ ยอารยธรรมหลัก 2 สว่ น ไดแ้ ก่อารยธรรมของชาวกรกี โบราณหรอื อารยธรรมเฮลเลนกิ (Hellenic Civilizaton, ป 750-336 ก่อนครสิ ต์ศักราช) และ อารยธรรมเฮลเลนสิ ติก (Hellenistic Civilization, ป 336-31 ก่อนครสิ ต์ศักราช) ซงึ เกิดขนึ ในชว่ งเวลา ทีกรกี อยูภ่ ายใต้การปกครองของจกั รวรรดมิ าซโิ ดเนยี (Macedonia) และเปน อารยธรรมทีผสมผสานกับความเจรญิ ทีรบั จากดนิ แดนรอบๆ ทะเล เมดเิ ตอรเ์ รเนยี น

ทีตังของ อารยธรรมกรกี เกาะครตี อารยธรรมกรกี เกิดขนึ ในบรเิ วณตอนใต้ของ คาบสมุทรบอลขา่ นและชายฝงทะเลอีเจยี น ซงึ กันระหวา่ งคาบสมุทรบอลขา่ นและเอเชยี ไมเนอร์ บรเิ วณเหล่านอี ยูใ่ นเขตทะเล เมดเิ ตอรเ์ รเนยี นซงึ รายรอบดว้ ยอารยธรรม สาํ คัญของโลก คืออารยธรรมอียปิ ต์และเมโส โปเตเมยี โดยเฉพาะอยา่ งยงิ อยูใ่ กล้กับเกาะ ครตี ซงึ เปนศูนยก์ ลางของอารยธรรมไมนวน (Minoan Civilization ประมาณป 2000- 1400 ก่อนครสิ ต์ศักราช) ทีเกิดจากการผสม ผสานอารยธรรมของดนิ แดนในแถบรอบ ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ทําใหช้ าวกรกี สมยั โบราณมโี อกาสรบั และแลกเปลียนความเจรญิ ดา้ นต่างๆ ของอารยธรรมเมโสโปเตเมยี และ อียปิ ต์จากเกาะครตี อนงึ พนื ทีในคาบสมุทรบอลขา่ นตอนใต้ยงั ประกอบ แผนทีเเสดงทีตังของอารยธรรมกรกี ดว้ ยภเู ขาและทีราบสงู ซงึ เปนอุปสรรคต่อการรวม ศูนยอ์ ํานาจปกรอง ทําใหช้ าวกรกี สมยั โบราณมกี าร ปกครองแบบนครรฐั และมกั เกิดสงครามระหวา่ ง นครรฐั เชน่ กรณนี ครรฐั สปารต์ า (Sparta) ทํา สงครามรกุ รานกรงุ เอเธนส์ อนงึ กรกี ยงั มพี นื ทีราบ เพาะปลกู ไมม่ ากนกั ทําใหไ้ มส่ ามารถพงึ พาการ ประกอบอาชพี เกษตรกรรมไดเ้ พยี งอยา่ งเดยี ว แต่ สภาพทีตังซงึ มชี ายฝงทะเลและท่าเรอื ทีเหมาะสม จาํ นวนมาก ชาวกรกี จงึ สามารถประกอบอาชพี ประมงและเดนิ เรอื ค้าขายกับดนิ แดนต่างๆ ในทะเล เมดเิ ตอรเ์ รเนยี น รวมทังมโี อกาสขยายอิทธพิ ลไป ยดึ ครองดนิ แดนอืนๆ ในเขตเอเชยี ไมเนอรด์ ว้ ย ทําใหเ้ กิดการแลกเปลียนและถ่ายทอดอารยธรรม ต่อกัน โดยเฉพาะการนาํ อารยธรรมของโลกตะวนั ออกไปสตู่ ะวนั ตก

สภาพภมู ศิ าสตรข์ องอารยธรรมกรกี ดนิ แดนของกรกี บนพนื แผน่ ดนิ ในทวปี ยุโรปแบง่ ไดเ้ ปน 3 สว่ น คือ 1.ภาคเหนอื ไดแ้ ก่ แควน้ มาซโิ ดเนยี (Macedonia) - เปนภมู ภิ าคประวตั ิศาสตรแ์ ละภมู ศิ าสตรข์ องประเทศกรซี ทีตังอยูท่ างใต้ของบอลขา่ น มาซโิ ดเนียเปน ภมู ภิ าคทีใหญ่ทีสดุ และมปี ระชากรมากทีสดุ เปนอันดับสองของประเทศกรซี โดยมเี มอื งทีมภี เู ขา ประชากร และท่าเรอื มาก คือเมอื งเทสซาโลนีกี (หรอื เมอื งซารอนนิกา) และเมอื งคาราวา ทีตังอยูบ่ นชายฝงทางตอน ใต้ เทสซาลี (Thessaly) - เปนภมู ภิ าคทีมคี วามหลากหลายทางภมู ศิ าสตรป์ ระกอบดว้ ย ทีราบภาคกลางกวา้ ง ล้อมรอบดว้ ยภเู ขา ทีราบล้อมรอบดว้ ย เทือกเขาพนิ ดสั ไปทางทิศตะวนั ตกพบ ภเู ขา Othrys ไปทางทิศใต้พบ Pelion และ Ossa ชว่ งไปทางทิศตะวนั ออกและภเู ขาโอลิมปอสทางทิศเหนอื ทีราบตอนกลางประกอบดว้ ยสองอ่างคือ ลารซิ า และ คารด์ ติ ซา อ่างระบายนาํ โดย แมน่ าํ Pineios และอ่าว Pagasetic ทางตะวนั ออกเฉียงใต้ของ เทสซาลีเปนแหล่งนาํ แหง่ เดยี วทีเหมาะสาํ หรบั ท่าเรอื ในภมู ภิ าค อิไพรสั (Epirus) - เปนภมู ภิ าคทังทางภมู ศิ าสตรแ์ ละประวตั ิศาสตรท์ ีตังอยูใ่ นยุโรปตะวนั ออกเฉียงใต้ ปจจุบนั ภมู ภิ าคอิไพรสั แบง่ ระหวา่ งแควน้ อิไพรสั ทางตะวนั ตกเฉียงเหนือของประเทศกรซี

2.ภาคกลาง ไดแ้ ก่ บรเิ วณทีเปนเนนิ เขาสงู เปนทีตังของ นครทีบส์ (Thebes) ซากปรกั หกั พงั ของแคดเมยี ปอมปราการกลางของเมอื งธบี สโ์ บราณ ซงึ ตังชอื ตามแคดมอส ผกู้ ่อตังธบี สต์ ามตํานานและกษัตรยิ พ์ ระองค์ แรกของธบี ส์ ตรงปลายสดุ ของด้านตะวนั ออก คือ แควน้ อัตติกา (Attica) ซงึ มเี มอื งหลวง คือ นครเอเธนส์ (Athens) แหล่งกําเนดิ การปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย - เปนเมอื งทีตังอยูใ่ น บโี อเชยี (Boeotia) ตอนกลางของกรซี ธบี สเ์ ปนเมอื งทีมบี ทบาทสาํ คัญในเทพ ปกรณัมกรกี โดยเปนสถานทีของตํานานเกียวกับวรี บุรุษและเทพเจา้ สาํ คัญๆของกรกี 3. บรเิ วณคาบสมุทรเพโลพอนนซี สั (Peloponnesus) - อยูต่ อนใต้อ่าวคอรนิ ท์ เปนทีตังของนครรฐั สปารต์ า (Sparta) ทีมชี อื เสยี งดา้ นการรบ และโอลิมเปย (Olympia) ซงึ เปนทีสงิ สถิตของบรรดาเทพเจา้ กรกี

การเเบง่ ยุคสมยั ของ อารยธรรมกรกี 1) ยุคไมนวน หรอื ไมโออัน (Minoan) พระราชวงั คนอซุส พระราชวงั ของกษัตรยิ ไ์ มโนน (2000 ป ก่อน ค.ศ. ) ภาพแสดงวถิ ีชวี ขิ องชาวไมโนน - เปนอารยธรรมทีเกิดขนึ ทีเกาะครตี โดยมชี าว ครตี หรอื ชาวครตี ันเปนชนพนื เมอื งของเกาะนี - เรยี กวา่ อารยธรรมไมนวน - มคี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งอยูใ่ นชว่ งเวลา 2000 B.C - เปนอารยธรรมกรกี ยุคแรกเรมิ - เมอื งหลวงชอื มโิ นอา - กษัตรยิ ท์ ีมอี ํานาจมากทีสดุ คือ พระเจา้ มนิ อส เปนโอรสของพระเจา้ เซอุส กับ พระนางยุโรป - พระราชวงั ทีสาํ คัญ คือ พระราชวงั คนอสซุส - มกี ารประดษิ ฐอ์ ักษร ลิเนยี ร์ เอเปนอักษรที บดั นยี งั ไมม่ ใี ครแปลออก - มรี ะบบนาํ ระบบประปา แบบชกั โครกแล้ว - คนอยูอ่ ยา่ งสงบ ประชาชนมทิ ธเิ ท่าเทียมกัน ปกครองโดย กษัตรยิ ์ - ในตอนนนั ไมม่ นี กั บวช ผคู้ นจะนบั ถือเทพเจา้ ได้ แค่ เทพมารดา ( ต่อมาเอาไปเปนแบบสรา้ ง เทพอะธนี า เทพดมี เี ตอร์ และ เทพอะโฟรไ์ ดต์ ) ความเสอื มของอารยธรรมไมโนน ( 1500 ป ก่อน ค.ศ. ) 1) เกิดจากการปะทขุ องภเู ขาไฟทีทําลายเมอื ง 2) การรกุ รานของพวกไมซนิ จี ากแผน่ ดนิ ใหญ่ ภาพเฟรสโกภายในพระราชวงั (ภาพทีลงสขี ณะปูนยงั เปยกอยู)่

แผนทีแสดงทีตังของอารยธรรมไมซนี ี 2 ยุคไมซนิ ี (Mycenae) ( 1200 ป ก่อน ค.ศ. ) - อาศัยบนคาบสมุทรของกรกี - สรา้ งสรรค์ความเจรญิ ต่อเนอื งจากอารยธรรมไมนวนบนเกาะครตี หลังจากมอี ํานาจเหนอื พวก ไมนวน - มศี ูนยก์ ลางอยูท่ ีเมอื งไมซเี นบนคาบสมทรเพโลพอนนซี สั - บรรพบุรษุ ของชาวไมซเี นยี น คือ พวกเอเคียน มคี วามสามารถในการรบและการค้า ซงึ พวกนี โจมตีเกาะครตี ทําลายพระราชคนอสซุส และไดส้ รา้ งเมอื งไมซนี ขี นึ ซงึ มปี อมปราการทีแขง็ แรง ทําใหพ้ วกเอเคียนมชี อื ใหมว่ า่ ไมซเี นยี นตามชอื เมอื ง ต่อมาพวกเอเคียนไดไ้ ปทําสงครามกับเมอื ง ทรอยในสงครามโทจนั เนอื งจากเมอื งทรอยตังอยูท่ างทิศตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของเอเชยี ไมเนอร์ ซงึ เปนค่แู ขง่ ทางการค้ากับเมอื งไมซนี จี นสาํ เรจ็ ( ปจจุบนั เมอื งทรอยเปนทีตังของประเทศตรุ กี ) - สนิ ค้าสง่ ออกทีสาํ คัญ คือนาํ มนั มะกอก - มรดกของอารยธรรมไมซเี น คือ การนบั ถือเทพเจา้ หลายองค์รวมทังเทพเจา้ ซุส (Zeus) เฮรา (Hera) และโพไซดอน เปนต้น ความเสอื มของอารยธรรม ( 1120 ปก่อน ค.ศ. ) 1. ถกู พวกดอเรยี นซงึ เปนชาวกรกี เผา่ หนงึ เขา้ มารกุ รานจนทําใหค้ วามเจรญิ หยุดลงชวั ขณะ

แผนทีแสดงทีตังของอารยธรรมกรกี โบราณ 3. ยุคมดื ของอารยธรรมกรกี ( ระหวา่ ง 1120 – 800 ป ก่อนค.ศ. ) - เพราะพวกดอเรยี นทีอพยพเขา้ มาเปนหวั รนุ แรงไมม่ วี ฒั นธรรมพอยดึ ไดก้ ็ไมฟ่ นฟู อะไรต่อเพราะฟนฟูไมเ่ ปน - แล้วชาวพนิ เิ ซยี (มาจากบรเิ วณแคนาดาแถบซเี รยี ปาเลสไตนใ์ นอาณาจกั รโฟนิ เซยี น (ไดร้ บั อารยธรรมเมโสกับอียปิ ต์เปนพวกกล่มุ เอเชยี ไมเนอรก์ ็นา่ จะอพยพมา ทางตะวนั ออกของกรกี ชอื เดมิ วา่ ชาวแคนาไนต์) ก็เขา้ มาค้าขายและไดเ้ อาภาษามา ดว้ ยกลายเปนสอื สารกันไมร่ เู้ รอื งต่อมาชาวกรกี ต้องหนั ไปใชภ้ าษาฟนเิ ชยี - เกิดบทประพนั ธท์ ีสาํ คัญ คือ มหากาพยอ์ ีเลียดของ มหากวี โฮเมอร์ ซงึ เกียวกับ การผจญภัยของวรี บุรษุ ชาวกรกี ออกแนวถึงประวตั ิศาสตร์ (ต่อมามหากาพยไ์ ด้ เปนแบบอยา่ งการใช้ ชวี ติ พวกของขุนนางในอารยธรรมเฮเลน)

วหิ ารอารท์ ิมสิ 4. ยุคคลาสสกิ หรอื สมยั เฮลเลนกิ (Helenic) ( 800 ป ก่อน ค.ศ. ) - บางทีเรยี กวา่ อารยธรรมกรกี (เพราะเปนอารยธรรมสดุ ท้ายของกรกี ) บางทีเรยี ก่าอารยธรรมโฮเมอร(์ เพราะเอากวขี องโฮเมอรม์ าเปนแบบอยา่ งการใชช้ วี ติ ) บางทีเรยี กวา่ อารยธรรมของเฮเลนนกิ (เพราะชาวกรกี เขาเรยี กตัวเองวา่ ชาวเฮลีนส์ เรยี กทีอยูว่ า่ เฮลัส) - ทีตังในไมซนิ ขี ยายไปตอนบน (ประเทศกรกี ทังประเทศ) - พวกขุนนางเอามหากาพยอ์ ิเลียดจากมหากวโี ฮเมอรม์ าเปนแบบอยา่ งการใชช้ วี ติ - มกี ารจดั ตังนครรฐั หรอื โพลิสขนึ (ก็คือแต่ละชุมชนทีแยกตัวไป) รวมประชากรได้ ประมาณ 130,000 เชน่ เอเธนส์ สปารต์ ้าไพลอส เธเบส ทิรนิ ส์ ฯลฯ - แต่ละนครรฐั ก็มจี ะกิจกรรมสาํ คัญทีทํากันระหวา่ งรฐั คือการเฉลิมฉลองเทพซุสที หบุ เขาโอลิมเปยจดั ทกุ 4 ป (เปนทีมาของกีฬาโอลิมปก)

อเล็กซานเดอรม์ หาราชแหง่ มาซดิ อน ศิลปะสมยั เฮเลนนสิ ติก 5. ยุคเฮเลนนสิ ติก (Helenistic) (พ.ศ. 221 – 511 ) - สมยั ทีเรมิ ขนึ หลังจากอเล็กซานเดอรม์ หาราชแหง่ มาซดิ อนไดร้ บั ชยั ชนะต่อจกั รวรรดิ เปอรเ์ ชยี - ชว่ งนอี ารยธรรมของกรกี ก็ขนึ ถึงจุดสงู สดุ ทังในยุโรปและเอเชยี - มศี ูนยก์ ลางของอารยธรรมเฮเลนนสิ ติก คือ บรแิ ซร เมอื ง อเล็กวานเตรยี (Alexandria) ในอียปิ ต์และเมอื งเปอเกมมั (Pergamurn) ในเอเชยี ไมเนอรต์ ะวนั ตก ( ปจจุบนั อยูใ่ นตรุ กี ) - ศาสนาในชว่ งนี มรี ปู แบบอยูบ่ นพนื ฐานของความเชอื ของกรกี เชน่ นยิ มทําพธิ กี รรม ในสถานทีโล่งแจง้ - ในชว่ งนพี ระเจา้ อเล็กซานเดอรม์ หาราชไดร้ วบรวมดนิ แดนกรกี เอาไวจ้ นหมด และได้ แผข่ ยายแสนยานภุ าพไปยงั ดนิ แดนอืนๆ ทําใหก้ ารใชเ้ หตผุ ล การมสี ว่ นรว่ มใน การเมอื ง ความผกู พนั กับนครรฐั ลดลง ไมม่ ปี ญญาความคิดใหมๆ่ เกิดขนึ ในสมยั นจี งึ ถือเปนสมยั เสอื มทางปญญาและความคิดของกรกี มคี วามเปนปจเจกนยิ ม (Individualism) ซงึ มุง่ ความสขุ สว่ นตัวมากกวา่ สว่ นรวม ซงึ ทําใหเ้ กิดการสญู สนิ ของ ระบบนครรฐั และยงั ใหค้ วามสาํ คัญกับกิจกรรมทีเปนความบนั เทิงทางความรสู้ กึ

ชาวกรกี - ชาวกรกี โบราณเรยี กตัวเองวา่ “เฮลลีน” (Hellene) เปนพวกอินโด-ยูโรเปยนกล่มุ หนงึ ทีอพยพ มาจากทางตอนเหนอื ของประเทศกรซี ปจจุบนั เมอื ประมาณ 2000 ปก่อนครสิ ต์ศักราช ในระยะ แรก กระจายอยูเ่ ปนเผา่ ต่างๆ ในคาบสมุทรบอลขา่ นและเขตทะเลอีเจยี น ทีสาํ คัญไดแ้ ก่ พวก ไอโอเนยี น (Ionians) และพวกไมซเี นยี น (Mycenaeans) โดยทัวไปชาวกรกี โบราณประกอบอาชพี เกษตรกรรมและเดนิ เรอื ต่อมาเผา่ ทีมคี วามเจรญิ ไดข้ ยายอํานาจและก่อตังเปนนครรฐั ทีสาํ คัญ ไดแ้ ก่นครรฐั ของพวกไมซเี นยี นซงึ ยดึ ครองพนื ทีสว่ นใหญ่ และมอี ํานาจสงู สดุ ประมาณป 1600- 1100 ก่อนครสิ ต์ศักราช โดยมศี ูนยก์ ลางอยูท่ ีเมอื งไมซนี ที างตอนใต้ของประเทศกรซี ในปจจุบนั พวกไมซเี นยี นเปนนกั รบทีมคี วามเก่งกล้าสามารถยดึ ครองดนิ แดนของนครรฐั อืนๆ รวมทังเกาะ ครตี และรบั อิทธพิ ลของอารยธรรมต่างๆ โดยเฉพาะอารยธรรมไมนวนของชาวเกาะครตี - ต่อมาประมาณป 1100 ก่อนครสิ ต์ศักราช พวกกรกี อีกกล่มุ หนงึ เรยี กวา่ ดอเรยี น (Dorians) ซงึ อพยพมาจากทางเหนอื และขยายอํานาจครอบครองดนิ แดนของพวกไมซเี นยี น พวกนไี ดส้ รา้ ง นครรฐั สปารต์ าเปนศูนยก์ ลางปกครองของตน พวกดอเรยี นมคี วามเจรญิ นอ้ ยกวา่ ไมซเี นยี นและ ไมร่ หู้ นงั สอื จงึ ไมม่ หี ลักฐานทีกล่าวถึงดนิ แดนกรกี ภายใต้อิทธพิ ลของพวกดอเรยี นในชว่ งป 1100-750 ก่อนครสิ ต์ศักราชมากนกั จนกระทังประมาณป 750 ก่อนครสิ ต์ศักราช ไดม้ กี าร ประดษิ ฐอ์ ักษรซงึ รบั ร)ู แบบมาจากอักษรและพยญั ชนะของพวกฟนเิ ชยี นทีเขา้ มาติดต่อค้าขายใน ชว่ งนนั อยา่ งไรก็ตามแมพ้ วกดอเรยี นจะมอี ํานาจเขม้ แขง็ แต่ก็ไมส่ ามารถรวมอํานาจปกครอง นครรฐั กรกี ไดท้ ังหมด

ปจจยั ทางภมู ศิ าสตรท์ ีสง่ ผล ต่ออารยธรรมกรกี - ภมู ปิ ระเทศของกรกี ประกอบดว้ ย ภเู ขา พนื ดนิ และทะเล โดยกรกี มพี นื ทีราบ นอ้ ย พนื ทีสว่ นใหญเ่ ปนภเู ขา และหมูเ่ กาะในทะเลอีเจยี น ประชาชนอาศัยอยูต่ าม หมูบ่ า้ นในบรเิ วณทีราบเล็กๆ ในหบุ เขาทีล้อมรอบดว้ ยภเู ขาสงู ซงึ เปนอุปสรรค สาํ คัญในการติดต่อสอื สาร ซงึ สภาพภมู ศิ าสตรเ์ ชน่ นที ําใหแ้ ยกชุมชนต่างๆออก จากกัน สง่ ผลใหแ้ ต่ละเมอื งแตกแยกเปนนครรฐั ต่าง ๆ มากมายซงึ เปนอิสระไม่ ขนึ แก่กัน นครรฐั ทีสาํ คัญไดแ้ ก่ นครรฐั เอเธนส์ และนครรฐั สปารต์ า พนื ดนิ สว่ น ใหญข่ องกรกี ขาดความอุดมสมบูรณแ์ ละมพี นื ดนิ ขนาดเล็ก ประกอบกับมแี มน่ าํ สายสนั ๆ นาํ ไหลเชยี วและพดั พาเอาความอุดมสมบูรณข์ องดนิ ไป และจาก ลักษณะภมู ปิ ระเทศทีมลี ักษณะคล้ายแหลมยนื ไปในทะเล ทําใหก้ รกี มชี ายฝงทะเล ทียาว ซงึ ความเวา้ แหวง่ ของทะเลเปนทีกําบงั คลืนลมไดเ้ ปนอยา่ งดี ใชเ้ ปนอ่าว สาํ หรบั จอดเรอื ทําใหช้ าวกรกี เปนคนชอบค้าขายทางทะเล นอกจากนดี นิ แดน กรกี ยงั เปนดนิ แดนทีมที รพั ยากรธรรมชาติมากมาย เชน่ เหล็ก ทอง เงิน หนิ อ่อน เปนต้น

ลักษณะการปกครอง ของอารยธรรมกรกี - กรกี โบราณมรี ปู แบบการเมอื งการปกครองเปนนครรฐั ไมไ่ ดร้ วมเปนอาณาจกั รทีเปนอันหนงึ อัน เดยี วกันอยา่ งเชน่ อียปิ ต์ นครรฐั กรกี เปนหนว่ ยทางการเมอื งทีมอี ธปิ ไตยอยา่ งสมบูรณ์ แต่ละ หนว่ ยคือ รฐั อิสระทีดาํ เนนิ นโยบายและตัดสนิ เรอื งต่างๆ ดว้ ยตัวเอง กรกี เรยี กหนว่ ยเหล่านวี า่ โปลิส(1) กรกี ประกอบดว้ ยโปลิสจาํ นวนมากมาย แต่โปลิสทีสาํ คัญและมบี ทบาทมากในอารยธรรม ยุคโบราณ ไดแ้ ก่ เอเธนสแ์ ละสปารต์ า สภาพแวดล้อมทางภมู ศิ าสตรแ์ ละภมู อิ ากาศเปนปจจยั สว่ น หนงึ ทีทําใหก้ รกี แบง่ แยกอํานาจจากกันมากมาย ภเู ขาเปนอุปสรรคสาํ คัญต่อการติดต่อระหวา่ งคน ทีอาศัยอยูต่ ามทีราบในหบุ เขาดงั กล่าว ดงั นนั หมูบ่ า้ นตามหบุ เขาเหล่านจี งึ ปกครองตนเองเปน อิสระ คนในแต่ละท้องทีจะจงรกั ภักดแี ต่เฉพาะในเขตของตน เนอื งจากนครรฐั นี การปกครองไดม้ ี ประชาชนเขา้ รว่ มดว้ ยอยา่ งใกล้ชดิ ยงั มุง่ จดั การศึกษาเพอื อบรมจติ ใจ สติปญญา ใหเ้ ฉลียวฉลาด ทกุ ดา้ น นอกจากนกี ็มกี ารอบรมเกียวกับทหาร เดก็ ผชู้ ายชาวเอเธนสเ์ มอื อายุ 7 ป จะต้องไปเขา้ โรงเรยี น เวลาไปโรงเรยี น มพี เี ลียงคอยดแู ล พเี ลียงโดยมากเปนทาส พวกทาสทีเปนพเี ลียงพา เดก็ ไปโรงเรยี น เรยี กวา่ เพดาก๊อจ (pedogoge) นอกจากนี พอ่ แมย่ งั มอบอํานาจใหค้ วบคมุ ดแู ล ความประพฤติของเดก็ และลงโทษเดก็ ไดด้ ว้ ย คําวา่ เพดาก๊อจ ต่อมากลายเปนคําศัพท์วา่ เพดากอ ดี (pedagogy) ซงึ แปลวา่ วชิ าครู ปจจุบนั ใชว้ า่ education (2) - นครรฐั ของกรกี กําเนดิ ขนึ เพราะความจาํ เปนต้องรว่ มกันในการปองกันภัยจากศัตรู การค้าขยาย ตัวและประการสดุ ท้ายธรรมชาติมนษุ ยท์ ีนยิ มอยูร่ ว่ มกันเปนหมูใ่ หญ่ ในขนั ต้นมนษุ ยอ์ ยูร่ วมกัน เปนหมูเ่ ล็กๆ เปนหมูข่ องครอบครวั ทีสบื มาจากบรรพบุรษุ เดยี วกัน เรยี กวา่ โคตร ตระกลู เมอื หลายโคตรตระกลู มารวมกันเขา้ กลายเปนหมูใ่ หญเ่ รยี กวา่ วงศ์วาน และเมอื มหี ลายวงศ์วานเขา้ ก็ รวมกันเปนเผา่ พนั ธุ์ และเผา่ พนั ธุเ์ หล่านเี ขา้ มารวมกันอยูใ่ นนครรฐั สว่ นการปกครองภายใน นครรฐั นนั ในขนั ต้นราษฎรเลือกหวั หนา้ หมูข่ นึ ปกครองดาํ รงตําแหนง่ กษัตรยิ ์ และมคี ณะขุนนาง อันไดแ้ ก่ ราษฎรชนั สงู เปนทีปรกึ ษา ภายหลังพวกขุนนางก็ชงิ อํานาจการปกครองมาไวใ้ นคณะ ของตน ครนั นานวนั เขา้ เมอื ราษฎรไมพ่ อใจในการปกครองของขุนนาง ก็ไดช้ งิ อํานาจปกครองมา อยูท่ ีตนเอง มลี ักษณะเปนการปกครองแบบประชาธปิ ไตยทีราษฎรทกุ คนมสี ว่ นในการปกครองนนั บางนครรฐั ก็มไิ ดว้ วิ ฒั นาการการปกครองในรปู ประชาธปิ ไตย แต่มกี ารปกครองในรปู อืน เชน่ การ ปกครองแบบคณาธปิ ไตยหรอื โดยชนหมูน่ อ้ ย (Oligarchy) การปกครองโดยชนชนั สงู ผดู้ หี รอื อภิชน (Aristocracy) และปกครองโดยอํานาจปกครองอยูใ่ นมอื คนคนเดยี วคือปกครองแบบทร ราชย์ (Tyranny) - สภาวะทางการเมอื งและสงั คมแบบนครรฐั ไมส่ ง่ เสรมิ ความสามคั คีเปนอันหนงึ อันเดยี วกัน ชาว กรกี ทังมวลพฒั นาการทีจะนาํ ไปสคู่ วามเปนอาณาจกั รเดยี วกันจงึ เปนไดย้ าก อีกทังไมเ่ กือกลู ใน การรกั ษาความมนั คงปลอดภัยในกรณที ีมกี ารคกุ คามจากภายนอก นครรฐั กรกี ทังปวงแตกต่าง กันในการพฒั นาความก้าวหนา้ บางนครรฐั อาจเจรญิ ก้าวไปไกลกวา่ นครรฐั อืนๆ นครรฐั ทีมขี นาด ใหญแ่ ละแขง็ แกรง่ ทีสดุ คือนครรฐั สปารต์ า แต่นครรฐั ทีเจรญิ ทีสดุ และมอี ิทธพิ ลมากทีสดุ ต่อโลก สมยั ต่อมาคือ นครรฐั เอเธนส์

ลักษณะการปกครอง ของนครรฐั สปารต์ า - มกี ารปกครองแบบทหารนยิ ม คณะผปู้ กครองมอี ํานาจสงู สดุ และเดด็ ขาด พลเมอื งชายทกุ คนที มอี ายุตังแต่ 20-60 ป ต้องถกู ฝกฝนใหเ้ ปนทหาร เรยี นรวู้ ธิ กี ารต่อสแู้ ละเอาตัวรอดในสงคราม แมแ้ ต่พลเมอื งหญงิ ก็ยงั ต้องฝกใหม้ สี ขุ ภาพแขง็ แรงเพอื เตรยี มเปนมารดาของทหารทีแขง็ แกรง่ ในอนาคต อนงึ พวกสปารต์ ายงั ต่อต้านความมงั คังฟุมเฟอย เพราะเกรงวา่ อํานาจของเงินตราจะ ทําลายระเบยี บวนิ ยั ทหาร รวมทังยงั ไมส่ นบั สนนุ การค้าขายและการสรา้ งสรรค์ศิลปกรรมใดๆ การ ปกครองของพวกสปารต์ านบั เปนการขดั ขวางสทิ ธขิ องปจเจกชน และเปนต้นกําเนดิ ของระบอบ การปกครองแบบเผดจ็ การเบด็ เสรจ็ (Totalitarianism) - นครรฐั สปารต์ า เปนนครทีใหญท่ ีสดุ และทรงอํานาจแขง็ แกรง่ ทีสดุ ในบรรดานครรฐั กรกี ทัง หลาย เปนผนู้ าํ ทางดา้ นการทหาร เนอื งจากมกี องทัพทีมรี ะเบยี บวนิ ยั และเกรยี งไกรทีสดุ ประกอบขนึ ดว้ ยทหารทีมคี วามเสยี สละอดทนและอุทิศชวี ติ เพอื ความยงิ ใหญข่ องนครรฐั ประชาชน ในนครรฐั สปารต์ าแบง่ ออกเปน 3 กล่มุ 1. สปารเ์ ตียตส์ (Spartites) - เปนพวกดอเรยี นสท์ ีอพยพมาตังถินฐานในสปารต์ า ถือเปนชาว สปารต์ าโดยแท้ พวกนสี ว่ นใหญ่ อาศัยอยูใ่ นนครรฐั ทําหนา้ ทีเปนทหารรฐั 2. เปรโิ อซิ ((Perioeci) - คํานภี าษากรกี แปลวา่ ผทู้ ีอาศัยอยูโ่ ดยรอบ ไดแ้ ก่ประชาชนทีอาศัยอยูใ่ นหมูบ่ า้ นโดยรอบนครรฐั สปารต์ า เปนชาวเลซเี ดโมเนยี นทีสบื เชอื สายปะปนกันมา พวกนจี ดั เปนเสรชี นและมสี ว่ นในกิจการ ต่างๆ ภายในหมูบ่ า้ นของตน แต่ขาดสทิ ธใิ นทางการเมอื งภายในนครรฐั สปารต์ า ขาดสทิ ธใิ นการ สมรสกับหญงิ สปารเ์ ตียตส์ มหี นา้ ทีต่อรฐั คือรบั ราชการทหารและประกอบการ กสกิ รรม 3. เฮล็อต (Helot) - พวกนเี ปนชนพนื เมอื งเดมิ ทีอาศัยอยูใ่ นดนิ แดนนมี าก่อน เมอื พวกเลซเี ดโมเนยี นเขา้ มาตังบา้ น เรอื น ก็ไดป้ กครองคนเหล่านใี นฐานะเปนทาสของรฐั มหี นา้ ทีทํางานในทีดนิ ของผทู้ ีเปนนายและ แบง่ ผลประโยชนท์ ีไดจ้ ากทีดนิ ใหแ้ ก่ผทู้ ีเปนนาย พวกเฮล็อตนนั เปนชาวกรกี โดยแท้และมจี ติ ใจรกั อิสรภาพเชน่ ชาวกรกี ทังหลาย เมอื มาถกู จาํ กัดอิสรภาพและลดฐานะก็เกิดความไมพ่ อใจ และมกั ปกใจอยูก่ ับการก่อการปฏิวตั ิ พวกสปารเ์ ตียตสก์ ็ตระหนกั ในเรอื งนดี ี ดงั นนั เมอื มกี ารสงสยั วา่ เฮ ล็อต คนใดคิดการปฏิวตั ิ ผนู้ นั จะไดร้ บั โทษถึงประหารชวี ติ ทันที สปารต์ าไดร้ บั การกล่าวถึงในฐานะตัวแทนแหง่ ความเขม้ แขง็ ของปจเจกบุคคลและความเกรยี ง ไกรของกองทัพ

เกรด็ ความรู้ อืนๆ ของ ชาวสปารต์ ัน - แมบ่ า้ นของชาวสปารต์ ันนนั ต้องคอยดแู ลฟารม์ ของครอบครวั ในขณะทีสามขี องพวกเธอออก ไปฝกฝนหรอื ออกไปรบ - สปารต์ านนั แตกต่างจากรฐั อืนๆของกรกี เพราะมนั ไมม่ กี ําแพงเมอื งคอยค้มุ กัน แต่วา่ มภี เู ขาเปน กําแพงธรรมชาติและกองทหารทีคอยชว่ ยใหเ้ มอื งพน้ จากเหล่าศัตรู - ชาวสปารต์ ันไมส่ นใจการทําธุรกิจหรอื ความมงั คัง แต่วา่ พวกเขาสนใจทีจะทําใหร้ า่ งกาย แขง็ แกรง่ และฟตต่างหาก ชาวสปารต์ ันไมใ่ ชเ้ หรยี ญ แต่วา่ ใชแ้ ท่งเหล็กเปนเงินตรา - ในการออกค่าย เวลาเขา้ หอ้ งนาํ เพอื ถ่ายทกุ ข์ ชาวสปารต์ ันจะไมข่ ุดหลมุ เพอื ใชเ้ ปนสว้ ม แต่จะใช้ วธิ ไี ปหาทีทีไกลจากเพอื นๆแทน - ชาวสปารต์ ันคิดวา่ ผชู้ ายทกุ คนต้องแต่งงานและมลี กู หากผชู้ ายคนไหนทียงั ไมไ่ ดแ้ ต่งงาน เขา คนนนั ต้องเดนิ เปลือยกายในเมอื งปละครงั จนกวา่ จะมเี มยี ! - ชาวสปารต์ ันภมู ใิ จในผมยาวของพวกเขามากๆ พวกผชู้ ายจะหวผี มก่อนออกรบ! - ชาวสปารต์ ันสวมเสอื คลมุ สแี ดง เพอื ไมใ่ หเ้ ลือดจากบาดแผลเปนทีสงั เกตเหน็ ได้ - นกั รบชาวสปารต์ ันชอื วา่ ยูรตี สุ เขาตาบอด แต่ทวา่ เขาก็ยงั สงั ใหท้ าสของเขา

ลักษณะการปกครอง ของนครรฐั เอเธนส์ - เปนต้นกําเนดิ ของรฐั ประชาธปิ ไตย นครรฐั เอเธนสป์ กครองโดยสภาหา้ รอ้ ย ซงึ ไดร้ บั เลือกจาก พลเมอื งเอเธนสท์ ีมสี ทิ ธอิ อกเสยี ง สภานมี หี นา้ ทีตรวจสอบรา่ งกฎหมายและบรหิ ารการปกครอง นอกจากนยี งั มสี ภาราษฎร ซงึ เปนทีประชุมของพลเมอื งทีมสี ทิ ธอิ อกเสยี งทกุ คนและทําหนา้ ที พจิ ารณารา่ งกฎหมาย การทีเอเธนสใ์ หส้ ทิ ธแิ ละเสรภี าพแก่ปจเจกชน ทําใหเ้ กิดนกั คิดและนกั ปราชญท์ ีเรยี กวา่ พวกโซฟสต์ (Sophists) สาํ นกั ต่างๆ ในสงั คมเอเธนส์ แนวคิดและปรชั ญาของ นกั ปรชั ญาคนสาํ คัญ ไดแ้ ก่ โซเครติส และเพลโต ยงั เปนหลักปรชั ญาของโลกตะวนั ตกดว้ ย เอเธนสไ์ ดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปนภาพแทนแหง่ ต้นกําเนดิ และความเจรญิ ก้าวหนา้ ของ ระบอบประชาธปิ ไตย โซเครติส เพลโต

- นครรฐั เอเธนสป์ ระกอบดว้ ยบรเิ วณทีสาํ คัญ 2 บรเิ วณ คือ อโครโปลิส (Acropolis) และ อกอรา (Agora) อโครโปลิสเปนเนนิ เขาสงู เปนทีประดษิ ฐานวดั วาอารามและสถานทีสาํ คัญทางราชการ เนนิ นอี าจดดั แปลงเปนปองทีใหผ้ คู้ นพลเมอื งเขา้ มาลีภัย และตังรบั ศัตรไู ดใ้ นยามทีถกู รกุ ราน ใต้ บรเิ วณอโครโปลิส ลงมาเปนรา้ นรวงและทีอยูอ่ าศัยของพลเมอื งเรยี กวา่ อกอรา อโครโปลิส (Acropolis) อกอรา (Agora) - นครรฐั เอเธนสเ์ ปนนครรฐั เล็ก มพี ลเมอื งเพยี ง 50,000 คน นอกนนั ไดแ้ ก่พวกทาสและชนต่าง ถิน ซงึ รวมดว้ ยกันทังสนิ ประมาณ 130,000 คน เอเธนสไ์ ดว้ วิ ฒั นาการการปกครอง เปน สาธารณรฐั ปกครองในรปู ประชาธปิ ไตย โดยเจา้ หนา้ ทีซงึ เลือกมาจากพลเมอื ง 50,000 คน รปู การปกครองแบบประชาธปิ ไตยของเอเธนสแ์ ตกต่างจากประชาธปิ ไตยทีเขา้ ใจในสมยั ปจจุบนั แต่ก็เปนรปู การปกครองทีใหส้ ทิ ธเิ สรภี าพมากทีสดุ ในสมยั โบราณ ทีแตกต่างจากประชาธปิ ไตยใน ปจจุบนั คือ 1.สทิ ธใิ นการปกครอง สงวนไวส้ าํ หรบั ประชากรเพยี ง 1/6 เท่านนั 2. สตรไี มม่ หี นา้ ทีหรอื สทิ ธใิ ดๆ นอกครวั เรอื น 3. พลเมอื งแต่ละคนใชส้ ทิ ธใิ นระบอบประชาธปิ ไตยของตนโดยตรง ไมต่ ้องเลือกผแู้ ทนเขา้ ไปใช้ สทิ ธดิ งั กล่าวจาํ นวนพลเมอื งมสี ทิ ธไิ มม่ าก จงึ ไมจ่ าํ เปนต้องมผี แู้ ทน พลเมอื งทกุ คนจะรว่ มประชุม สภาราษฎรและถกเถียงในปญหาต่างๆ ไดอ้ ยา่ งอิสระ การโต้กันในสภาราษฎร อาจเปนเรอื งเกียว กับการสรา้ งอาคารใหม่ วธิ กี ารเกษตรแบบใหมห่ รอื การลงมตินาํ รฐั เขา้ สสู่ งคราม พลเมอื งทกุ คนมี สทิ ธพิ ูดและลงคะแนนเสยี งเหน็ ดว้ ยหรอื โต้แยง้ ญตั ติใดๆ ดว้ ยตนเอง วธิ ดี งั กล่าวเมอื นาํ มาใชก้ ับ รฐั ปจจุบนั ทีมพี ลเมอื งมากมายยอ่ มไมเ่ ปนผล ดว้ ยเหตนุ ปี ระชาธปิ ไตยปจจุบนั จงึ ดดั แปลงดว้ ย การเลือกผแู้ ทนขนึ พูดและลงคะแนนเสยี งในญตั ติต่างๆ

- พลเมอื งชาวเอเธนสม์ สี ทิ ธทิ ีจะเขา้ รว่ มในคณะลกู ขุนซงึ พจิ ารณาคดตี ่างๆ โดยใจสมคั ร ในการ พจิ ารณาคดี ผพู้ พิ ากษาจะนงั เปนประธานเท่านนั สว่ นการชวี า่ ผดิ หรอื ถกู เปนหนา้ ทีของคณะ ลกู ขุน ซงึ ประกอบดว้ ยพลเมอื ง มติต่างๆ ของสภาผแู้ ทนราษฎร จะมคี ณะเจา้ หนา้ ทีบรหิ ารเปนผู้ ดาํ เนนิ การ เจา้ หนา้ ทีบรหิ ารเหล่านอี าจเลือกขนึ มาหรอื จบั ฉลาก ไดร้ บั เงินเดอื นเพยี งเล็กนอ้ ย แต่ ถือวา่ เปนเกียรติยศชอื เสยี ง ชาวเอเธนสท์ ีไดร้ บั ตําแหนง่ เจา้ หนา้ ทีบรหิ ารจะทํางานดว้ ยความ ซอื สตั ยส์ จุ รติ เพอื รกั ษาเกียรติยศทีตนไดร้ บั ชาวเอเธนสร์ กั นครรฐั ของตนเปนชวี ติ จติ ใจ ขา้ วของ เงินทองทีหามาไดใ้ ชบ้ าํ รงุ นครรฐั ของตนใหส้ วยงาม นา่ อยู่ ชาวกรกี ไมน่ ยิ มความหรหู ราฟุมเฟอย และดถู กู คนทีใชจ้ า่ ยเงินทองซอื เพชรนลิ จนิ ดาเสอื ผา้ แพรพรรณ บา้ นชอ่ งทีโอ่อ่าหรหู ราพรอ้ ม ดว้ ยสมบตั ิสว่ นตัว - คนกรกี มคี วามเหน็ วา่ คนเหล่านนั หยาบกระดา้ งและยงั ไมไ่ ดข้ ดั เกลา เขานยิ มคนทีใชเ้ งินทองเพอื ของสว่ นรวม เชน่ การก่อสรา้ งสาธารณสถาน หรอื วดั วาอารามต่างๆ ชวี ติ ในนครรฐั เอเธนสเ์ ปน ชวี ติ ทีแจม่ ใสและนา่ อยู่ นครรฐั ตังอยูต่ ิดกับทะเลและมเี นนิ เขายอ่ มๆ อากาศแบบเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น กําลังสบายไมห่ นาวเกินไปหรอื รอ้ นเกินไป ท้องฟาและทะเลเปนสฟี าครามตลอดทังป ขา้ วปลา อาหาร ถึงแมจ้ ะไมส่ มบูรณก์ ็เพยี งพอเลียงพลเมอื ง ผคู้ นพลเมอื งมจี ติ ใจกล้าหาญเปนนกั รบ แต่ ในยามสงบแล้วรกั สนั ติและรกั การสนทนาโต้ตอบแลกเปลียนความคิดเหน็ ชาวกรกี รกั การสนทนา โต้แยง้ ฉันท์มติ ร เพราะเปนหนทางทีจะเรยี นรสู้ งิ ต่างๆ ดว้ ยตัวเอง การโต้แยง้ กันในทางววิ าทชาว กรกี ถือวา่ เปนของตํา และแสดงความโง่เขลาเบาปญญา ชาวกรกี ถกเถียงกันในปญหาทกุ เรอื ง อยา่ งสงบและโดยปราศจากอคติ ทกุ คนต่างเคารพสทิ ธขิ องผอู้ ืนในการแสดงความคิดเหน็ และ ถึงแมผ้ อู้ ืนจะไมเ่ หน็ พอ้ งกับความคิดของตนหรอื ตนไมเ่ หน็ ดว้ ยกับความคิดของผอู้ ืนก็ไมถ่ ือวา่ คน ทังสองเปนศัตรตู ่อกัน

รปู แบบการปกครอง ของนครรฐั เอเธนส์ 1) ระบอบราชาธปิ ไตย (Monarchy : 2,000-800 ปก่อนครสิ ตกาล) ราชาธปิ ไตย คือระบอบการปกครองทีมกี ษัตรยิ เ์ ปนผปู้ กครอง สงู สดุ ถือไดว้ า่ เปนระบอบการปกครองแบบแรก และมคี วามเก่าแก่ มากทีสดุ ของอารยธรรมกรกี รวมไปถึงในประวตั ิศาสตรโ์ ลก ซงึ ใน ชว่ งนนั แต่ละนครรฐั ของกรกี (โพลิส Polis) ก็ล้วนปกครองแบบรา ชาธปิ ไตยทังสนิ โดยคําวา่ \"Monarchy\" มที ีมาจากคําวา่ \"Monos\" ทีแปลวา่ หนงึ กับ \"Arkhein\" ทีแปลวา่ ปกครอง ดงั นนั คําวา่ \"Monarchy\" จงึ มคี วามหมายตรง ๆ วา่ การปกครองโดยคน ๆ เดยี ว ในระบอบราชาธปิ ไตย กษัตรยิ จ์ ะเปนผทู้ ีมอี ํานาจสงู สดุ ในการ ปกครองแต่เพยี งผเู้ ดยี ว กษัตรยิ ม์ หี นา้ ทีหลายอยา่ ง อาทิ การออก และบญั ญตั ิกฎหมาย ,พพิ ากษาในคดคี วามต่าง ๆ และเปนผนู้ าํ ใน ทางศาสนาและพธิ กี รรม นอกจากนกี ษัตรยิ ย์ งั สามารถถ่ายทอด ตําแหนง่ ผา่ นทางสายเลือดจากรนุ่ สรู่ นุ่ จนกระทังในชว่ ง 800 ป ก่อนครสิ ตกาล อํานาจของกษัตรยิ ก์ ็เรมิ เสอื มถอย ก่อนทีจะตกไป อยูก่ ับกล่มุ ขุนนางและพวกชนชนั สงู หรอื ทีเรยี กวา่ \"พวกอภิสทิ ธิ ชน\" (Aristocrat) จนนาํ ไปสรู่ ะบอบการปกครองแบบใหม่ 2) ระบอบคณาธปิ ไตย (Oligarchy : 800-650 ปก่อนครสิ ตกาล) สว่ นใหญก่ ล่มุ คณาธปิ ไตย จะเปนบุคคลใน ชนชนั อภิสทิ ธชิ น ซงึ เปนพวกชนชนั สงู รวม ไปถึงขุนนางคณาธปิ ไตย เปนรปู แบบการ ปกครอง ทีมกี ล่มุ คนหรอื คณะใดคณะหนงึ มี อํานาจในการปกครองแบบเบด็ เสรจ็ โดยมา จากคําวา่ \"Oligos\" ทีแปลวา่ สว่ นนอ้ ย กับคํา วา่ \"Arkhein\" ทีแปลวา่ ปกครอง ดงั นนั คณาธปิ ไตย จงึ แปลวา่ การปกครองโดยคนสว่ นนอ้ ย สว่ นใหญก่ ล่มุ คณะทีมอี ํานาจนี จะเปนกล่มุ อภิสทิ ธชิ น ซงึ เปนขุนนาง ชนชนั สงู รวมไปถึงเศรษฐี ซงึ กล่มุ คณาธปิ ไตยเหล่านี ก็ล้วนกอบโกยหาผล ประโยชน์ ใหก้ ับพวกพอ้ งและคณะของตนเท่านนั โดยไมใ่ สใ่ จกับประชาชนทีอยูภ่ ายใต้การปกครองของพวก เขา ท้ายทีสดุ ระบอบคณาธปิ ไตยก็ล่มสลายลง อันเนอื งมาจากการแยง่ ชงิ อํานาจกันเองภายในกล่มุ อภิสทิ ธชิ น รวมไปถึงการต่อต้านของประชาชน ทีถกู คณาธปิ ไตยกดขมี านาน ท้ายทีสดุ ระบอบการปกครอง แบบใหม่ ก็เกิดขนึ มาอีกครงั

3) ระบอบทรราชย์ (Tyranny : 650-500 ปก่อนครสิ ตกาล) ระบอบทรราชย์ คือรปู แบบการปกครองทีอํานาจทังหมดอยูใ่ นมอื คน ๆ เดยี ว (ในความหมายคือผปู้ กครองทีขนึ สอู่ ํานาจปกครองโดยไมใ่ ชว่ ธิ ที างตามรฐั ธรรมนญู และไมอ่ ยู่ ภายใต้กฎหมาย) ระบอบทรราชย์ เปนรปู แบบการปกครองแบบหนงึ ของอารยธรรมกรกี โบราณ มที ีมาจากคําวา่ \"Tyranos\" ทีแปลวา่ ผทู้ ีแขง็ แกรง่ เดมิ ทีคําวา่ ทรราชย์ ไมไ่ ดม้ คี วามหมายในเชงิ ทีไมด่ แี ละเลวรา้ ย เหมอื นในปจจุบนั โดยในชว่ งเวลานนั ทรราชยจ์ ะหมายถึง บุคคลใดบุคคลหนงึ ทีประชาชนใหก้ าร สนบั สนนุ ในการโค่นล้มอํานาจของคณาธปิ ไตย ก่อนทีบุคคลผนู้ นั จะกลายเปนผมู้ อี ํานาจสงู สดุ แต่เพยี งผเู้ ดยี ว ดงั นนั คําวา่ \"ทรราชย\"์ ในยุคสมยั กรกี โบราณ จงึ มคี วามหมายในเชงิ \"วรี บุรษุ \" มากกวา่ ทีจะเปน \"ผรู้ า้ ย\" แบบในปจจุบนั โดยตําแหนง่ ทรราชย์ อาจไดม้ าจากการคัดเลือก หรอื ถ่ายทอดผา่ นทางสายเลือดได้ ผทู้ ีเปนทรราชย์ มที ังคนทีดมี คี วามสามารถ และบางคนก็เปนคนที เลวและกดขปี ระชาชน ตัวอยา่ งเชน่ โซลอน (Solon) หรอื ไพซสิ ตราตัส (Peisistratus) นกั ปฏิรปู คนสาํ คัญของนครรฐั เอเธนส์ ซงึ ทังสองคนก็เปนทรราชยเ์ ชน่ กัน โซลอน (ซา้ ย) และไพซสิ ตราตัส (ขวา)

- โซลอนไดท้ ําการปฏิรปู ในทางการเมอื งดว้ ย แต่เปนไปโดยการประนปี ระนอม กล่าวคือ ไมไ่ ดก้ ําจดั อํานาจการปกครองของชนชนั ผปู้ กครองเดมิ ออกไปอยา่ งสนิ เชงิ เพยี งแต่ไดเ้ ปดโอกาสใหค้ น กล่มุ ใหมท่ ีไมไ่ ดอ้ ยูใ่ นสว่ นของชนชนั ผปู้ กครองเดมิ แต่มฐี านะใหเ้ ขา้ มาสรู่ ฐั บาลมากขนึ - การปฏิรปู โดยโซลอนนี แมจ้ ะไดร้ บั ความนยิ มในสงั คมก็ตาม แต่ก็ไมอ่ าจทีจะแก้ไขปญหาในสงั คม ทีเปนอยูไ่ ดอ้ ยา่ งแท้จรงิ โดยกล่มุ ของชนชนั ผปู้ กครองซงึ แตกแยกออกเปนหลายกล่มุ ยงั คง แขง่ ขนั แยง่ ชงิ อํานาจกันทางการเมอื งเชน่ เดมิ และชนชนั ชาวนาทีอยูใ่ ต้ปกครองก็ยงั คงไมพ่ อใจ ต่อความล้มเหลวในการจดั สรรทีดนิ กันใหมแ่ ละดว้ ยความขดั แยง้ ภายในสงั คมเหล่านจี งึ ไดน้ าํ มาสู่ สภาพผปู้ กครองทีเรยี กวา่ Tyranny - พซิ สิ ตราตัส (Pisistratus) ซงึ อยูใ่ นกล่มุ ของชนชนั ปกครองเดมิ (Aristocrat) คนหนงึ ไดย้ ดึ อํานาจขนึ เปนผปู้ กครองเอเธนสใ์ นป 560 ก่อนครสิ ตกาล การปกครองของพซิ สิ ตราตัสไดร้ บั ความนยิ มจากชนชนั พอ่ ค้าและอุตสาหกรรม เพราะสามารถทําใหก้ ารค้ารงุ่ เรอื งไดจ้ ากการใช้ นโยบายต่างประเทศ แต่พอมาถึงป 510ก่อนครสิ ตกาลในสมยั ลกู ของพซิ สิ ตราตัสทีสบื อํานาจ ปกครองต่อมานี ชาวเอเธนสก์ ็ไดล้ กุ ขนึ ล้มล้างอํานาจปกครองของตระกลู พซิ สิ ตราตัสนเี สยี หลังจากนนั ต่อมา แมจ้ ะมคี วามพยายามในการตังระบอบการปกครองคณาธปิ ไตยโดยชนชนั ปกครองเดมิ (aristocratic oligarchy) ก็ตาม แต่ก็ไมป่ ระสบความสาํ เรจ็ โดยชนชนั ผปู้ กครอง บุคคลหนงึ ทีมชี อื วา่ ไคลสเ์ ธอนสี (Cleisthenes) ไดม้ บี ทบาทต่อต้านไมเ่ หน็ ดว้ ย และไดร้ บั การ สนบั สนนุ จากชาวเอเธนสใ์ หข้ นึ สอู่ ํานาจในป 508 ก่อนครสิ ตกาล

4) ระบอบประชาธปิ ไตย (Democracy : 500 ป ก่อนครสิ ตกาล เปนต้นมา) ในระบอบประชาธปิ ไตย ประชาชนทกุ คนจะมสี ทิ ธิ ในทางการเมอื ง ระบอบประชาธปิ ไตย ถือกําเนดิ ขนึ โดยนกั ปฏิรปู คนสาํ คัญของนครรฐั เอเธนสน์ ามวา่ ไคลสธ์ นี สี (Cleisthenes) ผทู้ ีไดร้ บั สมญานามวา่ \"บดิ า แหง่ ประชาธปิ ไตย\" (Father of Democracy) ไคลสธ์ นี สี (570-508 ปก่อนครสิ ตกาล) บดิ าแหง่ ประชาธปิ ไตย - ไคลสเ์ ธอนสี (Cleisthenes) ไดเ้ ขา้ มาทําการปฏิรปู ระบบการเมอื งการปกครองของเอเธนสใ์ หม่ โดยทีสาํ คัญไดต้ ังสภาทีเรยี กวา่ council of 500 ขนึ มา โดยเปดโอกาสใหพ้ ลเมอื งแต่ละเผา่ ไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการปกครอง (เปนลักษณะของการปกครองโดยพลเมอื งทัวไปในแต่ละท้องทีมาก ขนึ กวา่ การปกครองโดยตระกลู ใดตระกลู หนงึ ) โดยสภาแหง่ นมี หี นา้ ทีในการบรหิ ารงานทางดา้ นการ ต่างประเทศและการเงินภายในประเทศ รวมทังการเตรยี มการดา้ นธุรกิจใหส้ ภาพลเมอื ง (Assembly) นาํ มาดาํ เนนิ การอีกทีหนงึ โดยสภาแหง่ นปี ระกอบดว้ ยพลเมอื งทีเปนผชู้ าย มอี ํานาจใน การอภิปรายถกเถียงเพอื ตรากฎหมายจากการปฏิรปู ของไคลสเ์ ธอนสี นี ทําใหส้ ภาพลเมอื งกลาย เปนศูนยก์ ลางทางอํานาจการเมอื งการปกครองมากยงิ ขนึ ซงึ ไดร้ บั การเรยี กวา่ ระบบประชาธปิ ไตย ชาวเอเธนส์ (Athenian democracy) ซงึ ไดก้ ลายเปนรากฐานทีสาํ คัญของสงั คมเอเธนสใ์ นเวลา ต่อจากนไี ป โดยชาวเอเธนสไ์ ดเ้ รยี กระบบการปกครองของตนเองวา่ Democracy (เพราะคําๆ นมี ี รากฐานมาจากภาษากรกี นนั เอง โดยมาจากคําวา่ demos ซงึ แปลวา่ ประชาชน และคําวา่ kratia แปลวา่ อํานาจ) - ประชาธปิ ไตยของกรกี ในชว่ งเวลานนั ประชาชนทกุ คนจะมสี ทิ ธทิ างการเมอื ง มสี ว่ นรว่ มในการ ปกครอง และมอี ํานาจอธปิ ไตยสงู สดุ (ยกเวน้ สตรี เดก็ และคนจากนครรฐั อืนทีไมใ่ ชเ่ อเธนส)์ ประชาธปิ ไตยในตอนนนั ถกู เรยี กวา่ \"ประชาธปิ ไตยโดยตรง\" (Direct Democracy) คือ ประชาชน ทกุ คน สามารถเขา้ รว่ มกับการปกครองไดโ้ ดยตรง ทวา่ จาํ นวนของประชาชนทีมากจนเกิดไป ทําให้ ประชาธปิ ไตยโดยตรง ไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพเท่าทีควรจะเปน ดงั นนั จงึ นาํ ไปสกู่ ารพฒั นาเปน \"ประชาธปิ ไตยแบบมผี แู้ ทน\" (Representative Democracy) ทีประชาชนจะทําการเลือกผแู้ ทน ของตน เพอื ใชอ้ ํานาจในการปกครองแทน ซงึ ประชาธปิ ไตยในรปู แบบนี ถือไดว้ า่ เปนต้นแบบสาํ คัญ ของระบอบประชาธปิ ไตยในปจจุบนั

ความเจรญิ ดา้ นวทิ ยาการของอารยธรรมกรกี กรกี เปนต้นแบบของโลกตะวนั ตกในการพฒั นาความเจรญิ ดา้ นวทิ ยาการต่างๆ ดา้ นประวตั ิศาสตร์ - ในประวตั ิศาสตร์ กรกี เปนชาติแรกในโลกตะวนั ตกทีเรมิ ศึกษาประวตั ิศาสตรต์ ามแบบวธิ กี ารทาง ประวตั ิศาสตร์ นกั ประวตั ิศาสตรก์ รกี คนแรกทีเรมิ เขยี นงานประวตั ิศาตรใ์ นลักษณะนคี ือ เฮโรโด ตัส (Herodotus) ซงึ ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปนบดิ าแหง่ ประวตั ิศาสตรข์ องโลกตะวนั ตก นอกจากนี ยงั มี ทซู ดิ ดิ สี (Thucydides) นกั ประวตั ิศาสตรท์ ีไดร้ บั การยกยอ่ งดา้ นการสรา้ งผลงานทาง ประวตั ิศาสตรแ์ ละมาตรฐานของวธิ กี ารศึกษาค้นควา้ ทางประวตั ิศาสตร์ ซงึ เปนแบบอยา่ งทียดึ ถือ กันอยูใ่ นปจจุบนั เฮโรโดตัส (Herodotus) ทซู ดิ ดิ สี (Thucydides)

ดา้ นการแพทย์ - ฮิปโปเครตีส (Hippocrates) เปนแพทยช์ าวกรกี ทีมชี อื เสยี ง และค้นพบวา่ โรครา้ ยต่างๆ ทีเกิดขนึ มสี าเหตมุ าจากธรรมชาติ ไมใ่ ชก่ ารลงโทษลงพระเจา้ เชาเชอื วา่ วธิ กี ารรกั ษาทีดที ีสดุ คือ การควบคมุ ดา้ นโภชนาการและการพกั ผอ่ น นอกจากนี ฮิปโป เครตีสยงั เปนผรู้ เิ รมิ วธิ กี ารรกั ษาโรคดว้ ยการผา่ ตัด และ กําหนดหลักจรรยาแพทยท์ ีถือปฏิบตั ิต่อมาจนถึงปจจุบนั ฮิปโปเครตีส อรสิ โตเติล ดา้ นคณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ - เจรญิ รงุ่ เรอื งมากตังแต่ 400 ปก่อนครสิ ต์ ศักราช นกั คณติ ศาสตรช์ าวกรกี ค้นพบทฤษฎีทาง เรขาคณติ และพชี คณติ ซงึ เปนพนื ฐานของการ คํานวณและประมวลผลขนั สงู นอกจากนกี รกี ยงั มี ความก้าวหนา้ ทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ โดยมี อรสิ โตเติลเปนผวู้ างรากฐานการศึกษาวชิ า พฤกษศาสตร์ สตั วแพทย์ และกายวภิ าค ดา้ นดาราศาตรแ์ ละภมู ศิ าสตร์ - ความก้าวหนา้ ดา้ นคณติ ศาสตร์ ชว่ ยใหน้ กั ดารา คลอดอิ ุส ปโตเลมี ศาตรช์ าวกรกี คํานวณตําแหนง่ ของดวงดาวและ ระบบสรุ ยิ จกั รวาล นกั ดาราศาตรก์ รกี บางคนเชอื แอลมาเกสต์ วา่ โลกและดาวเคราะหด์ วงอืนหมุนรอบดวงอาทิตย์ อยา่ งไรก็ตาม พวกเขาไมส่ ามารถโนม้ นา้ วใหช้ าว กรกี ยอมรบั การค้นพบนี อนงึ นกั ภมู ศิ าสตรก์ รกี ยงั เชอื วา่ โลกกลมซงึ ทําใหส้ ามารถเดนิ เรอื จากกรกี ไปถึงอินเดยี ได้ รวมทังยงั ค้นพบวา่ การขนึ ลงของ กระแสนาํ เกิดจากอิทธพิ ลของดวงจนั ทร์ ผลงานทีสรา้ งชอื เสยี งใหป้ โตเลมมี ากทีสดุ ไดแ้ ก่ ชุดประมวลความรคู้ ณติ ศาสตรด์ า้ นดาราศาสตร์ ทีเรยี กวา่ \" Mathematical Syntaxis\" ซงึ มจี าํ นวน 13 เล่ม โดยในเวลาต่อมา ซงึ เปนยุคที ดาราศาสตรร์ งุ่ เรอื งในดนิ แดนตะวนั ออกกลาง ชาวอรบั ไดน้ าํ หนงั สอื ดงั กล่าวมาแปล โดยเรยี กวา่ \"แอลมาเกสต์\" (Almagest) ซงึ มคี วามหมายวา่ \"The Greatest\" โดยชุดประมวลความรดู้ งั กล่าว ปโตเลมไี ดร้ วบรวมและเรยี บเรยี งความรตู้ ่างๆ ไวอ้ ยา่ งละเอียด และมรี ะเบยี บเปนลําดบั ขนั ตอน ซงึ สะดวกต่อการค้นควา้ และเขา้ ใจง่าย ถึงแมว้ า่ ผลงานทังหมดจะไมใ่ ชข่ องปโตเลมที ังหมด

ดา้ นการศึกษา - มคี วามสาํ คัญต่อวถิ ีชวี ติ ของชาวกรกี เพราะทําใหม้ สี ถานะทีดใี นสงั คม ผทู้ ีไดร้ บั การศึกษาสงู จะมี สว่ นรว่ มทางการเมอื งการปกครอง โดยเฉพาะชาวเอเธนสเ์ ชอื วา่ ระบอบประชาธปิ ไตยจะประสบ ความสาํ เรจ็ ไดถ้ ้าหากผนู้ าํ มกี ารศึกษา ดงั นนั จงึ จดั การศึกษาขนั ประถมใหแ้ ก่เดก็ ชายโดยไมต่ ้อง เสยี ค่าเล่าเรยี น อีเลียด (Iliad) - วชิ าทีสอนในระดบั ประถมศึกษา ไดแ้ ก่ ไวยากรณก์ รกี ซงึ รวมถึงมหากาพย์ อีเลียด (Iliad) และ โอเดสซี (Odyssey) ของโฮเมอร์ (Homer) ดนตรี และยมิ นาสติก หลักสตู รนเี นน้ การฝกฝนความ รดู้ า้ นภาษา อารมณ์ และความแขง็ แกรง่ ของรา่ งกาย สว่ นเดก็ โตจะศึกษาวชิ ากวนี พิ นธ์ การ ปกครอง จรยิ ศาสตร์ ตรโี กณมติ ิ ดาราศาตร์ วาทกรรม เมอื สาํ เรจ็ หลักสตู รแล้ว เยาวชนชายเหล่า นกี ็มคี วามสมบูรณท์ ังสติปญญาและรา่ งกายและพรอ้ มเปนพลเมอื งกรกี เมอื อายุครบ 19 ป โอเดสซี (Odyssey)

สถาปตยกรรมของ อารยธรรมกรกี - สถาปตยกรรมกรกี โบราณนนั คือสถาปตยกรรมทีสรา้ งขนึ โดยชาวกรกี โบราณหรอื ชาวเฮเลนนคิ ทีอยูใ่ นวฒั นธรรมซงึ เจรญิ รงุ่ เรอื งอยา่ งยงิ ในภาคพนื แผน่ ดนิ ใหญข่ องกรกี และ เพโลพอเนซุส รวมไปถึงเกาะแอเกียนและอาณานคิ มนอ้ ย ใหญใ่ นเอเชยี ไมเนอรแ์ ละอิตาลี นบั ตังแต่ชว่ งเวลาเก้ารอ้ ยป ก่อนครสิ ตกาลจนถึงครศิ ตศตวรรษทีหนงึ โดย สถาปตยกรรมกรกี โบราณทีเก่าแก่ทีสดุ ทียงั คงเหลืออยูน่ นั ตรวจสอบพบวา่ ถกู สรา้ งขนึ ตังแต่ประมาณหกรอ้ ยปก่อน ครสิ ตกาล - สถาปตยกรรมกรกี โบราณเนน้ การสรา้ งวหิ ารไวส้ าํ หรบั บูชา เทพเจา้ เปนสว่ นใหญซ่ งึ นยิ มสรา้ งบนดนิ บนภเู ขาขนาดเล็กๆ สว่ นใหญม่ กั จะสรา้ งดว้ ยหนิ อ่อน แล้วมเี สาเรยี งรายสวยงาม ใชเ้ สากันแทนผนงั มลี ักษณะเปดโล่งโดยลักษณะหวั เสาซงึ เปนสถาปตยกรรมเดน่ ของกรกี นนั มี 3 แบบ คือ 1. Doric Order เปนแบบทีเรยี บง่าย มนั คงแขง็ แรง เปนแบบแพรห่ ลายมากทีสดุ และเก่าแก่ทีสดุ วหิ ารทีงามทีสดุ ของ กรกี มกั เปนหวั เสาแบบนี เนอื งจากชาวกรกี นยิ ม ความเรยี บง่าย ลักษณะของเสาสว่ นล่างจะใหญแ่ ล้ว เรยี วขนึ เล็กนอ้ ย ตามเสาจะแกะเปนรอ่ งลึกเวา้ (Flute) ๒๐ รอ่ ง ตอนบนของเสาจะมคี ิวทีโค้งออกมา ( Echinus) รองรบั แผน่ หนิ สเี หลียม ( Abacus) ต่อจากนนั จงึ เปนโครงสรา้ งของจวั 2. Ionic Order เปนแบบทีใหค้ วามรสู้ กึ อ่อนชอ้ ยนมุ่ นวล มลี ักษณะเรยี บกวา่ ดอรคิ ตอนบนและตอนล่างของเสามี ขนาดเท่ากัน มรี อ่ งเวา้ ๒๐ รอ่ ง แต่ระหวา่ งรอ่ งมแี ถบเรยี ง (Filler) คันแต่ละรอ่ งเวา้ ตอนบนของเสา แกะสลักเปนรปู ก้นหอย ( Volute) สว่ นบนจะมแี ผน่ หนิ สเี หลียม ( Abacus) คันไว้ เสาแบบไอโอนคิ นมี ี ขนาดเล็กกวา่ เสาแบบดอรคิ และนยิ มสรา้ งฐาน ( Base) ทําใหเ้ สามรี ปู ทรงระหงมากขนึ ซงึ ต่างจากเสา แบบดอรคิ ทีไมน่ ยิ มสรา้ งฐานรองรบั 3. Corinthian Order ใหค้ วามรสู้ กึ หรหู รา ฟุมเฟอย นยิ มนาํ มาเปนแบบอยา่ งใน สมยั โรมนั ลักษณะหวั เสามกี ารตกแต่งโดย แกะเปนรปู ดอกไม้ ใบไม้ โดยดดั แปลงมาจากใบอาคันธสั (Acanthus) รปู รา่ งคล้ายผกั กาด ทําเปนใบ ซอ้ นกันสองชนั แล้วแต่งดว้ ยดอกไม้ สว่ นล่างของเสามฐี านรองรบั แบบเดยี วกับไอโอนคิ



Doric Order Ionic Order Corinthian Order

ตัวอยา่ งสถาปตยกรรมในอารยธรรมกรกี - วหิ ารโบราณบนเนนิ อะโครโพลิสในกรงุ เอเธนสป์ ระเทศกรซี สรา้ งเพอื เปนศาสนสถานบูชา เทพเี อเธนาหรอื เทพแี หง่ ปญญา ความรอบรู้ ในศตวรรษที 5 ก่อนครสิ ต์ศักราช เปนสงิ ก่อ สรา้ งสถาปตยกรรทกรกี โบราณทีมชี อื เสยี งทีสดุ แสดงใหเ้ หน็ ถึงความเฉลียวฉลาดของ สถาปนกิ ในสมยั นนั และถือไดว้ า่ เปนหนงึ ในสงิ ก่อสรา้ งทียงิ ใหญท่ ีสดุ ในโลก มขี นาดกวา้ ง 101.4 ฟุต หรอื 30.9 เมตร และ ยาว 228.0 ฟุต หรอื 69.5 เมตร คําวา่ พารเ์ ธนอน นนั นา่ จะมาจากประติมากรรมทีเคยตังอยูภ่ ายในวหิ าร คือ Athena Parthenos ซงึ มคี วามหมายวา่ เทพอี ันบรสิ ทุ ธิ วหิ ารพารเ์ ธนอน

หอเอนปซา่ ตังอยูท่ ีเมอื งปซา ในจตั รุ สั เปยซซา เดล ดโู อโม (Piazza Del Duomo) หอระฆงั ของศาสนา ครสิ ต์นกิ ายโรมนั คาทอลิก เปนหอทรงกระบอก 8 ชนั สรา้ งดว้ ยหนิ อ่อนสขี าว สงู 183.3 ฟุต (55.86 เมตร) นาํ หนกั รวม 14,500 ตันโดยประมาณ มบี นั ได 293 ขนั เอียง 3.97 องศา ยอดของหอหา่ งจากแนวตังฉาก 3.9 เมตร

จติ กรรมของ อารยธรรมกรกี -ทีรจู้ กั กันดกี ็มแี ต่ภาพวาดระบายสตี กแต่งผวิ แจกันเท่านนั ที ชาวกรกี นยิ มทํามาจนถึงพุทธ ศตวรรษที 1 เปนภาพทีมรี ปู รา่ งทีถกู ตัดทอน รปู จน ใกล้เคียงกับรปู เรขาคณติ มคี วามเรยี บ ง่ายและคมชดั สที ีใชไ้ ดแ้ ก่ สดี นิ คือเอาสดี าํ อม นาํ ตาลผสมบาง ๆ ระบายสเี ปนภาพบนพนื ผวิ แจกันทีเปนดนิ สนี าํ าลอมแดง แต่บางทีก็มสี ี ขาว และสอี ืน ๆ รว่ มดว้ ย เทคนคิ การใชร้ ปู รา่ ง สดี าํ ระบายพนื หลัง เปนสแี ดงนี เรยี กวา่ \"จติ รกรรมแบบรปู ตัวดาํ \" และทํากันเรอื ยมา จนถึงสมยั พุทธ ศตวรรษที 1 มรี ปู แบบใหมข่ นึ มา คือ \"จติ รกรรมแบบรปู ดวั แดง\" โดยใชส้ ดี าํ อม นาํ ตาลเปนพนื หลังภาพ ตัวรปู เปนสสี ม้ แดง หรอื สนี าํ ตาลไม้ ตามสดี นิ ของพนื แจกัน



ปติมากรรมของ อารยธรรมกรกี - การแสดงออกทางประติมากรรม - โสเครตีส ชาวเอเธนส์ เปนนกั - งานประติมากรรมแบบ ของกรกี เกียวขอ้ งกับปรชั ญาความ คิดทียงิ ใหญข่ องกรกี เขาเกิด คลาสสคิ ยุคหลัง ไดร้ บั อิทธพิ ล คิดของแต่ละสมยั ระหวา่ งศตวรรษที เมอื 470 ปก่อนค.ศ. เปนบุตร ทางความคิดมาจากนกั ปราชญ์ 10 - 8 ก่อนครสิ ตกาล ชวี ติ คนกรกี ของชา่ งตัดหนิ เขาเนน้ ใหค้ น ทียงิ ใหญอ่ ีกผหู้ นงึ คือ อรสิ โต ยงั สมั พนั ธอ์ ยา่ งแนน่ แฟนกับสงิ รจู้ กั ใชเ้ หตผุ ล รจู้ กั ตนเอง เติล (385-343 ปก่อนค.ศ.) ผู้ ศักดสิ ทิ ธทิ ีมองไมเ่ หน็ เชน่ เจา้ แม่ หมายถึง รจู้ กั ธรรมชาติของ ออกจากโรงเรยี นอคาเดมคิ เทพเจา้ ทีพวกเขาจนิ ตนาการขนึ มา มนษุ ย์ เขามคี วามเชอื ใน ของเปลโต พระอาจารยข์ อง ผสมกับสงิ ทีเปนจรงิ ทีมองเหน็ ไดด้ ว้ ย เทพเจา้ ทีศักดสิ ทิ ธวิ า่ เปนผู้ พระเจา้ อเล็กซานเดอรม์ หาราช ตา สงิ ทีเปนธรรมชาติ คนพงึ ศาสนา คอยเตือนเราไมใ่ หท้ ําในสงิ ทีไม่ ดว้ ย อรสิ โตเติลสอนใหค้ นคิด มาก เพราะชวี ติ ในสมยั นมี แี ต่การทํา ควรทํา ความคิดของเขามผี ู้ อยา่ งมเี หตผุ ล ใหค้ นพจิ ารณา สงคราม ตัวอยา่ งดไู ดจ้ ากงาน สบื ทอด คือเปลโต้ ผเู้ ปนศิษย์ ธรรมชาติของมนษุ ย์ ปรชั ญา ประติมากรรมแบบเรขาคณติ และเปนผตู้ ังโรงเรยี นแหง่ แรก ของเขาสบื ทอดมาถึงสมยั เฮ ขนึ มา ชอื อคาเดมคิ สอนวชิ า เลนสิ ติค - ปลายศตวรรษที 8 ก่อนครสิ ตกาล คณติ ศาสตร์ เรขาคณติ ดนตรี ลงมา มกี ารเปลียนแปลงทางสงั คม และดาราศาสตร์ ทฤษฎีของ กรกี อยา่ งใหญห่ ลวง เนอื งจากเกิด เปลโต คือ ความจรงิ ดงั \"นกั คิด นกั ปรชั ญา\" ขนึ มาสอนใหค้ น สะท้อนใหเ้ หน็ ผา่ นงาน กรกี หนั มาสนใจเรอื งราวของ จกั รวาล ประติมากรรมแบบคลาสสคิ ยุค หรอื ธรรมชาติ ความมเี หตผุ ล และ แรก คณุ ธรรม ความคิดเหล่านแี รกเรมิ กรกี รบั มาจากนกั คิดชาวตะวนั ออก คือ ชาวไอโอเนยี น เชน่ เธลส์ เดอ มิ เลท์ (640-562 ก่อนค.ศ.) อแนกซิ แมนเดอร์ และ อแนกซเิ มน เดอ มเิ ลท์ (ประมาณ 550 ปก่อนค.ศ.) ทีสอนให้ คนศึกษาธรรมชาติ ดตู ัวอยา่ งงานได้ ในประติมากรรมแบบทีไดร้ บั อิทธพิ ล ของศิลปะตะวนั ออกทีเราจะเหน็ วา่ เรมิ ปนรปู คนใกล้ความเปนจรงิ มากขนึ มี การแสดงความรสู้ กึ ออกมาทาง ใบหนา้ - ราว 530 ปก่อนค.ศ. ไพตากอรสั นกั คิดจากเกาะซาโมสของกรกี เปดสอน คณติ ศาสตรแ์ ละดาราศาสตรข์ นึ มา เขาใหค้ วามคิดวา่ ทกุ อยา่ งนบั ได้ วดั ได้ ความนสี ะท้อนใหเ้ หน็ ในงาน ประติมากรรมกรกี แบบโบราณ

ตัวอยา่ งปติมากรรมของอารยธรรมกรกี โลงศพหนิ อ่อน -ประติมากรรมแบบนนู ตํา รอบโลงศพหนิ อ่อน เปนลาย หญงิ รอ้ งไห้ ทําขนึ ราว350 ป ก่อนค.ศ. ทีอยูท่ ีพพิ ธิ ภัณฑ์เมอื ง Istambul สะท้อนใหเ้ หน็ งานประติมากรรมแบบเฮเลนิ สติกทีเนน้ ภาพใกล้เคียงความเปนจรงิ และ การแสดงออกทางใบหนา้ งานประติมากรรมนนู ตํา สลักบนหนิ อ่อน -งานประติมากรรมนนู ตํา สลักบนหนิ อ่อน ใช้ ประดบั วหิ าร Parthenonในกรงุ เอเธนสน์ เี ปน งานของประติมากร Phidias จะเหน็ วา่ เขาเนน้ ความเปนธรรมชาติเนน้ จบี ของผา้ มาก และ เนน้ ความรสู้ กึ ทีแสดงออกมาทางใบหนา้ ใน ภาพเปนเทพเจา้ 3 องค์ของกรกี คือ จากซา้ ย ไปขวา Poseidon, Apollon และ Artemis ทํา ขนึ ราว440 ปก่อนค.ศ. ดไู ดท้ ีพพิ ธิ ภัณฑ์ Acropole เมอื งเอเธนส์ ประเทศกรกี รปู หญงิ แหง่ Auxerre -รปู หญงิ แหง่ Auxerre ทําดว้ ยหนิ ปูน โดย Dedale ราว 640-630 ปก่อนค.ศ. จะเหน็ แบบทีแขง็ แต่ท้วมและไดส้ ดั สว่ นขนึ วกิ ทรง ผมถักเปนเปยทังศีรษะ บง่ บอกใหเ้ หน็ ถึง อิทธพิ ลของอียปิ ต์ ในศิลปะกรกี ปจจุบนั ดไู ดท้ ี พพิ ธิ ภัณฑ์ Louvre ประเทศฝรงั เศส

รปู คนขมี า้ Rampin - รปู คนขมี า้ Rampin ทําดว้ ยหนิ อ่อน เปน งานของประติมากรชาวเอเธนสร์ าว 550 ป ก่อนค.ศ.จะเนน้ อิทธพิ ลของศิลปะ ไอโอเนยี น (แถวรมิ ฝงทะเล เมดเิ ตอรเ์ รเนยี นของตรุ กี)ตรงทีแสดงราย ละเอียดของสรรี ะ ใบหนา้ มรี อยยมิ บง่ บอก ถึงความสขุ และความงามในวยั หนมุ่ สาวดู ไดท้ ีพพิ ธิ ภัณฑ์ Louvre ประเทศฝรงั เศส รปู เทพเจา้ Zeus อุ้ม - รปู เทพเจา้ Zeus อุ้ม Ganymedes ราว 470 ปก่อนค.ศ. แสดงใหเ้ หน็ ถึงความนยิ ม ในงานประติมากรรมดว้ ยดนิ เผาระบายสี ดว้ ยเชน่ กันสว่ นประติมากรไมร่ ะบุชอื ไวด้ ู ไดท้ ีพพิ ธิ ภัณฑ์ Olympia ประเทศกรกี รปู นกั รบเอเธนส์ - งานประติมากรรมแบบนนู ตํา สลักบนหนิ อ่อน ใชป้ ระดบั ตามหลมุ ศพ รปู นกั รบ เอเธนสช์ อื Aristion โดยประติมากรชอื Aristocles ราว 510 ปก่อนค.ศ. ดไู ดท้ ี พพิ ธิ ภัณฑ์แหง่ ชาติเมอื งเอเธนส์

ศิลปะการแสดง - ชาวกรกี ไดค้ ิดค้นศิลปะการแสดงประเภทต่างๆ สว่ นใหญเ่ ปนการจดั แสดงเพอื เฉลิมฉลองพธิ ี บวงสรวงเทพเจา้ ของตน เชน่ ละครกลางแจง้ ซงึ เปนต้นแบบของการแสดงละครในปจจุบนั ดนตรี และการละเล่นอืนๆ - นาฎกรรม ดว้ ยความเชอื และศรทั ธาในเทพเจา้ ของชาวกรกี ไดม้ ผี ลกระทบต่องานสรา้ งสรรค์ ศิลปะ แขนงนาฆกรรมหรอื การละคร การแสดงของกรกี ใชน้ กั แสดงชายทังหมด โดยทกุ คนจะสวมหนา้ กาก และมผี พู้ ากยแ์ ละหมูร่ อ้ ง สง่ เสยี งประกอบ เวทีการแสดงเปนโรงละครกลางแจ้ มอี ัฒจนั ทรล์ ้อมรอบ

ของอารยธรรมกรกี ancient greek wall art การละครยุคกรกี (250 ปก่อน พ.ศ. – พ.ศ. 250) - ละครกรกี สนั นษิ ฐานวา่ ถือกําเนดิ ขนึ ประมาณ 800 – 700 ปก่อนครสิ ตกาล โดยเรมิ จากการประกวดการ รอ้ งราํ ทําเพลงเปนหมู่ (Choral dance) ซงึ เรยี กวา่ ดธิ แี รมบ์ (dithyramb) ในเทศกาลทีจดั ขนึ เพอื บวงสรวง เทพเจา้ ไดโอนซี ุส (Dionysus) เทพเจา้ แหง่ เหล้าองุ่นและความอุดมสมบูรณ์ จากการรอ้ งราํ ทําเพลงเปนหมู่ โดยกล่มุ คนทีเรยี กวา่ คอรสั (Chorus) ในการแสดง ดธิ แี รมบ์ ก็เรมิ มกี ารเปลียนแปลงไปสกู่ ารแสดงในรปู แบบของละคร กล่าวคือมนี กั แสดงเดยี วๆ แยกออกมาต่างหาก และทําการสนทนาโต้ตอบกับกล่มุ คอรสั ฉะนนั แทนทีจะเปนเพยี งการรอ้ งเพลงเล่าเรอื งจากพวกคอรสั ตรงๆ ก็เปลียนเปนการสนทนาระหวา่ งตัวละครกับ กล่มุ คอรสั - ในป 534 ก่อนครสิ ตกาล เรมิ มกี ารประกวดการแต่งบทและการจดั แสดงละครแทรเจดี นกั การละครชอื เธสพสิ (Thespis) เปนผชู้ นะการประกวดครงั แรกนี ละครของเธสพสิ ใชน้ กั แสดงเพยี งคนเดยี ว เล่นทกุ บททีมี อยูใ่ นละครเรอื งนนั โดยใชก้ ารเปลียนหนา้ กาก เปนการเปลียนบททีแสดง และมคี อรสั เปนตัวเชอื มโยงเรอื ง ราวเขา้ ดว้ ยกัน 500 ปก่อนครสิ ตกาล ถือวา่ เปนยุคทองของการละครกรกี มกี ารประกวดเขยี นบทละครและ จดั การแสดงละครในดา้ นต่างๆ ทําใหก้ ารละครรงุ่ เรอื งมาก บทละครสว่ นใหญข่ องกรกี ทีเหลือมาถึงปจจุบนั ก็ เปนบทละครทีเขยี นขนึ ในศตวรรษที 5 ก่อนครสิ ตกาลนเี อง ประเภทของละครกรกี

ศาสนาของอารยธรรมกรกี - ชาวกรกี เชอื วา่ โลกมนษุ ยเ์ กิดจากโลกทีเรยี กวา่ เคออส ซงึ เปนผกู้ ่อกําเนดิ สวรรค์และทะเลดว้ ยชาวกรกี เชอื วา่ มี เทพเจา้ 12 องค์หรอื รวมเรยี กวา่ dodekatheon ทีมรี ปู รา่ งคล้ายมนษุ ยส์ ถิตอยูบ่ นภเู ขาโอลิมปสดมื นาํ ทิพยแ์ ละ เสวยอาหารแพทย์ เทพเจา้ เหล้านเี ปนอมตะและอาจจะโหด รา้ ยพยาบาทไดถ้ ้าลบหล่บู างครงั อาจทํารา้ ยหรอื ฆา่ พวก มนษุ ยไ์ ดด้ ว้ ย D H P Z e a o e m d s u e e e s t s i e d เปนราชาของบรรดา r เทพแหง่ ใต่พภิ พ o เทพเจา้ ทังหลายและ ยมโลก และเปนเทพ n เหล่ามนษุ ยบ์ นโลก ซี เทพแี หง่ ความอุดม ดแู ลอัญมณใี ต้ดนิ อูสมอี าวุธเปน สมบูรณ์ เกษตรกรรม ชาวกรกี บูชาพระองค์ เทพเจา้ แหง่ ท้องทะเล Thunderbolt การเก็บเกียว ก่อนเสมอทีจะลงมอื สญั ลักษณข์ อง (สายฟา) เทพซอี ูสมพี ี ทําเหมอื งแร่ พระองค์คือ“สามง่าม” นอ้ งซงึ เปนเทพ หรอื “ตรศี ูล” ที ปกครองโลกรว่ มกัน สามารถแหวกนาํ ทะเล 5 องค์ ไดแ้ ก่ เทพโพ และทําใหเ้ กิดแผน่ ดนิ ไซดอน เทพดี มี เิ ทอร์ ไหวได้ เทพเี ฮรา่ เทพฮาเดส และเทพเี ฮสเตีย

H A A A e r p r r e o t a s l e l m ราชนิ แี หง่ สวรรค์ เปน เทพแหง่ สงคราม o i ทังนอ้ งสาวของซอี ูส บุตรของ ซูส กับ เฮรา่ s และเปนภรรยาดว้ ย สตั วป์ ระจาํ พระองค์ เทพเจา้ แหง่ การ เฮรา่ เปนเทพแี หง่ การ คือเหยยี วและสนุ ขั ทํานายกีฬาการรกั ษา เทพแี หง่ ดวงจนั ทร์ ใหก้ ําเนดิ ทารก การ มงั กรไฟ (บางตําราวา่ โรคภัยการดนตรแี ละ และการล่าสตั ว์ เปน สมรส และสตรี สตั ว์ เปนนกแรง้ ) เปนเทพแหง่ บุตรขี องซูสและ เทพี ประจาํ พระองค์คือนก พระอาทิตย์ เปนบุตร ลีโต้ เปนนอ้ งสาวแฝด ยูง แหง่ ซอี ุส และ เทพลี ี ของอะพอลโล่ โต้

H A A H e p t e p h h r h r e m a o n e e d a s s i t t เทพแี หง่ ความเฉลียว เทพแหง่ การค้า การ u e ฉลาด และ โจรกรรม และผสู้ ง่ s ศิลปศาสตรท์ กุ แขนง สารของเหล่าทวยเทพ เทพแี หง่ ความรกั และ ของกรกี รวมถึงศิลปะ เปนบุตรของซูส กับ เทพแหง่ ไฟ โลหะ และ ความงาม เปนบุตรี การต่อสดู้ ว้ ยเปนผทู้ ี มอี า พระองค์มกั จะ การชา่ ง เปนบุตรของ ของ ซูส กับ เทพไี ดโอ มอบมะกอกใหก้ ับ ปรากฏกายในลักษณะ ซูส กับ เฮรา่ นี กล่าวกันวา่ พระนาง มนษุ ยเ์ ปนองค์แรก สวมหมวกขอบกวา้ ง พระองค์เปนเทพที เปนเทพผี คู้ ้มุ ครอง ทําใหเ้ มอื ง Athens สวมรองเท้ามปี ก ถือ พกิ ารและอัปลักษณ์ เหล่าโสเภณดี ว้ ย ไดใ้ ชช้ อื ของพระองค์ คทาทีมงี ูพนั เปนชอื เมอื งเพอื เปน เกียรติ

นกั ปรชั ญาของอารยธรรมกรกี - ความเจรญิ ดา้ นปรชั ญาไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปนความเจรญิ รสงู สดุ ของภมู ปิ ญญากรกี เชน่ เดยี วกับความเจรญิ ดา้ นศิลปกรรม นกั ปรชั ญากรกี ทีมชี อื เสยี งโดดเดน่ ไดแ้ ก่ เกิดทีนครเอเธนส์ มชี วี ติ อยูร่ ะหวา่ งป 469-399 ก่อน ครสิ ต์ศักราช เขาสอนใหค้ นใชเ้ หตผุ ลและสติปญญาใน การแสวงหาความจรงิ เกียวกับชวี ติ มนษุ ย์ วธิ สี อนของเขา ซงึ เรยี กวา่ “Socretic method” ไมเ่ นน้ การท่องจาํ แต่ใช้ วธิ ตี ังคําถามโดยไมต่ ้องการคําตอบ แต่ใหผ้ ถู้ กู ถามขบคิด ปญหาเพอื หาคําตอบดว้ ยตนเอง แมโ้ ซเครติสจะสงั สอน ลกู ศิษยม์ ากมาย แต่ก็ไมเ่ คยมผี ลงานเขยี นของตนเอง ดงั นนั ปรชั ญาและทฤษฎีของเขาทีรจู้ กั กันสบื มาจงึ เปนผล งานทีถ่ายทอดโดยลกู ศิษยข์ องเขา เปนศิษยเ์ อกของโซเครติส เกิดทีนครเอเธนสป์ ระมาณ 429 ปก่อนครสิ ต์ศักราชและเปนผถู้ ่ายทอดหลักการและ ความคิดของโซเครติสใหช้ าวโลกไดร้ บั รู้ เพลโตไดเ้ ปด โรงเรยี นชอื “อะแคเดอม”ี (Academy) และไดเ้ ขยี น หนงั สอื ทีสะท้อนแนวคิดเกียวกับการปกครอง การศึกษา ระบบยุติธรรม ผลงานทีโดนเดน่ และทําใหเ้ ขาไดร้ บั การ ยกยอ่ งวา่ เปนบดิ าแหง่ ปรชั ญาการเมอื งสมยั ใหมค่ ือ หนงั สอื ชอื สาธารณรฐั (Republic) ซงึ เสนอแนวคิดใน การปกครองประเทศและมอี ิทธพิ ลต่อความคิดทางการ เมอื งของผคู้ นทัวโลก เปนทังนกั ปรชั ญาและนกั วทิ ยาศาสตร์ เขาเปนศิษยท์ ีชาญ ฉลาดของเพลโตและเคยเปนพระอาจารยข์ องพระเจา้ อ เล็กซานเดอรม์ หาราชแหง่ มาซโิ ดเนยี อรสิ โตเติลเปนทัง ปราชญแ์ ละนกั วจิ ยั ทีมคี วามสนใจหลากหลาย นอกจาก ปรชั ญาทางการเมอื งแล้ว เขายงั สนใจวทิ ยาการใหมๆ่ อีก มาก เชน่ ชวี วทิ ยา ฟสกิ ส์ ดาราศาสตร์ หลักตรรกศาสตร์ วาทกรรม จรยิ ศาสตร์ ฯลฯ ผลงานทีโดดเดน่ ของเขาคือ หนงั สอื ชอื การเมอื ง (Politics) ซงึ เปนการวจิ ยั รปู แบบ การปกครองของนครรฐั ต่างๆ ถึง 150 แหง่

ความเจรญิ ของอารยธรรมกรกี ทีสง่ ผลต่อปจจุบนั 1.กีฬาโอลิมปก - โอลิมปกสมยั ใหมน่ กั กีฬาคนสาคัญของฝรงั เศสชอื ปแอร์ เดอดเู บอรแ์ ตง ท่านขุนนางผนู้ เี กิดในกรงุ ปารสี ไดเ้ กิดความ การแขง่ ขนั กีฬาโอลิมปกสมยั ใหมค่ รงั ปแอรเ์ ดอดเู บอรแ์ ตง คิดทีจะฟนฟูการแขง่ ขนั โอลิมปกแผนการของงานโอลิมปก แรกถกู จดั ขนึ ในสนามหนิ อ่อนของกรงุ ปจจุบนั นนั ไดเ้ ปนทีตกลงกันในทีประชุมจานวน 15 ประเทศ เอเธนส์ กรกี ณ ตาบลซอรบ์ อนนป์ ระเทศฝรงั เศส - กีฬาโอลิมปกโบราณตามตํานานเฮราคลีสเปนผแู้ รกทีเรยี ก กีฬานวี า่ “ โอลิมปก” เปนเทศกาลทางศาสนาและกรฑี า(เนน้ กรฑี าเปนหลัก)ซงึ จดั ขนึ ทกุ ปจดั ขนึ ในโอลิมเปยกรซี รางวลั ที ใหแ้ ก่ผชู้ นะในสมยั นนั คือกิงไมม้ ะกอกซงึ ตัดมาจากยอดเขาโอ ลิมปส - ชาวเอเธนสจ์ ะมาชุมนมุ กันทีลานกลางเมอื งเพอื ถก 2.ประชาธปิ ไตยในยุคกรกี ปญหาของสาธารณชนและทางการค้าและนคี ือสถาน โบราณ ทีทีประชาธปิ ไตยถือกําเนดิ ขนึ - ระบอบประชาธปิ ไตยในเอเธนสเ์ รยี กรอ้ งใหพ้ ลเมอื ง มสี ว่ นรว่ มในการบรหิ ารโดยเชอื วา่ พลเมอื งชายทกุ คนมหี นา้ ทีต้องเขา้ รว่ มพวกเขาต้องทําหนา้ ทีในสภา เพอื รว่ มกันรา่ งกฎหมายและกําหนดนโยบายของรฐั พลเมอื งเหล่านมี สี ทิ ธใิ นการลงคะแนนเสยี งดาํ รง ตําแหนง่ ทางราชการและมสี ทิ ธเิ ปนเจา้ ของทีดนิ อยา่ งไรก็ตามประชาธปิ ไตยขอเอเธนสไ์ มไ่ ดใ้ หส้ ทิ ธิ เชน่ เดยี วกันนกี ับผหู้ ญงิ ชาวต่างชาติและทาส 3.ระบอบการปกครองแบบเผดจ็ การเบด็ เสรจ็ -นครรฐั สปารต์ ามกี ารปกครองแบบทหารนยิ มคณะผปู้ กครองมอี ํานาจสงู สดุ และเดด็ ขาดพลเมอื งชาย ทกุ คนทีมอี ายุตังแต่ 20-60 ปต้องถกู ฝกฝนใหเ้ ปนทหารเรยี นรวู้ ธิ กี ารต่อสแู้ ละเอาตัวรอดในสงคราม แมแ้ ต่พลเมอื งหญงิ ก็ยงั ต้องฝกใหม้ สี ขุ ภาพแขง็ แรงเพอื เตรยี มเปนมารดาของทหารทีแขง็ แกรง่ ใน อนาคตอนงึ พวกสปารต์ ายงั ต่อต้านความมงั คังฟุมเฟอยเพราะเกรงวา่ อํานาจของเงินตราจะทําลาย ระเบยี บวนิ ยั ทหารรวมทังยงั ไมส่ นบั สนนุ การค้าขายและการสรา้ งสรรค์ศิลปกรรมใดฯ การปกครองของ พวกสปารต์ านบั เปนการขดั ขวางสทิ ธขิ องปจเจกชนและเปนต้นกําเนดิ ของระบอบการปกครองแบบ เผดจ็ การเบด็ เสรจ็ Totalitarianism)

การแต่งกายของอารยธรรมกรกี 1.การแต่งกายของผหู้ ญงิ -แต่งกายดว้ ยชุดทนู คิ Tunic ชนั ใน สวมเสอื เอวลอยทับเรยี ก วา่ เพพ๊ โพลส (Peplos) ใชผ้ า้ ขนสตั วส์ วมเครอื งรดั เอวใหก้ ระชบั เยบ็ รดั ตัว ชนั นอกใชส้ สี นั สดใส กระโปรงปลายบาน เล็กนอ้ ยเขา้ รปู ทีสะโพกยาวถึงขอ้ เท้าตกแต่งดว้ ยลวดลายตามเชงิ และที กลางตัวเสอื และกระโปรง สวยงามมากตัวเสอื ทีสนั ๆ เอวลอย ต่อมาววิ ฒั นาการเปนเสอื แจค๊ เก๊ตโบเรโร่ (Bolero) เปนเสอื เปดดา้ นหนา้ หรอื เปลือยอกต่อมานยิ มใชผ้ า้ ลินนิ แทนขนสตั ว์ และจบั จบี Pleat ดว้ ย แบบจะทรง หลวม ๆ สบายขนึ เสอื จะเปน ทนู คิ ตรงๆ หลวมใชเ้ ชอื กผกู ทีเอว ดงึ ใหเ้ สอื หยอ่ นลงมา ตัวเสอื จะ ถ่วงลงมาเปนลักษณะพรวิ ยาวถึงขอ้ เท้าแต่งดว้ ยครยุ บรเิ วณชายกระโปรงเปนชุดทีใชผ้ า้ มาก ชุดนเี รยี กวา่ โคลโพส (Kolpos) ซงึ มรี ปู ทรงอ่อนนมุ่ นมิ นวลไมแ่ ขง็ กระดา้ ง 2 .การแต่งกายของผชู้ าย -แต่งกายชุดทนู คิ แคบ ๆ รดั เอว เรยี กวา่ Chiton (ซติ อน) เปน ชุดชาวกรกี โบราณ จะ สวมเสอื คลมุ ซงึ มี 2 ชนดิ คือ 1. ชนดิ คลมุ สนั มเี ครอื งเกาะเกียวทีไหล่ เรยี กวา่ ซาลามี (chlamys) 2. ชนดิ พนั รอบตัว และพาดบา่ ขา้ งเดยี วแบบพระสงฆ์ เรยี กวา่ ฮีเมชนั (Himation) สวมเสอื ชุดทนู คิ ยาว เรยี กวา่ โคลโพส (Kolpos) และสวมเสอื คลมุ สวยงาม มลี วดลายทีชายและแถบ กลางหนา้ ลักษณะของ แถบแสดงถึงยศตําแหนง่

ต้นกําเนดิ ของ อารยธรรม โรมนั - เปนอารยธรรมทสี บื เนอื งมาจากอารยธรรม กรกี โดยชาวอทิ รสั กนั (Etruscan) ซงึ มถี นิ เดมิ อยใู่ นเอเชยี ไมเนอร์ อพยพเขา้ ในแหลม อติ าลี นาํ เอาความเชอื และศลิ ปวฒั นธรรม ของกรกี เขา้ มาดว้ ย ตอ่ มาบรรพบรุ ษุ ของชาว โรมนั คอื ละตนิ ซงึ มี ถนิ ฐานเดมิ อยทู่ างตอน Rใตข้ องแมน่ ําไทเบอร์ (Tiber) ไดข้ บั ไลก่ ษตั รยิ ์ อทิ รสั กนั ออกไป ชาว ละตนิ รวมตวั และชมุ นมุ กนั บรเิ วณทเี รยี กวา่ ฟอรมั (Forum) ซงึ ถอื เปนศนู ยก์ ลางของ เมอื งและเปนจดุ เรมิ ตน้ ของกรงุ โรมในเวลาตอ่ มา ชาวโรมนั จงึ รบั เอา อารยธรมของชาวกรกี จากชาวอทิ รสั กนั มา เปนตน้ แบบอารยธรรม ของตนดว้ ย

ทีตังของอารยธรรมโรมนั ล่มุ แมน่ ําดานูบในปจจุบนั พวกซาบนี ส์ - กําเนดิ บรเิ วณคาบสมุทรอิตาลี ทีตังอยูท่ างตอนใต้ของทวปี ยุโรป มลี ักษณะเปนแหลมยนื ลงไปในทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ลักษณะภมู ิ ประเทศสว่ นใหญเ่ ปนภเู ขาและเนนิ เขา โดยบรเิ วณ ตอนกลางของคาบสมุทรเปนทีราบเล็กๆ คือ ทีราบลาติอุม ทําใหม้ ผี คู้ นเขา้ มาตังถินฐานกระจดั กระจายเปนชุมชนเล็กๆ ชนชาติทีเขา้ มาตังถินฐานบรเิ วณนเี ปนพวกอพยพมาจาก บรเิ วณล่มุ แมน่ าํ ดานบู เรยี กวา่ พวกอิตาลิส (Italis) แบง่ ออก เปน 3 กล่มุ คือ พวกซาบนี ส(์ Sabines) พวกแซมไนท์ (Samnites) และพวกลาติน (Latins) พวกลาตินซงึ เปน บรรพบุรษุ ของชาวโรมนั ไดส้ รา้ งกรงุ โรมรมิ แมน่ าํ ไทเบอร์ ซงึ นบั วา่ เปนเมอื งทีมี ชยั ภมู ิ ทีเหมาะสมทีสดุ ทําใหก้ รงุ โรม แมน่ ําไทเบอร์ สามารถขยายอํานาจไดเ้ ปนผลสาํ เรจ็ ไดใ้ นเวลาต่อมาชาวโรมนั แมน่ ําไทเบอรใ์ นปจจุบนั รบั อารยธรรมความเจรญิ จากกรกี ทีอยูใ่ กล้เคียงทังทางดา้ น ตัวอักษร ศิลปวทิ ยาการสถาปตยกรรม และศิลปกรรม นอกจากนชี าวโรมนั ยงั ไดร้ บั ความเจรญิ จากพวกอีทรสั กัน (Etruscan) ทีอยูท่ างเหนอื ของแมน่ าํ ไทเบอรท์ างดา้ นความ เจรญิ ทางศาสนา การก่อสรา้ ง และสญั ลักษณต์ ่างๆ เชน่ มดั หวายทีมขี วานปกอยูก่ ลางเปนเครอื งหมายของพวกลิคเตอร์ (Lictors) ทีเปนทหารรกั ษาพระองค์ของกษัตรยิ ์ กล่าวไดว้ า่ อารยธรรมโรมนั เปนอารยธรรมผสมผสานของชาวกรกี กับ ชาวอีทรสั กันทีเจรญิ อยูใ่ กล้เคียง แล้วพฒั นาเปนอารยธรรม ของตนเอง

สภาพภมู ศิ าสตรข์ องอารยธรรมโรมนั - อารยธรรมโรมนั มแี หล่งกําเนดิ จากบรเิ วณคาบสมุทรอิตาลี ซงึ ตังอยูท่ างตอนใต้ของทวปี ยุโรปโดยมี ลักษณะเปนแหลมยนื ลงไปในทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ลักษณะภมู ปิ ระเทศสว่ นใหญเ่ ปนภเู ขาและเนนิ เขา ไดแ้ ก่ เทือกเขาแอลปทางทิศเหนอื ซงึ กันคาบสมุทรอิตาลีออกจากดนิ แดนสว่ นอืนของทวปี ยุโรป และ เทือกเขาอเพนไนนซ์ งึ เปนแกนกลางของคาบสมุทร สว่ นบรเิ วณทีราบมนี อ้ ย ทีราบทีสาํ คัญ เชน่ ทีราบ ชายฝงทะเลติรเ์ รเนยี น (Tyrenian Sea)ทีราบล่มุ ไทเบอร์ ซงึ อยูท่ างเหนอื - เนอื งจากลักษณะภมู ปิ ระเทศบรเิ วณตอนกลางของคาบสมุทรเปนทีราบเล็กๆจงึ ทําใหก้ ระจดั กระจาย เปนชุมชนเล็กอยูอ่ ยา่ งกระจดั กระจายเปนชุมชนเล็กๆพนื ทีเกษตรจงึ มไี มม่ ากนกั และมปี ระชากรเพมิ มากขนึ บรเิ วณดงั กล่าวจงึ ไมส่ ามารถรองรบั การกสกิ รรมทีขยายตัวได้ จงึ เปนสาเหตใุ หช้ าวโรมนั ขยายดนิ แดนไปยงั ดนิ แดนอืนๆ - โดยทัวไปคาบสมุทรอิตาลีมภี มู อิ ากาศแบบเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น สภาพอากาศอบอุ่น มฝี นตกในฤดู หนาว และอากาศแหง้ แล้งในฤดแู ล้งดนิ แดนในคาบสมุทรอิตาลีมที รพั ยากรแรธ่ าตอุ ุดมสมบูรณพ์ อ สมควร เชน่ เหล็ก สงั กะสี เงิน หนิ อ่อน ยปิ ซมั เกลือ และโพแทช นอกจากนนั ยงั มที รพั ยากรปาไม้ สว่ นทรพั ยากรดนิ มจี าํ นวนจาํ กัด เนอื งจากลักษณะภมู ปิ ระเทศทีไมม่ พี นื ทีเพยี งพอต่อการตังถินฐาน และต้องแยง่ ชงิ กับชนกล่มุ อืนๆทีอยูใ่ นดนิ แดนแถบนี ในขณะเดยี วกันยงั สามารถเดนิ เรอื ค้าขายใน ทะเลเมดิ เิ ตอรเ์ รเนยี นไดอ้ ยา่ งสะดวก ปจจยั ทางภมู ศิ าสตรส์ ง่ ผลใหป้ ระชากรชาวโรมนั เปนคนทีขยนั อดทน มรี ะเบยี บวนิ ยั ปฏิบตั ิตามกฎระเบยี บอยา่ งเครง่ ครดั สามารถขยายอาณาเขตยดึ ครองดนิ แดน ของชนเผา่ อืนๆ เชน่ ดนิ แดนของพวกอีทรสั กัน ดนิ แดนรอบทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น ทําใหช้ าวโรมนั ได้ รบั อารยธรรมจากดนิ แดนต่างๆทีเขา้ ยดึ ครองผสมผสานกับอารยธรรมโรมนั ของตนเอง เทือกเขาแอลป เทือกเขาอเพนไนน์

ลักษณะการปกครอง ของอารยธรรมโรมนั การปกครองของโรม แบง่ เปน 2 ระยะ คือ 1.สมยั สาธารณรฐั (509-27 B.C.) - เรมิ ตังแต่ 509 ปก่อนครสิ ตกาล คือโรมสามารถขจดั กษัตรยิ อ์ ีทรสั กันและสถาปนาการปกครอง แบบสาธารณรฐั ขนึ ระบอบสาธารณรฐั สนิ สดุ ลงใน 27 ปก่อนครสิ ตกาล - อาจกล่าวไดว้ า่ เปนปจจยั สาํ คัญของชาวโรมนั รบั เอาการปกครองแบบสาธารณรฐั มาใช้ คือ ความ บบี บงั คับทีเคยไดร้ บั ครนั เมอื อยูภ่ ายใต้การปกครองพวกอีทรสั กัน ซงึ โรมอยูภ่ ายใต้ระบบกษัตรยิ ์ ซงึ เปนประมุขทางการทหาร การปกครองและศาสนา มอี ํานาจสงู สดุ ในการตรากฎหมาย โดยบุคคล เดยี วมสี ทิ ธเิ ดด็ ขาดทกุ อยา่ ง อาจดว้ ยความรงั เกียจในการปกครองดงั กล่าว เมอื อิสระจงึ ใชร้ ะบบ สาธารณรฐั ขนึ ปกครอง - คําวา่ “Republic” มาจากภาษาละติน 2 คํา res + public หมายความวา่ “ประชาชน” แต่การ ปกครองสาธารณรฐั ของโรมสมยั แรกๆ ประชาชนยงั ไมม่ อี ํานาจในการปกครองอยา่ งแท้จรงิ เพราะอํานาจยงั อยูใ่ นมอื ชนชนั สงู ต่อมาเมอื มกี ารขยายอิทธพิ ลของโรมนั ราษฎรสว่ นใหญจ่ งึ มี สทิ ธมิ เี สยี งในการปกครอง การปกครองแบบสาธารณรฐั จงึ เรมิ ตรงความหมายดงั กล่าว - โดยในสมยั สาธารณรฐั ประกอบไปดว้ ยคน 2 กล่มุ พวกแพททรเี ซยี น (patrician) ซงึ เปนชนชนั สงู ทีมงั คังและเปนเจา้ ของทีดนิ กับ พวกพลีเบยี น (Plebeian) ซงึ เปนราษฎรสว่ นใหญป่ ระกอบไป ดว้ ยคนชนชนั กลางมฐี านะ เชน่ เจา้ ของทีดนิ พอ่ ค้า ชา่ งฝมอื และเจา้ ของรา้ นค้า ชาวนารายยอ่ ย และแรงงาน Patrician Plebeian

- พวกแพททรเี ซยี นและพวกพลีเบยี นเปนราษฎรโรมนั (Citizen) มสี ทิ ธใิ นการออกเสยี งเลือกตัง และมหี นา้ ทีในการเสยี ภาษีและเปนทหารของสาธารณรฐั โรมนั อยา่ งไรก็ตามพวกพลีเบยี นไม่ สามารถดาํ รงตําแหนง่ ต่างๆในรฐั บาลไดอ้ งค์การปกครองสาธารณรฐั โรมนั ประกอบไปดว้ ย 1. กงสลุ (Consul) เปนประมุขของฝายบรหิ าร มจี าํ นวน 2 คน ซงึ เปนพวกแพทรเี ซยี นทีมาจาการ เลือกตังโดยสภาซเี นต มอี ํานาจเท่าเทียมกัน อยูใ่ นตําแหนง่ วาระละ 1 ป กงสลุ ทังสองสามารถ ปรกึ ษาซงึ กันและกันและสมารถยบั ยงั (veto) ซงึ กันและกันได้ คําวา่ “veto” ในภาษาละตินแปลวา่ “I forbid you” (ขา้ พเจา้ ขอหา้ มท่าน) ในยามสงครามหรอื ยามฉกุ เฉินจะมกี ารแต่งตังผเู้ ผดจ็ การ (Dictator) เพยี งคนเดยี ว เปนผนู้ าํ ในการบรหิ าร อยูต่ ําแหนง่ ไดไ้ มเ่ กิด 6 เดอื น 2.สภาซเี นต (Senate) ประกอบไปดว้ ยสมาชกิ 300 คน โดยเลือกจากพวกแพททรเิ ซยี น และ ดาํ รงตําแหนง่ ตลอดชพี มหี นา้ ทีใหค้ ําแนะนาํ ปรกึ ษาแก่กงสลุ (Consul) พจิ ารณานโยบายต่าง ประเทศ เสนอกฎหมาย และอนมุ ตั ิงบประมาณการก่อสรา้ งและปองกันสาธารณรฐั 3.สภาราษฎร (Assembly of Citizens) ประกอบไปดว้ ยราษฎรโรมนั ทังแพททรเี ซยี นและพวก พลีเบยี น มหี นา้ ทีแต่งตังกงสลุ และผบู้ รหิ ารอืนๆ รบั รองกฎหมายทีเสนอโดยสภาวเี นต และทํา หนา้ ทีตัดสนิ กรณพี พิ าททีสาํ คัญๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook