Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทเรียนเรื่องเสียงและอักษรไทย

บทเรียนเรื่องเสียงและอักษรไทย

Published by มายาวี ไชยแสง, 2021-11-30 05:44:46

Description: บทเรียนเรื่องเสียงและอักษรไทย

Search

Read the Text Version

E - Book นางมายาวี ไชยแสง วชิ าภาษาไทย ชน้ั ม.๓ ครผู สู้ อน เรอื่ ง “เสยี งและอกั ษรไทย” โรงเรยี นบา้ นโพนทนั สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษารอ้ ยเอ็ด เขต ๒ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

คานา E - Book หนงั สือ e – book เล่มนเี้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของรายวชิ าภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๓ โดยมี จุดประสงค์เพื่อการศึกษาความรู้ทไี่ ดจ้ ากเรื่องเสยี งและอกั ษรไทย ซึง่ e – book เล่มน้มี ีเนอื้ หา เกยี่ วกบั ความรู้เรอ่ื งของเสียงและเร่ืองอักษรไทย ผู้จัดทาได้เลือกหัวข้อน้ีในการทา e - book เน่ืองมาจากเป็นเร่ืองที่น่าสนใจ รวมถึงเป็น การที่ข้าพเจ้าต้องการอยากให้ผู้เรียนศึกษาเสียงและอักษรไทยเรียนรู้ ในการจัดการเรียนการ สอนรูปแบบออนไลน์ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (Covid – ๑๙) ผูจ้ ัดทาหวงั วา่ e - book เลม่ นจ้ี ะใหค้ วามรู้ และเปน็ ประโยชน์แกผ่ เู้ รียนและผอู้ า่ นทุก ๆ ทา่ น มายาวี ไชยแสง

สารบญั E - Book เรือ่ ง หนา้ เสียงในภาษาไทย ๑ - กาเนดิ ของเสยี งในภาษาไทย ๒ - ลักษณะของเสียงในภาษาไทย ๖ - ลกั ษณะการเปล่งเสยี งพยัญชนะ ๗ - เสียงพยัญชนะต้น ๑๐ - เสียงพยัญชนะสะกด ๑๒ อักษรไทย ๑๘ - ประวัติอักษรไทย ๒๘ - การประกอบรูปสระ ๒๘ พยางค์และคาในภาษาไทย การประสมอักษร

E - Book วตั ถปุ ระสงคก์ ารเรยี นรู ้ ๑ นักเรยี นมคี วามรูแ้ ละความเขา้ ใจใน เนือ้ หาวชิ าและกจิ กรรมทไ่ี ดเ้ รยี นรู ้ ๒ นักเรยี นมกี ารเรยี นรไู ้ ดต้ าม เป้ าหมายทตี่ งั้ ไว ้ ๓ นักเรยี นมคี วามกระตอื รอื รน้ ในการเรยี นรทู ้ แี่ ปลกใหม่ และพรอ้ มยอมรบั การเปลยี่ นแปลงตามสถานการณ์ นางมายาวี ไชยแสง ๔ นักเรยี นมกี ารเรยี นรูไ้ ดต้ าม เป้ าหมายทตี่ ง้ั ไว ้ ครผู ูส้ อน

E - Book ประวตั ผิ ูจ้ ดั ทา นางมายาวี ไชยแสง ชอื่ นางมายาวี ไชยแสง ครผู สู้ อน ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะชานาญการพเิ ศษ สอนรายวชิ าภาษาไทย ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๑, ๒, ๓ สอนรายวชิ าประวต้ ศิ าสตร ์ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปี ที่ ๑, ๒, ๓

เสยี งในภาษาไทย ๑ เ สี ย ง ใ น ภ า ษ า ไ ท ย ๑. เสยี งในภาษาไทย ๑. กาเนดิ ของเสยี งในภาษาไทย เสียงในภาษา ประกอบด้วย เสียงสระ พยัญชนะ และ วรรณยุกต์ ท่ีเปล่งออกมาโดยใช้อวัยวะในการเกิดเสียง ได้แก่ ปอด หลอดลม กล่องเสียง เส้นเสียง จมูก และอวัยวะต่าง ๆ ในช่องปาก เชน่ ลนิ้ เพดานปาก ปมุ่ เหงอื ก และฟัน

เสยี งในภาษาไทย ๒ ๒. ลักษณะของเสียงในภาษาไทย มี ๓ ชนดิ ไดแ้ ก่ เสยี งสระ คือ เสยี งทท่ี าให้พยัญชนะออกเสยี งได้ เกดิ จากกระแสลมเคล่ือนผ่าน เส้นเสียงออกทางปากหรอื จมูกโดยไม่ถูกสกัดก้ัน การใช้ล้ินและริมฝีปากทาให้ เสยี งท่ีเปลง่ ออกมาตา่ งกัน แบ่งได้ ๒ ประเภท ๑. สระเดี่ยว (สระแท้) คือ สระที่เปล่งออกมาเสียงเดียว แตกต่างกันตาม ลกั ษณะการใชล้ ิน้ และริมฝปี าก มี ๑๘ เสยี ง เสยี งส้ัน ได้แก่ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ เสยี งยาว ไดแ้ ก่ อา อี ออื อู เอ แอ โอ ออ เออ ๒. สระประสม (สระเลอื่ น) ประกอบดว้ ยสระเดยี่ ว ๒ เสียง ไดแ้ ก่ เอยี (อี+ อา) เออื (ออื +อา) อวั (อู+อา) สระที่มีเสียงพยัญชนะประสม คือ เสียงสระเด่ียวที่มีเสียงพยัญชนะกลมกลืน ออกมาด้วยเมื่อเปล่งเสียง มี ๘ รูป ได้แก่ อา ใอ ไอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ หรือ เรียกว่า สระเกิน เพราะเสยี งซ้ากับสระเดี่ยว

๓ เสยี งในภาษาไทย ภาพตาราง รูปสระ สระเดีย่ ว เสยี งพยญั ชนะ ตวั อย่าง –ำ อะ ม สะกด อำ อมั ไ– อะ ม สะกด ไอ อยั ใ– อะ ม สะกด ใอ อยั เ–ำ อะ ม สะกด เอำ ฤ อึ ร ประสม รึ ฤๅ ออื ร ประสม รือ ฦ อึ ล ประสม ลึ ฦๅ ออื ล ประสม ลือ

๔ เสยี งในภาษาไทย เสียงพยัญชนะ (เสียงแปร) คือ เสยี งท่เี กิดเมอ่ื กระแสลมเคล่อื นผ่านเส้นเสียง เส้น เสียงอาจสัน่ หรือไมก่ ็ได้ กระแสลมจะถูกสกัดก้ันในช่องปากหรือช่องจมูกแล้วเกิด เสยี งตา่ ง ๆ มีทงั้ หมด ๒๑ เสียง ได้แก่ ท่ี รปู พยญั ชนะ สัญลักษณ์แทนเสียง ๑ก /ก/ ๒ ขฃคฅฆ /ค/ ๓ ง หง /ง/ ๔จ /จ/ ๕ ฉชฌ /ช/ ๖ ซศษส /ซ/ ๗ ฎด /ด/ ๘ ฏต /ต/ ๙ ฐฑฒถทธ /ท/

๕ เสยี งในภาษาไทย ท่ี รูปพยญั ชนะ สัญลกั ษณแ์ ทนเสียง ๑๐ ณ น หน ๑๑ บ /น/ ๑๒ ป /บ/ ๑๓ ผ พ ภ /ป/ ๑๔ ฝ ฟ /พ/ ๑๕ ม หม /ฟ/ ๑๖ ญ หญ ย หย อย /ม/ ๑๗ ร หร /ย/ ๑๘ ล หล ฬ /ร/ ๑๙ ว หว /ล/ ๒๐ อ /ว/ ๒๑ ห ฮ /อ/ /ฮ/

๖ ๒. ลักษณะการเปลง่ เสยี งพยญั ชนะ เสยี งในภาษาไทย ๑. พยญั ชนะระเบดิ เกดิ จากลมท่ีถูก กกั ไว้ในช่องปาก แล้วปล่อยออกมา ๒. พยัญชนะเสียดแทรก เกิดจาก ๑อย่างเร็ว ได้แก่ /ป/ /ต/ /จ/ /ก/ / ลมที่พุ่งออกมาแล้วถูกกักให้แทรก ออกทางช่องแคบ ๆ ได้แก่ /ฟ/ / อ/ /พ/ /ท/ /ช/ /ค/ /บ/ /ด/ ๒ ซ/ /ฮ/ ๓. พยัญชนะนาสิก เกดิ จากลมท่ีถูกดัน ๔. พยัญชนะข้างลิ้น เกิดจากการ ออกทางช่องจมูกพร้อมกับช่องปาก ๓ ยกปลายล้นิ ไปแตะปุ่มเหงือก แล้ว ปล่อยลมผ่านทางข้างล้ิน ได้แก่ / ไดแ้ ก่ /ม/ /น/ /ง/ ๔ ล/ ๕. พยัญชนะกระทบ เกิดจากปลาย ๖. พยัญชนะกึ่งสระ เกิดจากลมท่ี ๕ล้ินยกแตะปุ่มเหงือกแล้วสะบัดลง ผ่านอวัยวะเปล่งเสียงเช่นเดียวกับ อยา่ งเรว็ จนเกดิ เสียงรัว ไดแ้ ก่ /ร/ ๖ การออกเสียงสระ ได้แก่ /ย/ /ว/

๗ ตาแหน่งของเสยี งพยญั ชนะ ได้แก่ ๑. เสียงพยญั ชนะตน้ คือ เสยี งพยัญชนะอยู่ตน้ พยางค์ ท้งั ๒๑ เสียง เป็นเสียงพยญั ชนะต้นได้ท้งั หมด เสยี งในภาษาไทย เสียงพยัญชนะ รูปพยญั ชนะ ตัวอยา่ ง /ก/ ก กิน /ค/ ขฃคฅฆ ไข่ เค็ม ฆอ้ ง /ง/ งำน หงำย /จ/ ง หง /ช/ จ จกิ จริง ฉชฌ ฉนั เชญิ เฌอ /ซ/ โซ่ ทรำม ศอก เศรำ้ ซ ทร ศ ษ ส สร (ฤๅ)ษี สงู สร้อย /ด/ ฎกี ำ (บณั )ฑุ ดงึ /ต/ ฎฑด (กุ)ฏิ ตำม ฏต ฐำน (มณ)ฑำ เฒำ่ เทียม ถำม /ท/ ฐฑฒถทธ ธง /น/ เณร ใน หนำ /บ/ ณ น หน บ บำน /ป/ ป ปนื

๘ เสยี งในภาษาไทย เสยี งพยญั ชนะ รปู พยัญชนะ ตวั อยา่ ง /พ/ ผพภ ผัก พำย ภำพ /ฟ/ ฝฟ ฝำก ฟำง /ม/ ม หม มอง หมู /ย/ ญ หญ ย หย อย ญำติ หญงิ ยำย หยำม อยู่ /ร/ ร ฤ หร /ล/ ล หล ฬ รกั ฤทธ์ิ หรือ /ว/ ว หว ลูก หลำน (ก)ี ฬำ /อ/ /ฮ/ อ วง แหวน หฮ อำย โห่ ฮำ นอกจากนี้ยังมีเสียงพยัญชนะต้นที่เป็นเสียงพยัญชนะควบกล้า คือ พยัญชนะต้น ๒ ตัวออกเสียงพร้อมกัน ประสมสระกับตัวสะกดร่วมกัน พยญั ชนะที่ควบกลา้ กบั พยญั ชนะอน่ื ได้แก่ ร ล ว

๙ เสยี งในภาษาไทย รปู พยัญชนะ ตวั อย่าง กร กรู เกรง กล กลำ้ กลนื กว กวดั แกว่ง ขร คร ขรวั ขรบิ ครู เครง่ ขล คล ขลัง ขลำ คลำย คล่ี ขว คว ขวำ ขวิด ควำ้ ควำม พร พร้อม พร้ำ ผล พล ผลดั แผล พล่ำ พลำง ปร ปร่ี เปรียบ ปล ปลำ ปลีก ตร ตรำ เตรียม ปัจจบุ ันคายมื จากภาษาต่างประเทศทาให้ภาษาไทยมีเสียงพยญั ชนะ ควบกล้าเพ่ิมข้ึน ได้แก่ /ทร/ เช่น จันทรา (สันสกฤต) /ฟร/ เช่น ฟรี (อังกฤษ) /ดร/เชน่ ดราฟต์ (อังกฤษ) /บล/เช่น บล็อก (อังกฤษ)

๑๐ ๒. เสยี งพยญั ชนะสะกด (แมห่ รอื มาตรา) คอื เสียงพยัญชนะท้ายพยางค์ มี ๘ เสียง ดังนี้ เสยี งในภาษาไทย เสียงพยัญชนะท้าย แมห่ รอื มาตรา ตัวอย่าง /ก/ กก จุก สขุ นำค เมฆ /ง/ กง น้อง แกง ขิง /ด/ กด กรด บำท พุธ เศษ อำจ /น/ กน รำช อฐิ ครุฑ รส กิน คณุ หำญ พร นิล /บ/ กบ กำฬ /ม/ กม คำบ รปู เทพ กรำฟ /ย/ เกย /ว/ เกอว ลำภ ถำม ลมื ชิม กำย โชย เลย ขำว เรว็ ฉิว นอกจากนคี้ ายมื ภาษาต่างประเทศยังทาให้เกดิ เสียงพยญั ชนะ ท้ายเพิม่ เติมในภาษาไทยอกี เช่น ก๊าซ ปรู๊ฟ บิล มีเสยี งพยัญชนะท้าย / ซ/ /ฟ/ /ล/ ตามลาดบั สว่ นพยางคห์ รอื คาท่ไี มม่ ตี วั สะกด เรยี กวา่ แม่ ก กา เชน่ กา ตี

๑๑ เสยี งในภาษาไทย เสียงวรรณยุกต์ คือ เสียงท่ีเปล่งมาพร้อมเสียงสระ มีระดับสูง-ต่า คา ภาษาไทยหากเปลยี่ นเสียงวรรณยกุ ตจ์ ะทาใหค้ วามหมายเปล่ียน เช่น ตู ตู่ ตู้ ตู๊ มี ความหมายต่างกัน สว่ น ตู๋ ไมม่ ีความหมาย ภาษาไทยมีวรรณยุกต์ ๕ เสียง ได้แก่ เสียงสามัญ (เสียงระดับกลาง) เช่น กา นอน เสยี งเอก (เสียงระดบั ต่า) เชน่ เด็ก จะ เสียงโท (เสียงที่เปล่ียนจากสูงลง มาต่า) เช่น ว่า แยก ได้ เสียงตรี (เสยี งระดบั สงู ) เชน่ รู้ ลกึ จ๊ะ เสียงจัตวา (เสียง ทีเ่ ปลยี่ นจากตา่ ขนึ้ ไปสงู ) เช่น หนู เห็น เสียงวรรณยุกต์สามัญ เอก และตรี เป็นวรรณยุกต์คงระดับ ส่วนโทและ จตั วาเป็นวรรณยุกตเ์ ปลีย่ นระดับ ความสาคญั ของวรรณยุกต์ คอื ช่วยกาหนดความหมายของคา คาทุกคา ในภาษาไทยจะมีเสียงวรรณยุกต์เสมอ แต่อาจมีรูปวรรณยุกต์ไม่ตรงกับเสียง หรือไม่มีรูปวรรณยุกต์ ข้ึนอยู่กับหลักการผันวรรณยุกต์ตามอักษรสามหมู่หรือ ไตรยางศ์ คาเป็น คาตาย อักษรคู่ อักษรเดี่ยว อักษรนา อักษรตาม และอักษร ควบ

อกั ษรไทย ๑๒ อั ก ษ ร ไ ท ย ๒. อกั ษรไทย ๑. ประวตั อิ ักษรไทย พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรงประดิษฐ์อักษรไทยในพ.ศ. ๑๘๒๖ อักษรน้ี ดัดแปลงจากอักษรไทยเดิมและอักษรขอมหวัด หลังจากน้ันก็มีการพัฒนารูปแบบ อักษรไทยในสมัยพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (ลิไทย) สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช และสมัยพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช ปจั จบุ ันกาหนดรปู แบบโดย ราชบัณฑติ ยสถาน ๒. ลกั ษณะของอกั ษรไทย อักษร คือ เครื่องหมายที่ใช้เขียนแทนเสียงในภาษา ได้แก่ รูปสระ รูป พยญั ชนะ และรปู วรรณยุกต์ รปู สระ เดมิ แบง่ เปน็ ๒๑ รปู ปัจจุบันราชบัณฑติ ยสถานแบ่งเปน็ ๓๗ รูป

๑๓ การแบง่ รปู สระเดิม แบง่ เปน็ ๒๑ รูป รูป ช่ือ อกั ษรไทย ๑. –ะ วสิ รรชนีย์ ๒. –ั ไม้หันอำกำศ ไมผ้ ดั ๓. – ไมไ้ ต่คู้ ๔. –ำ ลำกข้ำง ๕. – พินท์ุอิ ๖. – ฝนทอง ๗. – นฤคหติ , หยำดนำค้ำง ๘. \" ฟนั หนู ๙. – ตีนเหยียด ๑๐. – ตีนคู้ ๑๑. เ – ไมห้ นำ้ ๑๒. ใ– ไม้มว้ น ๑๓. ไ– ไม้มลำย ๑๔. โ– ไมโ้ อ

๑๔ อกั ษรไทย การแบ่งรูปสระเดมิ แบ่งเป็น ๒๑ รูป รูป ชอ่ื ๑๕. –อ ตวั ออ ๑๖. –ว ตวั วอ ๑๗. –ย ตวั ยอ ๑๘. ฤ ตัวรึ ๑๙. ฤๅ ตวั รือ ๒๐. ฦ ตวั ลึ ๒๑. ฦๅ ตวั ลือ

๑๕ การแบง่ รูปสระปจั จุบนั แบ่งเปน็ ๓๗ รปู รูป ชอ่ื อกั ษรไทย ๑. – ไมไ้ ตค่ ู้ ๒. –ะ สระแอ ๓. –ั ไมห้ ันอำกำศ ๔. –ำ สระอำ ๕. –ำ สระอำ ๖. – สระอิ ๗. – สระอี ๘. – สระอุ ๙. – สระออื ๑๐. – สระออื –ออ ๑๑. – สระอุ ๑๒. – สระอู ๑๓. เ –ะ สระเอะ ๑๔. เ– สระเอ

๑๖ การแบง่ รูปสระปัจจุบนั แบ่งเป็น ๓๗ รปู รปู ชอื่ อกั ษรไทย ๑๕. เ– สระเอ กบั ไม้ไตค่ ู้ ๑๖. แ–ะ สระแอะ ๑๗. แ– สระแอ ๑๘. แ– สระแอ กับไมไ้ ต่คู้ ๑๙. โ–ะ สระโอะ ๒๐. โ– สระโอ ๒๑. เ–ำะ สระเอำะ ๒๒. –อ สระออ ๒๓. –อ สระออ กบั ไม้ไตค่ ู้ ๒๔. เ–อะ สระเออะ ๒๕. เ –อ สระเออ ๒๖. เ – สระเออ ๒๗. เ –ยะ สระเอยี ะ ๒๘. เ –ย สระเอีย

๑๗ การแบ่งรูปสระปัจจบุ นั แบ่งเป็น ๓๗ รูป อกั ษรไทย รปู ชอื่ ๒๙. เ –อะ สระเออื ะ ๓๐. เ–ำะ สระเออื ๓๑. –ัวะ สระอวั ๓๒. –วั สระอัว ๓๓. –ว ตัววอ ๓๔. ใ– สระใอไม้ม้วน ๓๕. ไ– สระไมม้ ลำย ๓๖. เ–ำ สระเอำ ๓๗. ไ–ย สระไอไมม้ ลำย นอกจากน้ียังมีรูปสระเพ่ิมเติม เรียกว่า สระที่มีพยัญชนะประสมหรือสระเกิน คือ สระที่มีเสียงพยัญชนะปนอยู่ ได้แก่ –ำ (เสียง สระอะ และเสียงพยัญชนะท้าย ม) ใ- (เสยี ง สระอะ และเสียงพยญั ชนะท้าย ย) ไ- (เสียง สระอะ และเสียงพยัญชนะท้าย ย) เ-า (เสยี ง สระอะ และเสยี งพยัญชนะทา้ ย ว) ฤ (เสียง สระอิ อึ หรือ เออ และเสียง พยัญชนะตน้ หรือพยัญชนะควบกลา้ ร) ฤๅ (เสียง สระอือ และเสียงพยัญชนะต้น ร) ฦ (เสียง สระอิ อึ หรือ เออ และเสียงพยัญชนะต้น ล) ฦๅ (เสียง สระอือ และเสียง พยัญชนะตน้ ล)

๑๘ การประกอบรูปสระ รูปสระ แทนเสียง วธิ ีการใช้ อกั ษรไทย -ะ แทนเสยี งสระอะ - เมื่อไมม่ ีตัวสะกด คงรปู หรือลดรปู เช่น มะละกอ ขนุน - เมอ่ื มตี ัวสะกด เปลีย่ นรปู เป็น รร เช่น พรรค (พกั ) -ั แทนเสียงสระอะ เปล่ียนรปู เม่ือมีตัวสะกด เช่น กนั จงั -ำ แทนเสียงสระอะ มี ม สะกด เขยี นคำทว่ั ไป เช่น กาไล จาปี เขียนคำแผลง เชน่ คานงึ จารสั ใ- แทนเสยี งสระอะ มี ย สะกด มี ๒๐ คำ ได้แก่ สะใภ้ ใหม่ ใส่ ใจ ใคร่ หลงใหล ใช่ ใย ใน ใส ใบ ใต้ ใช้ ใกล้ ใบใ้ ฝ่ ใหญ่ ใคร ใด ให้ ไ- แทนเสียงสระอะ มี ย สะกด ใชเ้ ขยี นคำทวั่ ไป เชน่ ไป ไอ ไว ไฟ ใ-ย แทนเสยี งสระอะ มี ย สะกด เช่น ไอยรำ ไมยรำพ เ-ำ แทนเสยี งสระอะ มี ว สะกด เชน่ เกำ เขำ เรำ -ำ แทนเสยี งสระอำ มแี ละไม่มีตวั สะกด เช่น กำ กำง -ิ แทนเสียงสระอิ มีและไม่มตี วั สะกด เชน่ ติ ติง

๑๙ รูปสระ การประกอบรูปสระ วิธีการใช้ แทนเสียง อกั ษรไทย -ี แทนเสยี งสระอี มีและไมม่ ตี วั สะกด เช่น ปี ปีน -ึ แทนเสยี งสระอึ มแี ละไมม่ ตี วั สะกด เชน่ จึ จึง -ื แทนเสียงสระอือ มตี ัวสะกด เชน่ ลมื มืด -ือ แทนเสยี งสระออื ไม่มตี ัวสะกด เช่น มือ ถอื -ุ แทนเสียงสระอุ มแี ละไมม่ ีตวั สะกด เชน่ คุ คกุ -ู แทนเสียงสระอู มแี ละไม่มตี วั สะกด เช่น คู คูน เ-ะ แทนเสียงสระเอะ ไมม่ ตี ัวสะกด เช่น เตะ เละ เ-็ แทนเสียงสระเอะ มีตวั สะกดและไมม่ ีรปู วรรณยุกต์ เช่น เตง็ เขม็ เ- แทนเสยี งสระเอะ - มตี วั สะกดและมีรปู วรรณยุกต์ เชน่ เต่ง เขม้ - มตี ัวสะกดและไมม่ รี ปู วรรณยกุ ต์ เช่น เพชร เบญจะ เ- แทนเสยี งสระเอ มีและไม่มตี ัวสะกด เชน่ เก เกม แ-ะ แทนเสียงสระแอะ ไม่มีตวั สะกด เชน่ แกะ แคะ แ-็ แทนเสียงสระแอะ มตี วั สะกดและไมม่ รี ปู วรรณยกุ ต์ เชน่ แกก็ แขง็ แ- แทนเสียงสระแอะ มีตัวสะกดและมรี ูปวรรณยุกต์ เชน่ แข้ง แป้น

๒๐ การประกอบรูปสระ รูปสระ แทนเสียง วธิ ีการใช้ อกั ษรไทย เ-ียะ แทนเสยี งสระเอยี ะ ไม่มตี ัวสะกด เชน่ เผียะ มีตัวสะกด เรยี น เขยี น เ-ีย แทนเสยี งสระเอยี มีและไม่มีตวั สะกด เช่น เมยี เมยี ง เ-ือะ แทนเสียงสระเอือะ ไมม่ ีตวั สะกด เชน่ เผอื ะ มตี ัวสะกดใช้ เช่น เฮือก เ-อื แทนเสยี งสระเอือ มแี ละไม่มตี วั สะกด เช่น เสอื เสอ่ื ม -วั ะ แทนเสียงสระอวั ะ ไม่มตี ัวสะกด เชน่ ผัวะ มตี ัวสะกดใช้ ็ว เช่น สว็ ก -วั แทนเสยี งสระอัว ไม่มตี ัวสะกด เช่น กลวั บวั มีตัวสะกด ใช้ -ว เช่น กล้วย บวม -ว แทนเสียงสระอวั มตี วั สะกด เช่น ตวง กลวง โ-ะ แทนเสยี งสระโอะ ไม่มีตวั สะกด เช่น โตะ๊ โปะ มตี วั สะกดจะลดรปู ทงั หมด เช่น ตก โ- แทนเสียงสระโอ มีและไม่มตี วั สะกด เช่น โถ โถม เ-ำะ แทนเสียงสระเอำะ ไมม่ ตี ัวสะกด เชน่ เกำะ เคำะ -อ็ แทนเสียงสระเอำะ - มีตวั สะกดและไม่มรี ูปวรรณยกุ ต์ เช่น ก็อก จอ็ ก - มตี ัวสะกดและมีรูปวรรณยุกต์ ใช้ -อ เชน่ คล่อก

๒๑ การประกอบรปู สระ อกั ษรไทย รูปสระ แทนเสยี ง วธิ กี ำรใช้ -็ แทนเสียงสระเอำะ ประสมพยญั ชนะ ก เสียงวรรณยุกตโ์ ท ก็ (เกำ้ ะ) -อ แทนเสียงสระออ - ไมม่ ีตัวสะกด เช่น กอ คอ ไมม่ ตี วั สะกดและลดรปู เช่น บ บ่ บดี - มตี ัวสะกดทไี่ มใ่ ช่ ร เชน่ กอง มีตวั สะกด ร จะลดรปู เชน่ พร เ-อะ แทนเสียงสระเออะ ไมม่ ตี ัวสะกด เชน่ เคอะ เลอะ - มีตวั สะกดทีไ่ มใ่ ช่ ย และไม่มรี ปู วรรณยุกต์ เช่น เอกิ เ-ิ แทนเสยี งสระเออะ - มตี วั สะกดท่ีไมใ่ ช่ ย และมรี ปู วรรณยกุ ต์ เชน่ เล่กิ - มีตัวสะกด ย ใช้ เช่น เหวย็ - ไมม่ ีตวั สะกด เช่น เกลอ เธอ เ-อ แทนเสยี งสระเออ - มีตัวสะกด ย ใช้ เ-ย เชน่ เกย เขย - มีตัวสะกด บำงคำใช้ เ-อ เช่น เทอญ เทอญ เ-ิ แทนเสยี งสระเออ มีตวั สะกดทไ่ี ม่ใช่ ย เชน่ เกิด เดนิ

๒๒ การประกอบรูปสระ อกั ษรไทย รูปสระ แทนเสียง วิธกี ารใช้ เ-ยี ะ แทนเสียงสระเอยี ะ ไมม่ ีตวั สะกด เช่น เผยี ะ มีตัวสะกด เรยี น เขยี น เ-ยี แทนเสยี งสระเอีย มีและไม่มีตวั สะกด เช่น เมีย เมียง เ-อื ะ แทนเสยี งสระเอือะ ไม่มตี วั สะกด เชน่ เผือะ มีตวั สะกดใช้ เชน่ เฮอื ก เ-ือ แทนเสยี งสระเออื มีและไม่มตี วั สะกด เชน่ เสือ เสอ่ื ม -ัวะ แทนเสียงสระอัวะ ไมม่ ีตวั สะกด เชน่ ผวั ะ มตี ัวสะกดใช้ ็ว เชน่ ส็วก -ัว แทนเสียงสระอวั ไม่มีตัวสะกด เชน่ กลวั บัว มตี วั สะกด ใช้ -ว เช่น กล้วย บวม -ว แทนเสยี งสระอัว มตี วั สะกด เช่น ตวง กลวง โ-ะ แทนเสียงสระโอะ ไม่มีตัวสะกด เช่น โต๊ะ โปะ มตี ัวสะกดจะลดรปู ทงั หมด เชน่ ตก โ- แทนเสียงสระโอ มแี ละไม่มตี ัวสะกด เชน่ โถ โถม เ-ำะ แทนเสียงสระเอำะ ไมม่ ตี วั สะกด เชน่ เกำะ เคำะ -อ็ แทนเสียงสระเอำะ - มีตัวสะกดและไมม่ ีรูปวรรณยกุ ต์ เช่น กอ็ ก จ็อก - มตี ัวสะกดและมีรปู วรรณยุกต์ ใช้ -อ เช่น คลอ่ ก

๒๓ การประกอบรปู สระ อกั ษรไทย รูปสระ แทนเสยี ง วธิ ีกำรใช้ -็ แทนเสยี งสระเอำะ ประสมพยญั ชนะ ก เสยี งวรรณยกุ ตโ์ ท ก็ (เกำ้ ะ) -อ แทนเสยี งสระออ - ไม่มตี วั สะกด เชน่ กอ คอ ไมม่ ีตัวสะกดและลดรปู เช่น บ บ่ บดี - มีตัวสะกดทไี่ ม่ใช่ ร เชน่ กอง มีตัวสะกด ร จะลดรูป เชน่ พร เ-อะ แทนเสียงสระเออะ ไม่มตี วั สะกด เช่น เคอะ เลอะ - มตี ัวสะกดท่ีไม่ใช่ ย และไมม่ รี ปู วรรณยุกต์ เช่น เอิก เ-ิ แทนเสยี งสระเออะ - มตี วั สะกดท่ีไม่ใช่ ย และมรี ูปวรรณยุกต์ เชน่ เลิ่ก - มตี วั สะกด ย ใช้ เช่น เหวย็ - ไม่มตี วั สะกด เช่น เกลอ เธอ เ-อ แทนเสียงสระเออ - มีตัวสะกด ย ใช้ เ-ย เชน่ เกย เขย - มีตัวสะกด บำงคำใช้ เ-อ เช่น เทอญ เทอญ เ-ิ แทนเสียงสระเออ มตี วั สะกดทไ่ี มใ่ ช่ ย เชน่ เกดิ เดิน

อกั ษรไทย ๒๔ ๓. รปู พยัญชนะ พยัญชนะไทยมี ๔๔ รูป ๒๑ เสยี ง บำงเสียงมมี ำกกว่ำ ๑ รปู และบำงรปู มมี ำกกว่ำ ๑ เสยี ง หนา้ ที่ของพยญั ชนะ ๑. เปน็ พยัญชนะต้น คอื เสยี งพยัญชนะท่ีตน้ พยางค์ พยัญชนะทุกตัวเป็น พยญั ชนะตน้ เด่ยี วได้ ยกเว้น ฃ ฅ นอกจากนมี้ ีพยญั ชนะต้นทีเ่ กิดจากพยญั ชนะ ๒ ตัว ไดแ้ ก่ อักษรควบ และ อกั ษรนา–อกั ษรตาม อกั ษรควบ คอื พยัญชนะ ๒ ตัวประสมสระและตวั สะกดเดยี วกัน ได้แก่ ๑. อักษรควบแท้ คอื พยัญชนะตน้ ๒ ตวั อา่ นออกเสียงควบกนั ตวั หลังเป็น ร ล หรือ ว เช่น ครู ปลี ๒. อกั ษรควบไมแ่ ท้ คือ พยัญชนะต้น ๒ ตวั ทีต่ ัวหลังเปน็ ร สามารถอ่านได้ ๒ ลักษณะคอื ไม่ออกเสียง ร เช่น จรงิ (จงิ ) สรง (สง) และออกเสยี ง ทร เปน็ ซ เชน่ ทราย (ซาย) ทรุด (ซุด) อักษรนา–อกั ษรตาม คือ พยัญชนะ ๒ ตัวทปี่ ระสมสระและตวั สะกดเดยี วกนั ไดแ้ ก่ ๑. นาด้วยอักษรสงู หรอื อกั ษรกลาง พยางคห์ น้าออกเสียง อะ ก่ึงเสยี ง พยางคห์ ลงั ออกเสยี ง ห นา เช่น ขนม อ่านวา่ ขะ-หนฺ ม ๒. อ นา ย มี ๔ คา ไดแ้ ก่ อย่า อยู่ อย่าง อยาก อ่านวา่ หยา่ หยู่ หยา่ ง หยาก ๓. ห นา อักษรเดี่ยว เชน่ หงาย หนา หวาย หญา้

อกั ษรไทย ๒๕ ๒. เป็นพยญั ชนะทา้ ย ได้แก่ ๑. พยัญชนะสะกด มี ๘ มาตรา มที ้งั พยญั ชนะเดี่ยว ควบกล้า และพยญั ชนะทีม่ ี สระกากับ ๑) แมก่ ก ได้แก่ ก กร ข ค คร ฆ เชน่ บอก จกั ร นาค สมคั ร เมฆ ๒) แมก่ ง ได้แก่ ง เช่น หาง ขัง ๓) แมก่ ด ไดแ้ ก่ ด จ ช ชร ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ฒิ ต ตร ตุ ติ ถ ท ทร ธ ธิ ศ ศร ษ ส เชน่ กิจ คช เพชร ๔) แมก่ น ไดแ้ ก่ น ญ ณ ร ล ฬ เชน่ คน หาญ คณุ กาฬ ๕) แมก่ บ ได้แก่ บ ป ปร พ ฟ ภ เช่น คบ บาป กอปร ๖) แม่กม ไดแ้ ก่ ม เชน่ กลม คลุม ๗) แม่เกย ได้แก่ ย เชน่ กาย เขย ๘) แมเ่ กอว ได้แก่ ว เชน่ เขียว เหว ๒. ตวั การันต์ คอื พยัญชนะท้ายทไ่ี มอ่ อกเสยี งเพราะมีเครอื่ งหมายทณั ฑฆาตกากบั มีท้ังพยัญชนะเดยี่ ว เชน่ สงฆ์ บัลลงั ก์ พยญั ชนะหลายตัว เช่น จนั ทร์ และพยญั ชนะมี สระกากับ เชน่ พันธุ์ กษตั รยิ ์ ๓. พยญั ชนะท่ไี มอ่ อกเสยี ง มกั เปน็ คายมื จากภาษาอนื่ มที ั้งอยูห่ น้าตวั สะกด เช่น เกียรติ พราหมณ์ (ร และ ห ไม่ออกเสียง) และอยู่หลังตวั สะกด เช่น จักร พุทธ (ร และ ธ ไม่ออกเสยี ง)

อกั ษรไทย ๒๖ อกั ษรสามหมู่หรือไตรยางศ์ อกั ษรสามหมู่หรือไตรยางศ์ คือ การแบ่งพยัญชนะเป็น ๓ กลุ่ม เพ่ือเป็นระบบ การผันวรรณยุกต์ ได้แก่ อักษรกลาง คือ ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ อักษรสูง คือ ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห และอักษรต่า ประกอบด้วยอักษรต่าคู่ (อักษรต่าท่ีเสียงเหมือนอักษร สูง) ได้แก่ ค ฅ ฆ ช ฌ ซ ฑ ฒ ท ธ พ ฟ ภ ฮ อักษรต่าเด่ียว (อักษรต่าท่ีเสียงไม่ เหมือนอักษรสูง) ได้แก่ ง ญ ณ น ม ย ร ล ว ฬ คาเป็น คาตาย คาเป็น คาตาย ๑. ประสมสระเสยี งยำวในแม่ ก กำ ๑. ประสมสระเสียงสันในแม่ ก กำ หรอื ประสมสระอำ ใอ ไอ เอำ ฤ ฤๅ ยกเว้นสระอำ ใอ ไอ เอำ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ฦ ฦๅ ๒. มตี วั สะกดในแมก่ ง กน กม เกย ๒. มีตวั สะกดในแมก่ ก กด กบ เกอว

๒๗ รูปวรรณยุกต์ มี ๔ รูป ได้แก่ -่ -้ -๊ -๋ อกั ษรไทย การผนั วรรณยุกตข์ องอกั ษรสามหมู่ - การผันอักษรกลาง คาเป็นผนั ได้ ๕ เสียง พืน้ เสยี งคือสามญั คาตายผนั ได้ ๔ เสียง พื้นเสียงคอื เอก - การผันอกั ษรสงู คาเป็นผนั ได้ ๓ เสยี ง พ้นื เสียงคอื จัตวา คาตายผนั ได้ ๒ เสียง พืน้ เสยี งคือเอก - การผันอักษรตา่ คาเปน็ ผนั ได้ ๓ เสียง พน้ื เสียงคอื สามัญ คาตายสระเสียงส้ันผนั ได้ ๓ เสยี ง พืน้ เสียงคือตรี และคาตายสระเสียงยาวผนั ได้ ๓ เสียง พ้ืนเสียงคอื โท ลักษณะพยางค์ สามญั เอก โท ตรี จตั วา อักษรกลาง คาเป็น กำ ก่ำ กำ้ กำ๊ กำ๋ คาตาย - กะ ก้ะ กะ๊ ก๋ะ อักษรสูง คาเปน็ - ขำ่ ข้ำ - ขำ คาตาย - ขะ ขะ้ - - คาเป็น คำ - คำ่ ค้ำ - อกั ษรต่า คาตายสระเสียง - - ค่ะ คะ คะ๋ สนั้ คาตายสระเสยี ง - - คำด คำ้ ด ค๋ำด ยาว

พยางคแ์ ละคา ๒๘ ๓. พยางค์และคาในภาษาไทย เสียงสระ พยญั ชนะ และวรรณยกุ ต์ ทเี่ ปลง่ ออกมาพรอ้ มกันแต่ละครงั้ จะเกิด การประสมเสียงในภาษา กลายเปน็ พยางค์และคา ๑. พยางค์ คือ เสียงท่ีเปล่งออกมา อาจมีหรือไม่มีความหมาย ประกอบด้วยเสียง พยญั ชนะตน้ เสียงสระ เสียงวรรณยกุ ต์ และอาจมเี สยี งพยญั ชนะท้ายดว้ ย ๒. คา คือ เสียงที่เปล่งออกมาแล้วมีความหมาย คาพยางค์เดียว เช่น พ่อ แม่ คา มากพยางค์ เชน่ บิดา มารดา ๔. การประสมอกั ษร การประสมอกั ษร คือ การนาสระ พยัญชนะ และวรรณยกุ ต์มาประกอบกันใหเ้ ป็นพยางค์ ๑. คาพยางค์เดียว การประสมอักษรมี ๔ วิธี ได้แก่ ๑. การประสม ๓ สว่ น ประกอบดว้ ยพยัญชนะตน้ สระ และวรรณยกุ ต์ (อาจไม่มีรูปวรรณยกุ ต์) เชน่ น้า เปน็ การประสม พยัญชนะต้น น, สระ และวรรณยกุ ต์ (รูปโท เสยี งตร)ี ๒. การประสม ๔ ส่วน ประกอบดว้ ยพยญั ชนะต้น สระ พยัญชนะทา้ ยหรอื ตัวสะกด และวรรณยุกต์ เช่น วดั เป็นการประสม พยัญชนะตน้ ว, สระ (เปลี่ยนรปู ), พยัญชนะท้าย ด และวรรณยุกต์ (ไมม่ รี ูป เสยี งตรี)

การประสมอกั ษร ๒๙ ๓. การประสม ๔ ส่วนพเิ ศษ ประกอบดว้ ยพยัญชนะต้น สระ ตวั การนั ต์ และวรรณยกุ ต์ เช่น เลห่ ์ เป็นการประสม พยญั ชนะต้น ล, สระ เ-, ตัวการนั ต์ ห์ และวรรณยกุ ต์ (รปู เอก เสยี งโท) ๔. การประสม ๕ สว่ น ประกอบด้วยพยญั ชนะต้น สระ พยญั ชนะ ท้ายหรอื ตวั สะกด ตวั การนั ต์ และวรรณยุกต์ เชน่ รักษ์ เป็นการประสม พยัญชนะต้น ร, สระ (เปลย่ี นรูป ), พยัญชนะทา้ ย ก, ตวั การันต์ ษ์ และ วรรณยกุ ต์ (ไม่มีรูป เสยี งตรี) ๒. คามากพยางค์ ต้องแยกประสมอักษรทีละพยางค์ เชน่ สนุก ต้องแยก เปน็ ๒ พยางค์ คอื สะ กับ หนุก สะ เป็นการประสม ๓ สว่ น คอื พยญั ชนะต้น ส, สระ -ะ และวรรณยุกต์ (ไมม่ ีรูป เสียงเอก) หนกุ เปน็ การ ประสมอักษร ๔ ส่วน คือ พยัญชนะตน้ หน, สระ , พยัญชนะท้าย ก และ วรรณยุกต์ (ไมม่ ีรูป เสียงตรี)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook