Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Mesopotamia (1)

Mesopotamia (1)

Published by Pim Pimmada Jampathai, 2021-07-19 17:21:26

Description: Mesopotamia (1)

Search

Read the Text Version

Mesopotamia



อารยธรรมเมโสโปเตเมยี ผจู้ ดั ทํา นางสาว ปรยิ ากร หอทอง ชนั ม.6/1 เลขที 37 เสนอ ผศ.ดร.อําพร ขุนเนยี ม

อารยธรรมเมโสโปเตเมยี คําวา่ เมโสโปเตเมยี เปนภาษากรกี มาจากคําวา่ Mesos เท่ากับภาษา อังกฤษวา่ Middle และคําวา่ Potamos เท่ากับภาษาอังกฤษวา่ River รวม ความแล้วหมายถึง “ดนิ แดนระหวา่ งแมน่ าํ ” (land between the rivers) ไดแ้ ก่ ทีราบระหวา่ งแมน่ าํ ไทกรสิ (Tigris) ทางตะวนั ออก และแมน่ าํ ยูเฟรติส (Euphrates) ทางตะวนั ตก พนื ทีนตี ังอยูท่ างทิสตะวนั ตกเฉียงใต้ของเอเชยี ใน บรเิ วณทีเชอื มต่อระหวา่ งทวปี เอเชยี ยุโรป และแอปรกิ า โดยเฉพาะทางตะวนั ตก เฉียงเหนอื ซงึ หนั ออกสทู่ ะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี น เปนจุดเชอื มโยงติดต่อกับ อารยธรรมอียปิ ต์โบราณ พนื ทีของแหล่งอารยธรรมทังหมดจะกินอาณาบรเิ วณ จากทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นไปสอู่ ่าวเปอรเ์ ซยี มลี ักษณะเปนรปู เสยี วจงึ เรยี กอีก ชอื หนงึ วา่ “ดนิ แดนพระจนั ทรเ์ สยี วอันอุดมสมบูรณ”์ ครอบคลมุ ดนิ แดนบาง สว่ นในประเทศอิรกั และซเี รยี ในปจจุบนั ถือเปนแหล่งกําเนดิ อารยธรรมเก่าแก่ แหง่ แรก เมอื ราว 3,500 ป ก่อนครสิ ตกาล

ซงึ อารยธรรมเมโสโปเตเมยี ไดพ้ ฒั นาขนึ ถึงขดี สดุ ผา่ นกล่มุ ชนหลายเผา่ พนั ธุท์ ีเขา้ มาครอบครองและผสมผสานความคิดความเชอื ของตนเองกับชนเผา่ ต่างๆ ชวี ติ ของชาวเมโสโปเตเมยี ผกู พนั กับพระและวดั อยา่ งมาก ชาวสเุ มเรยี น ซงึ เปนชนกล่มุ แรกๆ ทีเขา้ มาครอบครองดนิ แดนเมโสโปเตเมยี มลี ักษณะความ เชอื ในเทพเจา้ และโลกหลังความตายเปนหลัก และมกี ารนบั ถือเทพเจา้ หลาย องค์ ซงึ เทพเจา้ แต่ละองค์ก็มบี ทบาทสาํ คัญต่อการดาํ รงชวี ติ ใหค้ ณุ และโทษแก่ ตนเอง เชน่ อูโต เทพแหง่ ดวงอาทิตย์ อินนั นา เทพแหง่ ความอุดมสมบูรณแ์ ละ ความรกั อินลิล เทพแหง่ สายฟา หรอื ดนิ ฟา อากาศ เปนต้น นอกจากการ นบั ถือเทพเจา้ แล้วแล้ว ชาวสเุ มเรยี นยงั เชอื ในไสยศาสตร์ นบั ถือโชคลางและ ปรากฏการณธ์ รรมชาติอีกดว้ ย ผมู้ บี ทบาทสาํ คัญในการสอื สารระหวา่ งชุมชน กับเทพเจา้ คือ พระ โดยผา่ นการทําพธิ กี รรม เชน่ การจดั หารอาหาร และทีสาํ คัญ อีกประการหนงึ ก็คือ การสรา้ งทีพาํ นกั ใหแ้ ก่เทพเจา้ และมเี ทพเจา้ หลายองค์ที กลายเปนเทพเจา้ ประจาํ รฐั แต่ในขณะเดยี วกันก็ยอมรบั นบั ถือเทพเจา้ องค์อืนๆ ดว้ ย

ลักษณะทางภมู ศิ าสตรข์ อง อารยธรรมเมโสโปเตมยี จากลักษณะทางภมู ศิ าสตรข์ องเมโสโปเตเมยี เปนทีราบล่มุ แมน่ าํ มกี าร ทับถมของดนิ ตะกอนตามชายฝงแมน่ าํ ทังสอง ทําใหบ้ รเิ วณแถบนอี ุดม สมบูรณแ์ ละมสี ภาพเหมาะสมแก่การเพาะปลกู แมว้ า่ สภาพอากาศในดนิ แดน แถบนจี ะแปรปรวนไมจ่ นสามารถคาดเดาไดก้ ็ตาม เกิดความแหง้ แล้งลํานาํ ท่วม เปนประจาํ อันเปนเหตใุ หก้ ารควบคมุ นาํ หรอื การชลประทานสาํ คัญจาํ เปนต่อการ ทํากสกิ รรมของผคู้ นแถบนี นอกจากนนั แล้ว ทางบกยงั ติดกับทะเล เมดเิ ตอรเ์ รเนยี น เชอื มต่ออียปิ ต์และอารยธรรมทีกําลังก่อตัวในยุโรปไดท้ าง ตอนใต้ก็ยงั เปดสอู่ ่าวเปอรเ์ ซยี ซงึ เออํานวยต่อการขนสง่ ค้าขายทางทะเลกับ อารยธรรมทีหา่ งไกล เชน่ สนิ ธุ ลักษณะเชน่ นเี อง ทําใหด้ นิ แดนเมโสโปเตเมยี แหง่ นี เปนทีหมายปองของชนกล่มุ ต่างๆ แผนทีอารยธรรมเมโสโปเตมยี

ปจจยั ทีทําใหเ้ กิดอารยธรรม เมโสโปเตเมยี 1. ทีตังทางภมู ศิ าสตรส์ ภาพแวดล้อมทางภมู ศิ าสตร์ เปนปจจยั สาํ คัญโดยตรงปจจยั หนงึ ทีก่อใหเ้ กิดการสรา้ งสรรค์อารยธรรมของ มนษุ ยซ์ งึ อารยธรรมเมโสโปเตเมยี เปนอู่อารยธรรมทีเก่าแก่ทีสดุ แหง่ หนงึ ของโลกสมยั โบราณโดยตังอยูร่ ะหวา่ งแมน่ าํ 2 สายคือแมน่ าํ ไทกรสิ (Tigris) และแมน่ าํ ยูเฟรทิส (Euphrates) ซงึ มตี ้นนาํ อยูใ่ นอารม์ เี นยี และเอเชยี ไมเนอรม์ าบรรจบกันเปนแมน่ าํ ชตั ต์อัล อาหรบั แล้วไหลลงสทู่ ะเลทีอ่าวเปอรเ์ ซยี บรเิ วณทีราบล่มุ แมน่ าํ ไทกรสิ และยูเฟรทิสตอนล่าง เรยี กวา่ บาบโิ ลเนยี (Babylonia) เปนเขตซงึ อยูต่ ิดกับอ่าวเปอรเ์ ซยี มชี อื เรยี กในสมยั หนงึ วา่ ซนี า (Shina) เกิดจากการทับถมของดนิ ทีแมน่ าํ พดั พามากล่าวคือในฤดรู อ้ นหมิ ะบนภเู ขา ในอารม์ เี นยี ละลายไหลบา่ ลงมาทางใต้พดั พาเอาโคลนตมมาทับถมไวย้ งั บรเิ วณปากนาํ ทําให้ พนื ดนิ ตรงปากแมน่ าํ งอกออกทกุ ปอาณาบรเิ วณทีเรยี กวา่ เมโสโปเตเมยี มที ิศเหนอื จรด ทะเลดาํ และทะเลแคสเปยนทิศตะวนั ตกเฉียงใต้จรดคาบสมุทรอาหรบั ซงึ ล้อมรอบดว้ ย ทะเลแดงและมหาสมุทรอินเดยี ทิศตะวนั ตกจรดทีราบซเี รยี และปาเลสไตนส์ ว่ นทิศตะวนั ออกจรดทีราบสงู อิหรา่ นเมโสโปเตเมยี แบง่ ออกเปนสองสว่ นสว่ นล่างใกล้กับอ่าวเปอรเ์ ซยี แหง้ แล้งเรยี กวา่ บาบโิ ลเนยี สว่ นบนซงึ ค่อนอุดมสมบูรณเ์ รยี กวา่ อัสซเี รยี (Assyria) บรเิ วณทังหมดมชี นชาติหลายเผา่ พนั ธุอ์ าศัยอยูม่ กี ารรบพุง่ กันอยูเ่ สมอเมอื ชาติใดมอี ํานาจ ก็เขา้ ไปยดึ ครองและกลายเปนชนชาติเดยี วกันซงึ ปจจยั ดงั กล่าวทําใหช้ นชาติต่างๆทีผลัด เปลียนกันเขา้ มามอี ํานาจสรา้ งสมอารยธรรมใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื งต่อเนอื งสบื ต่อมาถึงปจจุบนั แมน่ าํ ยูเฟรทิส

2. ความเจรญิ ทางเทคโนโลยเี ทคโนโลยี เปนปจจยั สาํ คัญทีก่อใหเ้ กิดอารยธรรมของมนษุ ยก์ ล่าวคือในยุคก่อน ประวตั ิศาสตรเ์ ทคโนโลยขี องมนษุ ยย์ งั คงเปนแบบง่ายๆ แต่ภายหลังเมอื มกี าร พฒั นาเทคโนโลยใี หม่ ๆ ขนึ ซงึ เทคโนโลยแี บบใหมน่ มี กั เกิดขนึ จากการทีมนษุ ย์ พยายามทีจะเอาชนะธรรมชาติเพอื สามารถทีจะดาํ รงชวี ติ อยูไ่ ดอ้ ยา่ งสมบูรณด์ งั นนั มนษุ ยจ์ งึ พยายามขวนขวายหาวธิ ที ีจะอยูร่ ว่ มกับธรรมชาติหรอื บางแหง่ ต้องหาวธิ เี อาชนะธรรมชาติในทกุ ดา้ นความพยายามทังสองประการนกี ่อใหเ้ กิด การแสวงหาความรเู้ กียวกับธรรมชาติเชน่ เทคโนโลยใี นดา้ นเกษตรซงึ ในบาง ท้องทีเกิดนาํ ท่วมเกิดความแหง้ แล้งก็ต้องมกี ารพฒั นาระบบชลประทานเพอื ประโยชนใ์ นการเกษตรและการประมงทําใหช้ าวสเุ มเรยี นต้องคิดค้นการ ชลประทานการระบายนาํ ไปยงั พนื ทีเพาะปลกู ในเวลาไมช่ า้ ชาวนาก็เรมิ ขุดคคู ลอง สง่ นาํ ขนาดเล็กต่อจากแมน่ าํ เพอื ระบายไปยงั ไรน่ าของพวกเขาทังยงั มกี าร ประดษิ ฐค์ ันไถทําดว้ ยโลหะสาํ รดิ ซงึ เกิดจากการนาํ แรด่ บี ุกผสมกับทองแดง ทําใหค้ ันนาแขง็ แกรง่ นาํ ววั ค่มู าเทียมคันไถนบั วา่ มคี วามสาํ คัญและเปนครงั แรก ทีมกี ารนาํ แรงงานสตั วม์ าใชท้ ่นุ แรงมนษุ ยเ์ ปนต้น

3. การเจรญิ เติบโตของสงั คมและการเปลียนแปลงทางวฒั นธรรม มนษุ ยเ์ มอื มกี ารรวมตัวเปนชุมชนโดยการรวมตัวขนั แรกอาจเปนเพยี ง หมูบ่ า้ นหรอื เมอื งขนาดเล็กภายหลังจงึ ขยายเปนชุมชนขนาดใหญซ่ งึ การรวมตัว กันของมนษุ ยน์ นั นอกจากเพอื ใหม้ นษุ ยส์ ามารถดาํ รงชวี ติ อยูไ่ ดแ้ ล้วยงั ทําให้ มนษุ ยส์ ามารถประดษิ ฐส์ งิ ต่างๆขนึ ไดอ้ ีกดว้ ยซงึ อารยธรรมเมโสโปเตเมยี ก็เชน่ เดยี วกันผลจากการการขยายพนื ทีการเพาะปลกู และการขุดคคู ลองสง่ นาํ เพมิ ขนึ ดว้ ยก่อใหเ้ กิดการเพมิ ของผลผลิตทางเกษตรกรรมจาํ นวนประชากรการ ขยายตัวของชุมชนและการสรา้ งสงั คมเมอื ง (Urban Society) อยา่ งต่อเนอื ง ทําใหต้ ่อมามกี ารจดั ตังเปนนครรฐั จาํ นวน 12 นครรฐั นอกกําแพงเมอื งเปนที ตังของไรน่ าซงึ เปนแหล่งอาหารของชาวเมอื งทีดนิ สว่ นใหญเ่ ปนของกษัตรยิ ์ นกั บวชและชาวเมอื งทีมงั คังมชี นชนั แรงงานหรอื ชาวนาเปนแรงงานเพาะปลกู ดงั นนั จงึ ต้องมกี ารบรหิ ารจดั การทีดนิ เกิดขนึ การรวมตัวกันของมนษุ ยย์ งั ก่อให้ เกิดความสมั พนั ธท์ างสงั คม กล่าวคือชว่ ยทําใหม้ นษุ ยเ์ กิดความรบั ผดิ ชอบรว่ มกันในดา้ น สาธารณประโยชนเ์ ชน่ การชว่ ยกันดแู ลระบบชลประทานการชว่ ยปองกันตนเอง ก่อใหเ้ กิดการแบง่ แยกแรงงานและเกิดกล่มุ อาชพี เฉพาะขนึ ในสงั คม ทีอยูอ่ าศัยทีสรา้ งจากโคลนและต้นอ้อ ในเมโสโปเตเมยี รปู แบบนใี ชม้ าอยา่ งนอ้ ย 5,000 ป และปจจุบนั ก็ยงั ใชก้ ันอยู่

4. ความเชอื และศาสนาศาสนา ความเชอื เปนสงิ ทีสนองความต้องการทีมนษุ ยจ์ ะขาดเสยี มไี ดเ้ ชน่ เดยี ว กับสงั คมขอะพวกสเุ มเรยี นภัยจากธรรมชาติเปนสงิ ทีควบคมุ ไมไ่ ดเ้ ชน่ ภาวะนาํ ท่วมแมจ้ ะสรา้ งเขอื น แต่ก็ไมส่ ามารถปองกันชวี ติ ของผคู้ นนบั พนั ไดร้ วมทังการ ไรป้ ราการธรรมชาติทีจะขวางกันศัตรไู ดส้ รา้ งความรสู้ กึ สนิ หวงั ใหพ้ วกเขาและ ยอมตกอยูใ่ นอํานาจลีลับของพระเจา้ พวกสเุ มเรยี นมองวา่ มนษุ ยเ์ กิดมาเพอื รบั ใชพ้ ระเจา้ เท่านนั ดงั นนั พวกเขาจงึ ท่มุ เทใหก้ ับการสรา้ งสถาปตยกรรมขนาด ใหญเ่ รยี กวา่ ชกิ กแรตเพอื เปนเทวสถานในการบูชาพระเจา้ และเกิตงานศิลปะที เกียวกับเทพเจา้ ทีนบั ถือเพอื เปนการบูชาและแสดงความเคารพในสง่ิ ทีมนษุ ย์ จติ นาการขนึ โดยแสดงวามรสู้ กึ นกึ คิดของตนออกมาในลักษณะรปู ธรรมต่างๆ เชน่ ศิลปกรรมสถาปตยกรรมวรรณคดแี ละดนตรนี อกจากนยี งั เปนเครอื งยดึ เหนยี วจติ ใจของมนษุ ยใ์ หห้ ลดุ พน้ จากความกลัว

5. การปกครอง เมอื ประมาณ 4,000 ปก่อนครสิ ต์ศักราชชาวสเุ มเรยี นไดอ้ พยพเขา้ มา ตังถินฐานในบรเิ วณดนิ ดอนสามเหลียม (Delta) ปากแมน่ าํ ไทกรสี -ยูเฟรตีส ซงึ เรยี กกันในเวลาต่อมาวา่ ดนิ แดนซูเมอร์ ในระยะแรกชุมชนชาวสเุ มเรยี นเปน หมูบ่ า้ นยุคหนิ ใหม่ หมูบ่ า้ นเหล่านไี ดข้ ยายตัวขนึ เปนชุมชน และในเวลาต่อมา ชุมชนแต่ละแหง่ ไดพ้ ฒั นาขนึ เปนเมอื ง ทีสาํ คัญไดแ้ ก่เมอื งเออร(์ Ur) เมอื งอิเรค (Ereck) เมอื งอิรดิ ู (Eridu) เมอื งลากาซ (Lagash) และเมอื งนปิ เปอร์ (Nippur) แต่ละเมอื งมชี ุมชนเล็กๆ ทีรายรอบอยูเ่ ปนบรวิ าร ทําใหม้ ลี ักษณะเปนรฐั ขนาด เล็กทีเรยี กวา่ นครรฐั (City State) นครรฐั เหล่านตี ่างปกครองเปนอิสระแก่กัน ในระยะแรกพระจะเปนผดู้ แู ลกิจการต่างๆ ในนครรฐั ไมว่ า่ จะเปนการเก็บภาษี อาหาร ตลอดจนควบคมุ ดแู ลเกียวกับการชลประทานและการทําไรน่ า ต่อมาเมอื เกิดการรบกันระหวา่ งนครรฐั อํานาจการปกครองจงึ เปลียนมาอยูท่ ีนกั รบหรอื กษัตรยิ ์ ซงึ เปนผเู้ ขม้ แขง็ สามารถปกปองนครรฐั ได้ โดยจะทําหนา้ ทีควบคมุ ดแู ลกิจการต่าง ๆ แทนพระ สดุ ท้ายแล้วชาวสเุ มเรยี นในสมยั ของลกู าร์ ซกั กิซซี (Lugal Ziggissi) ก็ ถกู ซารก์ อนมหาราช ผนู้ าํ ชาวอัคคาเดยี นรกุ รานจนต้องล่มสลายไป

6. กฎหมาย ชาวสเุ มเรยี นสรา้ งระบบกฎหมายควบคมุ ประชาชน และในชว่ งกลางชว่ ง ๓๐๐๐ ปก่อนครสิ ตกาล กษัตรยิ ข์ องสเุ มเรยี น พระนามวา่ ดนั จิ ไดเ้ ตรยี มเรอื ง กฎหมายเปนครงั แรก กฎหมายนี ต่อมากษัตรยิ ช์ าว บาบโิ ลเนยี น คือ พระเจา้ ฮัมมูราบไี ดน้ าํ มาใช้ ซงึ กลายเปนพนื ฐานของสงั คม บาบโิ ลเรยี น อัสสเิ รยี น คาล เดยี นและเฮบรวิ กฎหมายสเุ มเรยี นยอมใหม้ กี ารแก้แค้น จาํ แนกความผดิ ระหวา่ งอาชกร รมทีมเี จตนาและอาชญากรรม ทีไมเ่ จตนา ยอมรบั ในบทบาทของบุคคลและ ยอมใหม้ กี ารปฏิบตั ิต่อคน ทีอยูใ่ นชนชนั ทีแตกต่างกัน สงิ เหล่านปี รากฎอยูใ่ น กฎหมายฮัมมูราบี พระเจา้ ฮัมมูราบปี กครองในศตวรรษที ๒๐ ก่อนครสิ ตกาล สงิ ที พระองค์ไดเ้ ผยแพรด่ ว้ ยความยงิ ใหญ่ แก่ประวตั ิศาสตร์ คือ กฎหมาย ซงึ ได้ จารกึ ลงในเสาคอลัมนส์ งู ๘ ฟุต ดว้ ยอักษร คนู ฟิ อรม์ คอลัมนก์ ฎหมายนี ตัง อยูใ่ นวหิ ารเมอื งมารด์ กุ ทีบาบโิ ลเนยี ทีสว่ นยอดของจารกึ เปนภาพสลักนนู ตํา แสดงภาพวา่ พระเจา้ ฮัมมูราบี ไดร้ บั กฎหมายนจี ากเทพเจา้ โดยยดึ หลักปจจุบนั ทีเรยี กวา่ \" ตาต่อตา ฟนต่อฟน \"

พระเจา้ ฮัมมูราบไี มไ่ ดส้ รา้ งสรรค์กฎหมายขนึ มาเอง พระองค์ดจู ากกฎหมาย ธรรมเนยี ม ประเพณที ีมมี าก่อน และนาํ มาจดั ระบบเสยี ใหม่ ในขณะทีกระทําสงิ นี พระองค์ไดร้ บั แรงบนั ดาลใจ และไดร้ บั แนวทางจากกฎหมาย ทีไดเ้ ตรยี มมาก่อน แล้วจากกษัตรยิ ส์ เุ มเรยี นพระนามวา่ ดนั จิ ซงึ ไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปนผู้ พระราชทานกฎหมาย ฉบบั แรกแก่สงั คมมนษุ ยม์ าจนถึงพระเจา้ ฮัมมูราบี มี ลักษณะเดน่ ดงั ต่อไปนี 1.. กฎหมายอยูบ่ นพนื ฐานของหลักการแก้แค้น ตัวอยา่ งเชน่ ถ้าใครถกู ฆา่ ญาติของผตู้ ายมสี ทิ ธเิ รยี กรอ้ งเอาชวี ติ ของผเู้ ปนฆาตรกร ในทํานอง เดยี วกัน ถ้าใครก็ตามทีผอู้ ืนทําใหเ้ สยี เสยี หู ฟนหกั เขาก็อาจไดร้ บั การ เรยี กรอ้ งใหถ้ กู กระทํา เชน่ เดยี วกัน 2. กฎหมายไดม้ กี ารจาํ แนกประเภทอาชญากรรมโดยเจตนาและ อาชญากรรมโดยไมเ่ จตนา ถ้าผใู้ ดทําใหบ้ ุคคลอืน ไดร้ บั บาดเจบ็ โดย อุบตั ิเหตุ และสาบานไดว้ า่ \"ขา้ พเจา้ ทําใหเ้ ขาบาดเจบ็ โดยมไิ ดม้ เี จตนา\" ผู้ นนั จะไดร้ บั การลงโทษนอ้ ยกวา่ การกระทําใหผ้ อู้ ืนบาดเจบ็ โดยเจตนา 3. กฎหมายยอมรบั ในความแตกต่างระหวา่ งชนชนั และมบี ทลงโทษแตก ต่างกัน ระหวา่ ง ความผดิ ทีทาส เสรชี น และขุนทางกระทํา ถ้าทางหรอื ทาส ดนิ ทํารา้ ยเสรชี น ทาสจะถกู ลงโทษ หนกั กวา่ ทีสามญั ชนหรอื ขุนนางกระทํา ในลักษณะเดยี วกัน ในการต่อสกู้ ัน ถ้าเสรชี นเสยี ดวงตา เขามสี ทิ ธทิ ีจะเรยี ก รอ้ งในการทําลาย ดวงตาของอีกฝายหนงึ ถ้าทาสเปนฝายสญู เสยี ดวงตา ในการต่อสกู้ ับเสรชี น เสรชี นเพยี งเสยี ค่าสนิ ไหมทดแทน เพยี ง ๖๐ เชเกล (shekels) หรอื เหรยี ญ ในกรณใี ชเ้ งินสนิ ไหมทดแทน การลงโทษอยา่ ง หนกั จะใชก้ ับคนที สามารถจา่ ยได้ ตัวอยา่ งเชน่ ขุนนางทําความผดิ อาญา ซงึ ถกู ลงโทษโดยยุติธรรมแล้ว เขาจะถกู เรยี กรอ้ งใหจ้ า่ ย มากกวา่ ทาส หรอื ทาสดนิ ในการจา่ ยในกรณปี ระเภทเดยี วกัน แมว้ า่ กฎหมายต่างกันจะนาํ มาใชก้ ับชนฃนั ทีต่างกัน คนรวยกับเสรชี น ใน ทางปฏิบตั ิ ลักษณะทีนา่ สงั เกต ของกฎหมาย คือวา่ แมแ้ ต่ทาสก็ไดร้ บั การ ค้มุ ครองจากกฎหมาย ลักษณะนเี ปนการ ปรบั ปรงุ ทีเหนอื กวา่ ระบบ นติ ิศาสตรใ์ นสมยั เรมิ แรกทังหมด

4. กฎหมาย ไดน้ าํ มาใชเ้ ปนระเบยี บสงั คม ภรรยาทีซอื สตั ยก์ ฎหมายยอมใหห้ ยา่ ขาด จากสามที ีทารณุ โหดรา้ ยได้ และพอ่ แมข่ องฝายหญงิ มสี ทิ ธเิ รยี กรอ้ งค่า เสยี หายได้ ภรรยาทีนอกใจ ไมซ่ อื สตั ยต์ ่อสามจี ะถกู ถ่วงนาํ หญงิ ทีคบชูจ้ ะถกู ลงโทษอยา่ งทารณุ 5. กฎหมายยอมรบั การไต่สวนจากการพสิ จู น์ ผถู้ กู กล่าวหาจะถกู โยนนาํ ในทีนาํ ลึก ถ้าเขาจมก็จะเปนผมู้ ี ความผดิ ถ้าเขาวา่ ยนาํ เขา้ ฝงได้ ก็จะเปนผบุ้ รสิ ทุ ธิ แมว้ า่ กฎหมายของพระเจา้ ฮัมมูราบจี ะอยูบ่ นพนื ฐานของการแก้แค้น สทิ ธพิ เิ ศษทางสงั คม และการไต่สวนโดยการพสิ จู น์ แต่ก็มอี งค์ประกอบทีดี หลายประการ กฎหมายเขยี นเปนภาษาง่าย ๆ ประการนชี ว่ ยใหท้ กุ คนทราบวา่ อาชญากรรมใด จะถกู ลงโทษอยา่ งไร ประเพณใี นสมยั เรมิ แรกทีทารณุ มาก ทีสดุ คือ การถกู ฝงทังเปนจากการขวา้ งปา (dropped) การลงโทษหลายอยา่ ง ยงั คงรกั ษาเอาไว้ ทาสไดร้ บั การพจิ ารณาวา่ ตํากวา่ เสรชี น แต่ไดร้ บั การประกันใน ดา้ นความค้มุ ครอง ภรรยาไดร้ บั การค้มุ ครองถ้าสามที ีโหดรา้ ยทารณุ และ ค้มุ ครองสามจี ากภรรยาทีนอกใจ ขอ้ บกพรอ่ งของกฎหมาย ทีมอี ยูใ่ นสงั คมจาก สว่ นทีเกียวขอ้ งกับพระเจา้ ฮัมมูราบที ีอาจเปนไปได้ คือ ความพอใจในการ ปฏิรปู กฎหมายบางดา้ น มากกวา่ การปฏิวตั ิระบบกฎหมายทังหมดจากมุมมองต่าง ๆ กฎหมาย ฮัมมูราบเี ปนเครอื งหมายทีเดน่ ในอารยธรรมของมนษุ ย์ พระเจา้ ฮัมมูราบี

พฒั นาการอารยธรรม เมโสโปเตเมยี . 1. สมยั อาณาจกั รสเุ มเรยี ชนชาติสเุ มเรยี น (Sumerian) เปนชนชาติแรกทีสรา้ งความเจรญิ ขนึ ในบรเิ วณเมโสโปเตเมยี ซงึ เชอื กัน วา่ ชาวสเุ มเรยี นไดอ้ พยพมาจากทีราบสงู อิหรา่ นและไดม้ าตังถินฐานอยูใ่ น บรเิ วณตอนล่างสดุ ของล่มุ แมน่ าํ ไทกรสิ และยูเฟรทิสตรงสว่ นทีติดกับอ่าว เปอรเ์ ซยี โดยเรยี กบรเิ วณนวี า่ ซูเมอร์ (Sumer) นกั ประวตั ิศาสตรถ์ ือวา่ ซูเมอร์ คือแหล่งกําเนดิ ของนครรฐั (city-state) แหง่ แรกของโลกการตังถินฐานเรมิ แรกของชาวสเุ มเรยี นนนั เปนเพยี งหมูบ่ า้ นกสกิ รรมรจู้ กั เลียงสตั วแ์ ละเพาะปลกู จนเกิดเปน“ การปฏิวตั ิเกษตรกรรม” ดว้ ยสภาพภมู ปิ ระเทศของเมโสโปเตเมยี ไมเ่ อืออํานวยต่อการตังถินฐานคือมปี รมิ าณนาํ ฝนนอ้ ยอากาศรอ้ นจดั สง่ ผลต่อ การทําเกษตรกรรมทําใหช้ าวสเุ มเรยี นต้องคิดค้นการชลประทานและการระบาย นาํ ไปยงั พนื ทีเพาะปลกู ทําใหห้ มูบ่ า้ นไดร้ วมเปนศูนยก์ ลางการปกครองใน ลักษณะของเมอื งทีดนิ สว่ นใหญเ่ ปนของกษัตรยิ น์ กั บวชและซาวเมอื งทีมงั คัง เพอื ใหก้ ารบรหิ ารจดั การทีดนิ มปี ระสทิ ธภิ าพจงึ จาํ เปนต้องมกี ารทําบญั ชที ีเปน ลายลักษณอ์ ักษรเพอื บนั ทึกรายละเอียดต่างๆจงึ ทําใหช้ าวสเุ มเรยี นคิดประดษิ ฐ์ ตัวอักษรขนึ เปนครงั แรกของโลกเรยี กวา่ อักษรคนู ฟิ อรม์ (Cuneiform) หรอื อักษรรปู ลิม

สงั คมของพวกสเุ มเรยี นภัยธรรมชาติเปนสงิ ทีควบคมุ ไมไ่ ดพ้ วกสเุ ม เรยี นมองวา่ มนษุ ยเ์ กิดมาเพอื รบั ใชพ้ ระเจา้ เท่านนั ดงั นนั พวกเขาจงึ ท่มุ เทใหก้ ับ การสรา้ งสถาปตยกรรมขนาดใหญเ่ รยี กวา่ ซกิ กแรตเพอื เปนเทวสถานในการ บูชาพระเจา้ หรอื เทพประจาํ เมอื งวรรณกรรมทีสาํ คัญ ไดแ้ ก่มหากาพยก์ ิลกาเม ชเปนเรอื งราวการผจญภัยของกิลกาเมชประมุขและวรี บุรษุ แหง่ อรกุ ซกิ กแรต มหากาพยก์ ิลกาเมส

มรดกทางวฒั นธรรมทีสาํ คัญของชาวสเุ มเรยี นมหี ลายประการคือการ ประดษิ ฐจ์ านหมุนเพอื ใชใ้ นการปนภาชนะดนิ เผามคี วามสามารถทาง คณติ ศาสตรร์ จู้ กั ระบบเลขฐาน 60 ในการแบง่ เวลาและมุมการคํานวณพนื ที ของวงกลม ต่อมาพวกสเุ มเรยี นถกู ขนเผา่ อีลาไมต์จากดนิ แตนซงึ เปนทีตังของ ประเทศอิหรา่ นในปจจุบนั บุกเขา้ ทําลายเมอื งพวกสเุ มเรยี นก็สญู สนิ อํานาจ อยา่ งถาวร พวกอิลาไมต์

2. สมยั อาณาจกั รบาบโิ ลนเก่า พวกอะมอไรต์หรอื บาบโิ ลนเปนชนเผา่ เซมติ ิกซงึ มถี ินกําเนดิ แถบ ตะวนั ออกกลางไดข้ ยายอิทธพิ ลในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี และสรา้ งอาณาจกั ร บาบโิ ลนทีเจรญิ รงุ่ เรอื งในชว่ งประมาณป 1800-1600 ก่อนครสิ ต์ศักราชผนู้ าํ สาํ คัญคือกษัตรยิ ฮ์ ัมมูราบผี ยู้ งิ ใหญโ่ ดยการทําสงครามขยายดนิ แดนและจดั ทําประมวลกฎหมายฮัมมูราบโี ดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื แก้ไขความอยุติธรรม ต่างๆของกฎหมายชนเผา่ เปนการสรา้ งความยุติธรรมใหแ้ ก่สงั คมไดช้ อื วา่ เปน กฎหมาย“ ตาต่อตาฟนต่อฟน” ลักษณะของอาณาจกั รบาบโิ ลนเก่ามลี ักษณะ เปน“ รฐั สวสั ดกิ าร” รฐั ดแู ลพลเมอื งอยา่ งใกล้ชดิ ฝายปกครองมอี ํานาจไดไ้ มน่ านเพราะนกั บวชกลับมอี ิทธพิ ลเชน่ เดมิ อาณาจกั รบาบโิ ลนจงึ ค่อยๆเสอื มอํานาจลงเมอื มชี นชาติอืนขยายอิทธพิ ลเขา้ มาในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี และสลายลงไปโดยถกู พวกอัสซเี รยี โจมตี พวกอัสซเี รยี

3. สมยั จกั รวรรดอิ ัสซเี รยี พวกอัสซเี รยี มถี ินฐานอยูท่ างตอนเหนอื ของเมโสโปเตเมยี เปนชนชาติ นกั รบทีมคี วามสามารถและโหดรา้ ยจงึ เปนทีเกรงขามของชนชาติอืนพวกอัส ซเี รยี ไดข้ ยายอํานาจครอบครองดนิ แดนของพวกบาบโิ ลเนยี นซเี รยี และดนิ แดน บางสว่ นของจกั รววรติอียปิ ต์ทําใหอ้ ัสซเี รยี กลายเปนเจา้ แหง่ ดนิ แดนวง พระจนั ทรเ์ สยี วไพบูลยม์ คี วามเจรญิ รงุ่ เรอื งในชว่ งป 900-612 ก่อนครสิ ต์ ศักราชจกั รวรรดอิ ัสซเี รยี มศี ูนยก์ ลางในการปกครองทีเมอื งนเิ นเวหช์ าวอัส ซเี รยี นยิ มสรา้ งวงั แทนวดั มรดกทางศิลปกรรมเจรญิ ถึงขดี สดุ ในสมยั พระเจา้ อัสซูรบ์ านปาลทีสาํ คัญ ไดแ้ ก่ ภาพสลักนนู ตําแสดงภาพชวี ติ ประจาํ วนั ของชาว อัสซเี รยี ความยงิ ใหญข่ องจกั รวรรดอิ ัสซเี รยี เกิดจากการรกุ รานดนิ แดนของ ชนชาติอืนดงั นนั จงึ มศี ัตรมู ากและถกู ศัตรทู ําลาย

4. สมยั จกั รวรรดบิ าบโิ ลนใหม่ พวกคาลเดยี นเปนพวกเรร่ อ่ นเผา่ เซมติ ิกตังถินฐานบรเิ วณทะเลทราย ซเี รยี และทะเลทรายอาหรบั ไดเ้ ขา้ ยดึ ครองดนิ แดนทางตะวนั ออกเฉียงเหนอื ของ ดนิ แดนเมโสโปเตเมยี และไดร้ ว่ มกับชนชาติอืนทําลายอํานาจของอัสซเี รยี เมอื ป 612 ก่อนครสิ ต์ศักราชหลังจากนนั ก็ไดค้ รอบครองดนิ แดนสว่ นใหญข่ อง จกั รวรรดอิ ัสซเี รยี ผนู้ าํ ทียงิ ใหญข่ องคาลเดยี นคือกษัตรยิ เ์ นบูคัดเนซซารซ์ งึ สถาปนาจกั รวรรดบิ าบโิ ลนขนึ ใหมแ่ ละรอื ฟนความเจรญิ ต่างๆในอดตี 2 เชน่ การก่อสรา้ งอาคารทีสวยงามโดยเฉพาะการสรา้ ง“ สวนลอยแหง่ บาบโิ ลน” ซงึ ได้ รบั การยกยอ่ งวา่ เปน 1 ใน 7 สงิ มหศั จรรยข์ องโลกเพราะสามารถใชค้ วามรใู้ น การชลประทานทําใหส้ วนลอยแหง่ นเี ขยี วขจไี ดต้ ลอดทังปนอกจากนพี วกคาล เดยี นยงั รจู้ กั การแบง่ สปั ดาหอ์ อกเปน 7 วนั แบง่ วนั ออกเปน 12 คาบคาบละ 120 นาทีนกั ประวตั ิศาสตรเ์ รยี กจกั รวรรดขิ องพวกคาลเดยี นวา่ “ จกั รวรรดบิ าบิ โลนใหม”่ จกั รวรรดคิ าลเดยี นมอี ํานาจในชว่ งสนั ๆ เพราะถกู กองทัพเปอรเ์ ซยี โดยการนาํ ของพระเจา้ ไซรสั มหาราชเขา้ ยดึ ครองและผนวกเปนสว่ นหนงึ ของ จกั รวรรดเิ ปอรเ์ ซยี และสนิ สลายเมอื ป 534 ก่อนครสิ ต์ศักราชนบั เปนการสนิ สดุ ประวตั ิศาสตรข์ องดนิ แดนเมโสโปเตเมยี ในยุคโบราณ สวนลอยแหง่ บาบโิ ลน

5. สมยั อาณาจกั รขนาดเล็กพวกฟนเิ ชยี น อาศัยอยูใ่ นดนิ แดนฟนเิ ซยี ซงึ เปนทีตังของประเทศเลบานอนปจจุบนั และ การปกครองแบบนครรฐั ลักษณะทีตังมเี ทือกเขาสลับซบั ซอ้ นกันระหวา่ งทีราบ แคบ ๆ ซงึ ขนานกับชายฝงทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นกับดนิ แดนอืน ๆ ทําใหพ้ วกฟ นเิ ชยี นไมส่ ามารถขยายดนิ แดนของตนออกไปไดจ้ งึ ตํารงชวี ติ ดว้ ยการเดนิ เรอื และค้าขายทางทะเลฟนเิ ซยี นไดร้ บั การยกยอ่ งวา่ เปนพอ่ ค้าทางเรอื ผยู้ งิ ใหญใ่ น ทะเลเมดเิ ตอรเ์ รเนยี นของตะวนั ออกกลางสมยั โบราณนอกจากมชี อื เสยี งใน ดา้ นการค้าแล้วชาวฟนเิ ชยี นยงั มชี อื เสยี งในดา้ นอุตสาหกรรมต่อเรอื ซงึ ทําจาก ไมซ้ ตี ารท์ ีมอี ยูม่ ากบนเทือกเขาในเลบานอนและการทําอุตสาหกรรมเครอื งใช้ จากแรโ่ ลหะต่างๆชาวฟนเิ ชยี นจาํ เปนต้องใชเ้ อกสารและหลักฐานในการติดต่อ ค้าขายจงึ ไดพ้ ฒั นาตัวอักษรขนึ จากโบราณของอียปิ ต์จาํ นวนรวม 22 ตัวอักษร ฟนเิ ซยี นเปนมรดกทางอารยธรรมทีสาํ คัญของโลกตะวนั ตกเนอื งจากชาวกรกี และโรมนั ไดน้ าํ ไปใชแ้ ละสบื ทอดต่อมาจนถึงปจจุบนั ชาวฟนเิ ซยี ตัวอักษรทีชาวฟนเิ ซยี พฒั นา

พวกฮิบรู พวกฮิบรชู าวฮิบรหู รอื ชาวยวิ เปนชนเผา่ เซมติ ิกทีเรร่ อ่ นอยูใ่ นดนิ แดน ต่างๆเคยอาศัยอยูใ่ นเขตซูเมอรก์ ่อนทีจะอพยพเขา้ ไปอยูด่ นิ แดนคานาอัน (Canaan) หรอื ปาเลสไตน์ (Palestine) ในปจจุบนั ชาวฮิบรเู ปนชนชาติทีเฉลียว ฉลาดและบนั ทึกเรอื งราวของพวกตนในคัมภีรศ์ าสนา (Old Testament) ทําให้ มขี อ้ มูลเกียวกับบรรพบุรษุ ของชาวยวิ อยา่ งละเอียดบนั ทึกชาวฮิบรกู ล่าววา่ เดมิ บรรพบุรษุ เคยอยูท่ างตอนเหนอื ของเมโสโปเตเมยี ต่อมาไดต้ กเปนทาสของ อียปิ ต์เมอื อียปิ ต์เสอื มอํานาจชาวฮิบรจู งึ พน้ จากความเปนทาสโดยผนู้ าํ คือ โมเสส (Moses) ไดน้ าํ ชาวฮิบรเู ดนิ ทางเรร่ อ่ นมาถึงดนิ แดนคานาอันหรอื ภาย หลังเรยี กวา่ “ ปาเลสไตน”์ และสรา้ งอาณาจกั รอิสราเอลมกี ษัตรยิ ผ์ ยู้ งิ ใหญค่ ือ กษัตรยิ เ์ ดวดิ (David) ซงึ สถาปนานครเยรซู าเลมเปนเมอื งหลวงชาวยวิ มี กฎหมายวรรณกรรมและศาสนาของตนเองวรรณกรรมทีสาํ คัญคือคัมภีร์ ไบเบลิ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งทีชนชาติต่างๆในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี คิดค้นหล่อ หลอมและสบื ทอดต่อกันมาสว่ นใหญก่ ลายเปนรากฐานของอารยธรรมตะวนั ตก ทีชาวยุโรปรบั และพฒั นาต่อเนอื งเปนอารยธรรมของมนษุ ยชาติในปจจุบนั ชาวฮิบรู

ผลงานดา้ นสถาปตยกรรม 1.ซกิ กแรต (Ziggurat) เปนสงิ ก่อสรา้ งของอารยธรรมสเุ มเรยี น (Sumerians) ในบรเิ วณเมโส โปเตเมยี มลี ักษณะคล้ายพรี ะมดิ แบบขนั บนั ได แต่ไมก่ ่อสรา้ งสงู จนเปนยอด แหลมดา้ นบนของชกิ กแรตซงึ เปนพนื ทีราบกวา้ งจะสรา้ งเปนวหิ ารในระยะแรก การสรา้ งซกิ แรตมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอื ใชป้ ระกอบพธิ กี รรมทางศาสนา แต่ต่อมาชิ กกแรตนไี ดก้ ลายเปนสว่ นหนงึ ของพระราชวงั กษัตรยิ เ์ ชน่ ซกิ กแู รตทีเมอื งอูร์ (Ur) ตําแหนง่ หมายเลช 1. คือ วหิ ารหรอื สถานทีศักดสิ ทิ ธเิ ปนสงิ ก่อสรา้ งเล็กๆ อยูบ่ นยอดสดุ ซกิ กรู ตั สรา้ งเหมอื นกับภเู ขาเพราะชาวเมโสโปเตเมยี มคี วามเชอื วา่ พระเจา้ อยูใ่ นทีสงู ตําแหนง่ หมายเลข 2 นกั โบราณคดคี ิดวา่ พนื เวทีสรา้ งบนสงิ ก่อสรา้ งในยุคแรก สงู จากพนื ประมาณ 40 ฟุต ตําแหนง่ หมายเลข 3 ขนั บนั ไดสามดา้ นนาํ ผทู้ ีเคารพนบั ถือขนึ ไปยงั ประตโู ค้งสามดา้ น ดา้ นในเปน สถานทีศักดสิ ทิ ธิ

2. สวนลอยแหง่ บาบโิ ลน สวนลอยบาบโิ ลนจดั เปนหนงึ ในเจด็ สงิ มหศั จรรยข์ องโลกตังอยูบ่ นแม่ นาํ ยูเฟรทิสประเทศอิรกั ในปจจุบนั สรา้ งโดยกษัตรยิ เ์ นบูคัดเนขชารแ์ หง่ กรงุ บาบโิ ลเนยี สรา้ งใหแ้ ก่มเหสขี องพระองค์ชอื พระนางเซมรี ามสี สุ รา้ งขนึ เมอื 600 ปก่อนครสิ ต์ศักราชสงู ประมาณ 75 ฟุตกินพนื ที 400 ตารางฟุตระเบยี งทกุ ชนั ไดร้ บั การตกแต่งดว้ ยไมด้ อกไมป้ ระดบั ไมย้ นื พุม่ ชนดิ ต่างๆมรี ะบบชลประทาน ชกั นาํ จากแมน่ าํ ไทกรสิ ไปทําเปนนาํ ตกและนาํ ไปเลียงต้นไมต้ ลอด 3. พระราชวงั ชารก์ อน เปนสถาปตยกรรมทีแสดงถึงอํานาจอันยงิ ใหญข่ องอาณาจกั รยงั จ ซเี รยี และมคี วามสาํ คัญทีสดุ พระราชวงั นสี รา้ งเมอื ประมาณ 2,340-2,180 B.C มลี ักษณะเปนกําแพงสงู หนั เปนชนั ๆ ขนึ ไปนกั โบราณคดสี นั นษิ ฐานวา่ การ ก่อสรา้ งตึกสงู เปนชนั ๆ โดยมพี ระราชขรี ถมา้ (Chariot) เพอื ไปถึงชนั บนสดุ ได้ โดยรถมา้ จะอาศัยทางลาดตัวพระราชวงั ก่อดว้ ยอิฐเคลือบทําใหพ้ นื ผวิ มลี ักษณะ เปนมนั งดงามมากประตทู างเขา้ ตัวกําแพงหรอื ปอมค่ายต่าง ๆ ล้วนมรี ปู ทรง เรขาคณติ ทังนนั โดยเฉพาะสว่ นโค้งนบั วา่ เปนรปู แบบทีสาํ คัญทีสดุ ในการสรา้ ง พระราชวงั ของพวกอัสซเี รยี นวงั อยูช่ นั บนสดุ นนั เพอื ใหพ้ น้ จากอุทกภัยตัวตึก สามารถเดนิ ขนึ ไปทางบนั ไดหรอื

ผลงานดา้ นประติมากรรม ประติมากรรมรปู ววั แกะสลักมปี ก แต่หวั เปนคนเปนสญั ลักษณค์ ือววั หมายถึงแผน่ ดนิ ศีรษะคนหมายถึงกษัตรยิ ป์ กหมายถึงท้องฟาเปนภาพนนู สงู สรา้ งเปนรปู ววั มี 5 ขาทีทําเชน่ นนั เพราะหวงั ผลในการมองดแู ต่ละจุดยนื สงิ โต สลักไดส้ วยงามมชี วี ติ สมจรงิ ภาพสงิ โตบาดเจบ็ (wounded ion)

ผลงานดา้ นวรรณกรรม ดา้ นวรรณกรรมดว้ ยความสาํ เรจ็ ในระบบการเขยี นทําใหช้ าวสเุ มเรยี น สามารถสรา้ งวรรณกรรมสาํ คัญเรอื งแรกของโลกซงึ รจู้ กั อยา่ งกวา้ งขวางและ ขนาดยาวทีชอื วา่ มหากาพยก์ ิลกาเมชเขยี นบนแผน่ ดนิ เผาขนาดใหญ่ 12 แผน่ รวมดว้ ยกันทังสนิ 3,000 บรรทัด

ผลงานดา้ นคณติ าสตร์ ชาวสเุ มเรยี นเปนพวกแรกทีคิดค้นวธิ กี ารคิดเลขทังการลบการบวก และการคณู ชาวสเุ มเรยี นนยิ มใชห้ ลัก 60 และหลักนเี องถกู นาํ มาใชใ้ นเรอื งการ นบั เวลาต่อมาจนถึงปจจุบนั รวมทังการแบง่ วงกลมออกเปน 360 องศา (6 x 60) ดว้ ย

ผลงานดา้ นชลประทาน ชาวสเุ มเรยี นเปนชนชาติแรกทีไดส้ รา้ งระบบชลประทานทีมี ประสทิ ธภิ าพสงู เนอื งจากถินฐานทีชาวสเุ มเรยี นรนุ่ แรกไดส้ รา้ งบา้ นเรอื นนนั ทัว ทังแผน่ ดนิ ปกคลมุ ดว้ ยบรเิ วณพนื ดนิ ทีอุดมสมบูรณท์ ีเกิดจากการทับถมของ โคลนตมทีแมน่ าํ พดั มาดนิ ดงั กล่าวเหมาะแก่การเพาะปลกู พชื ผลทางเกษตร แต่ ทียากลําบากคือปญหาเรอื งนาํ เพราะบรเิ วณเมโสโปเตเมยี เกือบจะเรยี กไดว้ า่ ฝน ไมต่ กเลยทําใหพ้ นื ทีทีอยูห่ า่ งจากแมน่ าํ เปนทีแหง้ แล้งไมเ่ หมาะสมแก่การทําการ เพาะปลกู ในขณะเดยี วกันนาํ จะเอ่อขนึ ท่วมฝงทกุ ปทําใหบ้ รเิ วณทีอยูใ่ กล้รมิ ฝง แมน่ าํ ชุม่ ชนื แฉะนาํ ขงั เปนเหมอื นบงึ ปญหาจงึ อยูท่ ีวา่ พนื ทีบางแหง่ ชนื แฉะเกิน ไปบางแหง่ แหง้ แล้งเกินไปซงึ ชาวสเุ มเรยี นทีเขา้ มาในระยะแรกไดเ้ หน็ ปญหา พวกเขาไดต้ ัดสนิ ใจตังรกรากในบรเิ วณนกี ็จะต้องหาทางเอาชนะธรรมชาติดว้ ย การเปลียนแปลงธรรมชาติเพอื ใหป้ ระโยชนใ์ นการดาํ รงชวี ติ ของตนมากทีสดุ ตําแหนง่ ที 1 ประตคู วบคมุ นาํ ไมใ่ หน้ าํ ไหลมาจากแมน่ าํ มากเกินไป ตําแหนง่ ที 2 คลองสายหลักทีขุดตรงมาจากแมน่ าํ ค่อย ๆ ลาดเอียงลงเพอื เก็บรกั ษานาํ ทีไหลมาจากแมน่ าํ ตําแหนง่ ที 3 คลองสาขาขนาดกลางนาํ นาํ มาจากคลองสายหลัก ตําแหนง่ ที 4 คลองหล่อเลียงเล็ก ๆ นาํ นาํ ไปยงั ท่งุ นา

ผลงานดา้ นประดษิ ฐต์ ัวอักษร ประดษิ ฐต์ ัวอักษรเรยี กวา่ อักษรรปู ลิมหรอื ตัวอักษรคนู ฟิ อรม์ อักษร ลิมเปนสงิ ประดษิ ฐท์ ีชาวสเุ มเรยี นนาํ เอาไมส้ ลักลงบนแผน่ ดนิ เหนยี วเปยกเปน สญั ลักษณก์ ารประดษิ ฐต์ ัวอักษรเปนประโยชนต์ ่อศาสนกิจการบนั ทึกของพวก พระเชน่ บญั ชรี บั จา่ ยชาวสเุ มเรยี นเปนชนชาติแรกในดนิ แดนเมโสโปเตเมยี ที รจู้ กั การเขยี นหนงั สอื การเขยี นตัวหนงั สอื ของชาวสเุ มเรยี นจะใชไ้ มเ้ สยี นนเี รยี ก วา่ ตัวอักษรคนู ฟิ อรม์ หรอื ตัวอักษรรปู ลิมและใชต้ ัวอักษรนเี ขยี นขอ้ ความต่างๆ ซงึ มอี ิทธพิ ลต่อการเขยี นตัวอักษรของกรกี และโรมนั ในสมยั ต่อมา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook