Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระยาเสนาะดุริยางค์

พระยาเสนาะดุริยางค์

Published by Pim Pimmada Jampathai, 2021-09-09 11:42:46

Description: พระยาเสนาะดุริยางค์

Search

Read the Text Version

พระยาเสนาะ ดุริยางค ( แชม สนุ ทรวาทิน ) (พ.ศ. ๒๔๐๙-๒๔๙๒)

ผจู ัดทํา นางสาว พิมพมาดา จาํ ปาไทย ชั้น ม.๖/๑ เลขท่ี ๓๗ เสนอ นายยศพนธ นติ ยแสวง

สารบัญ หนา เรือ่ ง พระยาเสนาะดรุ ิยางค (แชม สนุ ทรวาทิน) ๑-๒๔ ๒-๓ 1. ประวัติ ชาตภิ มู ิ ๔ ครอบครวั ๕-๗ การศกึ ษาเบื้องตน ๘-๑๐ เขาวังบา นหมอ ๑๑-๑๓ ยอดฝมอื ระนาดไรเ ทยี มทาน จากยอดฝม ือระนาดสยู อดฝม อื ป ๑๔ ประชันใหญใ นชวี ติ ๑๕-๒๐ ศกึ ประชนั ป ๒๑-๒๒ หนา ทกี่ ารทํางาน ๒๓-๒๔ 2. การประพันธบทเพลง ๒๕-๓๕ เพลงตบั มอญกละ ๒๖-๓๒ เพลงเซน เหลา ๓๓-๓๕

ประวตั ิ ๑

\" ชาตภิ มู ิ \" พระยาเสนาะดุริยางคเ กิดในตระกูลดนตรที ย่ี ิง่ ใหญแ หงสยาม ปชู ื่อ ครูท่งั สุนทรวาทิน ผแู ตงเพลงโหมโรง มหาชยั อนั เปนอมตะมาจนปจจุบันเปน เวลาเกือบ ๒๐๐ ป บิดาคอื ครชู อ ย สุนทรวาทนิ มหาดรุ ิยกวจี กั ษุพิการ ผแู ตง เพลงไพเราะเปนอมตะไวม ากมาย… พระยาเสนาะดุริยางค ครชู อ ย สุนทรวาทนิ ท่มี า : https://www.silpa- ที่มา : https://www.silpa- mag.com/culture/article_66355 mag.com/history/article_27060 หนงั สือ “นามานกุ รมศิลปน เพลงไทยในรอบ ๒๐๐ ป แหงกรงุ รัตนโกสินทร” เขยี นไวว า “พระยาเสนาะ ดุริยางค เปน บตุ รคนหวั ปข องครชู อ ยและนางไผ สนุ ทรวาทนิ เกดิ เมอื่ เดอื นสงิ หาคม พ.ศ. ๒๔๐๙ ตรงกบั เดือน ๙ ปขาล ท่ีตําบลสวนมะลิ ใกลวดั เทพศริ ินทราวาส” วัดเทพศิรินทราวาสในอดีต ทม่ี า : http://www.nextsteptv.com/khongdee/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%9E%E0%B8%A8% E0%B8%B4%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%AA/ ๒

วดั เทพศริ นิ ทราวาสในปจจุบนั ท่มี า : http://oknation.nationtv.tv/blog/lotslikelove/2013/05/17/entry-1 หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ พระยาเสนาะดุริยางคก ลาววา ทานเกิด “ณ บานสวนมะลิ ตําบลวัด เทพศริ ินทร จงั หวดั พระนคร” แตจากหลกั ฐานในราชกจิ จานเุ บกษา พ.ศ. ๒๔๒๘ กลาววา บานครูชอ ยอยูริมคลอง (มหานาค) หลงั วดั สระเกศ ซงึ่ สมยั นนั้ เปนสว นหน่ึงของตาํ บลสวนมะลิ อนึง่ วดั เทพศิรินทรล งมือกอสราง พ.ศ. ๒๔๑๙ มพี ระสงฆอ ยูจําพรรษาตัง้ แตป  พ.ศ. ๒๔๒๑ พระยาเสนาะดุริยางคจ งึ นาจะเกดิ ทบี่ านสวนมะลแิ ถบ หลงั วดั สระเกศ ซ่ึงอยูคนละดานกบั วัดเทพศิรนิ ทราวาส… วดั สระเกศในอดตี ทม่ี า : https://www.silpa-mag.com/old-photos-tell-the- ที่มา : https://www.silpa-mag.com/culture/article_5905 historical-story/article_7232 วัดสระเกศในปจ จบุ ัน ทม่ี า : http://www.saketalumni.com/saket-history.php ทมี่ า : http://www.stjosephoftheholyfamily.org/archives/486 ๓

\" ครอบครวั \" ในดานชีวติ ครอบครัว ทานมบี ุตรธดิ าท้งั ส้นิ ๗ คน ดงั น้ี เกดิ แตน างทรัพย (กอ นไดรบั พระราชทานบรรดาศกั ดิ)์ ๒ คน คอื ๑. หญิง ช่ือ ชา ๒. ชาย ช่อื เช่อื ง เกดิ แตค ุณหญิงเสนาะดุริยางค (เรือน) ๕ คน คอื ๑. หญิง ชื่อ เรยี บ ๒. ชาย ถึงแกก รรมเม่อื ยังเยาว ๓. หญิง ชอื่ เลือ่ น ๔. ชาย ชื่อ เชื้อ ๕. หญงิ ชอื่ เจรญิ ใจ ครูเลอ่ื น สุนทรวาทนิ ครูเจริญใจ สุนทรวาทนิ ท่มี า : https://www.silpa-mag.com/this- ท่มี า : https://mgronline.com/qol/detail/9620000089107 day-in-history/article_25808 ๔

\" การศกึ ษาเบอ้ื งตน \" ในหนงั สืองานพระราชทานเพลิงศพ พระยาเสนาะดรุ ิยางค เขยี นไววา “ครนั้ มอี ายุพอสมควรบิดาไดใ หเ รียน หนงั สอื ทโ่ี รงเรียนใกลบา น” ขอ มลู ตรงนี้คลาดเคล่อื นแนน อน เพราะยุคนน้ั ยังไมมีการศกึ ษาระบบโรงเรยี น โรงเรยี น สําหรบั ราษฎรแหง แรกตงั้ ทวี่ ดั มหรรณพาราม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๘ กอนมีการศึกษาระบบโรงเรยี นเด็กผูชายสวนมาก เรยี นหนงั สือกับพระทีว่ ัด… ฉะนั้น พระยาเสนาะดรุ ิยางคก ค็ งเรียนหนังสือเบอ้ื งตน ทวี่ ดั ใกลบ านทานคอื วดั สระเกศ หรือไมก ็วัดสิตาราม (วัดคอกหม)ู ซึ่งอยฝู ง ตรงขา มคลองมหานาค วัดสติ าราม(วดั คอกหม)ู ในอดตี วดั สิตาราม(วัดคอกหมู) ในปจจุบนั ท่ีมา : https://historyoftemples.kachon.com/353610 ท่ีมา : https://www.facebook.com/watrakhang.official/posts/427492 801235838/ สวนวิชาดนตรีนน้ั ทา นเรียนกบั บิดาและปู จนมีความรูและฝมอื ดีมาแตเ ยาวว ัย คุณยา ไผเ ลา ใหค รเู ลื่อนฟงวา ทา นตฆี อ งและระนาดเกง มาตัง้ แตยงั เด็กมาก อายุราว ๕ ขวบ จนตองใชมาเล็ก ๆ รองนงั่ จึงจะตถี งึ ปญ ญาก็ไว มาก เมอื่ เด็ก ๆ ทานชอบเลนปลากัดอยใู ตถนุ เรือน หูกฟ็ งเสียงเพลงไปดว ย บางครง้ั กเ็ อากะลามาฝง ดินโผลป ร่มิ ๆ ตางฆอ งวง แลว ตตี ามไป ปรากฏวา ทา นจาํ เพลงท่คี รูชอยตอใหศษิ ยบ นเรอื นฟง ไดก อน… เรอ่ื งใชก ะลาตีตา งฆอ งวงน้ี ครชู อยบดิ าทา นก็เคยทาํ มาในวยั เด็กเชนเดียวกัน เปน คณุ ลักษณะของคนที่มี พรสวรรคแ ละสนใจดนตรมี าแตเดก็ ในภาพยนตรเรื่องโหมโรงไดนําเรือ่ งนี้ไปใสเปนบทบาทของ “เด็กชายศร” (หลวงประดิษฐไพเราะ) ในประวตั ชิ วี ติ จริงของทา นปรากฏชัดแตเ รอ่ื งดฆี อ งวงใหญไดเองตงั้ แตอ ายุราว ๕ ขวบ ครหู ลวงประดิษฐฯ เร่มิ สนใจปพ าทยจรงิ จังตัง้ แตงานโกนจุกทานตอนอายุ ๑๑ ขวบ และเริ่มฝก เปน กจิ จะลักษณะ ตัง้ แตน ั้นมา ซงึ่ ชา กวา พระยาเสนาะดุริยางคม าก เพราะเมื่ออายุ ๑๐ ป นายแชม ไปเปนคนปพ าทยบ า นเจาพระยา เทเวศรวงศวิวัฒน เปนคนระนาดรนุ เดก็ ทห่ี าตัวจับไดย ากแลว ๕

หลวงประดิษฐไพเราะ เจาพระยาเทเวศรวงศว ิวัฒน ทมี่ า : ที่มา : https://tinyurl.com/4fw9hf2f https://sites.google.com/site/ajanthus/ hlwng-pradisth-phireaa การฟงเพลงอยใู ตถุนเรือนแตไดเพลงกอ นคนทเี่ รียนบนเรอื น แสดงวาสติปญญาและโสตประสาททา นดเี ยย่ี ม ครู เฉลิม บัวทง่ั เลา วา “พระยาเสนาะดรุ ิยางคเปนผูทีม่ โี สตประสาทดยี ิ่ง สามารถบอกเสียงตาง ๆ ที่ไดยินวาเปน เสยี ง ใด โดยถูกตอ งตรงตามเสียงนนั้ ๆ เปน ตน วา ทา นไดยินเสยี งคนตรี ะนาดทา นกส็ ามารถบอกไดเ ลยวา เสียงนเ้ี ปน เสียงอะไรอยางถูกตองตรงตามระดบั เสยี งไมม ผี ดิ พลาด” ครูมิ ทรพั ยเ ย็น กเ็ ลาไวคลา ยกันวา “พระยาเสนาะ ดรุ ยิ างคมีโสตประสาทแมนยํายง่ิ นัก แมไ ดยินเสยี งเคาะระนาดเพียงคร้งั เดียว ทานก็สามารถบอกไดถ ูกตองวา เปน ลูก ทเ่ี ทา ไร เพลงการทง้ั หลายนัน้ ทา นไดยนิ เพียงครง้ั เดียวกจ็ าํ ไดไมข าดตกบกพรอ ง” ความสามารถพเิ ศษนี้ กถ็ ูกนาํ ไป ใสเปนความสามารถของ “นายศร” ในเรือ่ งโหมโรงอีก เชนกนั เปนการเอาความสามารถของ “ขุนอินทร” ตัวจริง ไปเตมิ แตงใหเปนอจั ฉริยภาพของพระเอกในเร่ือง มีสวนทาํ ให “ความจริง” คลาดเคลื่อนไป ความจริงทั้งสองทา นมอี ัจฉริยภาพทางดนตรีโดดเดน ไปคนละทาง นายกยองไปคนละอยาง ครูเฉลมิ บัวทั่ง ครมู ิ ทรัพยเ ย็น ทมี่ า : ท่ีมา : https://sirindhornmusiclibrary.li.mahidol https://sirindhornmusiclibrary.li.mahidol .ac.th/hall_of_fame/thai-musicians31/ .ac.th/hall_of_fame/thai-musicians143/ ๖

ดว ยพรสวรรคและความสามารถทีส่ ั่งสมกันมาในครอบครัว นายแชม หรือพระยาเสนาะดรุ ิยางคจงึ มีความรูพ้นื ฐานทางดนตรดี มี ากและมีฝม อื ปพ าทยดรี อบวง ทั้งเครื่องหนงั ฆอง ระนาด ป และขับรอง ทโี่ ดดเดนมากคือ ระนาดกบั ป ท่มี า : https://yournamez.wordpress.com/2012/09/27/ ๗

\" เขาวงั บานหมอ \" วงั บา นหมอ ที่มา : https://www.matichon.co.th/local/news_2464/attachment/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%9A%E0%B9%89%E0%B8 %B2%E0%B8%99%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%89%E0%B8%AD2 ครูเลอื่ นเลา วา ยา ไผข องทานเลา ใหฟง วา “พอเอง็ เขา ไปอยูวังบานหมอ ตงั้ แตอายุ ๑๐ ขวบ” นัน่ คือราว พ.ศ. ๒๔๑๘ ครูชอ ยพานายแชม ไปสมัครเปนนักดนตรวี งวงั บานหมอ ของเจา พระยาเทเวศรวงศว ิวฒั น (ขณะนั้นยัง เปน จา ยง มหาดเลก็ เวรศกั ด์)ิ ถึง พ.ศ. ๒๔๒๒ ไดบรรจเุ ปนนักดนตรีกรมมหรสพ รับพระราชทานเบีย้ หวดั ปล ะ ๑๒ บาท ขณะน้นั อายุเพยี ง ๑๓ ป ท่ที ําการกรมมหรสพ อยูท ว่ี ังบา นหมอ นายแชม จงึ ทําหนา ทพ่ี นักงานปพ าทยข อง กรมมหรสพและนักดนตรีของวงวงั บา นหมอ ควบคูกนั ไป ทัง้ มีโอกาสศึกษาเรือ่ งโขน ละคร ดนตรี และวรรณคดไี ป ดวย การท่ีนายแชม หรือพระยาเสนาะดุริยางคไดเขาไปรวมงานดนตรีในวังบา นหมอ ต้ังแตอายุ ๑๐ ป และเปนนัก ดนตรีกรมมหรสพต้ังแตอายุ ๑๓ ป ยอมมโี อกาสไดเพิม่ พูนความรแู ละประสบการณอ ยา งดยี ่ิง ไดเรียนกบั ครเู กง ๆ ท้ังทางตรงและทางออ มเตม็ ท่ี โดยเฉพาะอยา งยงิ่ ตั้งแต พ.ศ. ๒๔๓๖ ซ่ึงกรมพณิ พาทยยา ยจากบานเจา พระยานร รัตนราชมานิตมาข้นึ กับเจาพระยาเทเวศรวงศว ิวัฒน ทาํ ใหว งั บา นหมอเปน ศนู ยก ลางดนตรแี ละนาฏศิลปรวมคนเกง สาขาตา ง ๆ ไวมากที่สุด หลวงประดิษฐไพเราะ (ตาด ตาตะวาทิต) พระเสนาะดรุ ิยางค (ทองดี ทองพริ ฬุ ห) ก็ ลวนมารวมกนั อยูท ว่ี งั บานหมอ นอกจากน้ยี งั มี ครสู ิน สนิ ธุนาคร (พ.ศ. ๒๓๗๕ - ๒๔๕๗) เปน ครคู นสําคญั ในวัง บานหมอมาแตเดมิ และยงั มีครอู ื่น ๆ อีก ๘

พระเสนาะดุริยางค ที่มา : https://sirindhornmusiclibrary.li.mahidol.ac.th/hall_of_fame/thai-musicians207/ สว นพระเสนาะดุริยางค (ขุนเณร พ.ศ. ๒๓๕๖ - ๒๔๒๘) ยอดฝม ือระนาดอนั ดับหน่ึงในรชั กาลท่ี ๕ น้ัน เม่ือทานลวงลับดวยวัย ๗๒ ป พระยาเสนาะดรุ ยิ างค (แชม ) อายุ ๑๙ ปแลว จึงโตทันชว งท่พี ระเสนาะฯ หรอื ระนาดขุนเณร เปน ครูอาวุโสในวงการปพ าทย นา จะมโี อกาสไดยินไดฟ ง ฝมอื ทานบาง อกี ทั้งปรากฏวา ฝมือระนาด ของพระยาเสนาะดรุ ยิ างค (แชม ) กไ็ หวจดั จา ชัดเจนเชน เดียวกบั ระนาดขนุ เณรหรอื พระเสนาะดรุ ยิ างค… ครเู ลอ่ื นเลาวา “เม่ือหนุม ๆ คนเรยี กพอ ฉันวา ระนาดขุนเณร” แสดงวาทานทงั้ สองมีฝมอื ระนาดไปในแนว เดยี วกนั คอื ไหวจัดและฟงแจมกระจางมาก เม่อื เจาพระยาเทเวศรวงศววิ ัฒนร วมกับสมเด็จเจา ฟา กรมพระยานริศรานวุ ดั ตวิ งศทาํ ละครดกึ ดําบรรพน น้ั (เรม่ิ ฝก หลงั พ.ศ. ๒๔๓๔ แสดงครั้งแรก พ.ศ. ๒๔๔๒) พระประดิษฐไพเราะ (ตาด) เปนครูผูฝกซอมการบรรเลง หลวงเสนาะดุริยางค (ทองด)ี ควบคุมการขับรอง นายแชม เปน คนระนาด ยอ มไดศึกษาเพลงการและทางเพลงป พาทยดกึ ดาํ บรรพจากพระประดษิ ฐไพเราะ (ตาด) จนแตกฉาน สมเดจ็ เจา ฟากรมพระยานรศิ รานุวดั ติวงศ ทีม่ า : https://soulofpeople.com/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A 3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%A7%E0%B8 %87%E0%B8%A8%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%98/ ๙

อน่งึ ทางรอ งละครดกึ ดําบรรพน น้ั หลวงเสนาะดรุ ิยางค (ทองดี) แตง ข้นึ ใหม ตางจากทางรองของละครทวั่ ไป มีลลี าประณตี ไพเราะยง่ิ นายแชม ยอมไดศึกษามาอยางดจี นตนเองมคี วามสามารถในการแตง ทางรองและขับรองดี เยยี่ ม จึงนบั วา พระยาเสนาะดรุ ิยางคเ ปน ผสู บื “สายเสนาะ” จากเสนาะดรุ ยิ างค ๒ ทานผโู ดง ดังมากอนท้งั ดาน ราชทินนาม ฝม อื และความรอบรู คือ มฝี มือระนาดโดง ดงั เหมือนระนาดขนุ เณร พระเสนาะดรุ ยิ างคเปน คนระนาด ท่ีแตกฉานทัง้ ปพาทย มโหรี ดดี สี ตี เปา ตลอดจนการขับรอ ง เหมือนหลวงเสนาะดุรยิ างค (ทองดี) ครูสําคญั อกี คนหนง่ึ ซ่งึ พระยาเสนาะดรุ ยิ างคน าจะไดศึกษาเรอ่ื งรองดว ยคอื ครูจา โคม ผูมบี รรดาศักดิ์เปน จา เผนผยองย่งิ ครรู องสกั วาคนสาํ คัญในยุครชั กาลที่ ๔ - ๕ รวมยุคกับครูชอย ทานแตง เพลงไพเราะของสักวาไวม าก เชน ลาวคาํ หอม ลาวดาํ เนินทราย แขกสาหรา ย ๒ ชัน้ เทพบรรทม ๓ ชนั้ (ทางรอง)… บคุ คลสาํ คัญที่นา จะมีสว นชว ยพัฒนาความประณตี เสนาะใหน ายแชมอยดู วยคือ สมเด็จเจา ฟา กรมพระยานริศรา นุวัดตวิ งศ อคั รศลิ ปนผูเปนเลศิ ในเรือ่ งความประณีตงดงามของศลิ ปะ บรรดาหมอ มนักรอ งของเจาพระยาเทเวศร ครูและนักดนตรผี ูมีฝม อื คนอื่น ๆ ในวังบา นหมอ กค็ งเปน แหลง ความรใู หนายแชม ไดศ กึ ษาศลิ ปะการดนตรีทั้ง ป พาทย มโหรี และขับรอง การอยูในกรมพณิ พาทยท ําใหไ ดเรยี นรเู ร่อื งการบรรเลงปพ าทยพ ิธีการตา ง ๆ ของหลวงเปน อยา งดี รวมทง้ั มโหรขี บั กลอ มและเฉลิมฉลอง การบรรเลงโขนละครก็ทําใหไ ดเ รียนวรรณคดีไปดว ยในตวั ในกรมมหรสพมีผทู รง ความรเู ร่ืองเหลา น้ีอยูพรอม นายแชม จงึ มคี วามรูเรอื่ งปพาทยและมโหรีดีรอบดา น ฝมอื ก็เปนเย่ียม โดง ดงั เรอ่ื ง ระนาดและป ทําใหป พ าทยเ สภาวังบา นหมอมีชอื่ เสยี ง ไดร ับเชญิ ใหรวมงานสาํ คญั ของทางราชการเสมอมา พระยาเสนาะดรุ ิยางค ทม่ี า : https://www.youtube.com/watch?v=5f6AUFMK7sE ๑๐

\" ยอดฝม ือระนาด ไรเ ทยี มทาน \" ในสมัยรชั กาลท่ี ๕ เจานายและขนุ นางผใู หญน ยิ มมวี งปพ าทยเสภาของตน มีการประชนั ขนั แขง กันแบบไมเ ปน ทางการในงานตาง ๆ อยูเ สมอ นักดนตรีและผูฟง ตางตัดสินกันเองในใจ แตก็จะรกู ันดวี าวงไหน คนใด มฝี ม อื เปน อยางไร สองยอดฝม อื ในชวงกลางรชั กาลที่ ๕ คือ นายแชม บุตรคนโตของครูชอย กบั นายแปลก ศิษยเอกของครชู อย นายแชมโดงดงั ที่สุดดานระนาด นายแปลกเล่ืองลือในเชงิ ป ฉะนน้ั วงปพ าทยครชู อยทน่ี ายแชม ตรี ะนาด นายแปลก เปาป คงหาปพาทยว งอน่ื ประชนั ดว ยยาก ความจรงิ ทั้งสองทานน้เี ชี่ยวชาญทงั้ ระนาดและป แตต างใหเ กียรตหิ ลกี ทางใหแ กกัน โดยเฉพาะอยา งย่ิงนายแปลกไมย อมประชันนายแชมเด็ดขาด เพราะเปนลกู ของครู ทั้งฝม อื ระนาดก็ไหว มาก พระยาประสานดุริยศัพท (แปลก ประสานศัพท) ท่มี า : https://sites.google.com/site/khitkwidntrithiy/phraya-prasan-duriy-saphth-paelk-prasan-saphth อาจารยม นตรี ตราโมท เลาถึงฝม ือระนาดของพระยาเสนาะดรุ ิยางคใหผ ูเ ขยี นฟงวา “ไหวจดั มาก แตคนละ แบบกับครหู ลวงประดิษฐฯ คอื ไหวลูกโปง ชัดเจน เสียงโตเจิดจา มพี ลังนา เกรงขาม ท่อี ัศจรรยก ค็ ือ ยิ่งไหวยงิ่ จา หารสมืออยา งทา นอกี ไมได คนระนาดดว ยกันจึงกลวั ทานมาก” ๑๑

อาจารย มนตรี ตราโมท ทมี่ า : http://www.suphan.biz/montri.html ปกตคิ นระนาดท่วั ไปยิ่งตีไหว (คอื เรว็ ) เสียงระนาดจะลดลง ไมเจิดจาชัดเจนเทา เดมิ เพราะตองใชกําลังไปใน ทางเรงความเร็ว แตพระยาเสนาะดุรยิ างคห รือนายแชม “ยงิ่ ไหว ยงิ่ จา” จนเปน ยอดฝมอื ทไ่ี มมใี ครกลาสู นายแพทยพนู พิศ อมาตยกุล เขียนเลา ไววา “เวลาไปประชนั วงกับใคร พอรวู า คนตรี ะนาดชอื่ นายแชม ลูกครชู อ ย แลว ละก็ นักดนตรีไทยสมยั น้ัน เขายกยองวาไมมใี ครสู คนระนาดฝม ือดีจดั แคไหนก็ตองกลวั นายแชมคนน”้ี นอกจากไหวจดั เสียงคมชัดแลว ยัง “กลอน” ทมี่ ลี ีลาองอาจสงา งามอีกดว ย โดยเฉพาะอยางย่งิ ตอนจบเพลง ครหู ลวงประดษิ ฐไพเราะยกยองให ครปู ระสทิ ธิ์ ถาวร ฟง วา “ตรี ะนาดตอนจบเพลงไมม ีใครทีไ่ ดความรูส กึ ที่เจิดจา เทา พระยาเสนาะดรุ ยิ างค” ครปู ระสทิ ธ์ิ ถาวร ที่มา : https://db.sac.or.th/siamrarebooks/books/576/SBR-0576 ๑๒

ครเู ฉลมิ บวั ทัง่ เลาวา คร้งั หนงึ่ ตัวทา นและครูปน บิดาลอ งเรือมาถึงหนา วัดเขมาภริ ตาราม ตอนนัน้ กําลังมีงาน วัดพอดี ไดย ินเสยี งเดยี่ วระนาดเพลงการเวก ครูปน บอกครูเฉลมิ วา “ฟง ไวซ ี นน่ั ละฝม ือนายแชม เขาละ” แลว ก็จอด เรือแวะไปท่ีงาน ปรากฏวา เปน เสียงจากลาํ โพงเครอื่ งเลน แบบไขลาน ครูเฉลิมบอกวา ทานตีดจี รงิ ๆ ยังจาํ ไดต ิดหู มาจนทุกวันน้ี ครูปน เปนครูผใู หญ เคยอยูว งวงั ทาเตยี นของกรมหมน่ื พไิ ชยมหนิ ทโรดม ก็ยกยองฝมอื นายแชม แสดง วายุคน้นั นายแชมโดงดังไมมตี วั จบั จริง ๆ วัดเขมาภริ ตาราม ทีม่ า : https://www.thai-tour.com/place/3927 ครูปนบอกครูเฉลิมวา “ฟงไวซ ี นน่ั ละฝม ือนายแชม เขาละ” แลว ก็จอดเรือแวะไปท่ีงาน ปรากฏวา เปนเสยี งจาก ลําโพงเคร่อื งเลนแบบไขลาน ครูเฉลิมบอกวา ทานตีดจี ริง ๆ ยงั จาํ ไดตดิ หูมาจนทกุ วนั นี้ ครปู น เปน ครูผใู หญ เคยอยู วงวังทา เตียนของกรมหม่ืนพไิ ชยมหนิ ทโรดม ก็ยกยองฝม อื นายแชม แสดงวา ยุคนั้นนายแชมโดงดงั ไมมตี วั จับจริง ๆ วงั ทา เตียน กรมหม่นื พไิ ชยมหนิ ทโรดม ทม่ี า : ท่มี า : http://oknation.nationtv.tv/blog/buzz/2016/ https://sites.google.com/site/0318musi 08/29/entry-1/comment c/phraxngkh-cea-phey-phathn- phngs-krm-hmun-phi-chiy-mhi- nth-rosm ๑๓

\" จากยอดฝมือระนาด สยู อดฝม ือป \" นอกจากเปน ยอดฝมือระนาด “ไหวจา สงา งาม” แลว ตอมาพระยาเสนาะดุริยางคย งั พฒั นาแนวทางปข องตนจน เปน สดุ ยอดของปแนว “วิจิตรพริ้งพราย” เปน ยอดฝมือปในชว งปลายรัชกาลท่ี ๕ มีความโดดเดน ไปคนละแบบของ พระยาประสานดรุ ิยศัพทๆ พระยาประสานดรุ ยิ ศพั ทน ั้น เสียงปโ ต หนกั แนน ทางแยบยล เปา อมุ เครือ่ งเพราะมาก เปาเด๋ียวคมคายไหว สงา งาม ไพเราะเลศิ ไปแบบหนึ่ง สวนพระยาเสนาะดุริยางค ไหวจัด เปาหมมู ชี ้ันเชิงพร้ิงพราย เปา เดีย่ ววจิ ติ รเฉิด ฉายมาก เปน สุดยอดไปอกี แบบหนึ่ง ไมเคยมคี นยุคหลังเทยี บทานทง้ั สองน้ไี ดอ ีกเลย ความเปน เลิศนัน้ นอกจากเกิดจากสติปญ ญาและความสามารถเฉพาะตวั ของทานท้ังสองเองแลวยงั มาจากพ้นื ฐานอันดเี ยยี่ มทไ่ี ดมาจากครูชอ ยปรมาจารยของสํานกั “สนุ ทรวาทนิ ” อีกดวย เพราะตวั ครูชอยกม็ ฝี ม ือท้ังระนาด และป อาจารยม นตรี ตราโมท เลา วา ความเปน ยอดฝม ือของทานทัง้ สอง ทาํ ใหค ราวหนงึ่ สมเด็จฯ เจา ฟา ภาณรุ งั ษี สวางวงศ กรมพระภาณุพนั ธุวงศว รเดชมีรบั สง่ั ใหทั้งสองทานเปาปถ วายพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยูห วั ใน โอกาสเดยี วกัน เปน การประชันกันโดยปริยาย ทา นทัง้ สองรูเ ชงิ กัน จงึ เปาไปตามลกั ษณะเดนของตน ในท่ีสุด ทง้ั สองพระองคส รปุ ผลใหน ายแปลกเปน คนปใน นายแชมเปนคนปนอกประจาํ วงปพ าทยฤาษี ที่มา : https://www.silpa-mag.com/history/article_27060 ๑๔

\" ประชนั ใหญในชวี ิต \" ในวยั หนมุ นายแชม หรือพระยาเสนาะดุริยางค เปน คนระนาดฝม ือเย่ยี มสดุ ยอดแหง ยุค ไมค อ ยมีคนกลา ประชนั ดว ย และตัวทานเองกไ็ มชอบประชันกับใครโดยไมจ ําเปน แตทา นเปน คนซอ่ื ตรงตอหนาที่มาก หากตองประชันตาม หนา ทที่ ่ีผใู หญม อบหมาย ทา นกจ็ ะรกั ษาหนาทีอ่ ยา งดที ีส่ ุด ฉะน้ันเหตุการณใ นเรอ่ื งโหมโรงตอนขนุ อินทรต ีระนาด “ขม ” นายศรจนขวญั เสยี กลบั บานไปนนั้ เปนเพยี งเรื่องแตง “เอามนั ” การประชันใหญใ นชวี ติ จริงของทานเกิดจากพระประสงคของสมเดจ็ ฯ เจา ฟาภาณรุ ังษสี วา งวงศ กรมพระภาณุ พนั ธวุ งศวรเดช (พ.ศ. ๒๔๐๑ - ๒๔๗๑) พระราชอนชุ ารวมพระราชชนนีของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยูหวั คูป ระชันคือ จางวางศร (หลวงประดิษฐไพเราะ) ทีแรกประชนั ระนาดกนั กอ น ตอ มาประชันปก ันอกี พระเจานองยาเธอ เจา ฟาภาณรุ งั ษีสวางวงศ ท่มี า : https://www.silpa-mag.com/culture/article_66355 สมเด็จฯ เจาฟา ภาณรุ ังษีสวางวงศ กรมพระภาณพุ ันธุวงศวรเดช โปรดดนตรไี ทยมาก ทรงตงั้ วงปพ าทยเสภา ประจําวังบรู พาของพระองค มคี รูแปลก (ภายหลงั เปนพระยาประสานดุริยศัพท) ศิษยเ อกของครูชอยเปนผูค วบคุม วง แตมิไดถวายตวั เปน ขาในพระองค เพราะครแู ปลกสอนวงอื่นอีก เชน วงมโหรีของพระราชชายา เจาดารารศั มี วงปพ าทยว ังบูรพาเปนวงที่มชี ่ือเสยี งวงหนึ่งในยุคนนั้ แตคนระนาดซึ่งเปน “พระเอก” ของวงปพ าทย นายแชม วงวงั บานหมอ เปน “แชมป” อยู จงึ ทรงพยายามเสาะหาคนระนาดดมี าประชนั เพ่ือจะเอาชนะใหไ ด ๑๕

ตอ มาครูแปลกไดนาํ นายนุช ศิษยร นุ เล็กของครูชอยมาถวายตวั พระองคโ ปรดฝม ือมากถึงกบั ประทานนามให ใหมว า “เพชร” ตามท่ีทรงพระสบุ ินวา ไดเพชรเมด็ งามมา แตพอเอาเขา จรงิ นายเพชรกไ็ มกลา สูนายแชมซงึ่ เปน ลูก ของครตู น ทงั้ วัยและฝม ือก็เปน “มวยคนละรนุ ” หลวงประดษิ ฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ท่ีมา : https://www.silpa-mag.com/culture/article_66355 ป พ.ศ. ๒๔๔๒ (ร.ศ. ๑๑๘) สมเดจ็ ฯ วังบรู พาไดนายศร บุตรครูสนิ สมุทรสงคราม มาเปนคนระนาดใหม ฝมือดีมาก หลังจากประชันชนะคนอน่ื มาหลายคนจนไมมคี ตู อ สแู ลว จงึ ทรงจดั ใหประชันกับนายแชม ทงั้ ทโ่ี ดยวยั แลว เปน มวยคนละรุน เพราะอายตุ างกนั ถึง ๑๕ ป การประชันครง้ั น้ี นอกจากเปนการประชันของยอดฝมือระนาด ของวงั บูรพากับวงั บา นหมอแลว ยังอาจถือไดว าเปนการประชันของสาํ นกั “ประดษิ ฐไพเราะ” กบั สํานกั “เสนาะ ดุรยิ างค” กลา วคือ นายแชมเปน ตัวแทนของสํานกั เสนาะดรุ ิยางค เพราะเปนศิษยหลวงเสนาะดุริยางค (ทองดี) ตามหนาที่การงาน และตรี ะนาดไหวจดั จาเหมือนพระเสนาะดุรยิ างค (ขนุ เณร) จนคนใหฉ ายาทานวา “ระนาดขนุ เณร” และตอมาตวั นายแชมเองกเ็ ปนนักดนตรีบรรดาศักดิ์ราชทนิ นามเสนาะดรุ ิยางคคนสุดทาย นายศรเปนตวั แทนสํานักประดิษฐไพเราะ เพราะครูสินบิดาของทานเปนศษิ ยเ อกของพระประดิษฐไพเราะ (มี ดรุ ิยางกรู – ครมู แี ขก) และตอมาตวั นายศรก็ไดเปนนกั ดนตรีบรรดาศกั ดร์ิ าชทินนามประดษิ ฐไพเราะคนสุดทาย ปกติการประชันในสมัยกอนจะไมม กี รรมการตัดสิน ผูฟงซ่งึ สว นมากเปน นักดนตรหี รือฟง ดนตรเี ปนจะวพิ ากษ วิจารณตัดสนิ กันเองวาใครฝมือเปนอยางไร ในการประชนั แตล ะคร้ังจงึ มีผูวิจารณใหค วามเห็นตางกนั ไปตามทัศนะ และรสนิยมของตน ๑๖

กอนจัดใหนายศรประชันนายแชม สมเดจ็ วังบรู พาไดจ ดั หาครเู กง ๆ หลายคนมาให แตใ นทส่ี ดุ นายศรเลอื กเอา ครูแปลก ศิษยเ อกของครูชอ ย บิดานายแชม เปนครผู ฝู ก สอนและ “ติวเขม ” ใหตน เพราะเปนผูมีฝม อื และสติ ปญญาเปนเลิศจนไดฉายาวา “ครูแปลกพระกาฬ” อีกทัง้ เปน คนท่ีรู “เชงิ ” และ “ฝม ือ” ตลอดจน “แกท างเพลง” ของนายแชมไดดีท่ีสดุ สมเดจ็ วังบูรพา ทมี่ า : https://tinyurl.com/rpz25kkh อน่งึ ความจรงิ แลว ทา นไมอ ยากประชนั เลย ดังที่ ดร. อทุ ศิ นาคสวสั ด์ิ เขียนเลา ไวว า “ตอนนท้ี า นครเู ลา ให ผมฟงวา พอไดยนิ รับสั่งใหไ ปประชันกับทานผนู ั้นแลว กบ็ ังเกิดความกลัวจนลนลาน เพียงแตไ ดย ินช่ือกใ็ หรูสึกวามือ เทา ออ นปวกเปย กไปเลยทีเดยี ว” แสดงใหเหน็ วาฝม ือนายแชมตอ งเปน เลศิ และช่อื เสยี งโดง ดังมากจนคูประชนั ไดย ิน ชอื่ กข็ วัญเสยี ไมมีกะจติ กะใจสู มาลินี สาครกิ หลานตาของหลวงประดิษฐไพเราะเองก็เขยี นเลาไวว า “ตอนนั้นจางวางศรมีความกลวั มากเพราะคดิ วาตนเองเปน นกั ดนตรีรนุ เดก็ กวา และทา นผนู ้นั ยังเปนครดู นตรี มชี อ่ื เสียงอยูใ นขณะน้นั ดว ย จงึ ไปกราบไหวข อรอ งผูใหญทีท่ านนบั ถอื ทานหนงึ่ ใหช ว ยไปกราบขออภยั ตอ ทา นผูนั้นวา ทีจ่ ริงแลว มไิ ดคิดจะเปรยี บเทยี บฝมือแตอ ยางใด หากแตเปนพระประสงคข องสมเดจ็ วงั บรู พา จงึ ไมอ าจขัดรับส่งั ได ขอใหทานผนู ้นั ออมมือใหบาง เพราะสมเดจ็ วังบรู พามรี บั สั่งวา ถาจางวางศรแพจ ะทรงลงพระอาญา แตทานผนู ้นั กร็ ัก ศกั ดศ์ิ รีของทา นจงึ ไมย ินยอมออ นขอให และฝากกลบั มาบอกวาทา นจะแสดงเตม็ ฝม อื ของทา น เม่อื จางวางศรได ทราบเชนน้นั ก็ย่ิงไมสบายใจมากขึ้น คดิ ในใจวาถา สูไปกค็ งจะแพถกู ลงพระอาญา แมไมย อมสกู ็จะถกู ลงพระอาญา อยดู ี จงึ หนอี อกจากบา นไปอยกู ับพวกปพาทยท่คี นุ เคยกนั ในหัวเมืองตา งจังหวัด เมอ่ื สมเดจ็ วงั บรู พาทรงทราบกก็ ร้วิ มาก ใหน ําตวั นางโชตภิ รรยาของจางวางศรไปกกั ตวั ไวใ นวัง และใหสง ขา วทว่ั ไป วา ถา จางวางศรไมก ลบั มาตรี ะนาดประชันจะลงพระอาญาแกนางโชติแทน เมื่อทราบขาวดงั น้นั จางวางศรก็จาํ ใจ ตอ งกลับมาท่ีบานหนาวังบรู พา เมือ่ สมเดจ็ วงั บูรพาทรงทราบก็เสดจ็ ไปถงึ บาน แลวลงพระอาญาโดยใชปชวางาท่ีถอื ตดิ พระหัตถไ ปดว ยฟาดศรี ษะของจางวางศรจนลําโพงของปแ ตก แลวทรงนําตัวจางวางศรไปกกั ไวท ่หี องพระบรรทม บนตาํ หนกั เพือ่ ใหฝ กไลร ะนาดทุกวัน (ปชวางาเลานนั้ หลังทจ่ี างวางศรตีระนาดประชันชนะแลว สมเด็จวงั บูรพาได ทรงใหชา งสลกั ขอความบนลาํ โพงปแลว ประทานใหจางวางศรไวเปนทรี่ ะลกึ ) ๑๗

จางวางศรตองฝก ไลระนาดอยา งหนักทัง้ กลางวันและกลางคนื เขาใจวาสมเด็จวงั บูรพาทรงทําไมระนาดทองแดงหนกั ขา งละ ๑๐ บาท ไวใหจ างวางศรฝก ไลม ือ และยงั ใหสวมกําไลตะกวั่ ถวงไวท ่ขี อ มอื ดวย เพ่ือฝกใหก ลา มเนือ้ แขนและ ขอมือมีกําลังดี เมื่อเอาตะก่ัวที่ถวงออกแลวใชไ มต ธี รรมดาก็ทําใหตีไดไหว (เรว็ ) เปนพิเศษ กอ นทจ่ี ะถึงการประชนั ไมน าน จางวางศรไดฝ นไปวา มคี รูเทวดามาบอกทางเพลงสําหรบั เด่ยี วเพลง ‘กราวใน’ ให โดยบรรเลงใหฟง แลว ยงั เปาศรี ษะพรอ มทงั้ ใหพ รวา ตอ ไปน้ตี ลอดชีวติ ของเจา จะไมแ พร ะนาดแกผ ูใ ดเลย เรือ่ งนี้ทา น เปนผูเลา ใหล ูกหลานและศษิ ยท ส่ี นิทใกลช ดิ ฟง ดว ยตัวเอง และยังกลา ววาทางเดยี วทท่ี านไดฟ งจากในฝนนน้ั ไพเราะ มากกวาที่ทา นนํามาบรรเลง ‘กราวในทางฝน ’ มาก แตนาเสยี ดายท่ไี มมีผูใดไดรบั การถา ยทอดกราวในทางฝนจาก ทานไวเ ลย หลังจากนนั้ จางวางศรจงึ เกิดความมนั่ ใจในตนเองยิ่งข้ึน ไดท าํ การฝกซอ มการตีระนาดอยา งจริงจังจน กระทงั่ ถงึ วนั ประชัน” ๑.หลวงประดิษฐไพเราะ ๒.นางโชติ ศิลปบรรเลง ๓.บรรเลง สาคริก ถายทบี่ า นบาตร ท่ีมา : https://www.silpa-mag.com/culture/article_66355 การประชนั ระนาดใหญค รั้งนเี้ กดิ ข้นึ กอ นนายแชม รับบรรดาศกั ดเิ์ ปน ขุนเสนาะดุรยิ างคใ นป พ.ศ. ๒๔๔๖ ครูหล วงประดิษฐฯ บนั ทกึ ไวว า ทา เขามาอยวู งั บูรพาป ร.ศ. ๑๑๘ (พ.ศ. ๒๔๔๒) แตง งาน ร.ศ. ๑๑๙ (พ.ศ. ๒๔๔๓) บวช ร.ศ. ๑๒๐ (พ.ศ. ๒๔๔๔) การประชนั ตอ งหลงั จากทานแตงงานแลว และนาจะหลังจากลาสกิ ขาแลว คอื ชวง ป พ.ศ. ๒๔๔๔-๒๔๔๕ ขณะนน้ั นายศรอายุ ๒๐ - ๒๑ ป นายแชมอายุ ๓๕ - ๓๖ ป ๑๘

ตอ งขออนุญาตเรยี นใหท า นผอู า นทราบวา เรอื่ งการประชันครั้งน้ี ดร. อทุ ศิ นาคสวสั ด์ิ นาํ มาเขียนเผยแพรเ ปน คนแรกโดยไมออกชื่อนายแชม ไดแ ตเ รียกวา “นกั ระนาดผยู งิ่ ใหญ” หรอื “ทานผูน้นั ” ผเู ขียนไดฟ ง เร่ืองนจี้ ากปาก ผใู หญใ นวงการดนตรไี ทย ๓ ทา น คอื คณุ หญิงชน้ิ ศลิ ปบรรเลง ธดิ าครหู ลวงประดษิ ฐฯ ครูจํารสั เพชรยวง ศิษย ครจู างวางสวน ชดิ ทว ม (พ.ศ. ๒๔๐๕-๒๔๘๕) ผไู ดด กู ารประชนั ครงั้ น้ัน และครูถวิล อรรถกฤษณ ศิษยค รเู พชร จรรยนาฏ ผเู ปน คนฆอ งวงวังบูรพาในวันท่ปี ระชนั ขอ มลู ทีไ่ ดส ว นมากตรงกนั ตา งกนั แตเรอ่ื งผลแพชนะ ซึง่ กพ็ อ วเิ คราะหไ ดวา เพราะอะไร การประชันครัง้ น้นั เปนการประชันวงปพ าทยเครื่องหา เพราะตอ งการดูฝมือคนระนาดกนั ใหชดั วงวังบรู พา ทราบชอื่ นักดนตรีคือ ระนาดเอก จางวางศร ฆองใหญ นายเพชร ปน า จะเปน นายวิง่ เคร่ืองหนงั คือ นายเนตร ยอดฝมือเคร่อื งหนังผูไดรบั คัดเลือกไปบรรเลงดนตรที ่อี งั กฤษเมอื่ พ.ศ. ๒๔๒๘ ผปู รบั วงนา จะเปน ครแู ปลก คนรอ ง ไมท ราบชอ่ื สว นวงวงั บา นหมอไมทราบชอ่ื ผูรวมวงกับนายแชมเลยวามใี ครบา ง การประชันเริม่ ตั้งแตเ พลงโหมโรงและรับรองไปตามธรรมเนยี ม แลวตอดวยเพลงเดยี่ วระนาด ต้งั แตเด่ียวเชิด นอก พญาโศก และเพลงเดี่ยวสาํ คญั อื่น ๆ ไปจนถงึ เดีย่ วกราวใน ซง่ึ เปนเพลงเดยี่ วสงู สุด นายศรไดงดั เอา “เดยี่ ว กราวในทางฝน” ออกมาใชก ย็ งั ไมสามารถเอาชนะฝมอื และทางกราวในของนายแชมได จึงตองวดั ฝม อื กนั ที่ “เชดิ ตอตัว” เทียบไดกับฟตุ บอลเตะลกู โทษ การตี “เชดิ ตอ ตัว” ตองอาศัยความ “ไหว” และ “อึด” เปน กาํ ลังสําคัญ เพราะทั้งสองฝายตองผลัดกันตเี ชิด คนละตัว (ลกั ษณะนามของเพลงเชดิ ) สง -รบั หมุนเวยี นกนั ไป ตองรักษาเสยี งระนาดใหชดั เจนและเรงความ “ไหว” ขนึ้ ไปเรอ่ื ยๆ โดยเฉพาะอยา งยิง่ ตอนสงใหค ตู อสูสวมรับ จนคตู อ สู “หลดุ ” คอื สวมรับไมท ัน หรือ “ตาย” คอื สวมรับทนั แตไมส ามารถตีดวยความ “ไหว” เรว็ ระดบั น้ันตอไปไดจ นตอ งหยดุ ตไี ปเอง ครจู างวางสวนเลาใหครจู ํารัส เพชรยวง ศิษยข องทา นฟง วา ถงึ เพลงกราวในกย็ งั แพช นะกนั ไปชนะกันท่ี “เชิดตอ ตวั ” นายแชม มือตาย แต มาลนิ ี สาคริก ซ่งึ คงจะไดข อมลู มาจากคุณหญงิ ชิ้น เขยี นไวว า “จางวางศรได ปลอ ยฝมือกราวในทางฝนของทา นอยา งเตม็ ที่ ขณะน้นั เวลาลวงเขา ไปเกอื บตสี ามแลว ฝม อื กย็ ังคงคคู ีกันอยู จน กระท่งั ถงึ เพลงสดุ ทา ยท่ีจะรแู พร ชู นะกันในดา นความไหวของระนาด คอื เพลง ‘เชดิ ’ ตีกันตัง้ แต ๓ ช้ันลงมา พอ ถงึ ตัวสองตสี องชน้ั ตกี ันคนละตวั รับสง กัน เพลงเชิดน้มี นี ับสิบตัว ยิ่งตจี งั หวะก็ย่งิ จะรุกเรา ขึ้นทกุ ที ระนาดยง่ิ ไหว เทาใด คนกลองกย็ ง่ิ เรงจังหวะขนึ้ เทาน้ัน เมือ่ ถงึ จดุ สุดทายท่จี ะแพชนะกนั จางวางศรเรง ฝม ือจนสดุ แลว สงไปใหอ ีก วงรับ ปรากฏวา คนระนาดอกี วงรับไมทนั กเ็ ลยวางไมระนาดยอมแพ” ตามทม่ี าลนิ ีเขียนไวน ้ี เปน การแพ “หลุด” คอื สวมรบั ไมท นั แตจ างวางสวนเลาวา แพ “ตาย” คอื สวมทัน แต ตีตอไปไมได สมเดจ็ วังบรู พาจึงตดั สินวา “จางวางศรไหวกวา” ครูเพชรซงึ่ เปนคนฆอ งวงวังบูรพาในวันประชันกลับ บอกกับครถู วลิ ศษิ ยทานวา “พี่แชม ไหวกวา นายศร แตท า ไมสวย พอตไี หวมากแลว ขอ ศอกกาง แตแ กสวมรบั แลว ไม ยอมตีตอ เลยถกู ปรับแพ” ๑๙

ครเู พชรคนุ เคยท้ังนายแชมและนายศร รูฝมอื ในยามปกตขิ องคนทง้ั สองดี ตวั ทา นคงจะชอบระนาดไหวแบบเกา คือไหวลกู โปง เตม็ เสียง ฟง กระจางชัดทุกลูก จงึ เหน็ วา นายแชมไหวกวานายศร ซึ่งใชวิธที ่ไี หวแบบใหม คือไหวรอ น เร็วมากแตฟ ง ไมกระจางชดั เทา ไหวแบบเกา แตก ารสวมรับแลว ไมตตี อ ยอ มตองถูกปรับแพ “ตาย” การแพตายตามปกตกิ แ็ คต ดี ว ยความไหวเรว็ เทาทสี่ วมรบั มาตอ ไปไมไ ดห รอื ไดไ มนานก็ลา ตอ งหยุดตี ทจ่ี ะถงึ กบั มือเกร็งเปน ตะครวิ แข็งตีตอไมไ ดเกดิ ข้ึนยากมาก เพราะธรรมชาติของการตรี ะนาดเมื่อตเี รว็ จดั ตอไปไมไ หวเหมือนคน วงิ่ เร็วสดุ ตวั สุดกาํ ลงั ก็ตอ งหยดุ ไปเอง คําวา “ตาย” คอื น่งิ ไมเ คลอ่ื นไหวตอไป เปน ความหมายเชงิ อปุ มา ไมใชมอื เกร็งเปน ตะคริวตายอยา งในเรอื่ ง “โหมโรง” ซงึ่ มงุ เอาสนุก สะใจคนดู เพราะถือวาเปน “ความบนั เทงิ ” ไมใช “ประวัติศาสตร” แตท ่ีในหนงั สือ “หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลป บรรเลง) มหาดรุ ยิ กวีลมุ เจาพระยาแหงอุษาคเนย” เขยี น วา “ผลการตอ ตวั เชิดครงั้ นน้ั ปรากฏวา ในท่ีสุดนายแชม นักระนาดรุน พแี่ หงปพ าทยว งหลวงเกดิ อาการ ‘มือตาย’ ยิง่ ตยี ง่ิ เกร็ง ปวดจนชา ตอ งถอนจงั หวะลงมา เขา วรรคทายจบเพลงกอน ใบหนาชุมเหง่ือ กายสน่ั ระรกิ สองมือยงั กํา ไมร ะนาดแนน จนลกู วงตอ งชวยกนั แกะไมอ อกจากมอื ” นน้ั เปน การ “ใสสีใสไข” เพอื่ “เอามนั ” มากเกินไป เพราะ หนงั สือเลมน้ีเปน “ชีวประวัต”ิ ไมใ ช “นยิ าย” อยางเร่อื ง “โหมโรง” ความจริงทานทง้ั สองตีระนาดไหวคนละแบบ ใชเทคนิคการทีต่ า งกนั นายแชมหรอื พระยาเสนาะดุรยิ างค ตีระ นาดไหวแบบเกา เสยี งโตชัดทกุ เสยี ง และคงจะใชไ มตปี น หนา พนั ไมแข็งนกั ตดี วยกําลงั แขน จึง “ดูดไหล” คือกนิ แรง ประกอบกบั ทา นรกั ษาความคมชัดเจิดจาของเสยี งให “ยิ่งไหวย่ิงจา” ยง่ิ ตไี หวจา มากข้นึ เทา ไร ก็ตองใชก ําลงั แขนไปถงึ ไหลม ากขึ้นเทานัน้ จึงยอมจะลา งาย สว นจางวางศรนาจะใชไ มตขี น้ึ เล็กกวา แขง็ กวา และกานออ นกวา ทําใหเ บาแรง ตีดวยขอ ใหไหวรอนไดเร็วกวา แมเ สียงจะไมจ า เทา ท่ดี วยกําลังแขน แตกไ็ หวทนกวา การตเี พลงเชิดตอตวั หรอื ตอตัวเชิด จะวัดฝม อื กนั ที่ความไหวและเสยี งระนาดทชี่ ัดเจน ไมใชระกลวั้ ไป แตผ ล การแพช นะท่ี “ตาย” หรอื “หลุด” น้ัน ความไหวเปนตวั ตัดสิน ในการประชันครั้งนั้นไมมคี ณะกรรมการรวมกนั ตัดสนิ อยางเปนทางการ ผูฟง แตละคนตดั สินกันเองตามเกณฑ และรสนยิ มของตัวเอง คนสวนหน่ึงโดยเฉพาะอยางยง่ิ ผทู ่ชี อบระนาดไหวแบบเกา แมกระทั่งครูจางวางสวนกส็ รปุ วา “นายศรชนะไหว นายแชมชนะจา ” ซ่งึ เปนคําตดั สินทเี่ ท่ียงตรงมาก ตวั ครูหลวงประดิษฐฯ เองก็ยอมรับวา ตรี ะนาด เสยี งเจิดจา จบเพลงใหค วามรูสกึ บรรเจดิ ประทับใจ ไมมใี ครเกินพระยาเสนาะดรุ ิยางค การประชันครัง้ นัน้ เปน จุดเริม่ พัฒนาศิลปะการตีระนาดของหลวงประดิษฐไพเราะ และทา นไดพฒั นาปรับปรงุ ตอ ไปอีกตลอดเวลา จนระนาดของสาํ นักทานมชี ั้นเชงิ แพรวพราวไดรับความนิยมสูงสุดในกาลตอ มา เปนความยงิ่ ใหญ ในเชงิ ระนาดทแี่ ทจริงของทา นย่ิงกวาผลการประชันในครงั้ นน้ั ซ่ึงเปนเพยี ง “จุดเร่มิ ” ไปสคู วามเปลยี่ นแปลงใน วงการ เดีย่ วระนาดเอก การเวก ๓ ช้นั พระยาเสนาะดรุ ยิ างค (แชม สนุ ทรวาทนิ ) ๒๐

\" ศกึ ประชันป \" นอกจากการประชันระนาดของสองครดู นตรที ยี่ ่งิ ใหญแ หงยคุ สมัยอยา ง พระยาเสนาะดรุ ยิ างค (แชม สุนทรวาทิน) กับหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศลิ ปบรรเลง) แลว ท้ังสองทา นยงั เคยประชนั “ป” ซ่ึงเปน การ ประชันที่ตางก็ไมมใี ครยอมใคร อ. ถาวร สกิ ขโกศล เขยี นถึงการประชันปข องท้งั สองทานไวในสวนหน่ึงของบทความ “ตัวตนจริงของขุนอินทร นักดนตรีผูย ่งิ ใหญใ นเรื่องโหมโรง” ในศลิ ปวฒั นธรรม ฉบบั เมษายน ๒๕๕๕ ดังน้ี “สมเด็จวงั บูรพาเปน เจา นายท่ที รงมุงมนั่ แขง ขนั เอาชนะในดานดนตรสี งู มาก เครอื่ งดนตรใี นวงปพ าทยน้นั ระนาดกบั ปโ ดดเดนเปน หนา เปน ตาสงู สุด เหมือนพระเอกกับนางเอก ทา นจงึ ทรงจัดใหจ างวางศร ประชันปก บั นาย แชม อกี เขาใจวาเปนชว งหลงั จากนายแชม เปนขนุ เสนาะดุรยิ างคใ นป พ.ศ. ๒๔๔๖ แลวผลการประชันน้นั ดร. อุทิศ นาคสวัสดิ์ เขียนเลา ไวในหนงั สือที่ระลึกงานชมุ นุมดนตรีไทยอดุ มศึกษาครัง้ ที่ ๕ วา ทานเลา วาในการประชันครง้ั หนึ่ง ทานไปเสยี ทา เปาปใ นแพครูผใู หญคนหนึ่งเขา [หมายถึง พระยาเสนาะดุรยิ างค (แชม สุนทรวาทิน)] ทานเจ็บใจเลยออกไปหมกตัวอยูบางชา ง เฝาคิดหาวธิ ีเปา ปใ หสงู ขึ้นไปไดอกี ๒ เสียง และผนั ลงต่าํ ไดทันทโี ดยล้ินไม แฟบ ในการน้ีทานเลาวาไดไปนั่งอยใู นสวน และสงั เกตการเปา หวอดของปลาหมอ จนกระทง่ั เอามาคิดหาวธิ ีเปาปดงั กลาวน้นั ไดส ําเร็จ หลงั จากน้นั สมเด็จวงั บรู พาจดั ใหประชันกนั อีกเพอ่ื จะใหจางวางศรเอาชนะใหได คราวนีใ้ หเปาเดย่ี วแขกมอญ สามชนั้ รับรองทลี ะทอ น เรื่องน้ี นายแพทยพูนพศิ อมาตยกุล เขียนไวใ นหนงั สอื ‘ลํานําแหง สยาม’ วา ‘เลากันวา ครง้ั หนงึ่ ทา น [หมายถงึ พระยาเสนาะดุรยิ างค (แชม สุนทรวาทิน)] ถูกส่งั ใหไปเปาปเ พลงแขกมอญประชันกับนัก ดนตรรี นุ ที่เด็กกวา (ประมาณ ๑๕ ป) ทานทราบดีวา เพลงแขกมอญน้ันมสี ามทอ น แตล ะทอนใหอารมณตางกนั จึง ตดั ลนิ้ ปติดตวั ไปสามอัน อันแรกสาํ หรับเปา เสยี งตํ่า อันท่ีสองสําหรบั เสียงกลาง อนั สุดทา ยสําหรบั เสียงสงู (แหบ) ทง้ั สามทอ นที่ทา นเปา รบั การขบั รอ งจึงมอี รรถรสงดงามเปน พเิ ศษ โดยทคี่ ูต อ สไู มส ามารถเอาชนะทานได สมเด็จวงั บรู พายงั ไมล ะความพยายาม จดั ใหประชนั ครงั้ ที่ ๓ อกี คราวนี้นอกจากเพลงอน่ื แลวยงั มเี พลงแขก มอญเถา พอถงึ เพลงนี้ พระยาเสนาะดรุ ิยางคเปากอ น พอจบช้ันเดยี ว หลวงประดษิ ฐฯ เปา สวมช้ันเดียวดว ยความ ไหวจัดชดั เจน แลว เปายอ นจากชั้นเดยี วไปสองช้ันและสามชนั้ ซึง่ เปนวิทยายทุ ธพิสดาร หมายเอาชนะใหไ ด แต สดุ ทา ยเกิดขอ ผดิ พลาดไปเพียง ๒ น้วิ เลยไมสามารถเอาชนะได การประชันครงั้ น้ีมคี ําร่าํ ลอื ในวงการวา ‘จางวาง ศรสะอกึ เลอื ด’ แตผ เู ขียนสอบถามคนทห่ี ลายคนแลวเห็นตรงกันวา เปน ไปไมไ ด เปน คําเลาลอื เกินจรงิ แบบมือเปน ตะครวิ ตายคาผนื ระนาดนนั่ แหละ นนั่ คือ พระยาเสนาะดรุ ิยางคชนะผูทาประชันปไ ดอ ยางงดงามทั้ง ๓ คร้ัง ๒๑

ในการประชนั ปน ี้ พระยาประสานดรุ ิยศพั ทซ่งึ เกงปไ มแพพระยาเสนาะดุรยิ างคคงไมไดชวยสอนหรือติวใหหลวง ประดษิ ฐฯ เหมือนเมอ่ื คร้ังประชันระนาด เพราะป พ.ศ. ๒๔๔๗ ทานถวายตวั เปน ครูคุมวงปพ าทยของสมเด็จ พระบรมโอรสาธริ าช สยามมกฎุ ราชกุมาร (คือ รัชกาลท่ี ๖) แลว และปกติทา นกเ็ กรงใจพระยาเสนาะฯ มาก เพราะเปนลกู ของครชู อยซึ่งเปน ครูของทาน หลงั จากนนั้ สมเด็จวงั บูรพายงั ทรงพยายามจะจัดใหประชันกันอกี แตพ ระยาเสนาะดรุ ยิ างคฟ น เรม่ิ หักและ โยก คลอน ไมเ อ้ือแกการเปาปป ระชนั ประกอบกบั ทานเบ่ือหนา ยมาก จงึ ทลู สมเด็จวังบรู พาวาไมขอประชนั ดวยอกี ตอ ไป การประชันจงึ ส้ินสดุ อยา งเด็ดขาดตัง้ แตน นั้ มา ฉะนัน้ ในเรื่องฝมือสรุปไดว า ระนาดหลวงประดษิ ฐไพเราะสูพระยาเสนาะดรุ ยิ างคไ ด ตอ มาทางระนาดของทา น ไดรบั ความนยิ มมากกวา แตเ รอ่ื งปเ ทยี บกนั ไมไดเลย ตอมา ทางปข องพระยาเสนาะดุรยิ างคกย็ ดึ ครองวงการดนตรี ไทยมาจนปจ จบุ นั ศิษยค รหู ลวงประดิษฐฯ ที่มีช่ือเสียงตดิ อันดับมีนอ ยมาก เชน ครูสมบัติ เดชบรรลือ แตกย็ งั ‘หาง ช้นั ’ เทียบไมไดกับศษิ ยส ายพระยาเสนาะดรุ ยิ างค ซ่ึงมมี ากและมีชอ่ื เสยี งกวา เชน ครูเทียบ คงลายทอง ครูโชติ ดรุ ยิ ประณตี ครูจาํ เนยี ร ศรไี ทยพันธุ (หลานศษิ ยข องครูชืน่ นองชายพระยาเสนาะๆ) ผวน บญุ จาํ เริญ บุญชวย โส วัตร ปบ คงลายทอง ฯลฯ” ทัง้ พระยาเสนาะดรุ ิยางค (แชม สุนทรวาทนิ ) และหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ตา งก็เชีย่ วชาญท้งั ระนาดและป โดยปจ จบุ นั ทางระนาดของหลวงประดิษฐไพเราะไดรบั ความนยิ มสูงสดุ ในวงการดนตรไี ทย ขณะทท่ี างป ของพระยาเสนาะดรุ ิยางคก ไ็ ดรับความนิยมและยดึ ครองทว่ั วงการดนตรไี ทยเชนกนั ปใ น กราวใน (ขุนเสนาะดุริยางค) เดยี่ วปใ นเพลง เชดิ นอก พระยาเสนาะ ดุริยางค( แชม สนุ ทรวาทนิ ) ๒๒

\" หนา ท่กี ารทํางาน \" หนา ทีก่ ารงานของพระยาเสนาะ ฯ นนั้ มมี าตลอดตงั้ แตเร่ิมรับราชการ จนสนิ้ อายขุ ัยดังแบง เปน ระยะ ๆ ไดดงั นี้ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยหู วั นอกจากงานประจําควบคุมฝก สอนและการบรรเลงในงาน พระราชพธิ ีตาง ๆ แลว ยงั โปรดใหเปน ครูสอนดนตรถี วายพระราชวงศฝ า ยใน และเจา จอมในพระบรมมหาราชวงั เปน ประจํา เจา จอม ม.ร.ว.สดับ ลดาวัลย เลาวา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจา อยูหวั โปรดใหต ้งั มโหรีหญงิ วง หลวงขนึ้ เปนวงแรก อยใู นพระอนเุ คราะหของพระวิมาดาเธอกรมพระสทุ ธาสนิ นี าฎ และไดทรงพระราชนิพนธกลอน บทละครเรื่องเงาะปา ขึ้น เม่ือทรงจบตอนใดก็โปรดใหเจาจอมสดับเชิญพระราชนพิ นธตอนนนั้ มาใหทา นพระยาเส นาะฯ บรรจุเพลงรอ งและเพลงหนาพาทย แลว ฝกสอนวงมโหรีฝายในขับรอ งและบรรเลงปพ าทยถวายใหท รงฟง แตล ะตอน เพ่ือทรงพระราชวจิ ารณแกไ ข เปน อยา งนจ้ี นทรงพระราชนพิ นธจ บเรอื่ ง พระยาเสนาะฯ รบั ราชการสนองพระยคุ ลบาทใกลชดิ ตลอดรัชกาล ไดรบั พระมหากรุณา พระราชทานรางวลั เปน พเิ ศษหลายครั้ง อาทิ ดุมเสีอ้ พระปรมาภิไธยยอ จปร. นาฬิกา จปร. ในรชั กาลพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา เจา อยูหัว พระยาเสนาะฯ ไดร บั มอบหมายใหค วบคมุ วงพิณพาทยของ เจาพระยาธรรมาธกิ รณาธบิ ดี (ม.ร.ว.ปมุ มาลากุล) เสนาบดีกระทรวงวัง ซง่ึ มีนกั ดนตรสี ว นใหญเปน ทหารรักษาวงั วงพิณพาทยนี้นบั ไดวา รวบรวมผูม ฝี มอื ซ่งึ ตอ มาไดเปน ครูผหู ลักผูใ หญ เปน ที่รจู ักนับถอื โดยท่ัวไปในวงการ ดุรยิ างคศิลป เชน ครูเทียบ คงลายทอง ครพู รง้ิ ดนตรีรส ครสู อน วงฆอ ง ครูมิ ทรัพยเย็น ครแู สวง โสภา ครูผวิ ใบไม ครทู รัพย นุตสถิตย ครูอรุณ กอนกุล ครูเชอื้ นกั รอ ง และครูทองสุข คาํ ศิริ (ภายหลังเปลย่ี นชื่อเปน คงศกั ดิ์ คาํ ศริ ิ) เปนตน ในราวปลายรัชกาลท่ี ๖ พระยาเสนาะ ฯ ไดร บั พระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ ใหฝ กสอนควบคมุ วงมโหรี หญงิ ซึ่งมนี างพระกาํ นัลเปน นกั ดนตรี ครนั้ เม่ือพระนางเจา สวุ ทั นา พระวรราชเทวี ใกลจ ะครบกาํ หนดมีพระประสูติ กาล พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยหู ัว ทรงพระราชนพิ นธเนอ้ื รองเพลงปลาทองเตรยี มไวสมโภชพระราชทาน สมเด็จพระเจา ลกู เธอ จงึ โปรดใหพระยาเสนาะ ฝกมโหรีหญิงวงนี้ไวบ รรเลงถวายเมื่อมีพระประสูติกาล ในรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจา อยูหัว พระยาเสนาะ ฯ ยงั ไดสนองพระกรุณาธิคณุ ฝก ซอมมโหรหี ญิงที่ ตําหนกั พระวมิ าดาเธอ กรมพระสุทธาสินีนาฎ ในวังสุนันทาลัย และบรรเลงถวายทกุ คืนวันพธุ ตราบจนเสด็จ พระราชดาํ เนินสูประเทศองั กฤษ นอกจากนี้พระยาเสนาะ ฯ ยังไดร บั เชิญเปน ครูของบานปพ าทยสําคญั ๒ ตระกูล คือตระกลู ดุรยิ พนั ธุแ ละ ตระกลู ดุรยิ ประณีต มาเปนเวลาชานาน ทานจึงไดนํานายหนวงและนายเหน่ียว ดุรยิ พันธุ สองพน่ี องซง่ึ เปน ศิษยฝมอื เยีย่ มเขารบั ราชการ ในวงปพ าทยหลวงในรชั กาลที่ ๗ อีกดว ย ๒๓

ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช เม่ือกรมศิลปากรบันทกึ โนตเพลงไทยในป พ.ศ. ๒๔๗๙ ก็ไดเ ชิญพระยาเสนาะฯ เปน ผบู อกเพลงและทา นไดเ ปนกรรมการของราชบัณฑติ ยสถานอยจู นตลอดชีวิต พระยาเสนาะฯ เปนนกั ดนตรที ี่มฝี มือเปนเลศิ ถงึ ที่สดุ ทง้ั ทางเครอ่ื งและทางขับรอง โดยจะสงั เกตไดจ ากบรรดา ศิษยท ั้งหลายของทาน ซง่ึ ในระยะตอมาไดก ลายเปน เอตทัคคะในแตล ะแขนงของดรุ ยิ างคศาสตร จนเปนท่ียอมรบั นับถอื กันโดยท่ัวไป ท้ังนเ้ี ปน ผลมาจากฉันทะวิรยิ ะของทานพระยาเสนาะฯ ท่ีไดพ รํา่ สอนอบรมดวยความละเมียด ละไม รวมทง้ั เต็มเปย มในความรแู จงเห็นจริงโดยแท อนึง่ อจั ฉริยภาพสวนตวั ของพระยาเสนาะ ฯ กม็ ีหลายประการ ครมู ิ ทรัพยเ ย็น ศิษยใกลชิดผหู นึ่งของทา นเลา ใหผ ูเขียนฟงวา พระยาเสนาะ ฯ มีโสตประสาทแมนยาํ ยิง่ นัก แม ไดยนิ เสียงเคาะระนาดเพยี งคร้ังเดียว ทานกส็ ามารถบอกไดถกู ตอ งวาเปนลูกทเ่ี ทาไร เพลงการทงั้ หลายน้นั ทา นไดย ิน เพียงครง้ั เดยี วกจ็ าํ ไดไ มขาดตกบกพรอง ครสู อน วงฆอง เลาวา เมื่อเด็ก ทา นเลนปลากัดอยูใตถุนเรอื น ในขณะที่ นักดนตรีอื่น ๆ กาํ ลงั เรยี นดนตรกี บั ครูชอย สนุ ทรวาทนิ ผบู ดิ าอยบู นบาน ทา นกลบั จําเพลงท่พี อกําลังตอ ใหแกน กั ดนตรีเหลาน้นั ไดกอ นเสียอีก จริยาวตั รของพระยาเสนาะ ฯ กเ็ ต็มไปดวยความเมตตากรณุ าโอบออมอารยี ง่ิ นัก ครู สอนเลาวา ทา นมกั จะกลา วแกศ ิษยเปนเนอื ง ๆ วา ยามขัดสนไมจําเปนตองลาํ บากไปงานปลกี ใหม าเอาสตางคท่ี ทา นไดเสมอ นอกจากความสามารถในทางปพ าทยแ ลว ครมู ิ ทรพั ยเ ยน็ เคยพูดถงึ วา ครัง้ หนึ่งมีการบรรเลงซอ มเปน การ ลาํ ลองในหมูพนักงานดนตรขี องหลวงแหงหนง่ึ ทานพระยาเสนาะ ฯ ผา นมาพอดีนึกสนกุ จงึ นงั่ ลงดีดจะเขดว ยนว้ิ เปลามไิ ดใ ชไ มดีดกระแสเสยี งนั้นกังวานและไหวจดั จนคนระนาดวางไมก ม ลงกราบดวยความเส่อื มใส พระยาเสนาะ ฯ เกดิ มาเพือ่ ดนตรี อยกู บั ดนตรี และส้นิ ชีวิตลงดว ยความรักใครห วงใยในดนตรีย่งิ นกั ครู สอน วงฆอ ง เลาวา เมือ่ ทา นปวยดวยโรคมะเร็ง กอนจะส้ินลมยังเรยี กครสู อนเขาไปหาและพยายามรองทํานองเชิด ฝรงั่ เพอ่ื ใหครูสอนจดจาํ ไวใหไ ด จนกระทง่ั ถงึ แกอนจิ กรรมเมือ่ วนั ที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๒ ณ บา นเลขท่ี ๑๕๖๑ หนา โรงเรียนบานสมเด็จเจา พระยา จังหวดั ธนบรุ ี สิรอิ ายไุ ด ๘๓ ป เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ พ.ศ. ๒๔๕๐ – เหรยี ญดุษฎมี าลา เขม็ ศิลปวทิ ยา (ร.ด.ม.(ศ)) ๒๔

การประพันธ บทเพลง ๒๕

\" ผลงาน \" ผลงานโดดเดนของพระยาเสนาะดรุ ิยางค (แชม สนุ ทรวาทนิ ) คือ ปรับปรงุ การขบั รองเพลงไทยใหล ะเมยี ด ละไม ไพเราะมากขน้ึ นอกจากนย้ี ังไดพัฒนาทางขับเสภาใหมีลีลาช้นั เชงิ ทแ่ี ยบยล แสดงอารมณและความรสู ึก และ สะทอนถึงความประณีตในการขับเสภา อกี ทัง้ มวี ิธีการและระเบยี บปฏบิ ัตใิ นการขบั เสภาทชี่ ดั เจนลงตัว รูปแบบการ ขับเสภาของพระยาเสนาะดรุ ิยางค (แชม สุนทรวาทนิ ) พบวา ทํานองเกร่นิ เสภา ที่เปนทาํ นองเอ้ือนสําหรบั การขึน้ ตน มี ๔ แบบคอื เกร่ินอยางยาว ๒ แบบ เกร่ินอยางกลาง ๑ แบบ เกร่นิ อยางสนั้ ๑ แบบ สว นทํานองหลักทใ่ี ชใ นการ ขับเสภาทัง้ หมดมี ๗ ทํานองคือ ทาํ นองยนื ทาํ นองเปล่ยี น ทํานองครวญตน บท ทาํ นองหวน ทํานองยอด ทํานอง ผนั และทาํ นองครวญทายบท สาํ หรบั หลกั การขบั เสภาทางพระยาเสนาะดรุ ยิ างค (แชม สุนทรวาทิน) พบวา หลัก การขับเสภาทด่ี ีควรมีองคป ระกอบดังตอไปน้ี คือ เสยี ง คําขบั การเอือ้ น จงั หวะ การหายใจ การสรางอารมณ และ ความประณีต ซึ่งองคป ระกอบในการขับเสภาทุกองคป ระกอบดังกลาวนี้ ผสู นใจเรยี นขับเสภาตอ งหมน่ั ศกึ ษา และ ฝก ฝนตอเนอ่ื งจนเกดิ ความชาํ นาญในที่สดุ คีตนพิ นธผ ลงานของพระยาเสนาะดรุ ิยางค( แชม สนุ ทรวาทนิ ) มีเหลอื อยู ๒ เพลงคอื เพลงตับมอญกละ ขบั รองและบรรเลงดวยวงมโหรี คณุ หญิงเรอื น สนุ ทรวาทิน ภรยิ า พระยาเสนาะดุรยิ างค(แชม สนุ ทรวาทิน )เปนคนไทยเชอ่ื สายมอญ ภาษา มอญจึงเปน ภาษาซ่งึ คนในตระกูลสนุ ทรวาทินจะเขาใจกันดใี นรัชสมัยรัชกาลท่ี ๕ คนในกรงุ เทพฯ หรอื จงั หวดั ใกล เคยี งเชน นนทบุรี ปทมุ ธานี ตลอดจนสมทุ รปราการ สมทุ รสาคร สมุทรสงคราม ไปจนถงึ สพุ รรณบุรี และ กาญจนบรุ ี มีคนพดู ภาษามอญกนั มาก แตก็จะคอ ยซาลงไป ตามเวลา สําหรบั ในครอบครัวสนุ ทรวาทนิ กเ็ ชน กนั ใน เวลาที่ อาจารยเ จริญใจ เกิดเปน ตอนท่กี ารพูดภาษามอญในบา นเรม่ิ นอยลง อาจารยซ ึ่งเปนธดิ าคนสุดทองจึงพดู ภาษามอญไมเ ปนเฉกเชนท่ีพี่นอ งคนอน่ื ๆ ในวาระครบรอบวันแตง งานของ เจาคณุ เสนาะฯ และ คุณหญงิ เรอื น เจาคณุ เสนาะฯ ไดมอบของขวญั พิเศษ ในโอกาสนี้คอื “เพลงตบั มอญกละ” อนั เปน การนําเพลงจํานวน ๖ เพลงมาเรียงรอ ยเขา ดวยกนั โดยมเี นื้อรองเปน ภาษาไทยและมอญรองสลบั กนั ไปมาหากพจิ ารณาเปน พเิ ศษ เน้ือรอ งจะเปนทํานองเก้ียวพาราสีและอยใู นอารมณรกั ๒๖

แมจ ะไมท ราบความหมายโดยรวมของเพลงน้ี แตใ นเพลงท่ี ๓ ท่ีคํารอ งของฝายชาย เปนภาษาไทย จะเรียบ เรียงคลา ยสรอยท่บี ง บอกอารมณข องความรัก นบั เปนอารมณอ นั “โรแมนติค” ที่เจา คุณเสนาะฯไดแ สดงออกมาใน เพลง และแสดงความเปน “เขยมอญ” ออกมาอยา งชดั เจน “รกั เจาชอ พุมมะเรยี งเอย หอมแตเ พียง บพ ศิ หอม ดอกอนื่ ไมช่นื จิต เหมือนดอกสลิดของเรียมเอย (ซา้ํ )” อนั มีความหมายวา“หอมกลิน่ กายของคุณหญงิ เรือนต้งั แตย ังไมเห็นตัวเลย”ซ่งึ นอกจากความหมายในภาษาแลว ยงั เปนความสามารถในเชงิ กวนี พิ นธอีกดว ย เพลงที่ ๑. - หวา อ๊วั ชาน นายระ โกเหลา เลบาย โกเหลา เลบาย เอาวา ฮยุ เร ยอเร เก็ตมันแนมฮา - กาเหลมองมอง มาตเุ ฉ มาตุจอง นองขา น่ีเอย ตะละกิงโกนจาบาโหละ ตะละ กงิ โกนจาบาโหละ โกนจามาตุโฉ มาละแด - หวากวานเหนาะ อวั หุเกต โกเหลา เลบาย โกเหลา เลบาย เอาวาตอนอาปากเกรด็ เหยยี ะเกตโปรยปรอน - วานหวา น กรางกราง มวั ขวัดอา บาขวัดเกริง่ นานผะแหละ กอ ตแตม เกรา ะจอดแพวะแหนะ ปาเหวิด เกรา ะ จอดแพวะแหนะ ปาหวดิ เกราะจอด กอตผะโตน เหนาะโปรน ผะโตนจอด เพลงท่ี ๒ - ตะละมะชาํ ชา หยา โลเละ ซวยมะซวยมอง กระจองเลา ยา กระจองเลา ยา (ซ้าํ ) ฉนั ไดย าปด หยาเลเล ( เลเ ลเลเหล เหลเ ล เลเ หล ) หยัดกําฮา (ซาํ้ ) ยามองเคว เยาลา ยามมองเคว เอย หยามองเคว (ซ้ํา) เพลงที่ ๓ -ใครจะปู ใครจ ะปด ใครจะพัด ใหนองนอน (ซํ้า) กรา วอํ้า เดิงมอญ เหยียะโกย เกรอะโกลน หะเจียมิ - รกั เจา ชอ พุมมะเรียงเอย หอมแตเพยี ง บพ ิศ หอมดอกอนื่ ไมชืน่ จติ เหมอื นดอกสลิด ของเรียมเอย (ซาํ้ ) เพลงท่ี ๔ - เออ เอย เม๊ิงเลงิ กระเซงิ สาลี แซละลีมองซัว มะยหี่ วนั กะมันยีป่ อ เมงิ เลิง สิ กงจา ย่ีสุน กะลุนยี่กอ ยส่ี ุน กะ ลนุ ยก่ี อ กะลนุ ยีก่ อ เพลงที่ ๕ - เพลินเอย ไมเพลิน พลาวาส มอ่ี นั โกงจา กาละแหนะ กาละซัว กา แดมิ กาซัว รูปรา ง กาเย มะย่ีหวัน กะ มนั ย่ี ปอ เปน ปอ หระเย กังขา หระเย มิอา เกาลา มแิ ด เพลงที่ ๖ - เจน่ิ จา มเอย เจิน่ จา มวา (ซํา้ ) ซวั ยาเลด็ ซัวยาเล็ด หยาพลุ กวา พลุขะมวั เหยิดซะยา ตอโก สวยเลิน เลน้ิ แหม ๒๗

๒๘

๒๙

๓๐

๓๑

เพลงตบั มอญกละ ๓๒

เพลงเซนเหลา ขับรอ งและบรรเลงดวยวงปพ าทยไ มแ ขง็ เพลงเซน เหลาน้ี เปน เพลงหนาพาทย ใชบรรเลงประกอบพธิ ไี หวครูละคร และชางศลิ ปกรรม ในการเซน สรวง บชู าเทพยาดา และ บรู พาจารย ท่ีลว งลับไปแลว เพลงเซนเหลานใ้ี ชบ รรเลงในความหมาย ท่เี ปน เครื่องเซนสงั เวย ประเภทน้ําคือสรุ า นํ้า ฯลฯ เพลงน้ีใชประกอบการแสดงโขน ละคร ในความหมายเก่ียวกบั การเซน สังเวย และยงั เปนเพลงทใ่ี ช บรรเลงประกอบในเทศนมหาชาติ ตอนกัณฐช ชู ก ในการบรรจุเพลงลงในบทพระราชนิพนธ เรื่องเงาะปาซ่ึง พระบาทสมเด็จ พระจลุ จอมเกลาเจา อยหู วั ไดทรง ราชนิพนธข้ึนโดยพยายามใหค ง “กลิน่ อาย” ของเงาะไวใหไดมากที่สดุ ดังนน้ั จึงมีการนาํ ภาษาเงาะ มาแทรกไวเปน ระยะในอันทจ่ี ะทาํ ใหเ กิดบรรยากาศในฉากน้ันชัดเจนที่สดุ ตอนหนง่ึ ทก่ี ลาวถึงไมไ ผแ ละคนังออกไปจบั สัตวม าปง กนิ กนั แลว ก็เกิดสนุกสนาน อาการในตอนนี้ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวใชภาษาเงาะในการพรรณนา โดยตลอด พระยาเสนาะดรุ ิยางค บรรจุเพลงเซน เหลาลงในตอนน้ี กับท้ังประดิษฐท างรองของเพลงนี้ ใหใชไดก บั บทพระราช นพิ นธ เปน ที่นา อศั จรรยท ี่ทางรอ งนเ้ี ขากบั เนือ้ รองอยา งลงตัว จนเมื่อมีการซอ มตอหนาพระพักตร ยังความพอพระ ราชหฤทยั จนถงึ กับพระราชทานนาฬิกาพกตรา จ.ป.ร. ในทันทที ก่ี ารซอมเพลงน้ียุติลง ๓๓

๓๔

เพลงเซนเหลา ๓๕

บรรณานกุ รม ถาวร สิกขโกศล. (วันจันทรที่ ๒๖ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๔). ประวัต.ิ [ออนไลน] เขา ถงึ ไดจาก : https://www.silpa-mag.com/culture/article_66355 (สบื คน วนั พฤหัสบดีที่ ๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๔) ไมม.ี (วันองั คารท่ี ๒๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๖๔). ศึกประชนั ป. [ออนไลน] เขาถงึ ไดจ าก : https://www.silpa-mag.com/culture/article_66386 (สบื คนวนั พฤหัสบดที ่ี ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔) พชิ ิต ชัยเสรี. (ไมมี). หนา ทกี่ ารทํางาน. [ออนไลน] เขาถงึ ไดจ าก : https://sirindhornmusiclibrary.li.mahidol.ac.th/hall_of_fame/thai- musicians206/ (สืบคนวนั พฤหัสบดีที่ ๙ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๔) วิรชั สงเคราะหแ ละสมเกยี รติ วฒั นาพงษากลุ . (วนั ท่ี ๒๗ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๘). บทประพันธเพลง. [ออนไลน] เขาถึงไดจ าก : https://so02.tci-thaijo.org/index.php/faa/article/view/37858 (สบื คนวันพฤหัสบดที ี่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔) TK Park อทุ ยานการเรยี นร.ู (ไมม )ี . บทประพันธเ พลง. [ออนไลน] เขา ถงึ ไดจาก : http://110.170.81.29/history_special/1428248308214/1427790264978/palace (สบื คนวันพฤหัสบดีที่ ๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook